บทที่ 16 สังคมวิทยาชนบท

39
. อุกฤษฏ์ เฉล มแสน [email protected] SOC 1003 ครั้งที9 RURAL SOCIOLOGY URBAN SOCIOLOGY &

Transcript of บทที่ 16 สังคมวิทยาชนบท

อ. อกุฤษฏ์ เฉลิมแสน

[email protected]

SOC 1003

ครัง้ท่ี 9

RURAL SOCIOLOGY URBAN SOCIOLOGY &

บทท่ี 16 สงัคมวิทยาชนบท (Rural Sociology)

อ. อกุฤษฏ์ เฉลิมแสน

นิยามความหมาย

ทาํไมต้องศึกษา

ความเป็นมา

คณุสมบติัดัง้เดิม คณุสมบติั

ท่ีเปล่ียนแปลงไป เมือง VS ชนบท

โครงสร้าง

สงัคมชนบท

ปัญหา

สาเหต ุประเดน็

การบรรยาย

1. นิยามความหมายและขอบเขตการศึกษา

ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ค น ท่ี อ ยู่ ใ น

สภาพแวดล้อมแบบชนบท

การศึกษาอย่างมีระบบ และอาศยักระบวนการทาง

วิทยาศาสตรศึ์กษาสงัคมชนบท…

องคก์ารและโครงสร้างสงัคมชนบท

การเปล่ียนแปลงของสงัคมชนบท

ความสมัพนัธท่ี์มีกบัสงัคมเมือง

โดยสรปุ สงัคมวิทยาชนบท คือ สงัคมวิทยาทีศึ่กษาถึง

ช า ว น า ช า ว ไ ร่ ช า ว ส ว น ช า ว ป ร ะ ม ง ศึ ก ษ า

ความสัมพันธ์ และปรากฏการณ์ทีเ่กิดข้ึนในสังคม

ชนบท

2. ความเป็นมาของการศึกษา

ในสหรฐัฯ

เร่ิมศึกษาในยโุรปและสหรฐัอเมริกา

ปีแยร ์กิลโยม เฟรเดอริค เลอเปล (Pierre Frederic Le

Play, ค.ศ. 1806 – 1882)

บรรจหุลกัสตูรสงัคมวิทยาชนบทก่อนส้ินศตวรรษท่ี 19

เปิดสอนแห่งแรกท่ีมหาวิทยาลยัชิคาโก

ธีโอดอร์ รุสเวลท์ ได้ตัง้คณะกรรมาธิการศึกษา

เก่ียวกบัชีวิตชนบท

ในยโุรป

หลงั WW II

ยโุรปกลางและยโุรปตะวนัออกสนใจศึกษา เพราะเกิด

ความยากจน แต่มีกระแสการต่อต้านจากนายทุน

แพร่หลายในยุโรป ลาตินอเมริกา แอฟริกา

รวมถึงเอเชีย

ประเทศไทย

มีเน้ือหาในวิชาเศรษฐศาสตร ์เศรษฐศาสตรเ์กษตร

และวฒันธรรม

3. ทาํไมต้องศึกษา

ประโยชน์ด้านการพฒันาชนบท

คนส่วนใหญ่เป็นคนชนบท

เพ่ือความเข้าใจอนัดีต่อกนั

การพฒันาคน

กระตุ้นแผนพฒันาชนบท

หาข้อสรปุในการพฒันาให้กว้างขวางย่ิงขึน้

4. คณุสมบติัดัง้เดิมของชมุชนชนบท

แนวคิด เอด็เวิรด์ ที. เชส (Edward T. Chase)

ความโดดเด่ียว – ตัง้หมู่บ้านเป็นหย่อม (cluster)

และกระจดักระจาย

ความเป็นอันหน่ึงอันเ ดียวกัน –ภูมิหลังทาง

วฒันธรรม เก่ียวดองทางสายโลหิต

การใช้แรงงานเพ่ือการเกษตร – ปลูกพืช เลี้ยงสตัว ์

ประมง

เศรษฐกิจเพ่ือการบริโภค – ครอบครวัเป็นหน่วยผลิต

และหน่วยบริโภค

5. คณุสมบติัของชนบทท่ีเปล่ียนแปลงไป

การเกษตรเพ่ือการค้า – ใช้เทคโนโลยีสมยัใหม่มากขึ้น

“ภมิูปัญญาท้องถ่ิน”

ความโดดเด่ียวลดน้อยลง – มีการติดต่อส่ือสารกบัคน

ภายนอกมากขึน้

สาเหตกุารเปล่ียนแปลงของชนบทเกิดจากอะไร ?

มาถกูทางหรือไม่ ?

“ชนบททนัสมยั แต่ไม่พฒันา” (Norman Jacobs)

หรือควรจะทวนกระแสการพฒันาไปสู่รูปแบบ

การคาํนึงถึงท้องถ่ิน

6. ข้อแตกต่างระหว่างเมืองกบัชนบท

ด้านประชากร

ขนาดและความหนาแน่น

ระดบัการศึกษา

รายได้

ด้านนิเวศน์

ส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นธรรมชาติ

พืน้ท่ีทาํกินและใช้สอย

การพ่ึงพากนัระหว่างหน่วยของสงัคม

อาชีพ

ด้านสงัคมและวฒันธรรม

เช้ือชาติ เผา่พนัธุ ์ความเช่ือ

การเดินทาง

การจราจรภาพทางสงัคม

ครอบครวั

บคุลิกภาพ สงัเกตการเดิน

สถาบนัและองคก์รทางสงัคม

การควบคมุทางสงัคม

7. โครงสร้างของสงัคมชนบท

โครงสร้างของสงัคมชนบท ประกอบด้วย...

โครงสร้าง หมายถึง ส่ิงท่ีสร้างให้เกิดเสถียรภาพ

เช่น บทบาท หน้าท่ี ความสมัพนัธ ์

โครงสร้างของสงัคมชนบท หมายถึง เสถียรภาพ

ของความสมัพนัธท์างสงัคมระหว่างสมาชิก

ประชากร

สถาบนัทางการเมือง

สถาบนัเศรษฐกิจ

สถาบนัศาสนา

กลุ่มและองคก์รต่างๆ

สถาบนัครอบครวั

ระบบค่านิยม

การตัง้ถ่ินฐาน

สถาบนัการศึกษา

สถาบนัทางอนามยั

โครงสร้างสาํคญัของสงัคม

คณุภาพของประชากรยงัตํา่ (การศึกษา สาธารณสุข

การมีส่วนร่วมทางการเมือง)

อตัราการเกิด การตาย การย้ายถ่ิน กระจกุตวัในเมือง

เพ่ือทาํงาน

ประชากร

การตัง้ถ่ินฐาน กระจดักระจาย ความหนาแน่นเบาบาง

การตัง้ถ่ินฐาน

วิวฒันาการของหมู่บ้าน 2 ลกัษณะ ได้แก่

หมู่บา้นชัว่คราว (ก่ึงถาวร)

หมู่บา้นถาวร

Kibbutz ในอิสราเอลเป็นแบบวางแผน

นิคมสร้างตนเอง ในไทยเป็นการวางแผนหมู่บ้าน

แบบแผนการตัง้ถ่ินฐานมี 2 แบบ ประกอบด้วย มีการวางแผน และไม่มีการวางแผน

ตวับง่ช้ีว่าบคุคลในสงัคมชอบเร่ืองอะไร

นําไปสู่การเข้าใจพฤติกรรม

ตัวกําหนดค่านิยมในสังคมไทยคือ พุทธศาสนา

พราหมณ์ ระบบศักดินา ระบบเกษตรกรรม อํานาจ

ศกัด์ิสิทธ์ิ

มีแนวโน้มเปล่ียนไปสู่ค่านิยมคนเมือง

ระบบค่านิยม

ความสมัพนัธแ์บบปฐมภมิู

มีแนวโน้มจะแยกเป็นครอบครวัเด่ียวมากขึน้

ครอบครวัแบบผวัเดียวเมียเดียว

สืบสกลุข้างฝ่ายบิดา

สถาบนัครอบครวั

ส่วนใหญ่เป็นการศึกษาภาคบงัคบั

โอกาสและความไม่เสมอภาคทางการศึกษา

ควรจดัให้สอดคล้องกบัองคค์วามรู้ท้องถ่ิน

สถาบนัการศึกษา

เก่ียวข้องตัง้แต่เกิดจนตาย

เน้นเร่ืองพิธีกรรมมากกว่าหลกัธรรม

ผสมผสานความเช่ือแบบพทุธ พราหมณ์ คณุไสย

เน้นเร่ืองนอกเหนือธรรมชาติ

สถาบนัศาสนา

ตวัอย่าง การสกัให้คงกระพนั ผปีู่ เจ้า

ฮีตสิบสองคลองสิบส่ี

การเกษตร

ภาคอีสานมีท่ีดินถือครองเพ่ือการเกษตรมากท่ีสุด ภาคใต้มีน้อยท่ีสดุ

ภาคอีสานมีอตัราส่วนวยัทํางานมากท่ีสุด น้อยท่ีสุดคือ ภาคกลาง

ระบบเศรษฐกิจแบบพ่ึงตนเอง

ระบบ barter system ปัจจบุนัเป็นระบบเศรษฐกิจแบบตลาด

ราชการบริหารส่วนภมิูภาค (จงัหวดั อาํเภอ)

ราชการบริหารส่วนท้องถ่ิน องคก์ารบริหารส่วนจงัหวดั

องคก์ารบริหารส่วนตาํบล

ขาดความรู้ด้านการดแูลสขุภาพ

ขาดแคลนบคุลากรด้านสาธารณสขุ

สถาบนัทางการเมือง

เพ่ือการพฒันา ยกระดบัความเป็นอยู่

มีทัง้หน่วยงานราชการและเอกชน

กลุ่มและองคก์รต่างๆ

8. ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของชนบท

การบกุรกุแผว้ถางป่า

ผูเ้ช่านามากขึน้ มีหน้ีสิน

ท่ีดินการเกษตรถกูนําไปใช้ประโยชน์ด้านอ่ืน

ผลผลิตด้านการเกษตรลงลง

9. สาเหตกุารเปล่ียนแปลงทางสงัคมในชนบท

สาเหตุภายใน การเกิด การตาย การย้ายถ่ิน การแปรปรวนของธรรมชาติ การประดิษฐคิ์ดค้นส่ิงใหม่

ส่ิงท่ีเปล่ียนแปลง การดแูลสุขภาพ ระบบการผลิต

เพ่ือระบบตลาด พัฒนาด้านการศึกษา การใช้

ทรพัยากรธรรมชาติ

สาเหตุภายนอก การผสมผสานทางวัฒนธรรม การ

แพร่กระจายทางวฒันธรรม การคมนาคมติดต่อส่ือสาร

สรปุ

สงัคมวิทยาชนบทศึกษาศึกษาอะไร ? ทาํไมต้องศึกษา ?

การก่อกาํเนิดวิชาสงัคมวิทยาชนบทของแต่ละภมิูภาค

ชนบทเปล่ียนแปลงไปเพราะเหตใุด ?

ข้อแตกต่างระหว่างเมืองกบัชนบท