The Relations between England and France since 1572 - 1596 : Study from Elizabeth I's Letters (Thai...

92
ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ตั้งแต ค.ศ.1572 – 1596 : ศึกษาจากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ธนพนธ รงรอง รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาในรายวิชา 1432 491 การศึกษาอิสระ หลักสูตรสาขาวิชาประวัติศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ.2557

Transcript of The Relations between England and France since 1572 - 1596 : Study from Elizabeth I's Letters (Thai...

ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝร่ังเศส ตั้งแต ค.ศ.1572 – 1596 :

ศึกษาจากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธท่ี 1

ธนพนธ รงรอง

รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาในรายวิชา 1432 491 การศึกษาอิสระ

หลักสูตรสาขาวิชาประวัติศาสตร คณะศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

พ.ศ.2557

กิตตกิรรมประกาศ

การศึกษาอิสระน้ีสําเร็จสมบูรณไดดวยการไดรับความกรุณาและความชวยเหลืออยางสูงย่ิง

จาก อาจารยมิตต ทรัพยผุด อาจารยที่ปรึกษา ผูแนะนําเอกสารตางๆ และชวยเหลือ สนับสนุน กํากับ

ติดตาม แกไขปรับปรุงขอบกพรอง โดยเฉพาะในดานระเบียบวิธีวิจัย ตลอดจนการใหกําลังใจในการ

ทํางานและช้ีนําแนวทางอันเปนประโยชนตอผูศึกษา

ขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารยอนันทธนา เมธานนท และอาจารย ดร.วรรณพรรธน

เรืองทรัพย อยางสูงย่ิง ที่แนะนําการเขียน และวิเคราะหเน้ือหาของการศึกษา รวมถึงแสดงความ

คิดเห็นตองานศึกษา ตลอดจนการตรวจอักษร อันเปนประโยชน ซึ่งทําใหผูศึกษามีความรอบคอบใน

การทํางาน และทําใหงานศึกษาออกมาไดอยางมีความชัดเจนมากข้ึนเทาที่ผูศึกษาสามารถทําได

ตลอดจนอาจารย ดร.สมศรี ชัยวณิชยา รวมถึงอาจารยอภินันท สงเคราะห และอาจารยหลักสูตร

สาขาวิชาประวัติศาสตรทุกทานที่ใหคําแนะนํา และคําปรึกษาตอผูศึกษาเสมอมา

ขอขอบพระคุณ ดร.ซูซาน ดอรัน (Susan Doran) นักวิชาการดานประวัติศาสตร วิทยาลัย

พระเยซู (Jesus College) แหงมหาวิทยาลัยอ็อกฟอรด (University of Oxford) ผูเชียวชาญ

ประวัติศาสตรอังกฤษสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 อยางสูง ที่ตอบรับการติดตอ และเปนผูให

คําแนะนํา ปรึกษา สนับสนุน และชวยเหลือในดานขอมูลและการทํางาน รวมถึงการจัดหาและแนะนํา

เอกสารใหผูศึกษา ตลอดจนกําลังใจในการทํางานเสมอมา ผานทางอีเมลที่ซึ่งแมจะเปนการติดตอที่

ยากลําบากและลาชาดวยชวงเวลาที่แตกตางกันกวา 6 ช่ัวโมง

ขอขอบคุณ นางสาวธัญรดา หาระวงศ นักศึกษาสถาบันการบินพลเรือน และเพื่อนที่คอยให

กําลังใจ และชวยตรวจสอบการแปล รวมถึงรวมแปลเอกสารกับผูศึกษาในสวนหน่ึง และขอขอบคุณ

นางสาวเสาวนีย ลุนบุดดา และนายปกรณ ปุกหุต ที่คอยใหคําปรึกษาและตรวจทานภาษา ตลอดจน

กําลังใจตอการทํางาน นอกจากน้ี ขอขอบคุณเพื่อนๆ หลักสูตรสาขาวิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัย

อุบลราชธานี ทุกคนที่เปนกําลังใจใหผูศึกษาในการเรียนและการทํางานตลอดมา

และสุดทายน้ี ผูศึกษาขอขอบพระคุณบิดา มารดา และครอบครัวเปนที่สุด ที่ใหโอกาส

สงเสริมสนับสนุน โดยเฉพาะดานคาใชจายในการศึกษาครั้งน้ี ทั้งยังใหความหวงใยและกําลังใจตอผู

ศึกษามาโดยตลอด ความสําเร็จที่เปนประโยชนในงานศึกษาอิสระฉบับน้ีถือเปนผลงานรวมกันของทุก

ทานที่กลาวมา

ธนพนธ รงรอง

5414401920 : หลักสูตรสาขาวิชาประวัติศาสตร คณะศิลปศาสตร : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

คําสําคัญ : ประวัติศาสตรความสัมพันธระหวางประเทศ / ความสัมพันธระหวางอังกฤษ – ฝรั่งเศส /

จดหมาย / พระราชินีอลิซาเบธที่ 1

ธนพนธ รงรอง

ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572 – 1596 : ศึกษาจากพระราชสาสนของพระ

ราชินีอลิซาเบธที่ 1

อาจารยทีป่รึกษา : อาจารยมิตต ทรัพยผุด

นับต้ังแตในยุโรปสมัยกลาง อังกฤษกับฝรั่งเศส มีความขัดแยงและทําสงครามกันเรื่อยมาจนถึง

ในคริสตศตวรรษที่ 16 อยางไรก็ตาม ใน ค.ศ.1572 อังกฤษกับฝรั่งเศสไดรวมเปนพันธมิตรกันใน

สนธิสัญญาบลัวส และจากหลักฐานที่พบในหนังสือ Elizabeth I Collected Works ระหวาง

ค.ศ.1572 ถึง 1596 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 แหงอังกฤษทรงสงพระราชสาสนไปยังฝรัง่เศสเปนจํานวน

มาก จึงมีความนาสนใจที่จะศึกษาในเรื่อง ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572

จนถึง 1596 ซึ่งเปนปสุดทายที่พบพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ที่ทรงสงไปยังผูปกครอง

ในฝรั่งเศส ทั้งยังเปนปที่มีการกอต้ังพันธมิตรระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสอีกครั้ง ซึ่งมีลักษณะเปนด่ัง

สนธิสัญญาบลัวสใน ค.ศ.1572 ทําใหเกิดประเด็นคําถามที่วา ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส

ต้ังแต ค.ศ.1572 ถึง 1596 จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เปนอยางไร

รายงานน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572 –

1596 จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับฝรั่งเศส ผลของ

การศึกษาพบวา ประการแรก ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572 – 1596 จาก

พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 สามารถแบงออกไดเปน 2 ชวงเวลา กลาวคือ ชวงแรก

ค.ศ.1572 – 1584 เปนชวงเวลาของการเจริญสัมพันธไมตรีระหวางพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 หรือ

รัฐบาลอังกฤษกับราชวงศวาลัวส ผานขอเสนอการอภิเษกสมรสระหวางพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กับ

เจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู จนถึงการสิ้นพระชนมของเจาชาย และชวงที่สอง ค.ศ.1585 – 1596

กษัตริยเฮนรีแหงนาวารจากราชวงศบูรบง ข้ึนดํารงตําแหนงกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส กลายเปน

ชนวนของสงครามกลางเมืองในฝรั่งเศส พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ทรงหันมาใหการสนับสนุนราชวงศ

บูรบงอยางจริงจัง และทรงมีสัมพันธไมตรีผานพระราชสาสนไปยังราชวงศน้ีจนถึง ค.ศ.1596 ประการ

ที่สอง สาเหตุสําคัญที่ทําใหองักฤษพยายามสรางสัมพันธไมตรกีับฝรัง่เศสระหวาง ค.ศ.1572 – 1596 ก็

เน่ืองดวยทั้งสองฝายตองการที่จะตอตานการขยายอํานาจและอิทธิพลของสเปนเขาครอบงําขุนนาง

บางกลุมในฝรั่งเศส โดยเฉพาะขุนนางตระกูลกีสที่มีอํานาจทางการเมืองอยูแลวในราชสํานักของ

ราชวงศวาลัวส ขณะที่อํานาจทางทะเลของสเปนปดกั้นการคาทางทะเลของอังกฤษที่กําลังเฟองฟ ู

อยางไรก็ตาม การแทรกแซงทางการเมอืงของอังกฤษไปยังฝรัง่เศสก็เทากับอังกฤษพยายามตอตานการ

ขยายอํานาจและอิทธิพลของสเปนดวยเชนกัน และประการสุดทาย การศึกษาเน้ือหาจาก

พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ทําใหสามารถวิเคราะหการเจรจาและการตัดสินใจในเชิง

นโยบายของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ผูนํารัฐ และผูปกครองคนอื่นๆ ไดอยางดี ดังน้ัน หากไดศึกษา

พระราชสาสน สาสน หรือจดหมายของฝายฝรั่งเศสที่โตตอบกับพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 จะทําให

มุมมองของการศึกษาประวัติศาสตรความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสในคริสตศตวรรษที่ 16 มี

ความสมบูรณมากย่ิงข้ึน

หลักสูตรสาขาวิชาประวัติศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปการศึกษา 2557

ลายมือช่ือนักศึกษา

ลายมือช่ืออาจารยที่ปรึกษา

สารบัญ

หนา

กิตติกรรมประกาศ ก

บทคัดยอ ข

สารบัญตาราง ฉ

สารบัญแผนที่ ช

สารบัญภาพ ซ

บทที่

1. บทนํา 1

1.1 ที่มาและความสําคัญของการศึกษา 1

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 10

1.3 ขอบเขตของการศึกษา 10

1.4 ระเบียบวิธีการศึกษา 11

1.5 ผลที่คาดวาจะไดรับ 11

1.6 แหลงคนควาขอมูล 11

2. ภูมิหลังทางประวัติศาสตรของอังกฤษและฝรั่งเศส ถึง ค.ศ.1572 12

2.1 ประเด็นทางศาสนาของอังกฤษและฝรั่งเศส 13

2.1.1 การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ 14

2.1.2 นิกายคาทอลิกกับการขยายตัวของนิกายโปรเตสแตนตในฝรั่งเศส 16

2.2 พัฒนาการทางการเมืองของอังกฤษและฝรั่งเศส 17

2.2.1 การสรางความมั่นคงทางการเมืองในอังกฤษของราชวงศทิวดอร 18

2.2.2 ความไมมั่นคงทางการเมืองของฝรั่งเศสชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 15

ถึงในคริสตศตวรรษที่ 16 20

2.3 ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ถึง ค.ศ.1572 24

3. ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572 – 1584

จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 29

3.1 การอภิเษกสมรสระหวางราชสํานัก 31

3.2 การแทรกแซงของอังกฤษตอสงครามศาสนาในฝรั่งเศส 38

3.3 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กับการขยายอํานาจของฝรั่งเศสในเนเธอรแลนด 40

4. ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1585 – 1596

จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 47

4.1 อังกฤษกับการเมืองของฝรั่งเศสในชวงปลายสมัยราชวงศวาลัวส ต้ังแต

ค.ศ.1587 – 1589 48

4.2 ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสในชวงตนสมัยราชวงศบูรบง

ต้ังแต ค.ศ.1589 – 1596 53

4.3 การกอต้ังพันธมิตรอยางเปนทางการตอตานสเปนระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส 55

5. สรุป 59

บรรณานุกรม 63

ภาคผนวก 65

ประวัติผูศึกษา 82

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1. การแบงเอกสาร (พระราชสาสน) ในแตละชวงเวลา

ของ Elizabeth I Collected Works 3

2. พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่เกี่ยวของกับฝรั่งเศส

ต้ังแต ค.ศ.1572 - 1584 จาก Elizabeth I Collected Works 29

3. พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่เกี่ยวของกับฝรั่งเศส

ต้ังแต ค.ศ.1585 - 1596 จาก Elizabeth I Collected Works 47

สารบัญแผนที ่

แผนที่ หนา

1. เกาะบริเตนในตอนตนคริสตศตวรรษที่ 16 20

2. ทฤษฎีการแบงเสนเขตแดนในฝรั่งเศส ค.ศ.1494 23

3. เนเธอรแลนดกับความใกลชิดกับอังกฤษและฝรั่งเศส 42

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา

1. การลอมเมืองกาเลส ค.ศ.1558 25

2. ฟรองซัวส ขณะดํารงตําแหนงดุกแหงอัลลองซง 32

3. การสังหารหมูในวันเซนตบาโทโลมิว ค.ศ.1572 39

4. การเสด็จออกจากเมืองอันทเวิรปของเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู 45

5. การลอบสังหารกษัตริยเฮนรีที่ 3 แหงฝรั่งเศสใน ค.ศ.1589 51

6. ชาวกรุงปารีสระหวางเมืองถูกลอมใน ค.ศ.1590 54

7. การลอมเมืองกาเลส ค.ศ.1596 57

1

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ท่ีมาและความสําคัญของการศึกษา

ความขัดแยงระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสดําเนินเรื่อยมา นับต้ังแตสงครามรอยป ระหวาง

คริสตศตวรรษที่ 14 – 15 จนเขาสูคริสตศตวรรษที่ 16 ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสเปนไป

ในลักษณะที่ขัดแยงกัน และทําสงครามกันหลายครั้งนับต้ังแตสมัยกษัตริยเฮนรีที่ 7 แหงอังกฤษ

(Henry VII of England)1 ปฐมกษัตริยแหงราชวงศทิวดอร (House of Tudor) โดยเฉพาะสมัยพระ

ราชินีแมรีที่ 1 (Mary I of England)2 ที่ทรงขัดแยงกับฝรั่งเศสในชวงปลายรัชกาลถึงกับสูญเสียเมือง

ทาที่สําคัญที่สุดแหงสุดทายในภาคพื้นทวีปยุโรปแกฝรั่งเศส ซึ่งความขัดแยงน้ี ไดดําเนินเรื่อยมาจนเขา

สูสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 (Elizabeth I of England)3 ผูปกครองอังกฤษองคสุดทายของราชวงศ

ทิวดอร อยางไรก็ตาม ใน ค.ศ.1572 มีการรวมลงสัตยาบันในสนธิสัญญาเมืองบลัวส (Treaty of Blois)

ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสจึงมีลักษณะเปนไมตรีตอกันอยางเปนรูปธรรม โดยสามารถ

สังเกตไดจากพระราชสาสนหรือจดหมายของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เปนจํานวนถึง 1 ใน 4 จาก

ทั้งหมดที่ไดรับการคนพบซึ่งพระองคทรงมีพระราชสาสนสงไปยังบุคคลสําคัญตางๆที่มีความเกี่ยวของ

กับฝรั่งเศส ต้ังแตใน ค.ศ.1572 จนกระทั่ง ฉบับสุดทายใน ค.ศ.1596

นอกจากน้ี สมัยของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เปนชวงเวลาที่มีความโดดเดนและมีความสําคัญ

อยางมากในประวัติศาสตรความสัมพันธระหวางอังกฤษและฝรั่งเศสทั้งทางดานการเมืองและศาสนา

กลาวคือ ทางดานการเมืองน้ัน เมื่อสิ้นสุดสมยักลางของยุโรปทัง้สองอาณาจักรตางมีพัฒนาการรูปแบบ

การปกครองแบบรวมศูนยอํานาจ รวมถึงรูปแบบความสัมพันธกับตางประเทศอยางตอเน่ือง ซึ่งประสบ

ความสําเร็จอยางมากในรัฐบาลของพระราชินีอลซิาเบธและทางดานศาสนาทั้งสองอาณาจักรตางตกอยู

ภายใตความคิดที่นําไปสูความขัดแยงที่มาจากการปฏิรูปศาสนาที่เกิดข้ึนทั่วไปในยุโรปจนนําไปสู

‘การเมืองดานศาสนา’ ที่เกิดข้ึนทั้งภายในและภายนอกอาณาจักร ทั้งน้ี รัฐบาลอังกฤษภายใตการนํา

ของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 สามารถจัดการกับสถานการณเหลาน้ีไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งทําให

อังกฤษเริ่มกลายเปนมหาอาํนาจรฐัหน่ึงของยุโรปและของโลกแทนทีส่เปนต้ังแตชวงปลายและหลงัสมัย

ของพระองค อยางไรก็ตาม ขณะเดียวกัน ความสัมพันธอยางเปนทางการที่เกิดข้ึนระหวางอังกฤษกับ

ฝรั่งเศสต้ังแต ค.ศ.1572 – 1596 ก็เปนชวงเวลาที่มีความสําคัญและมีความโดดเดนเชนเดียวกัน

1 กษัตริยเฮนรีที่ 7 แหงอังกฤษ ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1485 – 1509 2 พระราชินีแมรีที่ 1 แหงอังกฤษ ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1516 – 1558 3 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 แหงอังกฤษ ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1558 – 1603

2

เน่ืองจากความสัมพันธดังกลาวทําใหราชสํานักอังกฤษและฝรั่งเศสมีความใกลชิดกันอยางมาก ซึ่งไม

ปรากฏบอยนักในรัชสมัยที่ผานมานอกจากน้ียังเปนชวงเวลาที่เกิดสงครามศาสนาข้ึนในฝรั่งเศส

(French Wars of Religion)4 ซึ่งอังกฤษไดเขาแทรกแซงอยางตอเน่ืองโดยเฉพาะในชวงทายของ

สงคราม อังกฤษไดมีสวนสําคัญที่ทําใหกษัตริยเฮนรีแหงนาวาร (Henry, King of Navarre) ไดข้ึน

ครองราชยเปนกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส (Henry IV of France)5 ปฐมกษัตริยแหงราชวงศบูรบง

(House of Bourbon) ราชวงศที่สามารถสถาปนาอํานาจสงูสุดของสถาบนักษัตริยข้ึนปกครองฝรั่งเศส

เปนครั้งแรกในสมัยกษัตรยิหลยุสที ่14 (Louis XIV of France)6 ดังน้ัน สมัยของพระราชินีอลิซาเบธที่

1 จึงถือเปนชวงเวลาที่มีความสําคัญอยางย่ิงเน่ืองดวยเปนเหตุการณที่สงผลตอเหตุการณในชวงเวลา

หรือยุคสมัยตอไปในหลายดาน

ดังที่กลาวขางตน พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ที่มีเน้ือหาเกี่ยวของกับ

ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส มีจํานวน 26 ฉบับที่พบต้ังแตใน ค.ศ.1572 ถึง 1596 โดยพระ

ราชสาสนเหลาน้ี ถูกคัดลอกและรวบรวมไวในหนังสือ ‘Elizabeth I Collected Works’ ของ Leah

S. Marcus และคณะ จัดพิมพโดย The University of Chicago Press ใน ค.ศ.2002 ซึ่งภายใน

หนังสือประกอบดวยเอกสารสําคัญ 4 ประเภท ไดแก คํากลาว (Speeches) พระราชสาสน (Letters)

บทกวี (Poems) และบทสวดมนต (Prayers) ของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ทั้งยังจัดแบงเอกสาร

ออกเปน 4 ชวงเวลาโดยภาพรวมตามวาระตางๆ (ดูตารางที่ 1) ซึ่งจะแตกตางกับการแบงชวงเวลาของ

การศึกษาน้ี ที่แบงชวงเวลาตามเหตุการณสําคัญที่เกี่ยวของกับฝรั่งเศสเปนสําคัญ นอกจากน้ี เอกสาร

ภายในหนังสือ Elizabeth I Collected Works ไดมีการทําเชิงอรรถอธิบายความบางตอน และบอก

ที่มาของเอกสารทุกฉบับ ตัวอยางเชน พระราชสาสนที่ซึ่งสวนใหญถูกคัดลอกและเก็บรวบรวมไวที่คลัง

เอกสารของรัฐบาล นอกจากน้ี มีการแนะนําช่ือเรียกของบุคคลตางๆ เพื่อใหผูอานเขาใจไวยังทายเลม

อยางไรก็ตาม แมวาหนังสือเลมน้ีจะเปนการคัดลอกและรวบรวมเอกสารข้ึนมาใหม แตหนังสือก็ยังคง

รักษาเน้ือหาของเอกสารเอาไวดังเดิมทั้งยังคงความเปนหลักฐานช้ันตนที่มีความสําคัญและเกิดข้ึนตาม

บริบท ตลอดจนขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร

พระราชสาสนเหลาน้ี ถูกเขียนข้ึนโดยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 และบางฉบับไดรับการปรับแก

ทางดานภาษาศาสตรโดยเหลาที่ปรึกษาของพระองค ซึ่งเน้ือความในพระราชสาสนฉบับตางๆ โดยรวม

เปนการเขียนที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณตางๆ ที่พระองคทรงเผชิญ เน่ืองจาก พระ

4 สงครามศาสนาในฝรั่งเศส เปนสงครามกลางเมืองระหวางกลุมคาทอลิกและกลุมโปรเตสแตนตในดินแดน

ฝรั่งเศส ซ่ึงเริ่มขึ้นตั้งแต ค.ศ.1562 ถึง 1598 5 กษัตริยเฮนรีที่ 4 ครองราชยเปนกษัตริยแหงนาวารตั้งแต ค.ศ.1572 – 1610 และครองราชยเปนกษัตริย

ฝรั่งเศส ตั้งแต ค.ศ.1589 – 1610 6 กษัตริยหลุยสที่ 14 แหงฝรั่งเศส ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1643 - 1715

3

ราชินีอลิซาเบธ นับต้ังแตยังทรงพระเยาว พระองคทรงร่ําเรียนการเขียนมาอยางดี ซึ่งในปจจุบัน

(ค.ศ.2014) เปนที่ทราบกันดีวา พระองคทรงเปนกษัตริยนักเขียนที่มีความสามารถอยางมาก ดัง

ปรากฏในงานเขียนที่โดดเดนของพระองค อันไดแก บทกวี บทสวดมนต บทสุนทรพจน รวมถึงพระ

ราชสาสนของพระองค

ตารางที่ 1 การแบงเอกสาร (พระราชสาสน) ในแตละชวงเวลาของ Elizabeth I Collected Works

ระยะท่ี ชวงเวลา ความสําคัญของชวงเวลาท่ีเก่ียวของกับพระราชสาสน 1 ค.ศ.1533 – 1558 พระราชสาสนในชวงเวลาที่เจาหญิงอลิซาเบธทรงยังมิไดขึ้นครองราชย

ในชวงแรกเขียนถึงพระราชินีแคเธอรีน พารร (Katherine Parr) พระมารดาเลี้ยงของพระองค และกษัตริยเฮนรีที่ 8 (Henry VIII)7 ผูเปนพระบิดา ตอมาหลังกษัตริยเฮนรีสวรรคต เจาหญิงทรงมีพระอักษรถึงกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 6 เปนจํานวนมาก รวมถึงโทมัส ซียมัวร (Thomas Seymour)8 และในชวงสุดทาย ทรงเขียนถึงพระราชินีแมรีที่ 1 แมในขณะที่เจาหญิงทรงถูกจองจํา

2 ค.ศ.1558 – 1572 พระราชสาสนต้ังแตพระราชินีอลิซาเบธขึ้นครองราชยใน ค.ศ.1558 ที่ซึ่งพระองคทรงมีพระราชสาสนไปถึงกษัตริยฟลปิที ่2 แหงสเปน (Philip II of Spain)9 (อันเปนฉบับเดียวที่มีไปถึงกษัตริยฟลิปตลอดรัชกาล) เพื่อแสดงสัมพันธไมตรีและตอตานฝรั่งเศส อยางไรก็ตาม พระราชสาสนสวนใหญในชวงเวลาน้ีเกี่ยวของกับประเด็นทางการเมืองภายในอังกฤษ ตลอดจนรัฐตางๆ บนเกาะบริเตน (Britain) โดยเฉพาะความสัมพันธกับพระราชินีแมรีแหงสกอต (Mary, Queen of Scots) ทั้งน้ี เอกสารในชวงเวลาน้ีสิ้นสุดระหวางสถานการณการกบฏทางตอนเหนือของอังกฤษ อันเกี่ยวเน่ืองดวยความมั่นคงของราชบัลลังกอังกฤษ

3 ค.ศ.1572 – 1587 พระราชสาสนเกี่ยวของดวยความสัมพันธกับฝรั่งเศสต้ังแต ค.ศ.1572 โดยเฉพาะในประเด็นเรื่องการอภิเษกสมรสระหวางพระราชินอลิซาเบธกับเจาชายแหงฝรั่ ง เศส พระอนุชาของกษัตริยฝรั่ งเศส ซึ่ งพระราชินี อลิซาเบธทรงใชช่ือเรียกเจาชายวา “Monsieur” นอกจากน้ี ยังเปนชวงของการเริ่มตนการติดตอที่สําคัญผานพระราชสาสนระหวางพระราชินีกับกษัตริยเจมสที่ 6 แหงสกอตแลนด (James VI of Scotland)10 รวมถึงสถานการณการแทรกแซงปญหาความขัดแยงในเนเธอรแลนดของอังกฤษ

4 ค.ศ.1587– 1603 พระราชสาสนสวนใหญเกี่ยวของกับการติดตอและความสัมพันธระหวาง

7 กษัตริยเฮรีที่ 8 แหงอังกฤษ ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1509 – 1547 8 เชษฐาของพระราชินีเจน ซียมัวร (Queen Jane Seymour) พระมเหสีองคที่ 3 ของกษัตริย 9 กษัตริยฟลิปที่ 2 แหงสเปน ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1556 – 1598 10 กษัตริยเจมสที ่6 ครองราชยเปนกษัตริยแหงสกอตแลนดตั้งแต ค.ศ.1567 – 1625 และครองราชยเปน

กษัตริยแหงอังกฤษตั้งแต ค.ศ.1603 – 1625

4

พระราชินีอลิซาเบธกับกษัตริยเจมสที่ 6 แหงสกอตแลนด และกษัตริย เฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศสหลังสิ้นสุดสงครามศาสนาในฝรั่งเศส รวมถึงเรื่องที่เกี่ยวของกับปญหาในไอรแลนด (Ireland) และการติดตอทางพระราชสาสนกับสุลตานเมฮูเม็ดจามแหงออตโตมัน (Mehumed Cham,Sultan of Ottoman)

ที่มา: Leah S. Marcus และคณะ, Elizabeth I Collected Works, แปลโดย ธนพนธ รงรอง

และธัญรดา หาระวงศ (Chicago: The University of Chicago Press, 2002) Preface.

จากตารางขางตนพบวา ระยะที่ 1 เปนเอกสารในชวงที่เจาหญิงอลิซาเบธกอนข้ึนครองราชย

สวนในระยะที่ 2, 3 และ 4 เปนเอกสารในรัชสมัยของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ซึ่งแบงเปนชวงละ 15

ถึง 16 ป โดยในระยะที่ 2 เปนเรื่องภายในของอังกฤษ รวมถึงความมั่นคงในราชบัลลังกของพระราชินี

อลิซาเบธ แตในระยะ3 และ 4 สวนใหญเปนเรื่องความสัมพันธกับตางประเทศ โดยเฉพาะกับฝรั่งเศส

กลาวคือ ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสจากพระราชสาสน เริ่มตนเมื่อ ค.ศ.1572 ในระยะที่

3 และสิ้นสุดเมื่อ ค.ศ.1596 ในระยะที่ 4 ดังน้ัน จะพบวาการศึกษาน้ี เปนการศึกษาพระราชสาสน

เฉพาะชวงเวลาของระยะที่ 3 และชวงเวลาหน่ึงของระยะที ่4 อันมีขอมูลที่เปนจุดเริ่มตนและเกี่ยวของ

กับการศึกษาความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส

พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ถือวามีความสําคัญมากในฐานะหลักฐานทาง

ประวัติศาสตรที่เปนลายลักษณอักษร ซึ่งเปนอักษรภาษาอังกฤษ กลาวคือ พระราชสาสนเหลาน้ี เปน

พระราชสาสนที่พระราชินีทรงเขียนดวยพระองคเอง และมีการพัฒนาการเขียนสํานวนในพระ

ราชสาสนจํานวนหน่ึงในลักษณะที่เปนทางการมากข้ึนรวมกับที่ปรึกษาของพระองค โดยพระราชสาสน

เหลาน้ี เปนหลักฐานที่แสดงใหเห็นถึงพระเจตนารมณ พระประสงค ความไมพอพระทัย และอืน่ๆ ของ

พระราชินีอลิซาเบธตอเหตุการณตางๆ ทั้งในพระราชสาสนที่มีสํานวนอยางเปนทางการ และไมเปน

ทางการ แมแตพระราชสาสนที่มีสํานวนอยางไมเปนทางการที่พระราชินีทรงเขียนดวยพระองคเอง ยัง

สามารถใหขอมูลหรือใจความสําคัญอันเกี่ยวเน่ืองดวยความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสได

ตัวอยางเชน พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธถึงเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอัลลองซง (François,

duke of Alençon)11 หรือดุกแหงอองฌู (Duke of Anjou) ซึ่งแมจะจัดอยูในลักษณะของการเขียน

แบบการเกี้ยวพาราสีแตเน้ือหาในพระราชสาสนก็ยังกลาวถึงประเด็นทางการเมือง ศาสนา ฯลฯ และที่

สําคัญ การติดตอและมีความสัมพันธกับดุกแหงอัลลองซงของพระราชินีฯ ยังสงผลตอสถานภาพ

ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสอีกดวย อยางไรก็ตาม พระราชสาสนสวนใหญหรือเกือบ

ทั้งหมด มิใชเอกสารที่เปนทางการโดยตรง กลาวคือ เปนพระราชสาสนสวนพระองคที่ทรงสงไปยัง

11 เจาชายฟรองซัวส ทรงเปนพระโอรสในกษัตริยเฮนรีที่ 2 และเปนพระอนุชาของกษัตริยชารลสที่ 9 และ

กษัตริยเฮนรีที่ 3 แหงฝรั่งเศส

5

บุคคลตางๆ นอกจากน้ี พระราชสาสนเหลาน้ีตางจากหลักฐานประเภทอื่น ตัวอยางเชน สนธิสัญญาที่

แสดงใหเห็นถึงเงื่อนไขและขอปฏิบัติที่คูสัญญาจะตองปฏิบัติตามที่ตกลงกันไวอยางตรงไปตรงมา หรือ

บันทึกการประชุมที่สวนใหญคอนขางเปนทางการ เน่ืองจากความไมเปนทางการของพระราชสาสนที่

นับเปนเอกสารหรือหลักฐาน ซึ่งพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 มีความเปนอิสระมากกวาในการแสดงเหตุผล

และความคิดเห็น โดยเฉพาะการกลาวถึงขอจํากัด ขอไดเปรียบหรือเสียเปรียบของพระองคตอ

เหตุการณตางๆ ซึ่งจะมากนอยหรือมีขอบเขตเพียงใดน้ัน ก็ข้ึนอยูกับความสัมพันธระหวางพระราชินี

อลิซาเบธกับผูที่พระองคทรงสงถึง

พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ในสวนที่เกี่ยวของกับความสัมพันธระหวางอังกฤษ

กับฝรั่งเศสต้ังแต ค.ศ.1572 – 1596 จากหนังสือ Elizabeth I Collected Works ที่พบมีจํานวนถึง 1

ใน 4 จากจํานวนทั้งหมดที่พบของพระราชินีอลิซาเบธ กลาวคือ การสงเริ่มตนใน ค.ศ.1572 พระ

ราชินีอลิซาเบธทรงสงพระราชสาสนไปยังเซอร ฟรานซิส วอลซิงแฮม (Sir Francis Walsingham)

ราชทูตของพระองคในฝรั่งเศส อันมีเน้ือหาเกี่ยวของกับนโยบายของทั้งสองราชสํานักที่มีตอกัน12 ซึ่ง

เปนครั้งแรกของความสัมพันธกับฝรั่งเศสในรัชสมัยของพระองคและหลังจากน้ันเรื่อยมายังมีการสง

พระราชสาสนจากพระราชินีอลิซาเบธไปยังบุคคลผูที่มีความสัมพันธกับฝรั่งเศส ไดแก ราชทูตของ

พระองค และชนช้ันปกครองในราชสํานักของราชวงศวาลัวส (House of Valois) ที่ปกครองฝรั่งเศส

อยูในขณะน้ัน โดยเฉพาะอยางย่ิง เจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอัลลองซงผูไดรับการเสนอใหอภิเษกสมรส

กับพระราชินีอลิซาเบธ จนถึงใน ค.ศ.1596 พระราชสาสนฉบับสุดทายถึงกษัตริยเฮนรทีี่ 4 แหงฝรั่งเศส

(Henry IV of France)13 ในเรื่องเกี่ยวกับพันธมิตรและการกระชับความสัมพันธระหวางอาณาจักรทั้ง

สอง

อยางไรก็ตาม ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส กลาวคือ การแลกเปลี่ยนและ

ปฏิสัมพันธที่เกิดข้ึนระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ซึ่งสงผลถึงความรวมมือหรือความขัดแยงตออาณาจักร

ทั้งสอง โดยสถานการณความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส กอน ค.ศ.1572 สวนใหญมักจะเปน

ความสัมพันธที่ขัดแยงดังที่กลาวขางตน นอกจากน้ี การปฏิรูปศาสนา (Reformation)14 ที่ไดนําไปสู

ความแตกแยกในศาสนาคริสตต้ังแตตนคริสตศตวรรษที่ 16 ทําใหเกิดนิกายโปรเตสแตนต แยกตัวออก

จากนิกายคาทอลิก อันเปนนิกายที่เคยมีอิทธิพลทางการเมืองและไดรับความศรัทธาอยางมากที่สุดใน

12 Letter 34, 35, 37 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth

I Collected Works (Chicago: The University of Chicago Press, 2002), pp. 205 – 209. 13 กษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1589 – 1610 14 ทวีศักดิ์ ลอมล้ิม, ประวัติศาสตรยุโรปสมัยใหม ค.ศ.1453 – 1804, พิมพครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ: โอเดียน-

สโตร, 2542), หนา 53.

6

สมัยกลางของยุโรป15 เปนผลใหยุโรปเขาสูความขัดแยงทางศาสนาและการตอสูเพื่อปราบปรามกลุม

โปรเตสแตนตของกลุมคาทอลิกและเพื่อใหกลุมโปรเตสแตนตจะสามารถแยกตัวเปนอิสระจากอิทธิพล

หรืออํานาจของกลุมคาทอลิก ทั้งน้ี เมื่อกษัตริยเฮนรีที่ 8 แหงอังกฤษทรงประกาศแยกตัวออกจาก

คริสตจักร นิกายคาทอลิก และทรงต้ังคริสตจักรแหงอังกฤษ (Church of England) ข้ึน อันเปนสาขา

หน่ึงของนิกายโปรเตสแตนต ขณะที่ฝรั่งเศส โดยเฉพาะชนช้ันสูงสวนใหญของอาณาจักร ตางยังเปน

คาทอลิก และเมื่อเขาสูสมัยของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ที่ทรงเปนโปรเตสแตนต ความขัดแยงทั้งที่

เกี่ยวของกับการเมือง และความแตกตางทางศาสนาระหวางราชสํานักอังกฤษและฝรั่งเศส ดําเนิน

ตอไปจนถึงในชวงคริสตทศวรรษ 1570 อังกฤษกับฝรั่งเศสเริ่มมีการติดตอสื่อสารในทางสัมพันธไมตรี

ตอกัน16 และเปนพันธมิตรกันใน ค.ศ.157217 อีกทั้งการติดตอกันผานพระราชสาสนยังแสดงใหเห็นถึง

ความสัมพันธอันใกลชิดระหวางทั้งสองราชสํานัก

จากสถานการณขางตน จึงเปนประเด็นที่นาสนใจตอการศึกษาที่วา ความสัมพันธระหวาง

อังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572 ถึง 1596 จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เปน

อยางไร ภายใตความขัดแยงที่มีมาอยางยาวนานทั้งในดานการเมืองและความแตกตางทางศาสนาอีก

ทั้งสถานการณน้ียังแสดงใหเห็นถึงความสอดคลองในเรื่องของชวงเวลาในการสงพระราชสาสน

ติดตอสื่อสารและมีความสัมพันธกับฝรั่งเศสของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ระหวาง ค.ศ.1572 – 1596

ดังน้ัน ผูศึกษาจึงเลือกศึกษาความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572 – 1596 ศึกษา

จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 โดยเปนการศึกษาเพื่อใหเขาใจถึงความสัมพันธระหวาง

อังกฤษกับฝรั่งเศสจากพระราชสาสนในบริบทของความแตกตางทางการเมืองและศาสนา รวมถึงความ

ขัดแยงที่มีมาอยางยาวนานระหวางทั้งสองอาณาจักรวาจะปรากฏรายละเอียด และสงผลตอ

ความสัมพันธดังกลาวน้ีอยางไร และเปนไปในทิศทางใด ตลอดจนมีความใกลชิดกันมากนอยเพียงใด

ดังน้ัน นอกจากการศึกษาจากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ผูศึกษาจําเปนอยาง

ย่ิงที่จะตองศึกษาจากเอกสารหรืองานศึกษาช้ินสําคัญที่เกี่ยวของอื่นๆ ที่ผูศึกษาไดรวบรวมไว เพื่อทํา

ความเขาใจถึงสถานการณและบริบทของอังกฤษกับฝรั่งเศสในชวงคริสตศตวรรษที่ 16 รวมถึงการ

วิเคราะหความสัมพันธในครั้งน้ี ซึ่งมีดังตอไปน้ี

15 ทวีศักดิ์ ลอมล้ิม, ประวัติศาสตรยุโรปสมัยใหม ค.ศ.1453 – 1804, หนา 53. 16 Ronald Hutton, A Brief History of Britain 1485 – 1660 (London: Robinson, 2010), pp.

109 – 110. 17 Susan Doran, Monarchy & Matrimony: The Courtships of Elizabeth I (New York:

Routledge, 1996).

7

Monarchy & Matrimony: The Courtships of Elizabeth I โดย ซูซาน ดอรัน

(Susan Doran) เปนหนังสือวาดวยประเด็นเกี่ยวกับการเจรจาตอรองในเรื่องการอภิเษกสมรสใน

บริบททางการเมืองและศาสนาเน่ืองจาก พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ไดพระราชสมัญญาวา “ราชินี

พรหมจรรย (Virgin Queen)” ซึ่งเปนการคิดคนข้ึนโดยรัฐมนตรีของพระองคดวยเหตุผลทางการเมือง

ดานศาสนา ซึง่พระองคอาจไมเต็มพระทยันัก อันเปนการศึกษาที่ดอรันตรวจสอบรายละเอียดและวิจัย

เอกสารทั่วยุโรป อยางไรก็ตาม ความสัมพันธและการเสนอการอภิเษกสมรสก็เกิดข้ึนกับพระราชินี

อลิซาเบธ ซึ่งมีผลตอการเมืองของอังกฤษและความสัมพันธระหวางรัฐ โดยในหนังสือมีประเด็นที่

เกี่ยวของกับการศึกษาน้ี ในสวนดุกแหงอัลลองซงหรืออองฌู กลาวคือ เปนความสัมพันธระหวางพระ

ราชินีอลิซาเบธกับดุกแหงอัลลองซงที่ยืดเย้ือ ภายใตการดําเนินการทางการทูต อีกทั้งหนังสือเลมน้ียัง

เปนผลงานที่อยูในขอบเขตของการทําความเขาใจเกี่ยวกับการทูตของยุโรปที่ใชความสัมพันธระหวาง

ราชวงศ รวมถึงการพยายามอภิเษกสมรสในการดําเนินการทางการทูตไดเปนอยางดีในระหวาง

คริสตศตวรรษที่ 16 ของทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสนอกจากน้ี หนังสือยังมีเน้ือหาในลักษณะของการ

บันทึกและสรุปผลการเจรจาทางการทูตในเรือ่งการอภิเษกสมรสและเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวของในแตละครั้ง

ดังน้ัน หนังสือเลมน้ี จึงมีความเหมาะสมอยางย่ิงในการทําใหผูศึกษาไดศึกษาขอมูลเพิ่มเติม

Elizabeth I and Foreign Policy 1558-1603 โดย ซูซาน ดอรัน เปนหนังสือที่มีเน้ือหา

เกี่ยวกับเฉพาะการตางประเทศของอังกฤษ โดยนับต้ังแตความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสและ

สกอตแลนดในชวงตนสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ที่เปนไปดวยความขัดแยงและเกิดสงครามกันมา

อยางยาวนานนับต้ังแตรัชกาลกอน หรือการดําเนินนโยบายตางประเทศของอังกฤษในชวงครึ่งหลังของ

คริสตศตวรรษที่ 16 จนสิ้นสุดสมัยของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ใน ค.ศ.1603 ซึ่งอธิบายถึง

ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับรัฐมหาอํานาจ โดยเฉพาะสเปน ฝรั่งเศส และอื่นๆ รวมถึงผลกระทบ

ของการปฏิรูปศาสนาในตางแดนที่อังกฤษไดใหการสนับสนุนและแทรกแซง และในทายที่สุด นําไปสู

การเกิดสงครามกับสเปน กลาวโดยสรุปในประเด็นที่เกี่ยวของกับการศึกษาความสัมพันธระหวาง

อังกฤษกับฝรั่งเศสคือ อังกฤษมีความกังวลและหวาดกลัวเกี่ยวกับอํานาจทางดานการทหาร

(โดยเฉพาะกองทัพเรือ) และดานอื่นๆ ของกษัตริยฟลิปที่ 2 แหงสเปน อังกฤษจึงหันไปสนับสนุนกลุม

โปรเตสแตนตในการตอตานการปกครองของสเปนในเนเธอรแลนด อีกทั้งมีการสรางพันธมิตรอังกฤษ

กับฝรั่งเศสใน ค.ศ.1572 (สนธิสัญญาเมืองบลัวส) รวมมือกันตอตานสเปน โดยเฉพาะในเนเธอรแลนด

รวมถึงมีขอเสนอจากฝรั่งเศสใหมีการอภิเษกสมรสระหวางพระราชินีอลิซาเบธกับเฮนรี ดุกแหงอองฌู

(กษัตริยเฮนรีที่ 3 แหงฝรั่งเศส) และเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอัลลองซงตามลาํดับ โดยหนังสือเลมน้ี มี

เน้ือหาที่มีความละเอียดและกระจางชัดมากที่สุดเลมหน่ึงเกี่ยวกับการตางประเทศของอังกฤษ โดยเปน

การศึกษาจากหลักฐานช้ันตนและหลักฐานช้ันรอง อยางไรก็ตาม ดอรันยังมิไดศึกษาพระราชสาสนของ

8

พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 อยางจริงจัง นอกจากน้ี ในชวงทายของหนังสือ ดอรันยังไดรวบรวมเอกสารที่

เกี่ยวกับความสัมพันธของอังกฤษกับรัฐอื่นๆ ไวจํานวนหน่ึงซึ่งเปนประโยชนอยางย่ิงตอการศึกษาน้ี

ประวัติศาสตรยุโรปตนยุคใหม ค.ศ.1450 – 1789 โดย นํ้าเงิน บุญเปยม ไดอธิบายถึง

สภาพการณของยุโรปในชวงคริสตศตวรรษที่ 16 วามีความสําคัญเกี่ยวกับการปฏิรูปศาสนา และการ

เกิดรูปแบบการเมืองลักษณะใหมจากระบบศักดินาสวามิภักด์ิในสมัยกลางเปนรูปแบบการเมืองแบบ

รวมศูนยอํานาจในตนสมัยใหม และไดอธิบายถึงภาพรวมของทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสโดยสังเขป ซึ่งเปน

ประโยชนตอการทําความเขาใจในทางบริบทในชวงเวลาดังกลาวของผูศึกษา

A Brief History of Britain 1485 – 1660 โดย โรนาลด ฮูตตัน (Ronald Hutton) เปน

หนังสือประวัติศาสตรอังกฤษ ที่ไดอธิบายลักษณะตางๆ ในสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ต้ังแตประเด็น

เกี่ยวกับรัฐบาลของพระราชินีอลิซาเบธ (Elizabethan Government) สถานการณภายในอังกฤษ

เกี่ยวกับศาสนาระหวางคริสตจักรแหงอังกฤษและนิกายคาทอลิก โดยเฉพาะประเด็นเกี่ยวกับการเมือง

ระหวางรัฐซึ่งสามารถกลาวถึงเน้ือหาโดยสรุปที่เกี่ยวกับการศึกษาน้ี คือ ต้ังแตเริ่มตนรัชสมัยพระ

ราชินีอลิซาเบธ ฝรั่งเศสปกครองเมืองกาเลส (Calais) และมีทหารประจําการอยูในสกอตแลนด

อังกฤษจึงยังอยูในความขัดแยงกับฝรั่งเศส และเปนมิตรกับสเปน โดยที่พระราชินีอลิซาเบธไมทรงเต็ม

พระทัยนัก และในชวงทศวรรษ 1560 – 1570 ฝรั่งเศสตกอยูภายใตสงครามศาสนา ทําใหมีความ

สมดุลทางการเมืองระหวางรัฐ และฝรั่งเศสเริ่มมีการติดตอในทางสัมพันธไมตรีกับอังกฤษในประมาณ

ค.ศ.1570 ทําใหนโยบายของอังกฤษระหวาง ค.ศ.1570 – 1585 เปนไปในลักษณะประนีประนอม

(อดทน) ตอการกระทําตางๆที่มีตอกลุมโปรเตสแตนตในฝรั่งเศสและมีความตองการใหเนเธอรแลนด

จัดต้ังเปนรัฐโปรเตสแตนตที่เปนอิสระจากสเปน ดังน้ัน รัฐบาลของพระราชินีอลิซาเบธ จึงพยายามใชผู

มีอํานาจในฝรั่งเศสแทรกแซงชวยเหลือกลุมกบฏในเนเธอรแลนดตอตานการปกครองของสเปน

เน่ืองจากรัฐบาลของพระราชินีอลซิาเบธพยายามรกัษาสันติกับสเปนในขณะน้ัน อยางไรก็ตาม สงคราม

ระหวางอังกฤษกับสเปนเกิดข้ึนใน ค.ศ.1585 พระราชินีอลิซาเบธทรงสนับสนุนทั้งกลุมโปรเตสแตนต

ในฝรั่งเศส และกลุมกบฏในเนเธอรแลนด ซึ่งเปนผลสําเร็จ กลาวคือ ฝรั่งเศสกอเกิดรูปแบบการ

ปกครองใหมที่มั่นคง นอกจากน้ี รัฐบาลอังกฤษยังมีลักษณะเปนคนกลางในการเจรจาอยางสันติในการ

แบงเขตการปกครองระหวางฝรั่งเศสกับเนเธอรแลนด18 ทั้งน้ีพบวาหนังสือเลมน้ี ใชวิธีแบงหัวขอในแต

ละสมัยและอธิบายอยางรอบคอบชัดเจน โดยศึกษาจากเอกสารช้ันรองเปนสวนใหญ

ยุโรปสมัยใหม ค.ศ.1492 – 1815 โดย อนันตชัย เลาหะพันธุ มีเน้ือหาที่เกี่ยวของกับ

การศึกษาน้ีอยูในบท ‘บนความขัดแยงอังกฤษ-สเปน-เนเธอรแลนด’ ซึ่งอธิบายโดยสรุปเกี่ยวกับอังกฤษ

ในสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 วา พระองคทรงพยายามสรางความเปนปกแผนใหกับอังกฤษ รักษา

18 Ronald Hutton, A Brief History of Britain 1485 – 1660, pp. 108 – 112.

9

ความสงบภายใน หลีกเลี่ยงสงคราม สงเสริมการคา และสรางความแข็งแกรงใหแกกองทัพ อันทําให

เห็นวาอังกฤษในสมัยน้ีมีความเขมแข็งในทางการเมืองอยูในระดับที่ดี พระราชินีอลิซาเบธทรงศรัทธา

ในศาสนาคริสต นิกายอังกฤษ แตไมทรงดําเนินนโยบายตอตานนิกายอื่นอยางรุนแรง และในชวงแรก

ของการครองราชย พระองคยังทรงดําเนินนโยบายการตางประเทศประนีประนอมกับฝายคาทอลิก

อยางไรก็ตาม ในดานการตางประเทศกับฝรั่งเศส อังกฤษประสบปญหาหลายเรื่องต้ังแตตนรัชกาลของ

พระราชินีอลิซาเบธ ต้ังแตการอางสิทธิในราชบัลลังกอังกฤษ และการเขาปกครองสกอตแลนดของ

ฝรั่งเศส รวมถึงปญหาทางดานศาสนา นอกจากน้ี ในปลายคริสตทศวรรษ 1570 มีขอเสนอเพื่ออภิเษก

สมรสจากเจาชายแหงฝรั่งเศสซึ่งเปนพระโอรสในกษัตริยเฮนรีที่ 2 แหงฝรั่งเศส อยางไรก็ตาม พระ

ราชินีอลิซาเบธที่ 1 มิไดทรงอภิเษกสมรสตลอดรัชกาล และในบท ‘ราชวงศบูรบงกับการสถาปนา

อํานาจสมบูรณาญาสิทธิราชย’ ไดกลาวถึง สงครามศาสนาในฝรั่งเศส ระหวางฝายที่นับถือนิกาย

คาทอลิกนําโดยตระกูลกีส ซึ่งทรงอิทธิพลในฝรั่งเศส กับกลุมโปรเตสแตนต ลัทธิคัลแวง หรือที่เรียกวา

กลุม “ฮูเกอโนต” โดยเปนสงครามที่กินเวลาเกือบ 30 ป ระหวางสงคราม ทั้งสองฝายตอสูกันจน

กลายเปนสงครามกลางเมือง ที่อังกฤษกับสเปนเขาไปมีบทบาท โดยอังกฤษสงกองทัพเขามาชวยเหลือ

กลุมฮูเกอโนต สวนสเปนชวยเหลือกลุมคาทอลิก และในทายที่สุดสงครามดังกลาวสิ้นสุดลงและนําไปสู

การสถาปนาราชวงศใหมข้ึนปกครองฝรั่งเศส

The Illustrated History of the Kings & Queens of Britain โดย ชารล ฟลลิปส

(Charles Phillips) หนังสือที่ศึกษาเกี่ยวกับประวัติโดยยอของกษัตริยและพระราชินีบนเกาะบริเตน

(อังกฤษ, สกอตแลนด, และอืน่ๆ) อันมีเน้ือหาที่สําคัญ (ที่นาสนใจหรือจุดสนใจ) อยูในบางชวงสมัย ซึ่ง

หน่ึงในเน้ือหาหลักน้ี คือ สมัยที่ถูกเรียกวา ‘ยุคทองของอลิซาเบธที่ 1 (The Golden Age of

Elizabeth I)’ โดยไดใหขอมูลอยางกวางๆ เกี่ยวกับเหตุการณและสถานการณของอังกฤษในสมัยพระ

ราชินีอลิซาเบธที่ 1 ต้ังแตกอนที่พระองคจะทรงข้ึนครองราชยใน ค.ศ.1558 จนสิ้นสุดรัชกาลใน

ค.ศ.1603 ทั้งในดานศาสนา และโดยเฉพาะในดานความสัมพันธกับตางดินแดนในหัวขอ Europe in

the time of Elizabeth I กลาวโดยสรุป คือ พระราชินีอลิซาเบธทรงเผชิญปญหาความขัดแยงกับ

อาณาจักรที่ทรงอํานาจทางการเมือง เชน ฝรั่งเศส และสเปน ต้ังแตในตอนตนรัชกาล อยางไรก็ตาม

รัฐบาลอังกฤษ ที่นําโดยพระราชินีอลิซาเบธสามารถควบคุมสถานการณไวได และพระราชินีอลิซาเบธ

ยังทรงแสดงพระองคเปนผูปกปองกลุมโปรเตสแตนตในยุโรป และเพื่อปองกันการขยายอํานาจของ

สเปนและคาทอลิก อังกฤษไดเขาสนับสนุนและแทรกแซงความขัดแยงทางการเมืองและศาสนา ทั้ง

สงครามศาสนาในฝรั่งเศส และความพยายามในการปฏิวัติของชาวดัตชในเนเธอรแลนดภายใตการ

ปกครองของสเปน19 โดยหนังสือมุงเนนเกี่ยวกับบทบาทของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เปนหลัก

19 Charles Phillips, The Illustrated History of the Kings & Queens of Britain

(Southwater, 2012), pp. 120 – 123.

10

นอกจากน้ี แมหนังสือเลมน้ีอาจจะเปนหนังสือที่ใหเน้ือหาโดยสรุป แตจากเน้ือหาในหนังสือก็ไดแสดง

ใหเห็นถึงความเขาใจที่ชัดเจนในหลายประเด็นของเน้ือหาอยางที่อาจปรากฏไมมากในงานสวนใหญที่

เขียนข้ึนโดยชาวไทย

England and Europe 1485 – 1603 โดย ซูซาน ดอรัน เปนหนังสือที่มีเน้ือหาเกี่ยวของ

กับความสัมพันธกับตางประเทศของอังกฤษในชวงสมัยของราชวงศทิวดอร โดยมีการแบงเน้ือหา

ออกเปน 2 สวน ไดแก สวนภูมิหลัง สวนวิเคราะห สวนประเมินผล และสวนสุดทาย คือ สวนเอกสาร

ซึ่งในสวนภูมิหลังน้ัน ไดกลาวถึงพื้นฐานของอังกฤษตอภายนอกอาณาจักรในชวงเวลาของราชวงศ

ทิวดอร ไมวาจะเปนดานการคา การทหาร และการทูต รวมถึงบริบทโดยทั่วไปของรัฐตางๆและ

โดยเฉพาะในสวนวิเคราะห ไดมีการแบงเน้ือหาการวิเคราะหแตละสมัยของกษัตริยแหงราชวงศทิวดอร

ไวอยางชัดเจน ต้ังแตสมัยกษัตริยเฮนรีที่ 7 ถึงสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 โดยในสมัยพระราชินี

อลิซาเบธที่ 1 อันเกี่ยวของกับการศึกษาน้ี ไดแบงเน้ือหาออกเปนสวนความสัมพันธกับสเปน ฝรั่งเศส

และการสงคราม ตามลําดับ โดยประโยชนของหนังสือน้ี คือ การทําใหผูศึกษาเขาใจถึงภูมิหลังของ

อังกฤษ และความสามารถของรัฐบาลอังกฤษในดานความสัมพันธกับตางรัฐ

จากเอกสารและงานศึกษาที่ไดยกมาทั้งหมดน้ี ลวนแลวแตเปนประโยชนตอผูศึกษาทั้งสิ้นซึ่ง

เปนงาน ศึกษาที่ศึกษาทั้งจากหลักฐานช้ันตนและหลักฐานช้ันรอง อยางไรก็ตาม ในสวนของหลักฐาน

ช้ันตนน้ัน งานศึกษาเหลาน้ีเปนการศึกษาจากหลักฐานประเภทนโยบายทางการปกครอง สนธิสัญญา

บันทึกการประชุม และเอกสารทางการอื่นๆ เปนหลักและมีการศึกษาจากพระราชสาสนของพระ

ราชินีอลิซาเบธที่ 1 ประกอบเทาน้ัน ทําใหการศึกษา ‘ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต

ค.ศ.1572 – 1596 ศึกษาจากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1’ น้ี มีความแตกตางกับงาน

ศึกษาช้ินอื่นๆ เน่ืองจากเปนการศึกษาจากพระราชสาสนเปนหลัก อันจะทําใหทราบถึงรายละเอียดใน

อีกแงมุมหน่ึงที่เอกสารช้ินอื่นไมสามารถใหได โดยเฉพาะเอกสารทางการ

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา

เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572 ถึง ค.ศ.1596 จากพระ

ราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ที่เกี่ยวของกับฝรั่งเศส

1.3 ขอบเขตของการศึกษา

การศึกษาเรื่อง ‘ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรัง่เศส ต้ังแต ค.ศ.1572 – 1596 ศึกษาจาก

พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1’ ผูศึกษาไดกําหนดขอบเขตของการศึกษาเฉพาะในเรื่อง

ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสทางดานการเมือง ศาสนาและอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ในระหวาง

ค.ศ.1572 ถึง 1596 โดยมุงเนนการศึกษาจากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 โดยแบง

11

ชวงเวลาของความสัมพันธน้ีออกเปน 2 ชวงเวลา ไดแก ความสัมพันธฯ ต้ังแต ค.ศ.1572 ถึง 1584

และต้ังแต ค.ศ.1585 ถึง 1596

1.4 ระเบียบวิธีการศึกษา

มุงเนนศึกษาจากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ใน Elizabeth I Collected

Works ของ Leah S. Marcus และคณะ อันเปนหลักฐานช้ันตน อีกทั้งยังศึกษาจากหลักฐานช้ันตน

อื่นๆ ที่เกี่ยวของ ไดแกพระราชสาสนหรือสาสนที่บุคคลอื่นสงถึงพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 รวมถึงศึกษา

จากหลักฐานช้ันรอง กลาวคือ เอกสารที่เปนงานศึกษา ซึ่งเรียบเรียงข้ึนในภายหลัง เพื่อใหเปนสวน

เสริมในการอธิบายบริบทหรือสถานการณ และการวิเคราะหไปยังเน้ือหาหรือขอมูลที่ไดจากพระราช

สาสน โดยการนําเอกสารเหลาน้ีมาใชในการตีความและวิเคราะหตามระเบียบวิธีทางประวัติศาสตร

ตลอดจนนําเสนอดวยการอธิบายและพรรณนาวิเคราะห

1.5 ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

ทราบถึงความสัมพันธทางการเมือง และศาสนาระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572

ถึง 1596 จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1

1.6 แหลงคนควาขอมูล

1) หอสมุดแหงชาติ

2) สํานักวิทยบริการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

3) หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร

4) สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

5) The Cecil Papers (แหลงสืบคนเอกสารทางประวัติศาสตรของหอจดหมายเหตุ Hatfield

House)

6) The British Library

7) The British Museum

12

บทที่ 2

ภูมิหลังทางประวัตศิาสตรของอังกฤษและฝรั่งเศสถึง ค.ศ.1572

บทน้ีจะศึกษาภูมิหลังของอังกฤษกับฝรั่งเศส ถึง ค.ศ.1572 รวมถึงสถานการณของยุโรป

ระหวางปลายคริสตศตวรรษ 15 ถึงในคริสตศตวรรษที่ 16 ในแตละประเด็นที่เกี่ยวของ นับต้ังแตการ

ข้ึนมามีอํานาจของกษัตริยเฮนรีที่ 7 แหงราชวงศทิวดอรของอังกฤษต้ังแต ค.ศ.1457 และในสมัย

กษัตริยฟรองซัวสที่ 1 แหงราชวงศวาลัวสของฝรั่งเศส (François I of France)20 จนถึง ค.ศ.1572 ซึ่ง

อยูในสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 แหงอังกฤษ และกษัตริยชารลสที่ 9 แหงฝรั่งเศส (Charles IX of

France)21 เพื่อทําความเขาใจในบริบทและยุคสมัย อันปรากฏ และนําไปสูความสัมพันธที่เกิดข้ึน

ระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสใน ค.ศ.1572 ถึง 1596 เน่ืองจากนโยบายทางการเมือง ศาสนา และการ

ตางประเทศของอังกฤษและฝรั่งเศสในสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 มีพัฒนาการเรื่อยมาต้ังแตกอนที่

พระองคจะทรงข้ึนครองราชย

บทน้ีจึงเปนการศึกษา เพื่อใหทราบถึงพื้นฐานทางการเมือง และดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับยุโรป

ในคริสตศตวรรษที่ 16 อันเปนชวงเวลาของการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญในดานศาสนา กลาวคือ ใน

ยุโรป เกิดการปฏิรูปศาสนาข้ึน ซึ่งทําใหคริสตจักรแตกออกเปน 2 นิกาย ไดแก นิกายคาทอลิก และ

นิกายโปรเตสแตนต ซึ่งเปนผลใหทั้งอังกฤษและฝรั่งเศสไดรับอิทธิพลของการปฏิรูปศาสนาในครั้งน้ี

ดวย นอกจากน้ี ยังเกิดการเปลี่ยนแปลงในดานการเมืองที่สําคัญกลาวคือ เปนการเปลี่ยนแปลงจาก

ลักษณะการเมืองแบบการกระจายอํานาจของยุโรปสมัยกลาง22 มาเปนการเมืองแบบรวมอํานาจที่

ศูนยกลาง และเปนการเมืองทีม่ีความเกีย่วของกับศาสนา นอกจากน้ี บทน้ียังเปนการศึกษาในสวนของ

พัฒนาการความสัมพันธที่จะนําไปสูสัมพันธไมตรีระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสที่เกิดข้ึนอยางเปนรูปธรรม

ใน ค.ศ.157223

ดังน้ัน ในบทน้ี จะอธิบายถึง 3 หัวขอที่สําคัญเพื่อทําความเขาใจความสัมพันธระหวางอังกฤษ

กับฝรั่งเศส ถึง ค.ศ.1572 ไดแก หัวขอแรก ปญหาทางศาสนาของอังกฤษและฝรั่งเศส หัวขอที่สอง ภูมิ

หลังทางการเมืองของอังกฤษและฝรั่งเศส และหัวขอที่สาม ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสถึง

ค.ศ.1572 ทั้งน้ี เพื่อเปนการปูพื้นฐานความรูความเขาใจใหแกการศึกษาความสัมพันธระหวางอังกฤษ

กับฝรั่งเศสในชวงสมัยของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1

20 กษัตริยฟรองซัวสที่ 1 แหงฝรั่งเศส ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1515 – 1545 21 กษัตริยชารลสที่ 9 แหงฝรั่งเศส ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1560 – 1574 22 ยุโรปสมัยกลางประมาณตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 5 – 15 23 Susan Doran, Monarchy & Matrimony: The Courtships of Elizabeth I.

13

2.1 ประเด็นทางศาสนาของอังกฤษและฝรั่งเศส

สภาพของคริสตจักร นิกายคาทอลิกในยุโรปในชวงตนคริสตศตวรรษที่ 16 เริ่มเกิดการโตแยง

ในดานการกระทําและคําสอนของนักบวชในนิกายคาทอลิก โดยบุคคลที่ไมเห็นดวย จนนําไปสูการ

ปฏิรูปศาสนาหรือการปฏิรูปศาสนาของฝายโปรเตสแตนต (Protestant Reformation) กลาวคือ เปน

การเคลื่อนไหวของบุคคลกลุมหน่ึงที่ตองการปรับปรุงศาสนาใหบริสุทธ์ิเหมือนในระยะแรกที่ศาสนา

กําเนิด แตผูมีอํานาจในวงการศาสนาขณะน้ัน ไมยอมรับการปรับปรุง ทําใหมีการแยกตัวออกจาก

นิกายคาทอลิกและต้ังลัทธิใหมข้ึน ซึ่งเกิดข้ึนหลายลัทธิดวยกัน โดยรวมเรียกวา นิกายโปรเตสแตนต24

โดยการปฏิรูปศาสนาที่เกิดข้ึนครั้งแรกอยางเปนรูปธรรมน้ัน เกิดข้ึนโดยนักบวชที่ช่ือ มารติน ลูเธอร

(Martin Luther) ซึ่งการปฏิรูปไดสงผลตอความเช่ือของประชนชนและราชสํานักในดินแดนตางๆ ของ

ยุโรปอยางกวางขวาง ซึ่งก็รวมถึงอังกฤษและฝรั่งเศสดวย

ในสมัยกลาง ชาวยุโรปตกอยูภายใตอิทธิพลความเช่ือในศาสนาคริสต ที่ นําโดยพระ

สันตะปาปาที่กรุงโรม ดังน้ัน องคกรทางศาสนาจึงไดใชอิทธิพลดังกลาว แสวงหาอํานาจและความ

ร่ํารวย ทําใหนักบวชในศาสนาคริสตเขามาเกี่ยวของกับทางโลกทั้งทางสังคมและการเมือง จนทําให

พระสันตะปาปาขัดแยงกับกษัตริยในดินแดนตางๆ หลายครั้งในชวงปลายสมัยกลาง ซึ่งนําไปสูความ

เสื่อมของนักบวช และองคพระสันตะปาปา

ครั้งต้ังแตในสมัยพระสันตะปาปาซิกสตุสที่ 4 (Pope Sixtus IV)25 เปนตนมา นอกจากรายได

จากภาษี การขายตําแหนงทางศาสนา และอื่นๆ แลว พระสันตะปาปาทรงกําหนดใหมีการขายใบไถ

บาปโดยทั่วไปในพื้นที่ตางๆ ในยุโรป และกวางขวางมาข้ึนเรื่อยๆ ซึ่งการไถบาปน้ี ครอบคลุมทั้งตอผูที่

มีชีวิตอยูและผูที่ตายไปแลว เน่ืองจาก พระสันตะปาปาทรงใชจายในการซื้อหนังสือ และแปลเอกสาร

ตางๆ จํานวนมาก รวมถึงการลงทุนไปกับการกอสราง เชน วิหาร โบสถ ฯลฯ ที่แสดงถึงความย่ิงใหญ

สวยงาม จนในที่สุด ไดนําไปสูภาวะวิกฤตทางการเงินของพระสันตะปาปา

ดวยสถานการณขางตน จึงเกิดการปฏิรูปศาสนาข้ึนเปนครั้งแรก โดยมารติน ลูเธอร ซึ่งนําไปสู

การกําเนิดนิกายโปรเตสแตนตในดินแดนเยอรมันใน ค.ศ.152926 และการแยกตัวออกจากนิกาย

คาทอลิก ที่ถูกมองวาเปนโลกแหงวัตถุ (สถาบันศาสนา) และเกิดข้ึนหลายลัทธิดวยกัน เชน ลัทธิลูเธอร

(Lutheranism), ลัทธิคัลแวง (Calvinism)27 เปนตน ซึ่งเปนผลใหเกิดความขัดแยงทางศาสนาระหวาง

24 ทวีศักดิ์ ลอมล้ิม, ประวัติศาสตรยุโรปสมัยใหม ค.ศ.1453 – 1804, หนา 53. 25 พระสันตะปาปาซิกสตุสที่ 4 ดํารงตําแหนงตั้งแต ค.ศ.1471 – 1484 26 นํ้าเงิน บุญเปยม, ประวัติศาสตรยุโรปตนสมัยใหม ค.ศ.1450 – 1789, พิมพครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2548), หนา 26 – 34. 27 ลัทธิคัลแวง กอตั้งขึ้นโดย ฌอง คัลแวง (John Calvin)

14

นิกายโปรเตสแตนตข้ึน โดยเฉพาะในฝรั่งเศส เน่ืองจากแตละฝายไมตองการสญูเสยีอํานาจและอิทธิพล

ของตน ทั้งยังไดรับการสนับสนุนจากประชาชน รวมถึงชนช้ันปกครองตางๆ ที่ตกอยูในความคิดความ

เช่ือในนิกายที่ตนศรัทธา นอกจากน้ี ยังนําไปสูสภาพสังคมและการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปดวยซึ่งผูคน

ตางถูกครอบงําทางความคิดความเช่ือของตน จนในหลายครั้งไมสามารถประนีประนอมหรือเขาใจกัน

ได ตัวอยางเชน กลุมบุคคลที่นับถือในนิกายที่แตกตางกัน หากกลาวถึงเรื่องทางศาสนา อาจทําใหเกิด

ความขัดแยงที่บานปลาย และอาจไมสามารถสนทนากันตอไปได หรือกลุมผูปกครองรัฐที่นับถือศาสนา

ในนิกายที่แตกตางกัน ก็อาจกลายเปนศัตรูกัน และการเจรจาระหวางรัฐเปนไปไดยากข้ึน28 ทั้งน้ี เปน

ผลใหอังกฤษและฝรั่งเศสตางก็ไดรับอิทธิพลของการปฏิรูปศาสนา ซึ่งนําไปสูการสถาปนาศาสนจักร

ประจํารัฐข้ึน ทั้งในอังกฤษและฝรั่งเศส ซึ่งเปนไปในลักษณะที่แตกตางกันดังที่จะไดกลาวตอไปน้ี

2.1.1 การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ

แมวาในสมัยกษัตริยเฮนรีที่ 7 แหงราชวงศทิวดอร ปกครองอังกฤษ ราชสํานักอังกฤษยังคงนับ

ถือศาสนาคริสต นิกายคาทอลิก อยางไรก็ตาม การโตแยงทางศาสนาคริสตในอังกฤษ เคยเกิดข้ึน

มาแลวต้ังแตในสมัยกลาง ในสมัยของกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3 (Edward III of England)29 แตเกิดข้ึน

อยางไมเปนรูปธรรมนัก โดยคณะลอลลารด (Lollard) นําโดยจอหน วิกลิฟฟ (John Wycliffe) ที่ได

โตแยงพฤติกรรมของนักบวชชาวอังกฤษ30 แตไมถึงข้ันปฏิรูปศาสนา ทั้งวิกลิฟฟยังไดแปลพระคัมภีร

ไบเบิลเปนภาษาอังกฤษ อันเปนประโยชนตอการรับรูทางศาสนาของชาวอังกฤษมากข้ึน อยางไรก็ตาม

แนวคิดของวิกลิฟฟ ไดถายทอดไปสูการปฏิรูปศาสนาของมารติน ลูเธอร ในชวงตนคริสตศตวรรษที่ 16

ผานการรับรูของบคุคลผูตอตานการกระทาํขององคกรครสิตจักรอื่นๆ ไดแก จอหน ฮัสส (John Huss)

และเอซิเดอริอุส อิราสมุส (Desiderius Erasmus) ซึ่งในที่สุด อังกฤษก็ไดรับอิทธิพลการปฏิรูปศาสนา

ที่เปนรูปธรรม (English Reformation) ในสมัยกษัตริยเฮนรีที่ 8

เน่ืองจาก ดวยอิทธิพลที่มีอยูทั่วไปของวิกลิฟฟ รวมถึงนักมนุษยธรรมที่สําคัญ เชน จอหน

คอเลต (John Colet) โธมัส มอร (Thomas More) และอิราสมุสไดใหแนวคิดใหมๆ แกชาวอังกฤษอยู

ไมนอย ทั้งลัทธิลูเธอรยังเปนที่รูจักของชาวอังกฤษ และชาวอังกฤษไดมีความไมพอใจวัดในอังกฤษที่

เก็บภาษีตางๆ สงไปยังองคกรศาสนาที่กรุงโรม เดิมน้ัน กษัตริยเฮนรีที่ 8 เปนคาทอลิก ทั้งยังไดช่ือวา

เปน ‘ผูพิทักษแหงความเช่ือ (Defender of the Faith)’31 แตดวยเหตุผลอันเกี่ยวของกับอภิสิทธ์ิของ

นักบวชที่มีมาก ทั้งอังกฤษตองสูญเสียเงินจํานวนมากในการเก็บภาษีใหแกองคกรศาสนาที่กรุงโรม

28 Euan Cameron, Short Oxford History of Europe: The Sixteenth Century (New York: Oxford University Press, 2006).

29 กษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3 แหงอังกฤษ ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1327 – 1377 30 ทวีศักดิ์ ลอมล้ิม, ประวัติศาสตรยุโรปสมัยใหม ค.ศ.1453 – 1804, หนา 58. 31 ทวีศักดิ์ ลอมล้ิม, ประวัติศาสตรยุโรปสมัยใหม ค.ศ.1453 – 1804, หนา 69 – 70.

15

นอกจากน้ี เมื่อพระองคทรงมีพระราชประสงคที่จะหยารางกับพระราชินีแคเทอรีนแหงอารากอน

(Catherine of Aragon ดํารงตําแหนง ค.ศ.1509 – 1533)32 และอภิเษกสมรสใหมกับแอนน โบลีน

(Anne Boleyn)33 แตพระสันตะปาปาทรงไมอนุญาต34 ทําใหในที่สุด พระองคจึงทรงประกาศแยก

ศาสนาคริสตของอังกฤษออกจากนิกายคาทอลิก โดยมีการจัดทําพระราชบัญญัติอํานาจสูงสุดทาง

ศาสนา (Act of Supremacy) จากรัฐสภา ใน ค.ศ.1534 ที่กําหนดใหกษัตริยแหงอังกฤษเปนผูนํา

สูงสุดของศาสนาคริสตในอังกฤษ กอใหเกิดลัทธิใหม อันเปนสาขาหน่ึงในนิกายโปรเตสแตนต คือ ‘ลัทธิ

อังกฤษ (Anglicanism)’ หรือ ‘คริสตจักรแหงอังกฤษ (Church of England)’

หลักการและคําสอนสวนใหญของลัทธิอังกฤษ มิไดตางจากในนิกายคาทอลิกมากนัก เพียงแต

กําหนดใหกษัตริยเปนผูนําทางศาสนา รวมถึงการรักษาพรหมจรรยของนักบวช การสารภาพบาปตอง

ใหคนอื่นไดยิน และหลักการอื่นๆ มีลักษณะคลายกับนิกายคาทอลิก ตัวอยางเชน การรับศีลมหาสนิท

และการประกอบพิธีกรรมเปนสวนตัว รวมถึงยังมีการแกไขพิธีกรรมใหงายข้ึน

ตอมาในสมัยกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 6 (Edward VI of England)35 รัฐสภาไดจัดทํา

พระราชบัญญัติสมานฉันท (Act of Uniformity) ใน ค.ศ.1549 ที่กําหนดใหผูไมเห็นดวยกับนิกาย

โปรเตสแตนต ลัทธิอังกฤษ ไดรับการลงโทษ ทั้งยังมีการแปล และกําหนดใหใชหนังสือสวดมนตสามัญ

(Book of Common Prayer 2 เลม) ของลัทธิอังกฤษ ซึ่งเปนผลใหคริสตจักรแหงอังกฤษ รวมถึงลัทธิ

ของโปรเตสแตนตอื่นๆ ไดวางรากฐานมั่นคงข้ึนในอังกฤษ แมเมื่อถึงในสมัยพระราชินีแมรีที่ 1 (Mary I

of England)36 ซึ่งพระองคทรงมีความพยายามในการฟนฟูนิกายคาทอลิกข้ึนมาอีก โดยไดมีการ

ยกเลิกกฎหมายที่บัญญัติในสมัยกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 6 และบัญญัติกฎหมายใหมที่เปนประโยชนแก

นิกายคาทอลิกข้ึนมาแทนจึงกอใหเกิดการจลาจล และตามมาดวยการปราบปรามอยางรุนแรง เปนผล

ใหมีผูเสียชีวิตจํานวนมาก ทั้งยังถูกเผาทั้งเปนในขอหาทางศาสนา ทําใหพระราชินีแมรีทรงไดรับพระ

ราชสมัญญาวา “แมรกีระหายเลือด (Bloody Mary)”

32 กษัตริยเฮนรีที่ 8 ทรงใหเหตุผลวาพระโอรสที่เกิดจากพระราชินีแคเทอรีนน้ัน ส้ินพระชนมทั้งหมด ตั้งแต

ยังเยาววัย และทรงอางวาพระองคถูกสาปแชงจากพระคัมภีรที่อภิเษกสมรสกับพระมเหสีของพระเชษฐา (เจาชายอา-เธอร ซ่ึงส้ินพระชนม) ตั้งแตในสมัยกษัตริยเฮนรีที่ 7 ผูเปนพระราชบิดา

33 พระมารดาของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 34 พระสันตะปาปาแหงกรุงโรม ในขณะน้ันตกอยูภายใตความลําบาก กําลังพายแพตอจักรพรรดิชาลสที่ 5

แหงจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธ์ิ ทั้งดินแดนในอิตาลีก็ตกอยูใตอํานาจของจักรพรรดิ ทั้งน้ี พระราชินีแคเทอรีน แหง อารากอนน้ัน มีศักดิ์เปนพระมาตุจฉา (นา) ขององคจักรพรรดิ ดังน้ัน พระสันตะปาปาจึงทรงไมสามารถอนุมัติการหยารางในครั้งน้ีได

35 กษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 6 แหงอังกฤษ ทรงเปนพระโอรสในกษัตริยเฮนรีที่ 8 กับพระมเหสีเจน ซีมัวรครองราชยตั้งแต ค.ศ.1547 – 1553

36 พระราชินีแมรีที่ 1 ทรงเปนพระธิดาในกษัตริยเฮนรีที่ 8 กับพระราชินีแคเทอรีน แหงอารากอน ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1553 – 1558

16

อยางไรก็ตาม เมื่อ เขาสูสมัยของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 พระองคทรงฟนฟูนิกาย

โปรเตสแตนต โดยเฉพาะลัทธิอังกฤษข้ึนมาอีกขอกําหนดตางๆ เกี่ยวของกับศาสนาที่บัญญัติข้ึนในสมัย

พระราชินีแมรีที่ 1 ถูกยกเลิก นอกจากน้ี มีการนําพระราชบัญญัติอํานาจสูงสุดทางศาสนาที่กําหนดให

พระราชินีอลิซาเบธเปนผูมีอํานาจสูงสุดทางศาสนา และพระราชบัญญัติสมานฉันทที่กําหนดใหใช

หนังสือสวดมนต (Book of Common Prayer)37 ที่แปลข้ึนในสมัยกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 6 กลับมาใชอีก

ครั้ง รวมถึงการแกไขบางสวนใหเปนไปในลักษณะประนีประนอมทางศาสนามากข้ึน ทั้งตอฝาย

โปรเตสแตนตและคาทอลิก ดวยสถานการณน้ี (รวมถึงการกอกบฏในตอนเหนือของอังกฤษลมเหลวใน

ค.ศ.1569) ทําใหพระราชินีอลิซาเบธถูกขับออกจากศาสนจักร (นิกายคาทอลิก) ใน ค.ศ.1570 โดย

พระสันตะปาปาไพอุสที ่5 (Pope Pius V)38 เปนผลให รัฐสภาอังกฤษ ตอบโตโดยการบัญญัติกฎหมาย

วาดวยการกบฏ (Treason Act) ใน ค.ศ.157139 กําหนดใหบุคคลใดก็ตามที่แสดงออกในลักษณะวา

พระราชินีอลิซาเบธเปนบุคคลนอกศาสนา ไมวาทางใด จะถือวาบุคคลน้ันเปนกบฏ และจะไดรับโทษ

ทั้งน้ี จากสถานการณดังกลาว ทําใหประชาชนชาวอังกฤษสวนใหญนับถือนิกายโปรเตสแตนตมากกวา

นิกายคาทอลิกอยางมาก ทั้งยังแสดงใหเห็นวาลัทธิอังกฤษมีความมั่นคงมากข้ึนเรื่อยมาต้ังแตตนรัชกาล

ของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 (ค.ศ.1558 – 1571) จนมีฐานะเปนศาสนาประจํารัฐของอังกฤษ

2.1.2 นิกายคาทอลิกกับการขยายตัวของนิกายโปรเตสแตนตในฝรั่งเศส

นับต้ังแตสมัยกลาง ศาสนาคริสต นิกายคาทอลิกเปนศาสนาประจํารัฐของฝรั่งเศส เน่ืองดวย

ฝรั่งเศสอยูในฐานะที่เรียกวา “พระธิดาองคโตของคริสตจักร (Church's eldest daughter)” และ

กษัตริยแหงฝรั่งเศสก็มีความใกลชิดกับพระสันตะปาปาเรื่อยมา อยางไรก็ตาม ความเปลี่ยนแปลงเริ่ม

เกิดข้ึนเมื่อมีการปฏิรูปศาสนาในคริสตศตวรรษที่ 16 กลาวคือ ต้ังแตในสมัยกษัตริยฟรองซัวสที่ 1

พระองคทรงตองการถวงดุลอาํนาจกับจักรพรรดิชารลสที่ 5 แหงจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิ (Charles

V of Holy Roman Empire)40 ผูไดรับพระราชสมัญญาวา “ผูนําของนิกายคาทอลิก”41 ดังน้ัน

กษัตริยฟรองซัวสที่ 1 จึงทรงสนับสนุนกลุมโปรเตสแตนตอยางไมเปดเผยทั้งในดินแดนเยอรมัน และใน

ราชสํานักฝรั่งเศสเอง อยางไรก็ตาม เมื่อถึง ค.ศ.1533 พระองคทรงยุติการสนับสนุนและสั่งใหมีการ

กําจัดกลุมโปรเตสแตนต เน่ืองดวยสถานการณการเมืองที่พระโอรสของพระองคทรงถูกจักรพรรดิ

ชารลสที่ 5 จับเปนตัวประกัน

37 Ronald Hutton, A Brief History of Britain 1485 – 1660, pp. 96 – 97. 38 พระสันตะปาปาไพอุสที่ 5 ดํารงตําแหนงตั้งแต ค.ศ.1566 – 1572 39 Ronald Hutton, Ibid, pp. 104. 40 จักรพรรดิชารลสที่ 5 แหงจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธ์ิ ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1519 – 1556 41 นํ้าเงิน บุญเปยม, ประวัติศาสตรยุโรปตนสมัยใหม ค.ศ.1450 – 1789, หนา 132 – 133.

17

แตเมื่อเขาสูสมัยกษัตริยฟรองซัวสที่ 2 (François II of France)42 จนถึงสมัยกษัตริยชารลสที่

9 แหงฝรั่งเศส43 อิทธิพลของการปฏิรูปศาสนาและนิกายโปรเตสแตนตถายทอดเขามายังฝรั่งเศสมาก

ข้ึนและมีความมั่นคงมากกวาเมื่อครั้งในสมัยกษัตริยฟรองซัวสที่ 1 แมวาทางราชสํานักฝรั่งเศสจะไมให

การสนับสนุนก็ตาม

กลุมโปรเตสแตนตในฝรั่งเศส หรือที่เรียกวา “ฮูเกอโนต (Huguenots)” โดยสวนใหญจะเปน

โปรเตสแตนต ลัทธิคัลแวง ซึ่งหลักศาสนาของคัลแวงสามารถสรุปได คือ พระเจาเปนผูทรงอํานาจและ

รัศมีภาพแตเพียงผูเดียว พระเจาเปนผูลขิิตชีวิตมนุษย และพระพรจะบนัดาลใหชาวคริสตเกดิความเช่ือ

และใหแสงสวางแกชีวิต โดยสวนใหญมีลักษณะคลายกับลัทธิลูเธอร ที่แสวงหาทางหลุดพนจากโลก

แหงวัตถุในหลักการขององคกรศาสนาคริสต นิกายคาทอลิก ดังน้ัน หลังกษัตริยเฮนรีที่ 2 สิ้นพระชนม

กลุมฮูเกอโนต ไดเผยแพรศาสนาอยางกวางขวางมากข้ึน ไดรับการสนับสนุนอยางมากมาย ทั้งยังแพร

อิทธิพลความเช่ือเขาไปยังกรุงปารีสและอีกหลายเมืองในฝรั่งเศส44 ซึ่งในที่สุด นําไปสูสถานการณ

ความขัดแยงทางการเมืองที่เกี่ยวของกับศาสนา กลาวคือ เกิดสงครามศาสนาข้ึนในฝรั่งเศส

ดังน้ัน จะเห็นไดวา การปฏิรูปศาสนาที่เกิดข้ึนในยุโรปขณะน้ัน ไดแพรขยายเขาไปในดินแดน

ตางๆ ซึ่งใหผลที่แตกตางกันออกไป โดยในอังกฤษน้ัน นิกายโปรเตสแตนต มีความมั่นคงมาก ทั้งยัง

เปนศาสนาประจํารัฐโดยเฉพาะในสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เน่ืองจากไดรับการสนับสนุนจาก

ผูปกครองอังกฤษหลายพระองค นับต้ังแตกษัตริยเฮนรีที่ 8 ถึงพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 อยางไรก็ตาม

การปฏิรูปศาสนามิไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงศาสนาข้ึนในฝรั่งเศส แตกลับกอใหเกิดกลุมผูนับถือ

นิกายโปรเตสแตนต หรือ ฮูเกอโนต ข้ึนมาแทน ในขณะทีร่าชสํานักฝรั่งเศส และประชาชนจํานวนมาก

ยังคงเปนคาทอลิก ดวยเหตุน้ีจึงนํามาซึ่งปญหาทางการเมือง อันจะไดกลาวตอไปในหัวขอที่ 2.2 ดังน้ัน

ความคิดที่แตกตาง และปญหาทางศาสนาของราชสํานักอังกฤษและฝรั่งเศสน้ี จะเปนสวนสําคัญที่จะ

ทําใหเห็นถึงบรรยากาศของการติดตอและเจรจาตอรองผานพระราชสาสนระหวางพระราชินีอลิซาเบธ

ที่ 1 กับฝรั่งเศสในชวงระหวาง ค.ศ.1572 – 1596

2.2 พัฒนาการทางการเมืองของอังกฤษและฝรั่งเศส

การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญอีกดาน คือ ดานการเมือง ซึ่งสามารถสังเกตไดในลักษณะการเมือง

การปกครองของยุโรปในคริสตศตวรรษที่ 16 โดยเฉพาะในอังกฤษ และฝรั่งเศส กลาวคือ เปนชวงเวลา

ของการเปลี่ยนผานระหวางการเมืองในลักษณะการกระจายอํานาจของระบอบศักดินาสวามิภักด์ิ

42 กษัตริยฟรองซัวสที่ 2 แหงฝรั่งเศส ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1559 – 1560 43 ทั้งสองพระองคเปนพระโอรสในกษัตริยเฮนรีที่ 2 (King Henry II of France / ครองราชย ค.ศ.1547 –

1559) และพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ 44 นํ้าเงิน บุญเปยม, ประวัติศาสตรยุโรปตนสมัยใหม ค.ศ.1450 – 1789, หนา 134 – 136.

18

(Feudalism) อันเปนลักษณะเดนของยุโรปสมัยกลาง45 มาสูการเมืองแบบรวมอํานาจสูศูนยกลางการ

ปกครอง โดยกษัตริย อันเปนการปกครองในลักษณะของคณะบุคคลแหงรัฐบาลกลางหรือรัฐสภาที่

กษัตริยอยูในตําแหนงสูงสุด ซึ่งในสวนน้ี จะอธิบายถึงการเมืองภายในของอังกฤษและฝรั่งเศส ซึ่งมี

ความเกี่ยวของกับทางดานศาสนา ดังตอไปน้ี

2.2.1 การสรางความมั่นคงทางการเมืองในอังกฤษของราชวงศทิวดอร

เน่ืองจากขุนนาง (Lords) เสียชีวิตไปมากในสงครามดอกกุหลาบ (War of the Roses)46 เปน

เหตุใหอังกฤษในสมัยกษัตริยเฮนรีที่ 7 การปกครองโดยขุนนาง และอัศวิน ไดเริ่มจบสิ้นลง กลาวคือ

พระองคทรงสามารถเจรจาใหขุนนาง มีลักษณะเปนขาราชการ ซึ่งขาราชการน้ัน จะตองไมสะสมคนต้ัง

กองทัพ ซึ่งการที่จะรับบุคคลเขามาบริหารประเทศในคณะบุคคลน้ัน จะพิจารณาจากความซื่อสัตย

จงรักภักดีตอกษัตริยเปนอันดับแรก รวมถึงจะตองทํางานภายใตอํานาจของกษัตริย47อันเปนลักษณะ

การปกครองที่ไดรับอิทธิพลจากแนวคิดของมาเกียเวลลี (Machiavelli)48 อันเปนลักษณะการเมืองที่

ถูกนํามาใชในอังกฤษและพัฒนาจนเขาสูในสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 นอกจากน้ี กษัตริยเฮนรีที่ 7

ยังทรงมีนโยบายในการรักษาความมั่นคงและสันติภาพ ไมตองการทําสงครามหากไมจําเปน โดย

พระองคทรงใชวิธีการอภิเษกสมรสระหวางราชวงศ เพื่อใหมีความสัมพันธกับตางแดน49 ซึ่งพระองค

ทรงจัดใหมีการอภิเษกสมรสระหวางเจาชายอาเธอร ผูเปนพระโอรส กับเจาหญิงแคทเธอรีนแหงอารา-

กอน ตอมา ทรงจัดใหมีการอภิเษกสมรสระหวางเจาชายเฮนร ี(กษัตริยเฮนรีที ่8) กับเจาหญิงแคทเทอ-

รีนแหงอารากอนอีกครั้งเน่ืองจากเจาชายอาเธอรสิ้นพระชนม เพื่อการรับสินสมรสและการผูกมิตรกับ

สเปนของราชสํานักอังกฤษ นอกจากน้ี พระองคยังทรงจัดใหเจาหญิงมารกาเร็ต (Margaret Tudor) ผู

เปนพระธิดา อภิเษกสมรสกับกษัตริยเจมสที่ 4 แหงสกอตแลนด (James IV of Scotland)50 ทั้งยัง

ทรงใหเจาหญิงแมรี อภิเษกสมรสกับชารลสแหงคาสตีล (Charles of Castile)

45 อนันตชัย เลาหะพันธุ, เร่ืองนารูในยุโรปสมัยกลาง, พิมพครั้งที่ 3 (กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ,

2553). 46 สงครามดอกกุหลาบ เปนสงครามสืบราชบัลลังกอังกฤษระหวางราชวงศแพลนแทเจเนต (House of

Plantagenet) 2 สาย ไดแก สายแลงแชสเตอร (House of Lancaster) และสายยอรก (House of York) ซ่ึงสงครามเริ่มขึ้นตั้งแตใน ค.ศ.1445และส้ินสุดลงใน ค.ศ.1485 ดวยชัยชนะของสายแลงแชสเตอร และการลมสลายของราชวงศแพลนแทเจเนต ซ่ึงถูกแทนที่โดยราชวงศทิวดอรที่สถาปนาขึ้นจากสายแลงแชสเตอร

47 Ronald Hutton, A Brief History of Britain 1485 – 1660, pp. 1 – 7. 48 นักทฤษฎีทางการเมืองที่สําคัญในสมัยฟนฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance / คริสตศตวรรษที่ 14 – 17) 49 Kenneth O. Morgan, The Oxford Illustrated History of Britain (Oxford: Oxford

University Press, 1984). 50 กษัตริยเจมสที่ 4 แหงสกอตแลนด ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1488 – 1513

19

ตอมา ในสมัยกษัตริยเฮนรีที่ 8 พระองคทรงใหความสําคัญกับสถาบันกษัตริยมากข้ึน โดย

พระองคทรงสนับสนุนใหกลุมที่ปรึกษาของกษัตริยเปนผูที่มีความสําคัญมากที่สุดในรัฐบาล และเริ่มมี

การใชนโยบายดุลแหงอํานาจกับรัฐตางๆ โดยกษัตริยเฮนรีที่ 8 ทรงพยายามรวมมือกับรัฐเล็ก เพื่อที่จะ

ถวงดุลอํานาจกับรัฐใหญ51 เมื่อถึงสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 สถาบันกษัตริยมั่นคงมากข้ึน ดวยการ

ดําเนินนโยบายเพื่อผลประโยชนของประชาชน พยายามประนีประนอมทางศาสนา และทําใหชนช้ัน

กลางเปนมิตรกับพระองค นอกจากน้ี อํานาจของพระราชินีอลิซาเบธสามารถควบคุมรัฐสภาได52

กลาวคือ การปกครองโดยรัฐสภาที่มีความจงรักภักดีจะชวยรักษาความมั่งคงในราชบัลลังกและ

ราชอาณาจักรของกษัตริยได และแมในการประชุมพระราชินีอลิซาเบธจะทรงสงรางกฎหมายทุกฉบับ

เขารัฐสภา แตในที่ประชุมพระองคทรงพยายามควบคุมเสียงของสภาสามัญไว ซึ่งมีกลุมที่ปรึกษาของ

พระองครวมอยูดวย53 อีกทั้งประธานรัฐสภาน้ัน ไดรับการแตงต้ังจากกษัตริย ดังน้ัน รัฐสภาจึง

กลายเปนเครื่องมือในการใชอํานาจของพระราชินีอลิซาเบธในทางออม อยางไรก็ตาม ปญหาการเมือง

ภายในที่สําคัญในรัชสมัยน้ี คือ การพยายามในการชิงบัลลังกพระราชินีอลิซาเบธและยกพระราชินีแมรี

แหงสกอต (Mary, Queen of Scots)54 ผูเปนคาทอลิก ข้ึนเปนกษัตริยแหงอังกฤษแทน55

51 นํ้าเงิน บุญเปยม, ประวัติศาสตรยุโรปตนสมัยใหม ค.ศ.1450 – 1789, หนา 198 – 199. 52 Ronald Hutton, A Brief History of Britain 1485 – 1660, pp. 85 – 93. 53 ที่ปรึกษาคนสําคัญและโดดเดนในสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ไดแก เซอร วิลเลียม ซีซิล และเซอร

ฟรานซิส วอลซิงแฮม 54พระธิดาในกษัตริยเจมสที่ 5 แหงสกอตแลนด ทรงเปนเชื้อสายราชวงศทิวดอรสายพระราชินีมากาเร็ต

ทิวดอร 55 Kenneth O. Morgan, The Oxford Illustrated History of Britain, pp. 267 – 269.

20

แผนที่ 1 เกาะบริเตนในตอนตนคริสตศตวรรษที่ 16

ภาพแสดงเมืองสําคัญบนเกาะบริเตนประกอบกับทฤษฎเีสนเขตแดน (ภาพเปนภาษาฝรั่งเศส)

ที่มา: Jean-Marie Constant, Naissance des États moderns (Paris: Editions Belin, 2000), pp. 30.

2.2.2 ความไมมั่นคงทางการเมืองของฝรั่งเศสชวงปลายคริสตศตวรรษท่ี 15 ถึงใน

คริสตศตวรรษท่ี 16

สถานการณการเมืองของฝรั่งเศสนับต้ังแตในปลายคริสตศตวรรษที่ 15 มีลักษณะคลายกับ

อังกฤษในสมัยกษัตริยเฮนรีที่ 7 ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงลักษณะการเมืองจากระบอบศักดินา

สวามิภักด์ิมาเปนระบอบราชาธิปไตย แตยังไมสมบูรณ เน่ืองจาก ขุนนางตามเมืองและปราสาทตางๆ

21

ในฝรั่งเศสยังมีอํานาจอยู อีกทั้งกษัตริยฟรองซัวสเองเคารพกฎหมายและอยูภายใตขอตกลงตางๆที่

กําหนดข้ึนรวมกับเหลาขุนนาง อยางไรก็ตาม นับต้ังแตสมัยกษัตริยฟรองซัวสที่ 2 จนถึงสมัยกษัตริย

เฮนรีที่ 3 ฝรั่งเศสตกอยูภายใตการปกครองโดยผูสําเร็จราชการ คือ พระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิซี

(Catherine de Medici)56 พระมเหสีของกษัตริยเฮนรีที่ 2

เน่ืองจากการเมืองของฝรั่งเศสน้ัน มีความเกี่ยวของกับศาสนาคริสตนิกายคาทอลิกเรื่อยมา

และจากการปฏิรูปศาสนา (ดูในหัวขอที่ 2.1.2) จึงเปนผลใหเกิดความขัดแยงทางการเมืองดานศาสนา

ข้ึน และลุกลามไปสูการเกิดสงครามกลางเมืองหรือที่เรียกวา ‘สงครามศาสนาในฝรั่งเศส (French

Wars of Religion)’ ที่เกิดข้ึนเปนระยะๆ ต้ังแตใน ค.ศ.1562 ถึง 1598 กลาวคือ สงครามครั้งน้ีเปน

ผลมาจากการปฏิรูปศาสนาของฝายโปรเตสแตนตที่แพรเขาไปในฝรั่งเศส (ดูในหัวขอที่ 2.1.2) ซึ่งถูก

รัฐบาลฝรั่งเศสตอตานและปราบปรามต้ังแตปลายในสมัยกษัตริยฟรองซัวสที่ 1 จนเขาสูสมัยของการ

ปกครองโดยพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิชี (ในตําแหนงผูสําเร็จราชการ) ทําใหใน ค.ศ.1559 กลุม

ฮูเกอโนตสวนใหญลี้ภัยไปรวมกันอยางมั่นคงที่เมืองลารอแชลล (La Rochelle) เมืองปอมปราการที่

เขมแข็งทางฝงตะวันตกของฝรั่งเศส นอกจากน้ี ยังพบวามีตระกูลใหญที่ทรงอํานาจทัดเทียมกับ

ราชวงศวาลัวสซึ่งมีความเกี่ยวของกับความขัดแยงทางศาสนาในฝรั่งเศส 3 ตระกูล57 ดังตอไปน้ี

1) ตระกูลกีส (House of Guise)

นําโดยขุนนางตระกูลกีสที่สืบเช้ือสายมาจากขุนนางแควนลอรแรน ซึ่งเครงครัดตอนิกาย

คาทอลิก อันเปนตระกูลที่มีความใกลชิดกับราชสํานักฝรั่งเศสมากกวาตระกูลอื่น และมีอิทธิพลอยูใน

ฝรั่งเศสมากที่สุด58 ทั้งในดานการปกครอง การทหาร และศาสนา เน่ืองมาจากการอภิเษกสมรส

ระหวางกษัตริยฟรองซัวสที่ 2 แหงฝรั่งเศสกับพระราชินีแมรีแหงสกอต ผูซึ่งเปนพระธิดาของกษัตริย

เจมสที่ 5 แหงสกอตแลนดกับแมรีแหงกีส (Mary of Guise) ดังน้ัน ตระกูลกีส จึงอยูในฐานะผูนําของ

กลุมคาทอลิกในชวงสงครามศาสนาในฝรั่งเศส

2) ตระกูลบูรบง (House of Bourbon)

นําโดยชนช้ันปกครองแหงอาณาจักรนาวาร (Kingdom of Navarre) ซึ่งเปนโปรเตสแตนต

ตัวอยางเชน กษัตริยแอนโทนีแหงนาวาร (Anthony, King of Navarre)59 จากตระกูลบูรบงดังน้ัน

ตระกูลบูรบง จึงอยูในฐานะผูนําของกลุมฮูเกอโนตในชวงสงครามศาสนาในฝรั่งเศส

56 พระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิซี ดํารงตําแหนงผูสําเร็จราชการของฝรั่งเศสตั้งแต ค.ศ.1559 – 1589 57 นํ้าเงิน บุญเปยม, ประวัติศาสตรยุโรปตนสมัยใหม ค.ศ.1450 – 1789, หนา 134 – 135. 58 Letter 25 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 112 – 115. 59 กษัตริยแอนโทนีแหงนาวาร ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1555 – 1562

22

3) ตระกูลมงตมอเรนซี (House of Montmorency)

นําโดยขุนนางตระกูลมงตมอเรนซี ซึ่งโดยหลักการตระกูลน้ีเปนคาทอลิก แตสมาชิกคนสําคัญ

หลายคนกลับเปนโปรเตสแตนต ดังน้ัน ตระกูลน้ีจึงดําเนินนโยบายอยางคอนขางเปนกลางเสียสวน

ใหญ ทําใหในชวงสงครามศาสนา ตระกูลน้ีมีบทบาทเพียงไมมากนัก

ตระกูลที่มีอิทธิพลเหลาน้ี สวนหน่ึงเปนผลมาจากการรวมอํานาจเขาสูศูนยกลางของกษัตริย

ฝรั่งเศสที่ยังไมสมบรูณต้ังแตสมัยกษัตรยิฟรองซัวสที่ 1 อันเปนลักษณะที่ตกทอดมาของระบอบศักดินา

สวามิภักด์ิ ซึ่งในที่น้ี จะถือวาราชวงศวาลัวส ที่เปนคาทอลิก คือ หน่ึงในตระกูลใหญของฝรั่งเศสที่

ปกครองอาณาจักรที่มีความแตกแยกอยูในขณะน้ัน ดังน้ัน หากรวมตระกูลใหญหรือตระกูลที่มีอํานาจ

ทางการเมืองในฝรั่งเศส จะพบวามีทั้งหมด 4 ตระกูล โดยนับรวมราชวงศวาลัวส

23

แผนที่ 2 ทฤษฎีการแบงเสนเขตแดนในฝรั่งเศส ค.ศ.1494

ภาพแสดงใหเห็นถึงลักษณะการเมืองของฝรั่งเศสที่สําคัญในปลายคริสตศตวรรษที่ 15 ซ่ึงการเมืองลักษณะน้ีจะถูก

ถายทอดไปสูการเมืองของฝรั่งเศสในสมัยคริสตศตวรรษที่ 16

ที่มา: ดัดแปลงจาก Jean-Marie Constant, Naissance des États moderns (Paris: Editions Belin, 2000),

pp. 10.

24

ดังน้ัน จะเห็นไดวา ลักษณะการเมืองของอังกฤษและฝรั่งเศสน้ัน มีความแตกตางกันอยางมาก

กลาวคือ นับต้ังแตสมัยกษัตริยเฮนรีที่ 7 อังกฤษมีเขมแข็งมากพอที่จะควบคุมและบริหารอาณาจักร

ภายใตรัฐบาลกลาง อันมีกษัตริยและรัฐสภาเปนผูนํา ตางจากในฝรั่งเศสที่การเมืองการปกครองมี

ลักษณะเปนกึ่งระบอบราชาธิปไตยกับศักดินาสวามิภักด์ิ ซึ่งทําใหเกิดความขัดแยงทางการเมืองภายใน

ไดงายกวาในอังกฤษ โดยสถานการณเหลาน้ี จะนําไปสูสภาวการณทางการเมืองที่พบในพระราช-

สาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 โดยเฉพาะความขัดแยงทางศาสนาในฝรั่งเศสที่บานปลายจนนําไปสู

การเปลี่ยนราชวงศข้ึนปกครองฝรั่งเศส

2.3 ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสถึง ค.ศ.1572

นับต้ังแตสมัยกษัตริยเฮนรีที่ 7 แหงอังกฤษ อังกฤษทําสงครามเพื่อตอตานการขยายอํานาจ

ของฝรั่งเศสเรือ่ยมา อังกฤษมีสัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศสเพียงในระยะเวลาสั้นๆ โดยสวนใหญอังกฤษเปน

พันธมิตรกับสเปน รวมถึงจักรวรรดิโรมันอันศักดิสิทธ์ิ เพื่อปดกั้นฝรั่งเศสทั้งทางเหนือ ทางตะวันออก

และทางใต โดยเฉพาะในสมัยพระราชินีแมรีที ่1 ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรัง่เศสตกตํ่าลงอยาง

มาก เน่ืองจากพระราชินีแมรีอภิเษกสมรสกับกษัตริยฟลิปที่ 2 แหงสเปน ซึ่งทําสงครามอยูกับฝรั่งเศส

ขณะน้ัน ในที่สุด พระราชินีแมรีทรงตัดสินพระทยัเขารวมกบัสเปนทําสงครามกบัฝรั่งเศส ใน ค.ศ.1557

เปนผลใหอังกฤษเสียเมืองกาเลส (Calais) เมืองสุดทายบนภาคพื้นทวีปยุโรป60

เมืองกาเลส ถือเปนเมืองทาที่มีความสําคัญมากที่สุดของอังกฤษในชวงเวลาน้ัน เน่ืองจาก

นับต้ังแตกษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3 แหงอังกฤษ (Edward III of England)61 ทรงยึดเมืองน้ีไดใน ค.ศ.1347

พระองคก็ทรงมีนโยบายที่จะนําคนอังกฤษเขามาอยูแทนพลเมืองเดิม ซึ่งพระองคทรงนําชนช้ัน

ปกครองกวาสามรอยคนจากอังกฤษมายังเมืองกาเลส ดวยความสําคัญที่วา เมืองกาเลสเปนฐานที่มั่น

แหงสุดทายที่ใชในการโจมตีฝรั่งเศส อีกทั้ง เมืองน้ียังถูกจัดต้ังใหเปนเมืองทาหรือจุดคาขายที่สามารถ

อยูไดดวยตนเอง ทั้งยังผูกขาดการคาขนสัตวกับอังกฤษ กลาวคือ เหลาพอคาสามารถดูแลคาใชจายให

ทหารประจําการ (ประมาณ 500 – 1,000 นาย) และบํารุงสภาพพื้นที่ดวย โดยในคริสตศตวรรษที่ 15

รายไดถึง 1 ใน 3 ของรัฐบาลอังกฤษมาจากผลกําไรของเหลาพอคาที่เมืองกาเลส นอกจากน้ี กษัตริย

อังกฤษหลายพระองคยังเสด็จมาพํานักที่เมืองน้ีหลายครั้ง อยางไรก็ตาม ในทายที่สุด อังกฤษสูญเสีย

เมืองกาเลสแกฝรั่งเศสในเดือนมกราคม ค.ศ.155862 ซึ่งเปนการสูญเสียสิ่งที่พระราชินีแมรีที่ 1 ทรง

60 Susan Doran, England and Europe 1485 – 1603 (New York: Routledge, 2013), pp. 128. 61 กษัตริยเอ็ดเวิรดที่ 3 แหงอังกฤษ ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1327 – 1377 62 สตีเฟน คลารก, ปลอยคนพวกนั้น กินเคกซะ หรือไมก็กินกันเอง (1000 Years of Annoying the

French), แปลโดย นริศรา กีรติวิทยานันท (กรุงเทพฯ: ฟรีฟอรม. 2557), หนา 145 – 154.

25

เรียกวา “อัญมณีแหงดินแดน (The chief jewel of the realm)”63 เปนผลให ในสมัยพระราชินีอลิ

ซาเบธที่ 1 พระองคทรงไดเรียกรองเมืองน้ีคืนจากฝรั่งเศส อีกทั้งทําใหอังกฤษเริ่มมีความสนใจในการ

ทําการคาอยางจริงจังกับเนเธอรแลนด

ภาพที่ 1 การลอมเมืองกาเลส ค.ศ.1558 (The Siege of Calais)

กลางภาพ คือ ฟรองซัวสแหงตระกูลกีส (François of Guise) นํากองทัพฝรั่งเศสปดลอมเมืองกาเลส จัดทําโดย

François-Édouard Picot

ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Siege_of_Calais_(1558)

กระทั่งเขาสูสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ในชวงตนรัชกาล ระหวาง ค.ศ.1558 ถึง1572

อังกฤษกับฝรั่งเศสมีขอพิพาทกันหลายเรื่อง นับต้ังแตปญหาในสกอตแลนด สืบเน่ืองมาจากผลของการ

อภิเษกสมรสระหวางราชวงศสจวต (House of Stewart) แหงสกอตแลนดกับราชวงศวาลัวส เปนผล

ใหเมื่อกษัตริยเจมสที่ 5 แหงสกอตแลนด เสด็จสวรรคตใน ค.ศ.1542 ฝรั่งเศสจึงขยายอิทธิพลของตน

เขาปกครองสกอตแลนดทําใหราชสํานักอังกฤษไมพอใจกับสถานการณน้ีอยางมาก อยางไรก็ตาม ชาว

สกอตแลนดเองก็ไมพอใจกับการขยายอิทธิพลของฝรั่งเศสเชนกัน ดวยเหตุผลทางการเมืองและศาสนา

จึงมีการตกลงในสนธิสัญญาเบอรวิค (Treaty of Berwick) ระหวางรัฐบาลอังกฤษกับขุนนาง

สกอตแลนด ใน ค.ศ.1560 ซึ่งสนธิสัญญาน้ี เปนผลใหอังกฤษสามารถสงกองกําลังเขาสูสกอตแลนด

63 Cambridge Journals Online, “XV.—Calais and the Pale”, Archaeologia (Second Series),

http://journals.cambridge.org/action/displayAbstract?fromPage=online&aid=7839602&fileId=S0261340900005932, วันที่ 12 สิงหาคม 2557.

26

และขับไลผูสําเร็จราชการของฝรั่งเศส แมรี่แหงกีส ออกไปได นอกจากน้ี พระราชินีอลิซาเบธทรงแสดง

ไมตรีตอกษัตริยฟลิปที่ 2 แหงสเปน และแสดงทัศนะของพระองคในพระราชสาสนซึ่งคอนขางตําหนิ

กษัตริยแหงฝรั่งเศสวาทรงออนแอและอยูภายใตอิทธิพลของตระกูลกีส แตพระองคก็ทรงตองการจะ

รักษาสันติกับฝรั่งเศสดวยเชนกัน64 อยางไรก็ตาม ความขัดแยงทางการเมืองดานศาสนานําไปสู

สงครามศาสนาในฝรั่งเศส อันเริ่มข้ึนใน ค.ศ.1562 ทําใหอังกฤษเขาไปมีสวนเกี่ยวของดวย โดยมีการ

ทําสนธิสัญญาแฮมปตันคอรท (Treaty of Hompton Court) ใน ค.ศ.156265 ระหวางอังกฤษกับ

กลุมฮูเกอโนตวาดวยกองกําลังอังกฤษสามพันคนเขายึดเมืองเลออาฟร (Le Havre) และดิแยปป

(Dieppe)66 ซึ่งพระราชินีอลิซาเบธทรงมีความสนพระทยัในการกูคืนเมืองกาเลส (ที่เสียไปในปลายสมยั

พระราชินีแมรีที่ 1) ถากลุมฮูเกอโนตไดรับชัยชนะนอกจากน้ี พระองคยังทรงตกลงจะชวยกลุม

ฮูเกอโนตทางดานเศรษฐกิจดวย อยางไรก็ตาม เมื่อสงครามในฝรั่งเศสระยะแรก ระหวาง ค.ศ.1562 –

1563 สิ้นสุดลง อังกฤษปฏิเสธจะถอนกําลังออกจากเมืองเลออาฟร ทําใหกองทัพฝรั่งเศสทั้งฝาย

คาทอลิกและโปรเตสแตนตเขาโจมตีและยึดเมืองเลออาฟรคืนได67

หลังความขัดแยงระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสขางตน อังกฤษกับฝรั่งเศสเริ่มทําสนธิสัญญาเพื่อ

สันติ ไดแก สนธิสัญญาทรัวส (Treaty of Troyes) ใน ค.ศ.1564 โดยอังกฤษไดรับเงินชดเชย

120,000 กอลดคราวน (gold crowns)68 จากฝรั่งเศส เพื่อแลกกับการลมเลิกการเรียกคืนเมืองกาเลส

และแลกเปลี่ยนกับเสรีภาพทางการคา69 อยางไรก็ตาม แมสันติภาพจะเกิดข้ึนกับทั้งสองฝาย แตยังไม

พบพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ทรงเขียนไปยังบุคคลทีเ่กี่ยวของกบัฝรั่งเศส ซึ่งอาจเปนดวย

การที่ความสัมพันธของทั้งสองราชสํานักยังไมมคีวามใกลชิดกันมากนัก

64 Letter 25 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 112 – 115. 65 อังกฤษตกลงทําสนธิสัญญาน้ี เน่ืองจากราชสํานักอังกฤษกังวลเรื่องชาวโปรเตสแตนตในยุโรปหวาดกลัว

พันธมิตรคาทอลิกของสเปนกับฝรั่งเศส อีกทั้งยังมีตระกูลกีส เปนผูนํากลุมคาทอลิกในสงครามศาสนาในฝรั่งเศสดวย นอกจากน้ี พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ทรงสนพระทัยในความเปนไปไดที่จะการกูคืนเมืองกาเลส (Calais / ที่เสียไปใน ค.ศ.1558) ถากลุมฮูเกอโนตไดรับชัยชนะ แตในเวลาตอมา สงครามศาสนาในฝรั่งเศสครั้งที่ 1 (ค.ศ.1562 – 1563) ส้ินสุดลง อังกฤษมิไดถอนกําลังออกจากเลออาฟร สําหรับเพื่อกูคืนเมืองกาเลส อยางไรก็ตาม กองทัพฝรั่งเศสเขาโจมตีและยึดเมืองเลออาฟรคืน

66 Susan Doran, Elizabeth I and Foreign Policy 1558-1603 (New York: Routledge, 2000), pp. xvi.

67 ฝรั่งเศสเชื่อวาการที่อังกฤษยึดครองเมืองเลออาฟรน้ัน เทากับวาอังกฤษไดรับสิทธิเหนือเมืองกาเลสดวย 68 เหรียญเงินของอังกฤษ 69 Military History Encyclopedia on the Web, “Preace of Troyes , 11 April 1564”,

http://www.historyofwar.org/articles/peace_troyes.html, วันที่ 24 มกราคม 2557.

27

อยางไรก็ตาม ภายหลังการสรางสันติภาพใน ค.ศ.1564 เปนตนมา ราชสํานักอังกฤษและฝรั่งเศสมีการติดตอทางการทูตกันมากข้ึน อีกทั้งยังมีการเสนอการอภิเษกสมรสกับพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 จากกษัตริยชารลสที่ 9 แหงฝรั่งเศส ในกลาง ค.ศ.1565 (นอกจากน้ี ยังมีการเสนอการอภิเษกสมรสจากชารลส อารชดุกแหงออสเตรีย (Charles, Archdukeof Austria) มาแลวกอนหนาใน ค.ศ.1559)70 เพื่อกระชับความสัมพันธ นอกจากน้ี เน่ืองจากในเวลาน้ัน สเปน เปนมหาอํานาจทางทะเล ทําการคากับโลกใหม (ทวีปอเมริกา) บริเวณทะเลเมดิเตอรเรเนียน รวมถึงในเอเชีย ทําใหกษัตริยฟลิปที่ 2 แหงสเปน พยายามขยายอํานาจและอิทธิพลทางการเมืองและศาสนาเขาสูดินแดนตางๆ ทั้งยังมีเนเธอรแลนดอยูในการปกครอง ดวยเหตุน้ี จึงทําใหในเดือนเมษายน ค.ศ.1572 อังกฤษและฝรั่งเศส รวมลงสัตยาบันในสนธิสัญญาเมืองบลัวส เปนพันธมิตรกันครั้งแรกในรอบศตวรรษ เพื่อตอตานการขยายอํานาจของสเปน โดยเฉพาะในเนเธอรแลนด71 ซึ่งนับเปนการรวมมือกันดวยเหตุผลทางการเมืองเปนสวนใหญ ในปเดียวกัน ไดปรากฏพระราชสาสนของพระราชินีอลซิาเบธที่ 1 ฉบับแรกที่สงไปยังราชทูตของพระองคในฝรั่งเศส อยางไรก็ตาม การเจรจาตอรองในเรื่องการอภิเษกสมรสระหวางพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กับเจาชายเฮนรี ดุกแหงอองฌู (Henry, duke of Anjou)72 เพื่อกระชับความสัมพันธใหแนบแนนมากข้ึน ซึ่งดําเนินการมาอยางตอเน่ืองก็ไดสิ้นสุดลงในเดือนมกราคม ค.ศ.1572 (กอนการทําสนธิสัญญาเมืองบลัวส) ดวยการปฏิเสธของเจาชายเฮนรีที่จะอภิเษกสมรสกับพระราชินีฯ ดังน้ัน จึงมีการเสนอการอภิเษกสมรสครั้งใหมในทันทีจากราชสํานักฝรัง่เศส เพื่อรักษาการดําเนินการสรางสัมพันธไมตรีซึ่งถือเปนหลักการทั่วไปในยุคสมัยน้ันที่วา การอภิเษกสมรสระหวางราชวงศหรือตระกูล สามารถเสริมสรางความสัมพันธที่ เขมแข็งและมั่นคงระหวางรัฐได อันเปนความสัมพันธทางสายพระโลหิตที่มั่นคงมากย่ิงกวาการลงสัตยาบันในสนธิสัญญาที่เปนเพียงกระดาษและข้ีผึ้ง73 ซึ่งในที่น้ี คือ สนธิสัญญาเมืองบลัวส

ดังน้ัน จะเห็นไดวา ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสต้ังแตตนราชวงศทิวดอรข้ึน

ปกครองอังกฤษ ถึง ค.ศ.1572 ในสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 มีลักษณะที่เปนความขัดแยงกันเรื่อยมา

และเมื่อเขาสูสมัยของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 อังกฤษกับฝรั่งเศสก็ยังคงมีปญหาขัดแยงในชวงแรกของ

รัชกาล จนเมื่อทศวรรษ 1560 อังกฤษจึงเริ่มมีสัมพันธกับฝรั่งเศสทั้งกับกลุมฮูเกอโนต และทางราช-

สํานักฝรั่งเศส โดยทั้งสองไดมีการเจรจาสงบศึก ตามมาดวยการเปนพันธมิตรอีกทั้งยังมีการเสนอการ

อภิเษกสมรสกับพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 จากราชสํานักฝรั่งเศสถึง 2 ครั้ง อันเปนการเริ่มความสัมพันธ

อยางเปนทางการ โดยจะพบวามีการสงพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ไปยังราชทูตของ

พระองคในฝรั่งเศสเปนฉบับแรก และตามมาอีกหลายฉบับ ดังที่จะไดกลาวในบทที่ 3

จากเน้ือหาของบทน้ี จะพบวา ทั้งในดานศาสนา และการเมือง รวมถึงความสัมพันธของ

อังกฤษกับฝรั่งเศส ตลอดระยะเวลากวาครึ่งหน่ึงของคริสตศตวรรษที่ 16 มีความเกี่ยวของกันอยางแยก

70 Susan Doran, Monarchy & Matrimony: The Courtships of Elizabeth I, pp. 130. 71 Susan Doran, Elizabeth I and Foreign Policy 1558-1603. 72 ตอมาใน ค.ศ.1574 เจาชายเฮนรี ดุกแหงอองฌู ขึ้นครองราชยเปนกษัตริยเฮนรีที่ 3 แหงฝรั่งเศส 73 Susan Doran, Monarchy & Matrimony: The Courtships of Elizabeth I.

28

ไมออก กลาวคือเปนยุคสมัยของการเมืองที่ปกคลุมไปดวยแรงผลักดันทางศาสนา รวมถึงความสัมพันธ

ระหวางระบอบเกาของสมัยกลางที่ยังคงอยู ขณะทีร่ะบอบใหมกําลังพยายามกอตัวข้ึนอยางเขมแข็งใน

คริสตศตวรรษที่ 16 ทั้งยังรวมถึงรูปแบบของสัมพันธไมตรีระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสที่พยายามใชการ

อภิเษกสมรสในการเช่ือมความสัมพันธซึ่งทั้งหมดน้ี เปนการปูพื้นฐานความรูความเขาใจเกี่ยวกับ

อังกฤษและฝรั่งเศสใหชัดเจนมากข้ึนตอการศึกษาระหวาง ค.ศ.1572 ถึง 1596 สําหรับในบทตอไปจะ

เขาสูบทที่วาดวยความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสระยะแรกจากพระราชสาสนของพระราชินี

อลิซาเบธที่ 1 ต้ังแต ค.ศ.1572 –1584 ซึ่งเปนชวงเวลาที่มีความสําคัญอันเกี่ยวของกับความสัมพันธที่

ใกลชิดหลังการเจรจาเปนพันธมิตรระหวางอังกฤษหรือพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กับราชวงศวาลัวสแหง

ฝรั่งเศส

29

บทที่ 3

ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสตั้งแต ค.ศ.1572 –1584 จากพระราชสาสนของพระราชินอีลิซาเบธที่ 1

บทน้ีจะศึกษาลักษณะความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572 ถึง 1584

จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 โดยการวิเคราะหเน้ือหาในพระราชสาสน และอธิบาย

บริบทหรือสถานการณที่ เกี่ยวของ รวมถึงวิเคราะหปจจัยที่อยูเบื้องหลังการดําเนินนโยบาย

ความสัมพันธระหวางทั้งสองฝาย เพื่อจะไดทราบถึงลักษณะความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสใน

ชวงเวลาดังกลาววาเปนไปในทิศทางใดและเปนอยางไร

พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ที่ใชศึกษาในบทน้ี มีจํานวน 20 ฉบับ โดยศึกษา

นับต้ังแตพระราชสาสนฉบับแรกที่มีเน้ือหาเกี่ยวของกับฝรั่งเศสในเรื่องการเสนอใหมีการอภิเษกสมรส

ระหวางพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 แหงอังกฤษกับเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอัลลองซงจากฝรั่งเศสใน

ค.ศ.1572 จนถึงฉบับที่วาดวยการแสดงความเสียพระทัยของพระราชินีอลิซาเบธตอการสิ้นพระชนม

ของเจาชายฟรองซัวส ใน ค.ศ.1584 อันเปนเหตุการณสําคัญที่สวนหน่ึงนําไปสูความแตกแยกทางการ

เมืองภายในของฝรั่งเศสอยางใหญหลวง รวมถึงทําใหความสัมพันธระหวางราชสํานักอังกฤษกับราช-

สํานักฝรั่งเศสหรือราชวงศวาลัวสเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไมคอยดีนัก

ตารางที่ 2 พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ที่เกี่ยวกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572 – 1584

จาก Elizabeth I Collected Works

ลําดับ ฉบับท่ี ลงวันท่ี (หลังลงนาม) ผูสง ผูรับ 1 34 23 กรกฎาคม ค.ศ.1572 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เซอร ฟรานซสิ วอลซงิ-

แฮม74 2 35 25 กรกฎาคม ค.ศ.1572 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เซอร ฟรานซสิ วอลซงิแฮม 3 37 ธันวาคม ค.ศ.157275 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เซอร ฟรานซสิ วอลซงิแฮม 4 39 1 กุมภาพันธ ค.ศ.1574 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 วาเลนไทน เดล76

(Valentine Dale) 5 40 15 มีนาคม ค.ศ.1574 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 วาเลนไทน เดล 6 42 มกราคม ค.ศ.1579 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เซอร อามียาส พอเลท็77

(Sir Amyas Paulet)

74 ที่ปรึกษาและราชทูตของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ในฝรั่งเศส 75 เปนที่ยอมรับกันวาเปนวันที่ 19 ธันวาคม ค.ศ.1572 โดยนักวิชาการจํานวนมาก 76 ราชทูตของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ในฝรั่งเศส 77 ราชทูตของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ในฝรั่งเศส

30

7 43 14 กุมภาพันธ ค.ศ.1579 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เมอซเิออร (Monsieur)78 8 44 พฤษภาคม ค.ศ.1579 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เซอร อามียาส พอเลท็ 9 45 19 ธันวาคม ค.ศ.1579 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เมอซเิออร 10 45

(เพิ่มเติม) ค.ศ.1579 วิลเลียม ซีซลิ พระราชินีอลิซาเบธ

11 45 (เพิ่มเติม)

13 กันยายน ค.ศ.1579 ดุกแหงอลัลองซง เอิรลแหงซสัเซกซ (The Earl of Sussex)79

12 46 ประมาณธันวาคม ค.ศ.1579 – มกราคม

ค.ศ.1580

พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เมอซเิออร

13 47 17 มกราคม ค.ศ.1580 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เมอซเิออร 14 48 สิงหาคม ค.ศ.1580 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เซอร เอ็ดเวิรด สตาฟ

ฟอรด (Sir Edward Stafford)80

15 49 17 มีนาคม ค.ศ.1581 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เมอซเิออร 16 50 มิถุนายน ค.ศ.1581 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เมอซเิออร 17 51 14 พฤษภาคม ค.ศ.1582 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เมอซเิออร 18 52 24 พฤษภาคม ค.ศ.1582 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เมอซเิออร 19 55 10 กันยายน ค.ศ.1583 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 เมอซเิออร 20 56 กรกฎาคม ค.ศ.1584 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 พระราชินีแคทเธอรีน

เดอ เมดิชี ที่มา: แปลจาก Leah S. Marcus และคณะ, Elizabeth I Collected Works, แปลโดย ธนพนธ รงรอง (Chicago:

The University of Chicago Press, 2002).

จากการศึกษาพระราชสาสนในตารางขางตนพบวา เน้ือหาของพระราชสาสนเกี่ยวกับฝรั่งเศส

ที่แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส สามารถแบงออกไดเปน 3 หัวขอ ไดแก

หัวขอแรก การอภิเษกสมรสระหวางราชสํานัก หัวขอที่สอง การแทรกแซงของอังกฤษในสงคราม

ศาสนาในฝรั่งเศส และหัวขอที่สาม พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กับการขยายอํานาจของฝรั่งเศสใน

เนเธอรแลนด ดังตอไปน้ี

78 “Monsieur” เปนคําที่พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ทรงใชในการเขียนถึงเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอัลลอง-

ซง 79 ผูมีหนาที่ควบคุมดูแลงานภายในราชสํานักและเปนสมาชิกของสภาที่ปรึกษา 80 ราชทูตของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ในฝรั่งเศส

31

3.1 การอภิเษกสมรสระหวางราชสํานัก

ใน ค.ศ.1572 หลังการปฏิเสธของเจาชายเฮนร ีดุกแหงอองฌูที่จะอภิเษกสมรสกับพระราชินี

อลิซาเบธที่ 1 ในเดือนมกราคม ทําใหกษัตริยแหงฝรั่งเศสในขณะน้ัน คือ กษัตริยชารลสที่ 9 และพระ

ราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิซี ผูสําเร็จราชการ ทรงเสนอการอภิเษกสมรสครั้งใหมไปยังพระราชินี

อลิซาเบธ โดยครั้งน้ี ไดเสนอใหเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอัลลองซงอภิเษกสมรสกับพระราชินี

อลิซาเบธ โดยในพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธ ไดมีการเจรจาพูดคุยถึงเรื่องการอภิเษกสมรส

ในครั้งน้ีอยูหลายครั้ง ต้ังแตใน ค.ศ.1572 จนถึง ค.ศ.1584 โดยการเจรจาอภิเษกสมรสครั้งน้ีกินเวลา

ยาวนานถึง 12 ป ซึ่งยาวนานกวาการเจรจาอภิเษกสมรสครั้งใดๆ ที่ผานมาของประวัติศาสตรอังกฤษ

สมัยราชวงศทิวดอร

จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ที่สงไปยังเซอร ฟรานซิส วอลซิงแฮม ใน

ค.ศ.157281 ขณะทําหนาที่ราชทูตของอังกฤษในฝรั่งเศสซึ่งมีเน้ือหาเกี่ยวกับความตองการปฏิเสธการ

อภิเษกสมรสกับดุกแหงอัลลองซงของพระราชินีอลิซาเบธ พรอมกับความตองการการรักษาสถานะของ

สนธิสัญญาเมืองบลัวส ที่ทําข้ึนในเดือนเมษายน ค.ศ.1572 ซึ่งเปนสนธิสัญญาพันธมิตรระหวางอังกฤษ

กับฝรั่งเศสไวดวย อยางไรก็ตาม ในมุมมองของฝายฝรั่งเศส สถานการณน้ีเปนขอจํากัดของฝรั่งเศสใน

สนธิสัญญาเมืองบลัวส เพราะกษัตริยชารลสที่ 9 และพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิซีทรงมองวาการ

ลงสัตยาบันสนธิสัญญาเปนพันธมิตรระหวางราชสํานักหรือระหวางราชวงศ ควรใหมีการอภิเษกสมรส

ซึ่งความสัมพันธทางสายพระโลหิตน้ีจะมีความมั่นคงมากกวาเพียงการลงสัตยาบันภายใตสัญญาตางๆ

เน่ืองจากพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิซีทรงมีความกังวลเกี่ยวกับอํานาจของขุนนางตระกูลกีส พระ

สันตะปาปา และกษัตริยแหงสเปน วาจะสามารถทําลายสัมพันธไมตรีระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสในครั้ง

น้ีลงได ขณะที่กษัตริยชารลสที่ 9 ทรงคิดเห็นวา มีเพียงพระสวามีของพระราชินีอลิซาเบธที่จะทําให

ฝรั่งเศสสามารถเขาแทรกแซงการเมืองภายในเนเธอรแลนดได82

อยางไรก็ดี จากพระราชสาสนใน ค.ศ.157283 ก็แสดงใหเห็นวา พระราชินีอลิซาเบธยังคงทรง

ปฏิเสธที่จะอภิเษกสมรสกับดุกแหงอัลลองซงอยูเสมอ โดยใหเหตุผล ดังตอไปน้ี

1) ความแตกตางทางดานอาย ุกลาวคือ ใน ค.ศ.1572 พระราชินีอลิซาเบธทรงมพีระชนมายุ 38

ชันษา ในขณะที่เจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอัลลองซงทรงมีพระชนมายุเพียง 18 ชันษาเทาน้ัน

81 Letter 34, 35, 37 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth

I Collected Works, pp. 205 – 212, 215 – 217. 82 Susan Doran, Monarchy & Matrimony: The Courtships of Elizabeth I. 83 Letter 34, 35, 37 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Ibid.

32

อันเปนความแตกตางกันกวาย่ีสิบป ซึ่งดุกแหงอัลลองซงยังเยาวพอที่จะเปนโอรสของพระ

ราชินีอลิซาเบธ

2) ความแตกตางทางศาสนา เน่ืองจากพระราชินีอลิซาเบธทรงเปนโปรเตสแตนตแตเจาชาย

ฟรองซัวส ดุกแหงอัลลองซงทรงเปนคาทอลิก ซึ่งการอภิเษกสมรสอาจนําไปสูความขัดแยง

ทางการเมืองที่ไมแนนอน อันอาจเกิดจากศาสนาของดุกแหงอัลลองซง

3) ปญหาเรื่องการขึ้นครองราชย กลาวคือ การที่ใหเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอัลลองซง ผู

เปรียบด่ังรัชทายาทของฝรั่งเศส มาอภิเษกสมรสกับพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ผูปกครองแหง

อังกฤษ เปนเรื่องที่ไมถูกตอง เน่ืองจาก อาจมีความเปนไปไดสูงที่พระราชินีอลิซาเบธจะเสด็จ

สวรรคตกอนเจาชายฟรองซัวส ซึ่งอาจทําใหอังกฤษเกิดปญหาทางการเมืองที่เกี่ยวกับฝรั่งเศส

หลังการสวรรคตของพระราชินีอลิซาเบธ ด่ังในสกอตแลนด

ภาพที่ 2 ฟรองซัวส ขณะดํารงตําแหนงดุกแหงอัลลองซง

ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Francis,_Duke_of_Anjou

นอกจากการพูดคุยผานพระราชสาสน รัฐสภาอังกฤษยังเปดการประชุมเรื่องการอภิเษกสมรส

อยูหลายครั้งใน ค.ศ.1572 แตก็ยังไมสามารถหาขอสรุปได เน่ืองจากความกังวลของพระราชินี

อลิซาเบธดังที่กลาวขางตน ในสภามีทั้งผูที่สนับสนุนและไมสนับสนุนการอภิเษกสมรส อยางไรก็ตาม

ในทางศาสนาพบวา ดุกแหงอัลลองซง ทรงมิใชผูที่เครงศาสนามากนัก ซึ่งจะแตกตางจากเฮนรีแหง

อองฌู ซึ่งเครงศาสนาอยางมาก ดังน้ัน พระราชินีอลิซาเบธจึงทรงพยายามกําหนดเงื่อนไขของการ

อภิเษกสมรสน้ีแลกกบัการคืนเมืองกาเลสที่ฝรั่งเศสยึดไปในปลายสมัยพระราชินีแมรีที่ 1 แหงอังกฤษ84

อยางไรก็ตาม ดวยเงื่อนไขน้ี ทางฝายฝรั่งเศสปฏิเสธที่จะคืนเมืองกาเลสแกอังกฤษ ในทางตรงกันขาม

ทางฝายฝรั่งเศสมองวา การอภิเษกสมรสในครั้งน้ี เปนการเสียสละของดุกแหงอัลลองซงตอหญิงชรา

84 Ronald Hutton, A Brief History of Britain 1485 – 1660.

33

เสียมากกวา อีกทั้งกษัตริยชารลสที่ 9 และกลุมฮูเกอโนต มองวาการอภิเษกสมรสจะเปนข้ันตอนแรก

ในการทําสงครามในเนเธอรแลนด ขณะที่อังกฤษสามารถสรางผลประโยชนของตนในดินแดนอื่นๆ บน

ภาคพื้นทวีปในเนเธอรแลนด ดังน้ัน ทางฝายฝรั่งเศส จึงเห็นวาอังกฤษควรจะเลิกเรียกคืนเมืองกาเลส

และควรหันไปพิชิตเกาะฟลัชชิง (Flushing)85 ในเนเธอรแลนดใหสําเร็จ86

การอภิเษกสมรสในครั้งน้ี พระราชินีอลิซาเบธทรงมองวาเปนการเสื่อมเสียศักด์ิศรีและ

เกียรติยศของพระองคเอง และหากเกดิการอภิเษกสมรส ชาวโลกอาจมองวาเปนคูอภิเษกที่ไรสาระ แต

ในขณะเดียวกัน การอภิเษกสมรสในครั้งน้ีจะเปนการรักษาความสัมพันธอันดีระหวางอังกฤษกับ

ฝรั่งเศส เพราะในชวงเวลาน้ันอังกฤษกับฝรั่งเศสมีความตึงเครียดเกี่ยวกับนโยบายที่จะปฏิบัติตอ

เนเธอรแลนดแตกตางกัน เน่ืองจากรัฐบาลของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 มีนโยบายในการสนับสนุนให

เนเธอรแลนดเปนรัฐอิสระที่เปนโปรเตสแตนต87 ซึ่งจะทําใหพระราชินีอลิซาเบธอยูในฐานะ ‘ผูพิทักษ

แหงเนเธอรแลนด (The Protector of the Netherland)’88 ขณะที่ฝรั่งเศสมีนโยบายที่จะขยาย

อํานาจของตนเหนือเนเธอรแลนด

แมพระราชินีอลิซาเบธจะไมทรงโปรดการที่จะอภิเษกสมรสในครั้งน้ีนัก โดยเฉพาะการสังหาร

หมูชาวโปรเตสแตนตในวันเซนตบาโทโลมิว (St. Bartholomew’s Day massacre)89 ในฝรั่งเศส

ค.ศ.1572 ซึ่งสรางความเสียพระทัยแกพระองคอยางมาก90 ทั้งยังสรางความไมไววางใจตอการอภิเษก

สมรสกับเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอัลลองซงมากย่ิงกวาเดิม อยางไรก็ตาม พระราชินีอลิซาเบธก็ทรง

ทราบจากราชทูตของฝรั่งเศสวา ดุกแหงอัลลองซงจะทรงพยายามทําใหกิจกรรมทางศาสนาของ

พระองคเปนสวนตัว และจะยอมรับศาสนาของอังกฤษ นอกจากน้ี ต้ังแต ค.ศ.1573 ดุกแหงอัลลองซง

ทรงเริ่มมองวาตระกูลกีสเปนคูแขงทางการเมืองของพระองค และพระองคทรงเริ่มมีความใกลชิดกับ

85 ใน ค.ศ.1572 กลุมกบฏในเนเธอรแลนดสามารถยึดเมืองบริลล และฟรัชชิงจากการปกครองของสเปนได

พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ทรงมีความกังวลวาฝรั่งเศสอาจทําการแทรกแซงทางทหารในเนเธอรแลนด ดังน้ัน รัฐบาลของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 จึงไดสงอาสาสมัครชาวอังกฤษไปยังเกาะฟรัชชิง โดยมีจุดประสงคในการสรางอิทธิพล และคอยปองกันการรุกรานจากภายนอก

86 Susan Doran, Monarchy & Matrimony: The Courtships of Elizabeth I. 87 Ronald Hutton, A Brief History of Britain 1485 – 1660. 88 Charles Phillips, The Illustrated History of the Kings & Queens of Britain, pp. 120 –

121. 89 เหตุการณสังหารหมูกลุมโปรเตสแตนตในวันเซนตบาโทโลมิว เปนปฏิบัติการของกลุมคาทอลิกในฝรั่งเศส

นําโดยเฮนรีแหงกีสในการลอบสังหารผูนํากลุมโปรเตสแตนตที่มารวมงานอภิเษกสมรสระหวางกษัตริยเฮนรีแหงนาวารกับเจาหญิงมารกาเร็ตแหงฝรั่งเศสในกรุงปารีส ซ่ึงแผนการน้ีมีการกําหนดใหปฏิบัติในวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ.1572 เม่ือปฏิบัติการเริ่มขึ้น กอใหเกิดการสังหารหมูกลุมโปรเตสแตนตประมาณกวาหน่ึงหม่ืนคนทั้งในกรุงปารีส และขยายไปยังเมืองอ่ืนๆ ในฝรั่งเศส

90 ดูเพิ่มเติมไดที่ภาคผนวก ก

34

ขุนนางกลุมฮูเกอโนตมากข้ึน เน่ืองจากดุกแหงกีสในเวลาน้ัน ไดรับตําแหนงสําคัญทางการเมืองที่

พระองคทรงตองการ ทําใหดุกแหงอัลลองซงทรงเริ่มติดตอและสมคบกับกษัตริยเฮนรีแหงนาวาร

(Henry of Navarre)91 ซึ่งทรงถูกกักตัวไวในฝรั่งเศสต้ังแตการสังหารหมูในวันเซนตบาโทโลมิว ทั้งยัง

ทรงวางแผนขัดขวางการข้ึนครองยของเฮนรี ดุกแหงอองฌู ผูเปนพระเชษฐา จึงทําใหดุกแหงอัลลองซง

และกษัตริยเฮนรีแหงนาวารถูกจําคุกใน ค.ศ.1574 อีกทั้งเจาชายเฮนรี ดุกแหงอองฌู ก็ทรงสามารถ

เสด็จข้ึนครองราชยเปนกษัตริยแหงฝรั่งเศสไดสําเร็จในปเดียวกัน ซึ่งพระองคมีความใกลชิดกับตระกูล

กีสและกลุมคาทอลิกอยางมาก

สถานการณน้ี ทําใหพระราชินีอลิซาเบธและวิลเลียม ซีซิล (ที่ปรึกษา) มีความกังวลอยางย่ิง

นับต้ังแตการจําคุกดังกลาว และการมีอํานาจทางการเมืองของตระกูลกีส ซึ่งเปนคาทอลิก เปนผลให

พระราชินีอลิซาเบธ และที่ปรึกษา เริ่มโนมเอียงเขาขางดุกแหงอัลลองซง ดังน้ัน พระราชินีอลิซาเบธ

จึงทรงใชขออางเรื่องการอภิเษกสมรส เชิญดุกแหงอัลลองซงมายังอังกฤษ เพื่อการสัมภาษณ และการ

ตัดสินพระทัยอภิเษกสมรส

อยางไรก็ตาม จากพระราชสาสนใน ค.ศ.1574 ถึงวาเลนไทน เดล ราชทูตของอังกฤษใน

ฝรั่งเศส พบวากษัตริยชารลสที่ 9 และพระราชินีผูสําเร็จราชการ ทรงขอใหพระราชินีอลิซาเบธเสด็จ

มายังฝรั่งเศสแทน เพื่อใหทั้งพระราชินีอลิซาเบธ และดุกแหงอัลลองซงพบกัน และตัดสินพระทัยใน

การอภิเษกสมรส อยางไรก็ตาม สภาที่ปรึกษาของพระราชินีอลิซาเบธไมเห็นดวย เพราะการที่จะเสด็จ

ไปฝรั่งเศสในครั้งน้ี ไมไดสรางความพึงพอพระทัยแตอยางใดใหแกพระราชินีอลิซาเบธ และการพบกัน

อาจไมประสบผลสําเร็จ และไมเปนที่ตองการของฝายใดฝายหน่ึงในการอภิเษกสมรส ดังน้ัน พระ

ราชินีอลิซาเบธทรงเสนอใหดุกแหงอัลลองซงเสด็จมายังอังกฤษดังเดิม โดยใหเสด็จมาอยางไมเปน

ทางการ ทั้งยังแนะนําใหดุกแหงอัลลองซงปลอมพระองค เพราะเหตุการณน้ีจะเกี่ยวเน่ืองดวย

เกียรติยศของทั้งสองฝาย เมื่อมาถึง พระราชินีอลิซาเบธจะทรงปฏิบัติกับดุกแหงอัลลองซงอยางดี และ

เหมาะสมกับฐานะที่ทรงเปนพระอนุชาของกษัตริยแหงฝรั่งเศส92 ทั้งน้ี การขอใหดุกแหงอัลลองซง

เสด็จมายังอังกฤษ สวนหน่ึงก็เปนไปเพื่อใหดุกแหงอัลลองซงเองทรงเปนอิสระจากการควบคุมตัว ซึ่ง

ถูกปฏิเสธดังเดิม เปนผลใหวิลเลียม ซีซิล ดําเนินการสงเงินไปยังฝรั่งเศส เพื่อสนับสนุน และชวย

นักโทษหลบหนี แตก็ไมประสบผลสําเร็จ93 ทําใหการอภิเษกสมรส มิไดมีการดําเนินการใดๆ ตอ

91 กษัตริยเฮนรีแหงนาวาร ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1572 – 1610 92 Letter 39, 40 จาก Marcus, S. Leah, and Mueller, Janel, and Rose, Mary Beth, Elizabeth I

Collected Works, pp. 221 – 227. 93 Susan Doran, Monarchy & Matrimony: The Courtships of Elizabeth I.

35

จนถึงในชวงตนป ค.ศ.1579 เจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอัลลองซง ซึ่งขณะน้ัน ดํารงตําแหนง

ดุกแหงอองฌู ยังมิไดเสด็จมายังอังกฤษแตอยางใด แตจากพระราชสาสนถึงเซอร อามียาส พอเล็ท ใน

เดือนพฤษภาคม ค.ศ.1579 พบวา ฝรั่งเศสไดเสนอเงื่อนไข 3 ประการของการอภิเษกสมรส94

ดังตอไปน้ี

1) เจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู จะตองมีพระราชอํานาจเสมอดวยพระราชินี

อลิซาเบธ และเปนเจาของทุกสิ่งทุกอยางในอังกฤษ และดินแดนในปกครองของ

อังกฤษ

2) เจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู จะตองข้ึนเปนกษัตริยแหงอังกฤษ และจะตองไม

ทําการใดที่เสื่อมเสียตอราชอาณาจักรอังกฤษ

3) เจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู จะตองไดรับหกหมื่นปอนดตอป ตลอดพระชนม

ชีพ

อยางไรกต็าม เงื่อนไขเหลาน้ี95 รัฐสภาอังกฤษปฏิเสธจะรับพิจารณาจนกวาดุกแหงอองฌูจะ

เสด็จมายังอังกฤษ เพื่อเริ่มเจรจาขอตกลงตางๆ

จะเห็นไดวา มีการรื้อฟนเรื่องการอภิเษกสมรสข้ึนมาอีก ซึ่งดําเนินการโดยกษัตริยเฮนรีที่ 3

และผูสําเร็จราชการ โดยมกีารสงราชทูตไปยังอังกฤษ พรอมขอเสนออยางเปนทางการของการอภิเษก

สมรสระหวางพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กับดุกแหงอองฌูต้ังแตในเดือนกันยายน ค.ศ.1575 เน่ืองจาก

กษัตริยเฮนรีที่ 3 ทรงกังวลกับความสามารถของพระอนุชาในชวงของความขัดแยงทางศาสนาที่เกิดข้ึน

ขณะน้ัน อยางไรก็ตาม พระราชินีอลิซาเบธทรงปฏิเสธการเจรจาใดๆ จนกวาจะทรงพบดุกแหงอองฌู

นอกจากน้ี ในปเดียวกัน ดุกแหงอองฌู ทรงเสด็จหนีออกจากปารีส และต้ังตัวเปนอิสระ ทั้งยังเริ่มหัน

ไปขอการสนับสนุนจากพระราชินีอลิซาเบธแหงอังกฤษ

ตอมาในเดือนสิงหาคม ค.ศ.1579 (หลังการสงพระราชาสาสนถึงเซอร อามียาส พอเล็ท ใน

เดือนมกราคม) เจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌูเสด็จมายังองักฤษครั้งแรก เพื่อใหทั้งพระองคและพระ

ราชินีอลิซาเบธ ทรงตัดสินพระทัยในการอภิเษกสมรส96 นอกจากน้ี จากสาสนของดุกแหงอองฌูที่ทรง

สงไปยังเอิรลแหงซัสเซกซมีเน้ือความวา

94 Letter 44 จาก Marcus, S. Leah, and Mueller, Janel, and Rose, Mary Beth, Elizabeth I

Collected Works, pp. 233 – 237. 95 ดูเพิ่มเติมไดที่ภาคผนวก ข 96 Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I Collected Works,

pp. 237.

36

“…ขาขอออนวอนตอทาน (เอิรลแหงซัสเซกซ) ใหชวยสานตอดานที่ดีทุกอยาง

ของขาไปยังพระราชินี ทานหญิงของขา และถวายทุกโอกาสแหงความเช่ือมั่นในความ

ซื่อสัตยของขาดวย…ดูแลขาในความสงาและหลักประกันอันดีตอพระนาง ดวยตัวทาน

ใหมากเทากับที่ทานทําใหกับเพื่อนๆ ที่ทานเคยมีมา และจงเช่ือมั่นวาขาจะพิสูจนสิ่ง

เหลาน้ีแกทานเสมอ…จงแสดงความซื่อสัตยสูงสุดของขาแกพระราชินี ทานหญิงของขา

ซึ่งขาจะตอบแทนดวยการจุมพิตที่มือของทานพันครั้ง และอธิษฐานตอพระเจาใหขามี

พระนาง จากปารีส ในวันที่ 13 ของเดือนกันยายน

ญาติที่ดีและเพื่อนผูซื่อสัตยของทาน ฟรองซัวส”97

จากขอความขางตน แสดงใหเห็นวา ดุกแหงอองฌูทรงตองการอภิเษกสมรสกับพระราชินี

อลิซาเบธ ทั้งดวยเหตุผลทางการเมืองและเหตุผลสวนพระองค อยางไรก็ตาม พระราชินีอลิซาเบธ ไม

สามารถอภิเษกสมรสกับดุกแหงอองฌูไดในทันที ดังที่พระองคทรงปรารถนา เน่ืองจากในสาสนที่

วิลเลียม ซีชิล สงถึงพระราชินีอลิซาเบธ ใหขอมูลวา ประชาชนชาวอังกฤษใหความสนใจมากเกี่ยวกับ

เรื่องการอภิเษกสมรสของพระราชินีอลิซาเบธ ซึ่งซีชิล กลาววาการอภิเษกสมรส อาจกอใหเกิดการ

เปลี่ยนศาสนาในอังกฤษ และความนาเช่ือถือของพระราชินีอลิซาเบธอาจลดลง แตความพยายามใน

การโคนลมอํานาจของพระราชินีอลิซาเบธ โดยเฉพาะที่มาจากความพยายามในการยกพระราชินีแมรี

แหงสกอตสข้ึนครองราชยก็อาจสิ้นสุดลงไปดวยเชนกัน โดยในดานศาสนา กลุมคาทอลิกตองการให

พระราชินีอลิซาเบธอภิเษกสมรส แตกลุมโปรเตสแตนตมีทั้งตองการและไมตองการอภิเษกสมรสให

เกิดข้ึน98 เน่ืองจากการอภิเษกสมรสของพระราชินีอลิซาเบธอาจนํามาซึ่งความมั่นคงในราชบัลลังก

และการเปลี่ยนศาสนาในเวลาเดียวกัน

อยางไรก็ตาม จากพระราชสาสนถึงดุกแหงอองฌู ใน ค.ศ.1579 และ 1580 ดุกแหงอองฌู

อาจทรงพยายามเรงรัดใหพระราชินีอลิซาเบธจัดการอภิเษกสมรสโดยเร็ว แตพระราชินีฯ ก็ทรง

ตองการใหประชาชนของพระองคยินดีกับการอภิเษกสมรสครั้งน้ีดวย อีกทั้งการตกลงในเงื่อนไขของ

97 แปลจาก “…praying you to continue for me all good offices in regard to the queen, my

mistress, and give her on all occasions assurance of my faithful service…Keep me in her good grace and assure yourself of mine, as much as any friends’s whom you have ever had. And believe that I will always give proof of it to you…most faithful to the queen, my mistress. Towards whom I kiss hands a thousand times and pray God to have her in keeping from Paris this thirteeth of September. Your good cousin and very assured friend, François” – Letter 45 Additional Document A จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I Collected Works, แปลโดย ธนพนธ รงรอง, pp. 239 – 240.

98 Letter 45 Additional Document B จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I Collected Works, pp. 240 – 242.

37

การอภิเษกสมรสในราชสํานักอังกฤษยังไมเปนที่เรียบรอย นอกจากน้ี พระราชินีฯ ทรงมีความเห็นวา

ดุกแหงอองฌูควรจะเรยีนรูและทาํความเขาใจเกีย่วกับอังกฤษใหดีเสียกอนที่จะเปนกษัตริยแหงอังกฤษ

และทรงตองการใหดุกแหงอองฌูทรงเปดกวางทางศาสนา อีกทั้งทรงตองการใหดุกแหงอองฌูมี

ความสามารถทัดเทียมกับพระราชินีอลิซาเบธในฐานะที่เปนกษัตริยอังกฤษ อยางไรก็ดี พระราชินีอลิ

ซาเบธทรงใหความมั่นใจในเรื่องการอภิเษกสมรส และแสดงความจริงใจผานพระราชสาสนตอเจาชาย

ฟรองซัวสเสมอมา99 ซึ่งในกรณีน้ี พระราชินีอลิซาเบธทรงคลายพยายามถวงเวลา และมีความกังวล

เรื่องความแตกตางทางศาสนาของทั้งสองพระองค อีกทั้งมีรายงานจากเซอร ฟรานซิส วอลซิงแฮม วา

ดุกแหงอองฌูมีความรูความสามารถนอยกวาพระราชินีอลิซาเบธ ดวยเหตุทั้งหมดน้ี และโดยเฉพาะ

เหตุที่ ดุกแหงอองฌูอาจพยายามแสดงความสามารถใหเปนที่ประจักษแกพระราชินีอลิซาเบธ จึง

เปนสวนหน่ึงที่นําไปสูการขยายอํานาจของฝรั่งเศสไปยังเนเธอรแลนด (ตามเงื่อนไขในสนธิสัญญาเมือ

งบลัวส) ซึ่งนําโดยดุกแหงอองฌู เปนผลใหพระราชินีอลิซาเบธทรงไมสามารถตัดสินพระทัยในการ

อภิเษกสมรสในครั้งน้ี

โดยในกรณีของการอภิเษกสมรสน้ี พระราชินีอลิซาเบธ ทรงตัดสินพระทัยไดในราว ค.ศ.1581

วาจะทรงอภิเษกสมรสกับเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู100 แตพระองคก็ทรงแสดงทัศนะของ

พระองคในพระราชสาสนแกดุกแหงอองฌเูสมอวา พระองคจะทรงอภิเษกสมรสกต็อเมือ่ประชาชนของ

พระองคยอมรับ และการอภิเษกสมรสจะตองไมเปนผลเสียตอราชอาณาจักร เน่ืองจาก พระองคทรง

รักอังกฤษมากกวาตัวของพระองคเอง101 อยางไรก็ตาม ในพระราชสาสนที่ทรงสงไปยังดุกแหงอองฌู

พระองคก็ทรงแสดงความรักและความหวงใยตอดุกแหงอองฌูเสมอ ดังตัวอยางดังตอไปน้ี

“…คําขอหน่ึงเดียวของขา คือ ขอใหทาน (ดุกแหงอองฌู) ยังอยูกับขาเย่ียงผู

หน่ึงที่ทานซื่อสัตย ซึ่งขาไดอุทิศตนใหแกทาน และขอใหขาไดเปนสตรีผูเดียวที่ไดอยูกับ

ทานเปนผูแรกในฐานะคนรัก ด่ังที่พระเจาทรงเปนพยานสูงสุด ผูที่ขาจะไมมีวันยุติการ

ออนวอน จนกวาพระองคจะทรงมอบชีวิตทีย่ั่งยืนถึงรอยปใหแกทาน ดวยความระลึกถึง

ที่ออนโยนและยกยองสรรเสรญิทานอยางย่ิง ที่รักของขา จากเวสตมินสเตอร ในวันที่ 19

ของเดือนธันวาคม

99 Letter 46, 47 จาก Ibid, pp. 243 – 247. 100 Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Ibid, pp. 252. 101 Letter 51 Additional Document B จาก Ibid, pp. 251 – 253.

38

ดวยความไววางใจสูงสุดของทาน เย่ียงสตรผีูซื่อสัตย อลซิาเบธ อาร”102

จากขอความขางตน แมขณะน้ัน เจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌูจะทรงทําสงครามใน

เนเธอรแลนดเรื่อยมานับต้ังแตใน ค.ศ.1577 แตทั้งพระราชินีอลิซาเบธ และดุกแหงอองฌูตางก็ทรงมี

การติดตอกันเรื่อยมา อีกทั้งในพระราชสาสนไดมีการแสดงความรักและความปรารถนาที่จะอภิเษก

สมรสอยูเสมอ แมจะมีความขัดแยงและไมไววางใจกันเล็กๆ นอยๆ ระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสเกี่ยวกับ

การสนับสนุนดุกแหงอองฌูตอการรบในเนเธอรแลนด พรอมกับการกลาวถึงเรื่องทางการเมืองตางๆ

อยางไรก็ตาม ใน ค.ศ.1584 แผนการอภิเษกสมรสก็สิ้นสุดลงเมื่อเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู

สิ้นพระชนม หลังจากความพายแพทางการทหารในเนเธอรแลนดใน ค.ศ.1573

ดังน้ัน จะเห็นไดวา การอภิเษกสมรสระหวางพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 แหงอังกฤษกับเจาชาย

ฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู มิไดเกิดข้ึนจริง แมจะมีการเจรจากันอยางยาวนาน ซึ่งเปนที่สังเกตวา พระ

ราชินีอลิซาเบธ รวมถึงรัฐบาลอังกฤษ ใชการเจรจาเรื่องการอภิเษกสมรสน้ีเปนตัวเช่ือมและดําเนิน

ความสัมพันธระหวางราชสํานักอังกฤษกับฝรั่งเศส รวมถึงการแทรกแซงของอังกฤษตอการเมือง

ฝรั่งเศส ดังที่จะไดกลาวอีกในหัวขอตอไป

3.2 การแทรกแซงของอังกฤษตอสงครามศาสนาในฝรั่งเศส

ปญหาใหญในยุโรป คริสตศตวรรษที่ 16 เปนผลสืบเน่ืองมาจากการปฏิรูปศาสนา ซึ่งนําไปสู

สงครามศาสนาในยุโรป กลาวคือ การศรัทธาในศาสนาคริสตนิกายที่แตกตางกันระหวางนิกาย

โปรเตสแตนต และคาทอลิก เปนความขัดแยงที่เกิดจากความพยายามในการปฏิรูปศาสนาไปยัง

ดินแดนตางๆ ในยุโรปของทั้ง 2 ฝาย เพื่อที่ความเช่ือในนิกายโปรเตสแตนตจะแยกตัวออกจากนิกาย

คาทอลิกอยางเปนอิสระหรือถูกทําลายลง ดวยแนวคิดเชนน้ี จึงนําไปสูสงครามศาสนาในยุโรป ซึ่งยุโรป

ในสมัยน้ีถูกเรียกวา ‘ยุคของสงครามศาสนา (Age of Religious Warfare)’103 อยางไรก็ตาม ราช-

สํานักอังกฤษ และฝรั่งเศส มีความแตกตางกันในดานความเช่ือทางศาสนา โดยราชสํานักอังกฤษเปน

โปรเตสแตนต สวนราชสํานักฝรั่งเศสเปนนิกายคาทอลิก ซึ่งขณะน้ัน ในฝรั่งเศสเกิดสงครามกลางเมือง

102 แปลจาก “…my sole request consists in this: that you always hold me as the same one

whom you have obliged to be dedicated to you. And that I can only be she who has lodged you in the first rank of what is dearest to me, as God can best witness, to whom I will not cease my supplications that He grant you a hundred years of life. With my very humble remembrances to be commended to my dearest. From Westminster this nineteenth of December.” – Letter 45 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I Collected Works, แปลโดย ธนพนธ รงรอง, pp. 239.

103 อนันตชัย เลาหะพันธุ, “เศรษฐกิจใหม ในคริสตศตวรรษที่ 17”, วารสารอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 33 ฉบับที่ 1 (2554), หนา 195 – 196.

39

ที่เกี่ยวกับศาสนามาต้ังแต ค.ศ.1562 อันเปนการตอสูระหวางกลุมคาทอลิก และฮูเกอโนต ที่นําโดยขุน

นางตระกูลสําคัญ เชน ตระกูลกีส และบูรบง เปนตน อยางไรก็ดี นับต้ังแตมีการลงสัตยาบันใน

สนธิสัญญาแหงเมืองบลัวส ค.ศ.1572 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 จึงทรงมีความพยายามที่จะแทรกแซง

สงครามศาสนาในฝรั่งเศส ทั้งที่ในขณะน้ัน ฝรั่งเศสก็กําลงัประสบกับปญหาสงครามศาสนา (ดูในหัวขอ

2.1)

ดังน้ัน ในปแรกของการเปนพันธมิตร เมื่อเกิดเหตุการณสังหารหมูชาวโปรเตสแตนตในวัน

เซนตบาโทโลมิวที่ลุกลามไปทั่วฝรั่งเศสใน ค.ศ.1572 พบวาจากพระราชสาสนที่พระราชินีอลิซาเบธที่

1 ทรงสงไปยังเซอร ฟรานซิส วอลซิงแฮม พระองคทรงเสียพระทัยกับเหตุการณครั้งน้ี และทรงตําหนิ

กษัตริยชารลสที่ 9 แหงฝรั่งเศส รวมถึงฝรั่งเศสในลกัษณะที่เปนอาณาจักรทีป่าเถ่ือน ไมสามารถจัดการ

กับเหตุการณที่เกิดข้ึนได รวมถึงแนะนําใหฝรั่งเศสจับกุมผูกระทําผิดมารับโทษ104 ซึ่งเปนเรื่องที่เปนไป

ไดยากที่กษัตริยแหงฝรั่งเศสจะทรงสามารถจบักุมผูกระทาํผิดมาลงโทษ เน่ืองจากผูนําในปฏิบัติการครัง้

น้ี คือ เฮนรีแหงตระกูลกีส อันเปนตระกูลที่มีอํานาจและอิทธิพลอยางมากในฝรั่งเศส

ภาพที่ 3 การสังหารหมูในวันเซนตบาโทโลมิว ค.ศ.1572

เหตุการณสังหารหมูกลุมโปรเตสแตนตในวันเซนตบาโทโลมิว เปนปฏิบัติการของกลุมคาทอลิกในฝรั่งเศสนําโดยเฮนรี

แหงกีส เพื่อการลอบสังหารผูนํากลุมโปรเตสแตนตที่มารวมงานอภิเษกสมรสระหวางกษัตริยเฮนรีแหงนาวารกับเจา

หญิงมารกาเร็ตแหงฝรั่งเศสในกรุงปารีส โดยแผนการน้ีมีการกําหนดใหปฏิบัติในวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ.1572 เม่ือ

ปฏิบัติการเริ่มขึ้น กอใหเกิดการสังหารหมูกลุมโปรเตสแตนตประมาณกวาหน่ึงหม่ืนคนทั้งในกรุงปารีส และขยายไป

ยังเมืองอ่ืนๆ ในฝรั่งเศส

ที่มา: http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Francois_Dubois_001.jpg

104 Letter 37 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I Collected Works, pp. 215 – 217. (ดูเพิ่มเติมไดที่ภาคผนวก ก)

40

หลังการสังหารหมูวันเซนตบาโทโลมิว ใน ค.ศ.1572 กองทัพฝรั่งเศสไดโจมตีเมืองลารอแชล

และเมืองอื่นๆ ในฝรั่งเศส อันเปนสถานที่ลี้ภัยของกลุมโปรเตสแตนต ทําใหใน ค.ศ.1574 พระราชินี

อลิซาเบธทรงสงพระราชสาสนไปยังวาเลนไทน เดล ราชทูตของอังกฤษในฝรั่งเศส ใหทูลเตือนกษัตริย

ฝรั่งเศสเกี่ยวกับการกระทําน้ีวา ทางฝายอังกฤษไมพอใจอยางย่ิง105 อยางไรก็ตาม เมืองลารอแชล เสีย

แกฝรั่งเศสต้ังแตใน ค.ศ.1573 กอนการสงพระราชสาสนดังกลาว แมวาอังกฤษไดใหความชวยเหลือแก

เมืองน้ีไปแลวก็ตาม นอกจากน้ี ยังมีเมืองของกลุมโปรเตสแตนตอื่นๆ อีก ที่กองทัพฝรั่งเศสเขาโจมตี

ทั้งฝรั่งเศสยังทําสงครามกบักลุมโปรเตสแตนตเรื่อยมาในระหวางชวงสงครามศาสนา โดยใน ค.ศ.1575

กลุมฮูเกอโนตไดรับการสนับสนุนทางการเงิน และทางทหารจากแควนซิมเมิรน (Simmern) ขณะที่

อังกฤษตกลงใหเงินกูอยางลับๆ และดุกแหงอองฌูก็ทรงเขารวมกับกลุมฮูเกอโนตในการตอตานตระกูล

กีส อยางไรก็ตาม หลังขอตกลงสงบศึกใน ค.ศ.1576 ระหวางราชสํานักฝรั่งเศสกับกลุมฮูเกอโนตไม

นาน สงครามศาสนากลางเมืองระหวางราชสํานักฝรั่งเศสและกลุมฮูเกอโนตก็เกิดข้ึนอีก โดยในครั้งน้ี

ดุกแหงอองฌู เปนผูนําคนสําคัญของราชสํานักฝรั่งเศสในการทําสงครามกับกลุมฮูเกอโนต

อยางไรก็ตาม จากพระราชสาสนถึงเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู ใน ค.ศ.1579 ใหขอมูล

วากษัตริยเฮนรีแหงนาวาร ผูนํากลุมโปรเตสแตนตในฝรั่งเศส ทรงสงทูตมายังอังกฤษ พรอมแสดง

เจตจํานงวา กลุมโปรเตสแตนตตองการสันติ และสงบศึกกับราชสํานักฝรั่งเศส เพียงแตตองการเมือง

ตางๆ ที่ราชสํานักฝรั่งเศสยึดไปไมนานกลับคืน106 ซึ่งในกรณีน้ี พระราชินีอลิซาเบธทรงพยายามเจรจา

กับดุกแหงอองฌู เพื่อใหเกิดสันติระหวางราชสํานักฝรั่งเศสที่เปนคาทอลิกกับกลุมฮูเกอโนต

จากสถานการณขางตน แสดงใหเห็นวาพระราชินีอลิซาเบธทรงวางพระองคเปนคนกลาง

ระหวางทั้งสองฝายในการเจรจาแกไขปญหาความขัดแยงในสงครามศาสนาของฝรั่งเศส เพื่อปกปอง

กลุมฮูเกอโนต และพระราชินีอลิซาเบธทรงกําลังใชความสัมพันธสวนพระองคกับดุกแหงอองฌูในการ

เจรจาผานพระราชสาสน อันเปนโอกาสใหอังกฤษไดแทรกแซงการเมืองภายในของฝรั่งเศส นอกจากน้ี

ดวยการเปนพันธมิตรระหวางทัง้สองฝายต้ังแตใน ค.ศ.1572 พระราชินีอลิซาเบธทรงตองอดทนตอการ

กระทําของฝรั่งเศสที่มีตอกลุมโปรเตสแตนตดวยการเจรจาผานพระราชสาสนและการทูต

3.3 พระราชินีอลิซาเบธท่ี 1 กับการขยายอํานาจของฝรั่งเศสในเนเธอรแลนด

นับต้ังแตกษัตริยฟลิปที่ 2 แหงสเปนข้ึนครองราชย เนเธอรแลนด กลายเปนดินแดนในมรดก

ของพระองคดวย ซึ่งก็หมายถึง เนเธอรแลนดตกอยูภายใตการปกครองของสเปนที่เปนรัฐคาทอลิกอัน

105 Letter 39 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 221 – 223. 106 Letter 45 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 239 – 239. (ดูเพิ่มเติมไดที่ภาคผนวก ค)

41

เขมแข็ง อยางไรก็ตาม การปฏิรูปศาสนาที่เกิดข้ึนในคริสตศตวรรษที่ 16 ทําใหดินแดนน้ีไดรับอิทธิพล

ของการปฏิรูปน้ีไปดวย เปนผลใหชาวดัตช (Dutch) ซึ่งเปนคนทองถ่ินในเนเธอรแลนด หันไปนับถือ

ศาสนาคริสต นิกายโปรเตสแตนตมากข้ึน107 โดยเฉพาะทางภาคเหนือที่มีความใกลชิดกับดินแดน

เยอรมัน (ดินแดนแหงการปฏิรูปศาสนาอยางเปนรูปธรรมครั้งแรก) สวนทางภาคใตของเนเธอรแลนด

น้ัน มีความใกลชิดกับฝรั่งเศส และคนสวนใหญยังคงนับถือนิกายคาทอลิก อีกทั้งอยูภายใตการ

ปกครองของผูสําเร็จราชการของสเปน

จากสถานการณขางตนน้ี และเน่ืองจากรัฐบาลสเปน ไดดําเนินนโยบายตอตานคนนอกศาสนา

อยางจริงจังต้ังแตใน ค.ศ.1566 อีกทั้งใน ค.ศ.1567 กษัตริยแหงสเปนไดสงกองทัพของพระองคมา

ประจําการในเนเธอรแลนดมากข้ึน กอใหเกิดการกดข่ีชาวดัตชอยางมากในเนเธอรแลนด ทั้งในดาน

ศาสนา และเศรษฐกิจ จึงทําใหในเวลาไมนาน ชาวดัตชกอการกบฏภายใตการนําของวิลเลียมแหง

ออเรนจ (William of Orange) ในภาคเหนือของเนเธอรแลนด โดยมีจุดประสงคในการตอตานการ

ปกครองสเปนและกอต้ังรัฐอิสระข้ึนมาแทน ซึ่งการกบฏน้ีลุกลามจากจังหวัดฮอลแลนดลงมาทางใต

และใน ค.ศ.1572 กลุมกบฏสามารถยึดเมืองบริลล (Brill) และฟลัชชิงในเขตจังหวัดซีแลนด

(Zealand) ไดสําเร็จ ซึ่งนําไปสูการจัดต้ังสหภาพแหงอูเตรดต (Union of Utrecht) ของ 7 จังหวัด

ทางภาคเหนือใน ค.ศ.1579 นําโดยวิลเลียมแหงออเรนจ แตตอมาใน ค.ศ.1581 มีการประกาศ

เปลี่ยนเปนสาธารณรฐัแหงสหพันธนคร (Republic of the United Provinces)108 สวนจังหวัดทางใต

ที่นําโดยผูสําเร็จราชการของสเปน ถูกจัดต้ังเปนสหภาพแหงอารราส (Union of Arras) ในปเดียวกัน

อยางไรก็ตาม การกบฏมิไดประสบความสําเร็จไปมากกวาสถานการณดังกลาวน้ีนัก ดังน้ัน

กลุมกบฏชาวดัตช จึงพยายามขอความชวยเหลือจากตางชาติ ซึ่งรัฐบาลอังกฤษปฏิเสธที่จะใหความ

ชวยเหลือทางทหารอยางจริงจัง เน่ืองจากอาจจะทําใหอังกฤษเกิดสงครามกับสเปนโดยตรง อังกฤษ

เพียงสงอาสาสมัครไปชวยปองกันเมืองฟลัชชิง เปนผลใหกลุมกบฏขอความชวยเหลือไปยังฝรั่งเศส

และเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู โดยการขอความชวยเหลือในครั้งแรกดุกแหงอองฌู ทรงปฏิเสธ

แตหลังจากการลงสัตยาบันในสนธิสัญญาเบเฌอแรค (Treaty of Bergerac) สงบศึกระหวางกลุม

ฮูเกอโนตกับกษัตริยเฮนรีที่ 3 แหงฝรั่งเศส ใน ค.ศ.1577 ดุกแหงอองฌู ทรงเริ่มหันไปสนพระทัยใน

การแทรกแซง และเริ่มเตรียมการชวยเหลือทางทหารไปยังเนเธอรแลนด ซึ่งเปนการเพิ่มศักยภาพ

ใหแกกลุมกบฏชาวดัตชในการตอตานสเปน อยางไรก็ดี ทั้งพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 แหงอังกฤษ และ

ดุกแหงอองฌูตางก็มีนโยบายคลายคลึงกันในการชวยเหลือเนเธอรแลนด แตที่แตกตางกัน คือ ผลของ

การชวยเหลือเนเธอรแลนด โดยพระราชินีอลิซาเบธตองการใหเนเธอรแลนดกอต้ังเปนรัฐอิสระ

107 ชาวดัตชสวนใหญนับถือลัทธิคัลแวง 108 บรรยายโดย มิตต ทรัพยผุด, วันที่ 16 ตุลาคม 2557.

42

ปราศจากอิทธิพลจากตางชาติ ซึ่งอาจแตกตางกับความตองการของดุกแหงอองฌู ซึ่งการพูดคุยหรือ

เจรจาในเรื่องดังกลาวน้ี จะพบไดจากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ต้ังแต ค.ศ.1580 ดังที่

จะไดกลาวตอไป

แผนที่ 3 เนเธอรแลนดกับความใกลชิดกับอังกฤษและฝรั่งเศส

ภาพแสดงใหเห็นถึงความเปนไปไดของการขยายอํานาจและอิทธิพลของอังกฤษและฝรั่งเศสเขาไปยังดินแดน

เนเธอรแลนด เน่ืองจากเขตอิทธิพลการปกครองโดยประมาณของฝรั่งเศสติดกับเนเธอรแลนด ขณะที่อาสาสมัครชาว

อังกฤษทําการปองกันเมืองฟลัชชิงในจังหวัดซีแลนด อีกทั้ง อังกฤษยังทําการคากับเนเธอรแลนดอยางใกลชิด

โดยเฉพาะในเขตฟลานเดอรสฺ (Flanders)

ที่มา: Susan Doran, England and Europe 1485 – 1603 (New York: Routledge, 2013), pp. 120.

นับต้ังแตในสิงหาคม ค.ศ.1580 พระราชินีอลิซาเบธทรงยกเรื่องการอภิเษกสมรสกับเจาชาย

ฟรองซัวส ดุกแหงอองฌูข้ึนมากลาวอางอีกวา พระองคจะไมทรงตัดสินพระทัยเรื่องการอภิเษกสมรส

กับดุกแหงอองฌูจนกวาจะทรงทราบวาดุกแหงอองฌูจะทรงดําเนินการอยางไรกับเนเธอรแลนด109 ซึ่ง

เปนที่ชัดเจนจากพระราชสาสนใน ค.ศ.1581 วา พระราชินีอลิซาเบธทรงแสดงความรักและความ

ซื่อสัตยตอดุกแหงอองฌู แตก็ทรงไมตองการใหดุกแหงอองฌูทําสงครามตอตานสเปนในเนเธอรแลนด

เน่ืองจากอาจทําใหเกิดสงครามระหวางอังกฤษกับสเปนโดยตรง และสงครามอาจทําลายการคาของ

อังกฤษในเนเธอรแลนด110 ดังน้ัน จะเห็นไดวา พระราชินีอลิซาเบธทรงอาจพยายามที่จะทําใหดุกแหง

อองฌูเลือกระหวางการอภิเษกสมรสที่พระองคทรงแสดงความจริงใจกับการทําสงครามใน

109 Letter 48 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 247 – 249. 110 Letter 49 จาก Ibid, pp. 249 – 250.

43

เนเธอรแลนด ที่อาจสรางผลเสียใหแกอังกฤษในทัศนะของพระราชินีอลิซาเบธ โดยเฉพาะการคาของ

อังกฤษในเขตฟลานเดอรสก็เปนได

อยางไรก็ตาม จากพระราชสาสนถึงเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู ใน ค.ศ.1582 พบวา

ดุกแหงอองฌู ทรงกําลังปฏิบัติการทางทหารในเนเธอรแลนด โดยทางฝายฝรั่งเศสมีความตองการให

ดุกแหงอองฌูทําสงครามในเนเธอรแลนด และเปนผูปกครองแหงเนเธอรแลนด ซึ่งพระราชินี

อลิซาเบธทรงยอมรับการเปนกษัตริยของดุกแหงอองฌูอยางไมเต็มพระทัยนัก อยางไรก็ตาม พระ

ราชินีอลิซาเบธทรงกลาววาพระองคทรงอางวาพระองคมีทรพัยเพียงไมมากนักพอที่จะใหดุกแหงอองฌู

ยืมในการทําสงคราม และทรงกลาววาจะทรงอภิเษกสมรส หากอังกฤษไมเสียผลประโยชนใดๆ

(โดยเฉพาะการสนับสนุนดุกแหงอองฌใูนเนเธอรแลนด)111 จากสถานการณน้ี พบวา ดุกแหงอองฌูทรง

ถูกแตงต้ังใหเปน ‘ผูปกครองและเจาแหงเนเธอรฺแลนด (Prince and Lord of the Netherlands)’

ในปเดียวกัน112 ทั้งพระองคทรงขอการสนับสนุนทางการเงินจากอังกฤษจํานวนหน่ึงในการทําสงคราม

ซึ่งพระราชินีอลิซาเบธทรงใหคํามั่นวาจะใหเงินอุดหนุนหกหมื่นปอนดต้ังแตใน ค.ศ.1581 ซึ่งเปนชวง

ที่ดุกแหงอองฌูเสด็จมายังอังกฤษ113 เน่ืองจากความจริงที่วา ดุกแหงอองฌูทรงไมมีความพรอมในการ

ทําสงคราม อีกทั้งพระองคทรงมีกองกําลังที่นอย และมีทุนไมเพียงพอที่จะทําสงครามเปนเวลานาน

นอกประเทศ ดังน้ัน พระราชินีอลิซาเบธจึงทรงเริ่มสนับสนุนทางการเงินหกหมื่นปอนดใหแกดุกแหง

อองฌูต้ังแต ค.ศ.1581 ถึง ค.ศ.1582 ภายใตความสัมพันธสวนพระองคและทางการเมืองที่พระราชินี

อลิซาเบธทรงมั่นใจวาสามารถควบคุมดุกแหงอองฌูได โดยพระองคทรงไดสงเพเรกริน เบอรต้ี ไป

พิทักษดุกแหงอองฌู

ตอมาจากพระราชสาสนถึงเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌูในเดือนกันยายน ค.ศ.1583

พบวา ดุกแหงอองฌูทรงทูลถามพระราชินีอลิซาเบธวา พระราชินีอลิซาเบธทรงปรารถนาสิ่งใดเมื่อ

ดุกแหงอองฌูทรงสามารถเขาปกครองเนเธอรแลนด (หลังพิชิตเนเธอรแลนดไดสําเร็จ) อีกทั้งดุกแหง

อองฌูยังทรงทูลถามพระราชินีอลิซาเบธอีกวา ฝรั่งเศสจะสนับสนุนพระองคอยางไรตอสงครามใน

เนเธอรแลนด ซึ่งพระราชินีอลิซาเบธทรงทราบและตอบไปดวยทัศนะของพระองควา กษัตริยเฮนรีที่ 3

แหงฝรั่งเศส ผูเปนพระเชษฐาของดุกแหงอองฌู ทรงออนแอที่ไมสามารถสนับสนุนและชวยเหลือพระ

อนุชาของพระองคเองไดโดยไมมรีัฐอื่นๆ คอยชวย นอกจากน้ี พระราชินีอลิซาเบธทรงกลาววา กษัตริย

111 Letter 51, 52 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 251 – 256. 112 Wall Charts, History and European Identity, “French Fury at Antwerp (1583)”,

http://historywallcharts.eu/view/french-fury-at-antwerp-anjou-driven-from-antwerp-1583,วั น ที่ 14 ตุลาคม 2557.

113 Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Ibid, pp. 252.

44

เฮนรีที่ 3 ยังทรงทูลขอใหพระราชินีอลิซาเบธสนับสนุนดุกแหงอองฌูใหเขมแข็งตามที่ดุกแหงอองฌู

ทรงตองการ114

จากเน้ือหาของพระราชสาสนดังกลาวน้ี สืบเน่ืองมาจากการที่พระราชินีอลิซาเบธทรงตัดสิน

พระทัยยกเลิกการสนับสนุนดานการเงินใหแกดุกแหงอองฌูต้ังแตในเดือนมกราคม ค.ศ.1583 ทําให

ดุกแหงอองฌูเสนอใหพระราชินีอลิซาเบธเรียกรองตอพระองคหลังการปกครองเนเธอรแลนด

นอกจากน้ี พระราชสาสนยังแสดงใหเห็นวา ดุกแหงอองฌู ทรงไมสามารถดําเนินการรบไดใน

เนเธอรแลนดโดยขาดการสนับสนุนจากผูมีอํานาจตางแดน อยางไรก็ตาม พระราชินีอลิซาเบธทรงมี

ทัศนะวาหากอังกฤษสนับสนุนดุกแหงอองฌูทําสงครามในเนเธอรแลนดตอไป สถานการณน้ีจะเปน

ความเสี่ยงตอการคาและสงครามโดยตรงกับสเปนดังที่กลาวแลวในขางตน นอกจากน้ี พระราชินี

อลิซาเบธทรงไดทราบวา ดุกแหงอองฌูขาดทั้งความสามารถและประสบการณทางทหาร ซึ่งกอใหเกิด

ความลมเหลวในการรบของดุกแหงอองฌูในเนเธอรแลนด เน่ืองจากดุกแหงอองฌูไมเปนที่พอใจนัก

สําหรับผูคนในเนเธอรแลนด เพราะเมื่อกองกําลังฝรั่งเศส (ประมาณ 1,500 คน) ภายใตการนําของ

ดุกแหงอองฌูมาถึงเนเธอรแลนดในปลาย ค.ศ.1582 พระองคทรงเริ่มทําการควบคุมเมืองตางๆ ใน

เนเธอรแลนดดวยกําลัง อยางไรก็ตาม ในเดือนมกราคม ค.ศ.1583 ดุกแหงอองฌู ทรงพายแพอยาง

ยอยยับที่เมืองอันทเวิรป (Antwerp) ซึ่งถือเปนจุดสิ้นสุดบทบาททางทหารของพระองคไปตลอดกาล

ดังน้ัน เมื่อดุกแหงอองฌู ไมไดรับการสนุบสนุนจากพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 อีก ทําใหพระองคตอง

เสด็จกลับฝรั่งเศสในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1583

114 Letter 55 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 259 – 260.

45

ภาพที่ 4 การเสด็จออกจากเมืองอันทเวิรปของเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู

ความพยายามยึดเมืองอันทเวิรปภายใตชื่อ ‘การตอนรับเขาเมือง (Joyous Entry)’ ของเจาชายฟรองซัวส ดุกแหง

อองฌู ในเดือนมกราคม ค.ศ.1583 พระองคทรงสามารถนํากองทัพเขาเมืองได แตภายในเมืองกลับถูกประชาชนและ

ทหารอาสาประจําเมืองเขาโจมตอียางหนัก ทหารของพระองคถูกสังหารเปนจํานวนมาก อยางไรก็ตาม พระองคทรง

สามารถเสด็จหนีออกจากเมืองมาไดดวยความอัปยศอยางยิ่ง และกองทัพของพระองคถูกทําลาย

ที่มา: http://historywallcharts.eu/view/french-fury-at-antwerp-anjou-driven-from-antwerp-1583

พระราชสาสนถึงพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิชี ผูสําเร็จราชการของฝรั่งเศส ใน ค.ศ.1584

พบวา เจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌูสิ้นพระชนมลงแลวในปเดียวกัน (ดวยโรคมาราเรีย) พระราชินี

อลิซาเบธทรงแสดงความเสียพระทัยอยางย่ิง แตก็ทรงไมสามารถเสด็จไปรวมงานพระศพของเจาชาย

ฟรองซัวส ดุกแหงอองฌูได โดยพระราชินีอลิซาเบธจะทรงนําความรักทีม่ีตอดุกแหงอองฌูไปยังกษัตริย

เฮนรีที่ 3 แหงฝรั่งเศส และพระองคจะทรงเปนพระธิดาผูซื่อสัตยตอพระราชินีแคทเธอรีน เดอ เมดิ-

ชี115 ซึ่งเน้ือหาดังกลาวอาจเปนความพยายามในพระราชสาสนครั้งสุดทายของพระราชินีอลซิาเบธที่จะ

รักษาความสัมพันธอันดีกับราชสํานักฝรั่งเศสไว

การขยายอํานาจของเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู พระอนุชาของกษัตริยแหงฝรั่งเศส ใน

เนเธอรแลนด เริ่มประสบความลมเหลวนับต้ังแตใน ค.ศ.1582 ที่พระองคเริ่มดําเนินการควบคุมเมือง

ตางๆ ในเนเธอรแลนดอยางจริงจัง ซึ่งพระราชินีอลิซาเบธทรงสนับสนุนดุกแหงอองฌูอยางไมเต็ม

115 Letter 56 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 260 – 261.

46

พระทัยนัก เน่ืองจากการขยายอํานาจของเจาชายแหงฝรั่งเศสในครั้งน้ี อาจทําใหอํานาจในยุโรป

สูญเสียดุล เพราะอังกฤษมีนโยบายที่ตองการสนับสนุนเนเธอรแลนดใหเปนรัฐอิสระ แตหลังจากความ

พายแพ รวมถึงการสิ้นพระชนมของดุกแหงอองฌู การตอสูในเนเธอรแลนดของดุกแหงอองฌูใน

ชวงเวลาที่ผานมากอนการพายแพที่เมืองอันทเวิรป อาจกลายเปนผลดีตออังกฤษที่ดุกแหงอองฌูได

สรางความเขมแข็งและชวยเหลือกลุมกบฏในเนเธอรแลนดไวแลวในสวนหน่ึง อยางไรก็ตาม เจาชาย

วิลเลียมแหงออเรนจ ก็สิ้นพระชนมในปเดียวกัน จึงทําใหอังกฤษเริ่มใหการสนับสนุนและชวยเหลอืทาง

ทหารและเศรษฐกิจไปยังกลุมกบฏชาวดัตชในเนเธอรแลนดอยางเปนทางการ ต้ังแต ค.ศ.1585 สวน

ดุกแหงอองฌูและฝรั่งเศสมิไดรับประโยชนจากการรบในเนเธอรแลนด เทาที่ควร และหลังการ

สิ้นพระชนมของดุกแหงอองฌูฝรั่งเศสก็เผชิญกับสงครามกลางเมืองครั้งใหม และไมสามารถหันมา

แทรกแซงทางทหารไปยังดินแดนอื่นไดจนถึง ค.ศ.1589116

ดังน้ัน จะเห็นไดวา ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส โดยเฉพาะราชสํานักฝรั่งเศสหรือ

ราชวงศวาลัวส ต้ังแต ค.ศ.1572 ถึง 1584 โดยรวมถือวาเปนลักษณะของความสัมพันธที่คอนขางดี

และประนีประนอมตอกันอยางมาก ใชการเจรจาเปนหลักด่ังที่เห็นจากเน้ือหาในพระราชสาสนจํานวน

มาก โดยในชวงเวลาดังกลาวน้ี ความพยายามดําเนินการอภิเษกสมรสระหวางพระราชินีอลิซาเบธที่ 1

กับเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู มีความสําคัญอยางย่ิงตอความสัมพันธระหวางสองราชสํานัก

เน่ืองจากการเจรจาและพูดคุยดุกแหงอองฌูทั้งในทางการทูตอยางเปนทางการ และโดยเฉพาะในพระ

ราชสาสน ไดทําใหพระราชินีอลิซาเบธทรงไดดําเนินความสัมพันธกับฝรั่งเศส และแทรกแซงในทาง

การเมืองของฝรั่งเศสและเนเธอรแลนดอยางตอเน่ือง ซึ่งพระราชสาสนที่สงไปยังบุคคลตางๆ ใน

ฝรั่งเศส ก็ไดแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธอันใกลชิดระหวางทั้งสองราชสํานัก (ราชวงศ) ดวยเชนกัน

อยางไรก็ตาม เมื่อดุกแหงอองฌู ผูเปรียบด่ังเจาชายรัชทายาทของฝรั่งเศสสิ้นพระชนมลงใน ค.ศ.1584

ทําใหตําแหนงผูสืบราชบัลลังกฝรั่งเศสตกเปนของกษัตริยเฮนรีแหงนาวาร ผูเปนพระขนิษฐภรรดาของ

กษัตริยเฮนรีที่ 3 ที่อภิเษกสมรสกับเจาหญิงมารกาเร็ต พระขนิษฐาพระองคเล็กของกษัตริยเฮนรีที่ 3

ซึ่งเหตุการณน้ีนําไปสูความขัดแยงทางการเมือง อันนําไปสูสงครามกลางเมืองในฝรั่งเศส ที่เรียกวา

“สงครามสามเฮนรี (War of Three Henry)”117 ชวงสุดทายของสงครามศาสนาในฝรั่งเศส โดย

สถานการณน้ี ไดทําใหความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสเปลี่ยนแปลงไปคนละทิศทาง ดังที่จะได

กลาวในบทตอไป ซึ่งวาดวย ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1585 – 1596 จาก

พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1

116 ปญหาการเมืองภายในฝรั่งเศสเริ่มสงบลงภายใตการเปล่ียนศาสนาเปนคาทอลิกของกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศสใน ค.ศ.1598

117 สงครามสามเฮนร ีเกิดขึ้นตั้งแต ค.ศ.1587 – 1598

47

บทที่ 4

ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสตั้งแต ค.ศ.1585 – 1596 จากพระราชสาสนของพระราชินอีลิซาเบธที่ 1

บทน้ีจะศึกษาลักษณะความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1585 ถึง 1596

จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 โดยการวิเคราะหเน้ือหาในพระราชสาสน และอธิบาย

บริบทหรือสถานการณที่ เกี่ยวของ รวมถึงวิเคราะหปจจัยที่อยูเบื้องหลังการดําเนินนโยบาย

ความสัมพันธระหวางทั้งสองฝาย เพื่อจะไดทราบถึงลักษณะความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสใน

ชวงเวลาดังกลาววาเปนไปในทิศทางใดและเปนอยางไรดังที่ไดศึกษาในบทที่ 3

พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ที่ใชศึกษาในบทน้ี มีจํานวนเพียง 6 ฉบับ แตก็

นับวาเปนชวงเวลาสุดทายที่สําคัญที่พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ทรงใชพระราชสาสนติดตอกับฝรั่งเศส

อยางไรก็ตาม จากบทที่ 3 พบวา หลังการสิ้นพระชนมของเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู ผูทรง

สามารถข้ึนเปนกษัตริยแหงฝรั่งเศสตอจากกษัตริยเฮนรีที่ 3 ไดกลายเปนปจจัยสําคัญหน่ึงที่ทําให

ความสัมพันธของอังกฤษที่เคยมีตอราชสํานักฝรั่งเศสหรือวาลัวสเปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งยังอาจเปนสวน

หน่ึงที่ทําใหรัฐบาลอังกฤษตัดสินใจทําสงครามอยางเปดเผยกบัสเปนในเนเธอรแลนดใน ค.ศ.1585 โดย

เน้ือหาจากพระราชสาสนสวนใหญมีความสัมพันธกับกษัตริยเฮนรีแหงนาวาร ผูที่ตอมาทรง

ปราบดาภิเษกเปนกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส

ตารางที่ 3 พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ที่เกี่ยวกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1585 – 1596

จาก Elizabeth I Collected Works

ลําดับ ฉบับท่ี ลงวันท่ี (หลังลงนาม) ผูสง ผูรับ 1 77 พฤษภาคม ค.ศ.1587 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กษัตริยเฮนรีที่ 3 แหงฝรัง่เศส 2 80 6 ธันวาคม ค.ศ.1589 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ลอรด วิลลาฟบ ี

(Lord Willoughby)118 3 82 ค.ศ.1590 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรัง่เศส 4 87 กรกฎาคม ค.ศ.1593 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรัง่เศส 5 92 4 กันยายน ค.ศ.1596 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรัง่เศส 6 93 13 กันยายน ค.ศ.1596 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรัง่เศส

ที่มา: Leah S. Marcus และคณะ, Elizabeth I Collected Works, แปลโดย ธนพนธ รงรอง (Chicago: The

University of Chicago Press, 2002).

118 เพเรกริน เบอรตี้ (Peregrine Bertie) รับหนาที่ผูพิทักษเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู (อัลลองซง) จากอังกฤษ ใน ค.ศ.1582 และเปนผูบัญชาการกองกําลังอังกฤษชวยเหลือกลุมฮูเกอโนตภายใตกษัตริยเฮนรีแหงนาวารในสงครามสามเฮนรีในฝรั่งเศส

48

จากการศึกษาพระราชสาสนในตารางขางตนพบวา เน้ือหาของพระราชสาสนเกี่ยวกับฝรั่งเศส

ที่แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส สามารถแบงออกไดเปน 3 หัวขอ ไดแก

หัวขอแรก พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กับการเมืองของฝรั่งเศสในชวงปลายสมัยราชวงศวาลัวส ต้ังแต

ค.ศ.1587 – 1589 หัวขอที่สอง ความสัมพนัธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสในชวงตนสมัยราชวงศบูรบง

ต้ังแต ค.ศ.1589 – 1596 และหัวขอสุดทาย การกอต้ังพันธมิตรอยางเปนทางการตอตานสเปนระหวาง

อังกฤษกับฝรั่งเศส ดังตอไปน้ี

4.1 อังกฤษกับการเมืองของฝรั่งเศสในชวงปลายสมัยราชวงศวาลัวส ต้ังแต ค.ศ.1587 – 1589

หลังการสิ้นพระชนมของเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู พระราชินีอลิซาเบธทรงมิไดสงพระ

ราชสาสนไปยังกลุมผูปกครองในฝรั่งเศสอีกจนถึงใน ค.ศ.1587 เน่ืองจากพระราชินีอลิซาเบธทรงมิไดมี

ความสัมพันธที่ใกลชิดกับกษัตริยเฮนรีที่ 3 แหงฝรั่งเศสมากนัก อีกทั้งอังกฤษเริ่มทําสงครามใน

เนเธอรแลนด ต้ังแตใน ค.ศ.1585 ดวยสนธิสัญญานันเซาช (Treaty of Nonsuch) ที่กําหนดให

อังกฤษสนับสนุนกลุมกบฏชาวดัตชดวยกองกําลังกวาเจ็ดพันคน และเงินอีกกวาหกแสนฟลอริน

(Florin)119 ตอป แลกกับการที่อังกฤษจะไดสิทธ์ิในการควบคุมเมืองบริลล และฟลัชชิง ทําใหอังกฤษ

อยูในสถานะที่เปนเหมือนดุกแหงอองฌูที่ทําสงครามในเนเธอรแลนด และกลายเปนศัตรูโดยตรงกับ

สเปน จึงทําใหความสัมพันธกับราชสํานักฝรั่งเศสทีเ่ริม่ถูกควบคุมจากตระกูลกสีแยลงไปอกี และเมื่อรัช

ทายาทของฝรั่งเศสตกเปนของกษัตริยเฮนรีแหงนาวาร ผูนํากลุมฮูเกอโนต โดยสถานการณน้ีจะนํา

ฝรั่งเศสเขาสูสงครามกลางเมืองอีกครั้ง อันเปนที่รูจักในช่ือ ‘สงครามสามเฮนรี’ ที่เริ่มข้ึนต้ังแตใน

ค.ศ.1585 ถึง 1589 ประกอบดวยผูมีบทบาทสําคัญ ไดแก กษัตริยเฮนรีที่ 3 แหงฝรั่งเศส กษัตริยเฮนรี

แหงนาวาร (รัชทายาทราชบัลลังกฝรั่งเศส) และเฮนรี ดุกแหงกีส (ผูนําสันนิบาตคาทอลิก) โดย

สถานการณน้ี ถือเปนชวงสุดทายของราชวงศวาลัวส

จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ใน ค.ศ.1587 ที่พระองคทรงสงไปยังกษัตริย

เฮนรีที่ 3 แหงฝรั่งเศส พบวา ฝรั่งเศสไดกักกุมเรืออังกฤษไว โดยพระราชินีอลิซาเบธทรงไดรับทั้งการ

รองเรียนและการโตแยงมากมายจากคนของพระองคในเหตุการณน้ี ซึ่งพระองคทรงกลาวแสดงความ

คิดเห็นตอกษัตริยเฮนรีที่ 3 ดังตอไปน้ี

“…มันเปนไปไดไหมที่ขาควรจะไดรับความนับถือจากพระองค (กษัตริยเฮนรีที่

3) ดวยความรักทั้งหมด และมิตรภาพที่มั่นคง มันเปนเวลาอันยาวนานที่ขาไดย่ืนมือ

ชวยเหลือพระองคอยางสม่ําเสมอเกินกวาเกียรติยศที่ขารั้งอยูในฐานะกษัตริย ซึ่งขาควร

ถูกพระองคปฏิบัติดวยดี แตในความเปนจริงแลว การปฏิบัติน้ันกลับเปนการกระทําที่

119 ฟลอริน คือ หนวยเงินของเนเธอรแลนด

49

เปนปรปกษเสยีมากกวา…อีกทั้งมกีารหยุดเรอืของคนของเราทั้งหมด โดยการกระทําที่มุง

รายอยางแทจริงน้ี ขามิไดคาดคิดวาจะมาจากความขัดแยงหรือคําสัง่ของพระองค ถึงแม

พวกเขาไดใหคําตอบแกขาวา เปนคําสั่งของพระองคเพียงพระองคเดียว…”120

จากขอความขางตน แสดงใหเห็นวา ในชวงระหวางสงครามสามเฮนรี อังกฤษมีความขัดแยง

กับฝรั่งเศสมากข้ึนหลังจากความสัมพันธในชวง ค.ศ.1572 ถึง 1584 ซึ่งคอนขางเปนมิตรกัน เน่ืองจาก

อังกฤษไดมีสัมพันธไมตรีกับกลุมโปรเตสแตนตในยุโรป โดยเฉพาะกับกลุมกบฏในเนเธอรแลนด และ

กษัตริยเฮนรีแหงนาวาร ผูทรงถูกพระสันตะปาปาขับออกจากศาสนาเชนเดียวกับพระราชินีอลิซาเบธ

ขณะที่ฝรั่งเศสในชวงสงครามสามเฮนรี สันนิบาตคาทอลิก (Catholic League)121 นําโดยเฮนรี ดุก

แหงกีส ทําสงครามตอตานการสืบราชบัลลังกฝรั่งเศสของกษัตริยเฮนรีแหงนาวาร โดยสันนิบาต

คาทอลิกไดรับเงินสนับสนุนกวาหาหมื่นเอสคูโดส (Escudos) 122 ตอเดือน จากกษัตริยฟลิปที่ 2 แหง

สเปน123 (ผูซึ่งทําสงครามอยูกับอังกฤษต้ังแตใน ค.ศ.1585) นอกจากน้ี เฮนรีแหงกีสไดเขาควบคุมราช

สํานักฝรั่งเศสของกษัตริยเฮนรีที่ 3 โดยเปนพันธมิตรกับสเปน อีกทั้งฝรั่งเศสยังเปดโอกาสใหสเปนเขา

รวมลงทุนที่เมืองกาเลส ซึ่งการกระทําเหลาน้ี ถือเปนการละเมิดขอตกลงในสนธิสัญญาตางๆ ที่ทําไว

กับอังกฤษกอนหนา โดยเฉพาะสนธิสัญญาบลัวส ค.ศ.1572 ทําใหอังกฤษ ซึ่งขณะน้ันทําสงครามอยูกับ

สเปน ไมไววางใจ และเริ่มขัดแยงกับฝรั่งเศสไปดวย จนนําไปสูการปลนสะดมเรือฝรั่งเศสในทะเล อัน

เปนชวงเวลาที่รัฐบาลองักฤษอนุญาตใหเรอืขององักฤษปลนสะดมเรอืสเปน ซึ่งอาจรวมถึงเรือฝรัง่เศสที่

มีปฏิสัมพันธหรือทําการคากับสเปน เปนผลใหฝรั่งเศสตองตอบโตดวยการกักกุมเรืออังกฤษทุกลํา ซึ่ง

ถูกกักกุมไวเปนจํานวนมากอยูที่เมืองรูออง (Rouen) และที่ทาเรือแซน (Seine) เปนเวลาหลายเดือน

ดังน้ัน จึงมีความเปนไปไดที่วาการกระทําของฝรั่งเศสในครั้งน้ี กษัตริยเฮนรีที่ 3 ทรงมิไดเปน

ผูดําเนินการเองทั้งหมด แตพระองคทรงตกอยูภายใตอํานาจและอิทธิพลของขุนนางตระกูลกีสที่กําลัง

ควบคุมราชสํานักของพระองค ด่ังที่พระราชินีอลิซาเบธทรงกลาวหาดวยความไมแนพระทัยวาเปน

120 แปลจาก “…Is it possible that I, meriting somuch in your regand by the entire affection

and solid friendship which for a long time I have always held out towards you – beyond the honour that I hold in the rank of king – that I should be treated so strangely, indeed, rather as a true enemy…and also to have stopped all the ship of our subjects, a true act of hostility which I figured not to be from your quarrel nor at your commandment. And notwithstanding they answer me only that this is by your order…” – Letter 77 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I Collected Works, แปลโดย ธนพนธ รงรอง, pp. 298.

121 สันนิบาตคาทอลิกกอตั้งขึ้นตั้งแตใน ค.ศ.1576 ซ่ึงนําโดยขุนนางตระกูลกีส 122 เอสคูโดส คือ หนวยเงินของสเปน 123 History Learning Site, “Third French War of Religion”,

http://www.historylearningsite.co.uk/FWR3.htm, วันที ่9 พฤศจิกายน 2557.

50

คําสั่งของใครในเรื่องการกักกุมเรืออังกฤษ ซึ่งอาจหมายถึง กษัตริยเฮนรีที่ 3 ผูมีอํานาจเพียงในนาม

หรือขุนนางตระกูลกีส ก็เปนได

ตอมา เฮนรี ดุกแหงกีส และนองชายถูกลอบสังหารโดยกษัตริยเฮนรีที่ 3 ที่เมืองบลัวส ในชวง

คริสตมาส เดือนธันวาคมปเดียวกัน เน่ืองจากพระองคทรงเห็นวาพระองคทรงไมมีอํานาจอยางแทจริง

และทรงขาดการสนับสนุน อยางไรก็ตาม ในเดือนกุมภาพันธ ค.ศ.1589 ชารลสแหงลอรเรน ดุกแหง

เมเยนนฺ (Charles of Lorraine, Duke of Mayenne) พระสหายเกาของกษัตริยเฮนรีที่ 3 (ต้ังแต

กอนที่พระองคจะทรงข้ึนครองราชย) และผูนําทางทหารคนสําคัญของตระกูลกีส ไดเขาสูกรุงปารีส

และกลายเปนผูนําคนใหมของสันนิบาติคาทอลิก โดยเขาไดจัดต้ังสภาทั่วไปข้ึนปกครองอาณาจักรและ

รักษาความสัมพันธกับเมืองตางๆ ที่จงรักภักดีตอสันนิบาติคาทอลิก อีกทั้งกลุมสันนิบาติคาทอลิก ซึ่ง

ภักดีตอเฮนรีแหงกีส จึงประกาศวากษัตริยเฮนรีที่ 3 เปนทรราช และเปนหนาที่ของชาวฝรั่งเศสผูซื่อ

สัตวที่จะตองโคนลมพระองค ดังน้ัน ความพยายามในการทําลายอํานาจของตระกูลกีสของกษัตริย

เฮนรีที่ 3 จึงลมเหลว

จากสถานการณขางตน ทําใหกษัตริยเฮนรีที่ 3 ทรงหันไปเขารวมกับกษัตริยเฮนรีแหงนาวาร

และกองกําลังพันธมิตรเขาปดลอมกรุงปารีสในปลาย ค.ศ.1588 โดยในครั้งน้ี อังกฤษที่พึ่งไดชัยชนะ

ทางทะเลตอกองเรืออารมาดาของสเปน (Spanish Armada) ใน ค.ศ.1588 ก็ไดสงกองกําลังกวาสี่พัน

คน นําโดยเพเรกริน เบอรต้ี ลอรดวิลลาฟบี (Peregrine Bertie, Lord Willoughby) เขารวมกับ

กษัตริยแหงนาวาร ทําใหฝรั่งเศสสวนใหญเริ่มถูกควบคุมโดยกลุมฮูเกอโนต ทั้งโดยวิธีการของกษัตริย

แหงนาวารในการชักชวนขุนนางใหมาเชารวมดวยการติดสินบน และใชกําลังเขาคุกคาม อยางไรก็ตาม

กษัตริยเฮนรีที่ 3 ทรงถูกลอบปลงพระชนมในเดือนสิงหาคม ค.ศ.1589 โดยกลุมสันนิบาตคาทอลิก แต

กอนที่พระองคจะสิน้พระชนม พระองคทรงยืนย่ันตําแหนงรัชทายาทใหแกกษัตริยเฮนรีแหงนาวารโดย

ชอบธรรม

51

ภาพที่ 5 การลอบสังหารกษัตริยเฮนรีที่ 3 แหงฝรั่งเศสใน ค.ศ.1589

วางแผนโดยกลุมสันนิบาตคาทอลิก โดยการสงมือสังหาร ซ่ึงเปนนักบวชนามวา ฌาค คลีมอง (Jacques Clément)

ไปยังเซนตคราวด (Saint Cloud) ที่ทําการของกษัตริยเฮนรีที่ 3 การลอบสังหารเกิดขึ้นในวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ.1589

ซ่ึงพระองคทรงส้ินพระชนมในวันตอมา แตระหวางทรงบาดเจ็บ พระองคทรงไดยืนยนัใหกษัตริยเฮนรีแหงนาวารเปน

ผูสืบทอดราชบัลลังกฝรั่งเศสตอจากพระองคโดยชอบธรรม

ที่มา: http:/www.marlowe-society.org/marlowe/work/massacre/context/wars_hist4.html

หลังกษัตริยเฮนรีที่ 3 แหงฝรั่งเศสเสด็จสวรรคตในเดือนสิงหาคม ค.ศ.1589 กษัตริยเฮนรีแหง

นาวาร ไดรับตําแหนงกษัตริยฝรั่งเศส หรือที่รูจักในนาม กษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส อยางไรก็ตาม

พระองคทรงยังไมสามารถเขายึดกรุงปารีสได พระองคจึงถอยออกจากกรุงปารีส ทําใหเกิดการ

แบงแยกระหวางฝายของกษัตรยิเฮนรทีี่ 4 แหงฝรั่งเศสกับฝายสันนิบาตคาทอลิก โดยกษัตริยเฮนรีแหง

ฝรั่งเศสทรงควบคุมดินแดนสวนใหญทางตะวันตกและทางใตของฝรั่งเศส ขณะที่สันนิบาตคาทอลิก

ควบคุมดินแดนสวนใหญทางเหนือและทางตะวันออกของฝรั่งเศส

จากสถานการณเหลาน้ี พบวา จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ในเดือน

ธันวาคม ค.ศ.1589 ที่สงไปยังลอรดวิลลาฟบี ผูนํากองกําลังอังกฤษในกองทัพของกษัตริยเฮนรีแหง

นาวาร โดยใหขอมูลวา การสนับสนุนทางทหารของอังกฤษทั้งทางบกและทางทะเลเปนที่พึงพอพระทัย

ตอกษัตริยเฮนรีแหงฝรั่งเศสและนาวารแลว นอกจากน้ี พระราชินีอลิซาเบธยังทรงกลาวถึงในพระราช

สาสนชมเชยเบอรต้ี และกองกําลังอังกฤษในฝรั่งเศสที่มีจํานวนเพียงเล็กนอย แตไดสรางเกียรติยศอัน

ย่ิงใหญใหแกพระองคและอาณาจักร ทั้งยังไดสรางความผิดหวังและความเกรงกลัวแกศัตรู ซึ่งหมายถึง

กลุมสันนิบาตคาทอลิกในฝรั่งเศส และสเปน นอกจากน้ี พระราชินีอลิซาเบธทรงแสดงการยอมรับ

อํานาจของกษัตริยเฮนรีที่ 4 อยางไรก็ตาม พระราชินีอลิซาเบธทรงใหเงื่อนไขในลักษณะที่วา หลังจาก

52

การรวมอํานาจการปกครองในฝรั่งเศสไดแลว หากกษัตริยเฮนรีที่ 4 ทรงไมสามารถดูแลหรือตอบแทน

เหลาทหารอังกฤษที่ประจําการอยูในฝรั่งเศสไดเปนระยะเวลานาน พระราชินีอลิซาเบธทรงหวังวา

กษัตริยแหงฝรั่งเศสจะทรงปลดปลอยลอรดวิลลาฟบ ีและกองกําลงักลบัสูอาณาจักรของพวกเขา อีกทั้ง

พระราชินีอลิซาเบธยังทรงเนนยํ้าอีกวา กษัตริยแหงฝรั่งเศสทรงหวังที่จะทําใหพระองคเองมี

ความสามารถมากข้ึนโดยใชกองกําลังอังกฤษแทนที่พระองคควรจะแสวงหามาเอง124

อยางไรก็ตาม พบวา ลอรดวิลลาฟบี และกองกําลังอังกฤษ ไดรวมอยูในกองทัพของกษัตริย

เฮนรีที่ 4 ในการลอมกรุงปารีสใน ค.ศ.1590 ซึ่งพบวามีประชากรในกรุงปารีสเสียชีวิตกวาสี่หมื่นถึงหา

หมื่นคน สวนใหญเกิดจากความอดอยากระหวางการลอมเมืองที่กินเวลาหลายเดือน อยางไรก็ตาม

กษัตริยเฮนรีที่ 4 ทรงลมเหลวเน่ืองจากกองทัพสเปนในเนเธอรแลนดภายใตการนําของอเล็กซานเดอร

ดุกแหงปารมา (Alexander, Duke of Parma) เดินทางมาชวยเหลือกรุงปารีส125 จากน้ัน กองกําลัง

อังกฤษนําโดยลอรดวิลลาฟบี จึงไดถอนตัวออกจากฝรั่งเศสกลับไปยังอังกฤษ

จะเห็นไดวา พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 รวมถึงอังกฤษ ไดเขาไปเกี่ยวของกับการเมืองของ

ฝรั่งเศสในชวงทายอยางคอนขางมาก เน่ืองจาก กลุมอิทธิพลในฝรั่งเศสอยางขุนนางตระกูลกีส ซึ่งเปน

คาทอลิกไดตอตานการสืบราชบัลลังกฝรั่งเศสของกษัตริยเฮนรีแหงนาวารหรือเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส

(ในเวลาตอนมา) อยางจริงจัง และเขาควบคุมราชสํานักฝรั่งเศสของกษัตริยเฮนรีที่ 3 ภายใตการ

รวมมือกับกษัตริยฟลิปที่ 2 แหงสเปน ขณะเดียวกัน อังกฤษซึ่งกําลังทําสงครามอยูกับสเปนอยาง

จริงจังทั้งทางบกและทางทะเล ไดนําไปสูความขัดแยงกับราชสํานักฝรั่งเศส และตระกูลกีสหรือ

สันนิบาตคาทอลิก อยางไรก็ตาม เมื่อเฮนรี ดุกแหงกีส ถูกลอบสังหาร และกษัตริยเฮนรีที่ 3 ทรงหันมา

เขารวมกับกษัตริยเฮนรีแหงนาวาร อีกทั้งอังกฤษมีชัยเหนือกองเรือสเปนครั้งใหญใน ค.ศ.1588 พระ

ราชินีอลิซาเบธจึงทรงตัดสินพระทัยสงกองกําลังเขาชวยเหลือกษัตริยเฮนรีแหงนาวาร เปนผลให

กษัตริยเฮนรีแหงนาวารทรงเริ่มมีสวนไดเปรียบในสงคราม และแมวากษัตริยเฮนรีที่ 3 สิ้นพระชนมลง

ใน ค.ศ.1589 กษัตริยเฮนรีแหงนาวาร ทรงไดรับตําแหนงกษัตริยแหงฝรั่งเศส แตพระองคก็ทรงไม

สามารถปกครองอาณาจักรไดทั้งหมด เน่ืองจากถูกตอตานอยางหนักจากกลุมคาทอลิก ทําใหฝรั่งเศส

อยูในสภาวะสงคราม ซึ่งจะกินเวลาตอไปอีกประมาณเกาปจนถึง ค.ศ.1598

124 Letter 80 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 360 – 361. (ดูเพิ่มเติมที่ภาคผนวก ง) 125 Susan Doran, Elizabeth I and Foreign Policy 1558-1603.

53

4.2 ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสในชวงตนสมัยราชวงศบูรบง ต้ังแต ค.ศ.1589 –

1596

เมื่อกษัตริยเฮนรีแหงนาวาร ทรงประกาศดํารงตําแหนงกษัตริยแหงฝรั่งเศส ขุนนางบางสวน

เขารวมกับพระองคมากข้ึน เน่ืองจากหากวิเคราะห กษัตริยแหงนาวารขณะน้ัน ทรงเปนรัชทายาทโดย

ชอบธรรมของฝรั่งเศส และพระองคทรงถือเปนความหวังที่ดีที่สุดสําหรับผูตองการความมั่นคงทาง

สังคมและผูเบื่อหนายกับสงคราม อีกทั้งพระองคทรงมิไดเขาไปมีความสัมพันธกับมหาอํานาจอยาง

สเปนที่พยายามขยายอิทธิพลเขาควบคุมยุโรปดังเชนตระกูลกีส แตพระองคกลับทรงมีความสัมพันธ

ฉันทมิตรกับอังกฤษที่มีนโยบายในการสรางดุลแหงอํานาจในยุโรป ซึ่งจะเห็นไดวา ต้ังแต ค.ศ.1589

จนถึง 1596 พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ทรงติดตอโดยตรงกับกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศสผานทางพระ

ราชสาสน โดยสวนใหญมีเน้ือหาที่คอนขางเปนทางการ

จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ในราว ค.ศ.1590 ที่สงไปยังกษัตริยเฮนรีที่ 4

แหงฝรั่งเศส พบวา พระราชินีอลิซาเบธทรงขออภัยใหแกเมอซิเออร เดอ บูวัวร (Monsieur de

Beauvoir) ราชทูตของฝรั่งเศสในอังกฤษ ในความผิดบางประการ ตอกษัตริยเฮนรีที่ 4 นอกจากน้ี ยัง

แนะนําใหกษัตริยเฮนรีที่ 4 ทรงมีความกลาหาญ เน่ืองจากกษัตริยเฮนรีที่ 4 ทรงถูกกลาวถึงในความ

ยโสโอหังและออนแอ ทั้งที่มันควรจะเปนความดีที่ย่ิงใหญสําหรับเจาผูปกครอง126 เน่ืองจากกษัตริย

เฮนรีที่ 4 ทรงชนะในการรบหลายครั้ง แตกลับลมเหลวในการพิชิตกรุงปารีส โดยพระราชินีอลิซา-

เบธทรงเสริมอีกวา

“…หากในเวลาน้ี มีการพิสูจนเกิดข้ึนในความกลาหาญของพระองค (กษัตริยเฮ

นรีที่ 4) ขาจะปรารถนาใหพระองคพบกบัอันตรายนับพันมากกวาใหเกิดความสงสัย และ

สําหรับพระโอรสของขา หากขามีสักพระองค ขาปรารถนาที่จะเห็นเขาตายเสยีดีกวาเหน็

ความข้ีขลาด…”127

อยางไรก็ตาม จากพระราชสาสนใน ค.ศ.1593 พบวา พระราชินีอลิซาเบธทรงทราบขาวจาก

ฌอง เดอ โมรลานส (Jean de Morlans)128 ราชทูตของฝรั่งเศสวา กษัตริยเฮนรีที่ 4 ทรงเปลี่ยน

126 Letter 82 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 363 – 364. 127 แปลจาก “…If at this very hour, proof were to be made of your courage, I would rather

wish you a thousand dangers than such a doubt. For as to my son, if I had had one, I would rather have seen him dead that a coward…” – Letter 82 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I Collected Works, แปลโดย ธนพนธ รงรอง, pp. 363.

128 ฌอง เดอ โมรลานส ถูกจับกุมขอหาที่นําขาวการเปล่ียนศาสนาของกษัตริยเฮนรีที่ 4 ไปยังราชสํานักอังกฤษในเดือนกรกฎาคม และผูปกครองเนเธอรแลนดในเดือนพฤศจิกายน

54

ศาสนาไปเปนคาทอลิก พระราชินีอลิซาเบธทรงตําหนิกษัตริยเฮนรีที่ 4 ในประเด็นน้ีอยางมาก และ

พระองคทรงเสียพระทัยอยางย่ิง พระองคจะทรงยอมรับและไมเสียพระทัยกับมิตรภาพและความ

จงรักภักดีที่มีใหกันมาดังเดิม ยกเวนเรื่องการเปลี่ยนศาสนาในครั้งน้ี พระองคจะขอเปนเพียงพระ

เชษฐภคินีนอกกฎหมายและมิใชโดยทางศาสนาแกกษัตริยเฮนรีเทาน้ัน129 ซึ่งเห็นไดชัดวา พระราชินี

อลิซาเบธทรงไมพอพระทัยกับเหตุการณน้ีอยางมาก

ภาพที่ 6 ชาวกรุงปารีสระหวางเมืองถูกลอมใน ค.ศ.1590

ขณะที่กษัตริยเฮนรีที่ 4 และกองทัพของพระองคทําการปดลอมกรุงปารีส ใน ค.ศ.1590 ชาวกรุงปารีสที่เปนคาทอลิก

ก็ไดเตรียมอาวุธเพื่อตอสูถวายชีวิตกับผูรุกรานชาวโปรเตสแตนต

ที่มา: http://shkangkanggoesbangbang.blogspot.com/2012/03/early-modern-europe-hundred-

and-fifty.html

อยางไรก็ดี เพื่อสรางการยอมรับตอกษัตริยเฮนรีที่ 4 ในฐานะกษัตริยแหงฝรั่งเศสของชาว

ปารีส มันอาจเปนความจําเปนของพระองคตอการเปลี่ยนศาสนาในครั้งน้ี เน่ืองจาก พระองคทรง

ตระหนักดีวาเปนเรื่องยากลําบากอยางย่ิงที่พระองคจะทรงสามารถปกครองอาณาจักรไดทั้งหมด หาก

ไมเปนที่ยอมรับจากผูคนในฝรั่งเศสเสียกอน เน่ืองจากสันนิบาตคาทอลิก รวมถึงชาวฝรั่งเศสสวนใหญ

โดยเฉพาะชาวกรุงปารีสยังคงเปนคาทอลิก ที่พรอมจะสูจนตัวตายมากกวายอมรับตําแหนงของกษัตริย

โปรเตสแตนต ซึ่งแมวาพระองคจะทรงสามารถยึดเมืองหลวงไดแลวก็ตาม สงครามอาจยังไมสิ้นสุด อีก

ทั้งการสังหารผูคนในแตละเมืองที่เปนคาทอลิกจะกลายเปนผลเสียแกการเมืองและเศรษฐกิจของ

พระองคและฝรั่งเศสเสียมากกวา นอกจากน้ี สงครามระหวางกลุมฮูเกอโนตที่พระองคเปนผูนํากับ

สันนิบาตคาทอลิกในครั้งน้ี กินเวลาอยางยาวนาน สรางความเสียหายแกอาณาจักรเปนอันมาก ดังน้ัน

129 Letter 87 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 370 – 371. (ดูเพิ่มเติมไดที่ภาคผนวก จ)

55

กษัตริยเฮนรีที่ 4 ทรงสามารถปราบดาภิเษกข้ึนเปนกษัตริยแหงฝรั่งเศสอยางเปนทางการไดในเดือน

กุมภาพันธ ค.ศ.1593 เพียงแคพระองคทรงเปลี่ยนศาสนา

อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนศาสนาของกษัตริยเฮนรีที่ 4 ไดสรางความผิดหวังอยางย่ิงแกพระ

ราชินีอลิซาเบธที่ 1 แหงอังกฤษในการที่จะสถาปนากษัตริยแหงฝรั่งเศสที่เปนโปรเตสแตนต ข้ึน

ปกครองอาณาจักร อันเปนคาทอลิกที่เขมแข็งมาอยางยาวนาน ซึ่งถือเปนการขยายอิทธิพลและสราง

ความมั่นคงที่มากข้ึนใหแกรัฐตางๆ ตลอดจนประชาชนที่เปนโปรเตสแตนตในยุโรปทางตะวันตก ทั้งน้ี

ก็เน่ืองดวยความแตกตางกันทางการเมืองดานศาสนาของอังกฤษและฝรั่งเศส กลาวคือ ประชาชนชาว

อังกฤษสวนใหญศรัทธาในศาสนาตามผูปกครองหรือรัฐ อันเน่ืองมาจากความเปนหน่ึงเดียวของรัฐที่มี

คอนขางมาก ขณะที่ฝรั่งเศส ประชาชนสวนใหญเปนคาทอลิกที่เครงครัด และจะไมยอมเปลี่ยนแปลง

ศาสนาเปนอื่นตามผูปกครองรัฐอยางจริงจัง ซึ่งก็อาจเน่ืองมาจากสภาพสงัคมทีแ่ตกแยกชัดเจนระหวาง

ฝายคาทอลิกและโปรเตสแตนต กษัตริยที่มีกําลังเปนสวนนอยไมสามารถควบคุมไดทั้งหมด

แมวาการเปลี่ยนศาสนาของกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส จะทําใหพระราชินีอลิซาเบธทรง

เสียพระทัย แตจากพระราชสาสนในเวลาตอมาพบวา ความสัมพันธฉันทมิตรระหวางทั้งสองฝายยังคง

ดําเนินเรื่อยมาตลอดระยะเวลาประมาณหกปของการครองราชยของกษัตริยเฮนรีที่ 4 ต้ังแตปลาย

ค.ศ.1589 จนถึง การกอต้ังพันธมิตรระหวางทั้งสองฝายอยางเปนทางการอีกครั้งใน ค.ศ.1596 ซึ่งจะได

อธิบายในหัวขอตอไป

4.3 การกอต้ังพันธมิตรอยางเปนทางการตอตานสเปนระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส

ปสุดทายของการตอติดผานพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ไปยังฝรั่งเศสใน

ค.ศ.1596 พระราชินีอลิซาเบธทรงไดกลาวถึงการกอต้ังสันนิบาตหรือพันธมิตรตอตานสเปน (League

against Spain130) ระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส (รวมถึงสหพันธนครแหงเนเธอรแลนด)

การกอต้ังพันธมิตรในครั้งน้ี เปนผลสืบเน่ืองมาจากที่พระราชินีอลิซาเบธแหงอังกฤษทรง

เล็งเห็นวาสเปนซึ่งเปนคาทอลิก คือ ศัตรูที่แทจริง โดยพระองคทรงหันไปใหการสนับสนุนแกกลุมกบฏ

ชาวดัตชในเนเธอรแลนดมาต้ังแตประมาณ ค.ศ.1568 และเริ่มเปดฉากทําสงครามกับสเปนอยางเปน

ทางการมาต้ังแต ค.ศ.1585 ในขณะที่กษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศสทรงกําลังทําสงครามกับกลุม

คาทอลิก ที่ไดรับความชวยเหลือจากสเปน อีกทั้งกษัตริยฟลิปที่ 2 แหงสเปนทรงมีแผนการที่จะใหเจา

หญิงอิซาเบลลา (Isabella of Spain) พระธิดาของพระองค ข้ึนประทับบนราชบัลลังกฝรั่งเศส แม

กษัตริยเฮนรีที่ 4 ทรงเปลี่ยนศาสนาเปนคาทอลิกและทรงพยายามเจรจาสันติภาพกับสเปนหลายครั้ง

130 Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I Collected Works,

pp. 385.

56

แตไมเปนผลสําเร็จ กษัตริยเฮนรีที่ 4 จึงทรงจําเปนที่จะตองทําสงครามกับสเปนอยางตอเน่ือง

เชนเดียวกันกับกลุมกบฏชาวดัตชในเนเธอรแลนด

จากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ระหวางวันที่ 4 เดือนกันยายน ค.ศ.1596 ที่

สงไปยังกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส พบวาพระราชินีอลิซาเบธทรงกลาวถึงพันธมิตรที่ตอตานสเปน

ครั้งน้ี หากความรวมมือของพระราชินีอลิซาเบธแหงอังกฤษกับกษัตริยเฮนรีแหงฝรั่งเศสวาจะเปน

ประโยชนตอสัมพันธไมตรีที่ยาวนานระหวางทั้งสองฝาย โดยพระราชินีอลิซาเบธทรงยอมรับการ

เกิดข้ึนของพันธมิตรในครั้งน้ี131 อยางไรก็ตาม พบวากษัตริยเฮนรีที่ 4 ทรงมีความพยายามที่จะเปน

พันธมิตรกับเนเธอรแลนดอยูกอนแลว แตก็ยังทรงลังเลการเขารวมเปนพันธมิตรกับอังกฤษ เน่ืองจาก

พระองคทรงกังวลเกี่ยวกับการขอความชวยเหลือจากอังกฤษ ขณะที่พระราชินีอลิซาเบธแหงอังกฤษ

ทรงตองการเปนพันธมิตรกับฝรั่งเศส เน่ืองจากในเดือนเมษายน ค.ศ.1596 เมืองกาเลส ภายใตการ

ปกครองของฝรั่งเศส ถูกกองทัพสเปนยึดได ซึ่งเปนอันตรายตออังกฤษอยาง เพราะนอกจากฝรั่งเศสจะ

สูญเสียการปกครองเมืองดังกลาว และการคากับอังกฤษที่เมืองน้ีจะถูกระงับ เมืองน้ีมีทาเรือที่สเปน

สามารถเดินทางไปยังอังกฤษในระยะทางที่ใกลที่สุด ทําใหการปองกันของอังกฤษจากสเปนมีความ

ลําบากมากย่ิงข้ึน นอกจากน้ี พระราชินีอลิซาเบธทรงปรารถนาที่จะใหฝรั่งเศสครอบครองเมืองน้ี

มากกวาที่จะเปนสเปน

131 Letter 82 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 384 – 385.

57

ภาพที่ 7 การลอมเมืองกาเลส ค.ศ.1596

การลอมเมืองกาเลสของกองทัพสเปน นําโดย อัลเบิรต อารชดุกแหงออสเตรีย (Albert, Archduke of Austria) ซ่ึง

เริ่มขึ้นตั้งแตวันที่ 8 เดือนเมษายน ค.ศ.1596 และส้ินสุดลงดวยชัยชนะของสเปนในวันที่ 24 เดือนเดียวกัน อันเปน

เหตุการณที่นําไปสูการเปนพันธมิตรระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศสอยางเปนทางการ เพื่อตอตานสเปน ในราวเดือน

กันยายน ค.ศ.1596

ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Siege_of_Calais_(1596)

จากสถานการณขางตน เปนผลใหจากพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ของวันที่ 13

กันยายน ค.ศ.1596 ที่สงไปยังกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส พบวา พระราชินีอลิซาเบธกับกษัตริย

เฮนรีทรงตกลงเปนพันธมิตรกัน อีกทั้งพระราชินีอลิซาเบธยังทรงใหคํามั่นวาจะทรงใหเกียรติ ยกยอง

และใหความชวยเหลือแกกษัตริยเฮนรี132

สนธิสัญญาแหงการเปนพันธมิตรในครั้งน้ี ระบุวา อังกฤษและฝรั่งเศส จะทําสงครามตอตาน

สเปน และทั้งสองจะตองไมสงบศึกกับสเปนเพยีงฝายใดฝายหน่ึง และเพือ่สนับสนุนฝรั่งเศสทําสงคราม

กับสเปน อังกฤษจะสงกองกําลังเขาไปยังฝรั่งเศส พรอมออกคาใชจายใหแกกองกําลังดังกลาว ซึ่ง

ฝรั่งเศสจะชดใชคืนในภายหลัง ตอมาไมนาน สหพันธนครแหงเนเธอรแลนด ก็เขารวมเปนพันธมิตร ใน

132 Letter 82 จาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works, pp. 385 – 386.

58

เดือนตุลาคม ค.ศ.1596 กอใหเกิดไตรพันธมิตร (Triple Alliance, 1596) ระหวางอังกฤษ ฝรั่งเศส

และสหพันธนครแหงเนเธอรแลนด

ดังน้ัน ทั้งสามรัฐ (อังกฤษ ฝรั่งเศส และเนเธอรแลนด) ตางรวมกันทําสงครามกับสเปนทั้งทาง

บกและทางทะเล ซึ่งทั้งสองฝายตางไดรับประโยชนจากการเปนพันธมิตรในครั้งน้ี ดวยการสนับสนุน

ทางทหารในการปกปองกันและกัน อยางไรก็ตาม ใน ค.ศ.1598 ฝรั่งเศส ทําสนธิสัญญาสงบศึกกับ

สเปนสําเร็จเปนรัฐแรก ซึ่งถือเปนการยุติสงครามกลางเมืองในฝรั่งเศสที่ดําเนินเรื่อยมาต้ังแตใน

ค.ศ.1585 สวนพันธมิตรอยางอังกฤษ ก็มีความพยายามในการเจรจาสงบศึกกับสเปนเชนกัน แตก็ตอง

ใชเวลาเจรจาจนสิ้นสุดสมัยของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ขณะที่สหพันธนครแหงเนเธอรแลนดยังคงทํา

สงครามกับสเปนตอไปจนถึงในครึ่งคริสตศตวรรษที่ 17

จะเห็นไดวา ความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1585 ถึง 1596 เปน

ชวงเวลาที่พระราชินีอลิซาเบธที่ 1 แหงอังกฤษกับกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส (ต้ังแตยังทรงเปน

เพียงกษัตริยแหงนาวาร) ทรงพยายามสรางสัมพันธไมตรีตอกันอยางมาก รัฐบาลอังกฤษหันมา

สนับสนุนกษัตริยเฮนรีที่ 4 ระหวางชวงสงครามกลางเมืองในฝรั่งเศส โดยเฉพาะชวงต้ังแต ค.ศ.1589

ถึง 1590 ดวยความหวังของพระราชินีอลิซาเบธที่ทรงปรารถนาใหมีกษัตริยแหงฝรั่งเศสเปน

โปรเตสแตนต ซึ่งลมเหลวใน ค.ศ.1593 โดยการเปลี่ยนศาสนาของกษัตรยิเฮนรีที่ 4 ที่สรางความไมพอ

พระทัยแกพระราชินีอลิซาเบธอยางย่ิง อยางไรก็ดี กษัตริยและพระราชินีทั้งสองยังทรงรักษา

ความสัมพันธอันดีตอกันไวจนนําไปสูการกอต้ังไตรพันธมิตรระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส และ

เนเธอรแลนด เพื่อตอตานสเปน ซึ่งสิ้นสุดลงใน ค.ศ.1598 นอกจากน้ี ต้ังแต ค.ศ.1585 ถึง 1596 เปน

ชวงเวลาสุดทายของการติดตอผานพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ไปยังผูปกครองแหง

ฝรั่งเศส

59

บทที่ 5

สรุป

การศึกษาความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572 – 1596 จากพระราช

สาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 พบวา อังกฤษและฝรั่งเศส ซึ่งหมายถึงพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กับ

กษัตริยแหงฝรั่งเศส ในระหวาง ค.ศ.1572 ถึง 1596 ต้ังแตกษัตริยชาสลรที่ 9 จนถึงกษัตริยเฮนรีที่ 3

โดยทั้งสองฝายมีความพยายามในการสรางและรักษาความสัมพันธฉันทมิตรไว เพื่อใหเกิด ‘ดุลแหง

อํานาจ’ ข้ึนในยุโรป ขณะที่สเปนเปนรัฐคาทอลิกที่ถือไดวามีอํานาจมากที่สุดทั้งทางการเมืองและ

ศาสนา อีกทั้งกษัตริยแหงสเปนทรงพยายามขยายอํานาจและอิทธิพลเหลาน้ันครอบคลุมรัฐอื่นๆ ใน

ยุโรปตลอดคริสตศตวรรษที่ 16 โดยที่อังกฤษน้ัน ถูกปดกั้นการคาทางทะเล ขณะที่ฝรั่งเศส ขุนนาง

ตระกูลกีสที่ทรงอํานาจทางการเมืองในฝรั่งเศสถูกอิทธิพลของสเปนเขาครอบงํา ซึ่งเปนปญหาตอการ

ปกครองของกษัตริยแหงฝรั่งเศส และจากพระราชสาสนจํานวนมากของพระราชินีอลิซาเบธที่ทรง

สงไปยังผูปกครองในฝรั่งเศส ทําใหทราบวา ความสัมพันธระหวางพระราชินีอลิซาเบธกับผูปกครองใน

ฝรั่งเศสมีความใกลชิดกันอยางมาก ไมวาจะเปนเจาชายฟรองซัวส ดุกแหงอองฌู หรือกษัตรยิเฮนรีแหง

นาวารลวนเปนผลใหอังกฤษสามารถสรางมิตรภาพที่ใกลชิดและแทรกแซงการเมืองของฝรั่งเศสที่สวน

หน่ึงทําไปเพื่อตอตานการขยายอํานาจของสเปนในฝรั่งเศส รวมถึงเนเธอรแลนด แมวาจะเกิดความ

ลมเหลวอยูบางในบางประการ

อยางไรก็ดี ความสัมพันธสวนบุคคลผานพระราชสาสนระหวางผูปกครองแหงรัฐทั้งสอง ต้ังแต

ค.ศ.1572 – 1596 ก็เปนสวนสําคัญที่ทําใหความสัมพันธฉันทมิตรทัง้ทางการเมืองและการทูตที่ดําเนิน

เรื่อยมาจนสิ้นสุดสมัยของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 อันเริ่มจากความสัมพันธชวงแรกหรือสัมพันธไมตรี

ในสนธิสัญญาบลัวส ต้ังแตใน ค.ศ.1572 ถึง 1584 ดวยการเปนพันธมิตรตอตานสเปนระหวางอังกฤษ

กับฝรั่งเศสในสมัยราชวงศวาลัวส ถึงแมวาจะมีความขัดแยงกันอยูบางในสมัยกษัตริยเฮนรีที่ 3 แหง

ฝรั่งเศส แตเมื่อเขาสูความสัมพันธชวงที่ 2 ต้ังแตใน ค.ศ.1585 ถึง 1596 หรือชวงตนสมัยราชวงศบูร

บง นําโดยกษัตริยเฮนรีแหงนาวาร สัมพันธไมตรีระหวางพระราชินีอลิซาเบธกับกษัตริยแหงฝรั่งเศส ก็

ถูกฟนฟูข้ึนดวยการเปนพันธมิตรตอตานสเปนอยางเปนทางการอีกครั้งใน ค.ศ.1596 ที่คลายกับเปน

การฟนฟูสนธิสัญญาบลัวส ค.ศ.1572 ข้ึนมาอีกครั้ง อยางไรก็ตาม ค.ศ.1596 เปนปสุดทายที่พระ

ราชินีอลิซาเบธทรงสงพระราชสาสนไปยังผูปกครองในฝรั่งเศส โดยสถานการณเหลาน้ี ไดสะทอนให

เห็นถึงความพยายามในการรักษาดุลแหงอํานาจและการเปนพันธมิตรในยุโรป ซึ่งจะถูกถายทอดไปยัง

ยุคสมัยตอไปในความรวมมือของประเทศตางๆ ที่ตองการสันติภาพหรือรวมกันตอสูกับรัฐมหาอํานาจ

บางรัฐ ไมวาจะเปนสถานการณการเมืองในสมัยนโปเลียนที่ 1 แหงฝรั่งเศส หรือสถานการณกอน

สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2

60

ในดานศาสนา อันเปนประเด็นใหญที่ครอบคลุมการเมืองในยุโรป คริสตศตวรรษที่ 16 โดย

อังกฤษกับฝรั่งเศสไดมีความสัมพันธตอกันในประเด็นน้ีดวย เน่ืองจากอังกฤษต้ังแตกอน ค.ศ.1572

อังกฤษภายใตการนําของพระราชินีอลิซาเบธที่เปนโปรเตสแตนต ลัทธิอังกฤษ ไดดําเนินการหลาย

อยางในการแทรกแซงสงครามศาสนาในฝรั่งเศส จนเมื่อกษัตริยเฮนรีแหงนาวารที่เปนโปรเตสแตนต

ลัทธิคัลแวง ทรงข้ึนดํารงตําแหนงกษัตริยแหงฝรั่งเศสต้ังแตใน ค.ศ.1589 พระองคทรงพยายาม

รวบรวมอาณาจักรในดินแดนฝรั่ งเศสที่แตกแยก และความขัดแยงระหวางฝายคาทอลิกกับ

โปรเตสแตนตซึ่งพระองคเปนผูนํา โดยไดรับการสนับสนุนจากพระราชินีอลิซาเบธแหงอังกฤษ ขณะที่

ฝายคาทอลิกหรือสันนิบาตคาทอลิกไดรับการสนับสนุนจากกษัตริยฟลิปที่ 2 แหงสเปน โดยใน

ทายที่สุดก็ไดทําใหกษัตริยเฮนรีแหงนาวาร หรือกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศสทรงเปลี่ยนศาสนาเปน

คาทอลิก เพื่อใหชาวฝรั่งเศส ที่สวนใหญเปนคาทอลิกยอมรับพระองค

เหตุการณดังกลาวน้ี ไดสรางความไมพระทัยแกพระราชินีอลิซาเบธอยางมาก อยางไรก็ดี หลัง

ความสัมพันธผานพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธ และหลังสิ้นสุดสงครามศาสนาในฝรั่งเศส ใน

ค.ศ.1598 ดวยการสงบศึกกับสเปนของกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส พระองคทรงผอนปรนทาง

ศาสนาอยางมาก ดวยการออกประการแหงเมืองนังส (Edit of Nantes)133 โดยกําหนดใหนิกาย

คาทอลิกยังคงเปนศาสนาประจํารัฐฝรั่งเศส แตก็กําหนดใหมีการยอมรับผูที่นับถือนิกายโปรเตสแตนต

ที่รูจักในช่ือ ฮูเกอโนต ในฝรั่งเศสดวยเชนกัน เปนผลทําใหเกิดการแบงอังกฤษกับฝรั่งเศส รวมถึงรัฐ

อื่นๆในทางศาสนาแยกจากกันโดยประมาณ โดยในอังกฤษ ประชาชนนับถือนิกายโปรเตสแตนตเปน

หลัก ขณะที่ในฝรั่งเศส ประชาชนสวนใหญยังนับถือนิกายคาทอลิก และประชาชนที่นับถือนิกาย

โปรเตสแตนตมีจํานวนเบาบาง และกระจุกตัวอยูตามเมืองทางตะวันตกของฝรั่งเศส134

ประวัติศาสตรความสัมพันธระหวางอังกฤษกับฝรั่งเศส ต้ังแต ค.ศ.1572 – 1596 มี

ความสําคัญตอโลกในชวงเวลาตอมาอยางย่ิง เน่ืองจาก ระหวางสงครามศาสนาในฝรั่งเศส และความ

รวมมือในการตอตานสเปนของอังกฤษและฝรั่งเศส ทําใหอังกฤษเริ่มกลายเปนมหาอํานาจทางทะเล

โดยอังกฤษไดเริ่มสํารวจและต้ังอาณานิคมบนโลกใหมหรือทวีปอเมริกา นอกจากน้ี อังกฤษไดเริ่มสาย

สัมพันธไปยังจักรวรรดิออตโตมาน อีกทั้งยังเริ่มเปดเสนทางการคาไปยังอินเดีย ซึ่งจะนําไปสูการกอต้ัง

สถานีการคาและอาณานิคมของอังกฤษในอินเดียในเวลาตอมา รวมถึงการสายสมัพันธไปยังรัฐในเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต และจักรวรรดิจีน ต้ังแตในคริสตศตวรรษที่ 17 – 19 ดังที่พบเปนครั้งแรกๆ วาใน

133 ประกาศแหงเมืองนังต ถูกเพิกถอนในสมัยกษัตริยหลุยสที่ 14 แหงฝรั่งเศส (Louis XIV of France)

พระราชนัดดาในกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส 134 Eugen Weber, A Modern History of Europe (New York: Norton, 1971), pp. 177.

61

สมัยกษัตริยทรงธรรมแหงอาณาจักรอยุธยาหรือสยาม135 ซึ่งรวมสมัยเดียวกันกับกษัตริยเจมสที่ 1 แหง

อังกฤษ (King James I of England) พอคาอังกฤษเดินทางเขาไปเจริญสัมพันธไมตรีกับอยุธยา โดย

การถวายพระราชสาสนของกษัตริยเจมสที่ 1 แกพระเจาทรงธรรม เพื่อขอเปดสถานีการคาในกรุงศรี

อยุธยา136 โดยสถานการณเหลาน้ีถือวามีพัฒนาการและจุดเริ่มตนที่สําคัญมาจากอังกฤษในสมัยพระ

ราชินีอลิซาเบธที่ 1 ขณะเดียวกัน หลังสมัยพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 และกษัตริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส

อาณาจักรฝรั่งเศสก็เริ่มกลายเปนรัฐมหาอํานาจรัฐหน่ึงในยุโรป โดยเปนรัฐที่มีศักยภาพมากพอในการ

กอต้ังอาณานิคมบนทวีปอเมริกา และเขารวมสงครามในยุโรปหลายครั้ง ในฐานะรัฐที่มีบทบาทสําคัญ

โดยเฉพาะในสงครามสามสิบป ซึ่งจบลงดวยสนธิสัญญาสันติภาพเวสตฟาเลียใน ค.ศ.1648137 ที่

ฝรั่งเศสเปนผูไดเปรียบในขอตกลงตางๆ และเริ่มการเปนมหาอํานาจทางทะเลที่สําคัญแขงขันกับ

อังกฤษต้ังแตในคริสตศตวรรษที ่17 – 19 โดยเฉพาะการกอต้ังอาณานิคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต

อยางไรก็ตาม ในสวนของสเปน หลังสมัยกษัตริยฟลิปที่ 2 แหงสเปน และสมัยพระราชินี

อลิซาเบธที่ 1 สเปนเริ่มเสื่อมอํานาจลง โดยเฉพาะอํานาจทางทะเล ซึ่งถูกแทนที่ดวยอังกฤษ และ

ฝรั่งเศสดังที่กลาวขางตน ทั้งสเปนยังสูญเสียเนเธอรแลนดหรือสหพันธนครแหงเนเธอรแลนด ซึ่งเปน

อิสระอยางเปนทางการจากสเปนใน ค.ศ.1648 ภายใตขอตกลงในสนธิสัญญาสันติภาพเวสตฟาเลีย

ดังน้ัน จากการศึกษาพระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 พบวาพระราชสาสนสามารถ

ใหความกระจางชัด และรายละเอียดตอการศึกษาน้ีไดในหลายประเด็น ไมวาจะเปนประเด็นทาง

การเมือง ทางศาสนา รวมถึงประเด็นความสัมพนัธระหวางบุคคล ซึ่งสําหรับบางบคุคลเปรยีบไดเทากบั

รัฐ ตัวอยางเชน พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ถึงกษัตริยเฮนรีที่ 3 และที่ 4 โดยเฉพาะ

เน้ือหาที่เกี่ยวกับรายละเอียดของการตัดสินใจครั้งตางๆ ดังน้ัน การศึกษาพระราชสาสนของพระ

ราชินีอลิซาเบธที่ 1 ทําใหสามารถวิเคราะหการเจรจาและการตัดสินใจในเชิญนโยบายของพระราชินี

อลิซาเบธที่ 1 ผูนํารัฐ และผูปกครองคนอื่นๆ ได อยางไรก็ตาม พระราชสาสนยังคงมีขอจํากัดในสวน

ของเน้ือหาที่ไมชัดเจนในบางประการ ตัวอยางเชน เหตุการณที่เกิดข้ึนหลายเหตุการณมิไดกําหนดช่ือ

เหตุการณไวตามที่ในปจจุบันมีกําหนด ดังน้ัน ผูศึกษาจึงตองคนหาขอมูลจากเอกสาร และแหลงขอมูล

อื่นๆ จากน้ัน นํามาวิเคราะหและตีความ สําหรับการใหขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่เน้ือหาไมชัดเจนน้ัน

135 พระเจาทรงธรรมแหงอาณาจักรอยุธยา ครองราชยตั้งแต ค.ศ.1611 – 1628 นอกจากน้ี อาณาจักร

อยุธยาหรือที่รูจักในชื่อ ‘สยาม’ ถือเปนรัฐทางการคาที่สําคัญรัฐหน่ึงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยมีเมืองหลวงตั้งอยูที่กรุงศรีอยุธยา

136 ธิษณา วีรเกียรติสุนทร, “บันทึกของชาวตะวันตกที่เก่ียวของกับหัวเมืองชายทะเลฝงตะวันออกตั้งแตรัชกาลสมเด็จพระเจาปราสาททองจนถึง ค.ศ.1885”, 100 เอกสารสําคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตรไทย ลําดับที่ 15 (2555), หนา 5 – 15.

137 The Avalon Project Documents in Law, History and Diplomacy, “Treaty of Westphalia”, http://avalon.law.yale.edu/17th_century/westphal.asp, วันที ่14 พฤศจิกายน 2557.

62

อยางไรก็ดี การศึกษาพระราชสาสนทําใหไดเห็นแงมุม และรายละเอียดใหมๆ อยางมาก แมวาจะตอง

อาศัยการวิเคราะหและตีความประกอบเพื่อหาความจรงิบางประการ ดังน้ัน จึงเปนการสมควรอยางย่ิง

สําหรับผูสนใจศึกษาประวัติศาสตรที่จะใชพระราชสาสน หรือเอกสารประเภทจดหมายในการศึกษา

ครั้งตอๆ ไป และหากสามารถศึกษาพระราชสาสน สาสน หรือจดหมายของฝรั่งเศสที่โตตอบกับพระ

ราชินีอลิซาเบธที่ 1 จะทําใหการศึกษามีความชัดเจนมากย่ิงข้ึน

63

บรรณานกุรม

ทวีศักด์ิ ลอมลิ้ม. ประวัติศาสตรยุโรปสมัยใหม ค.ศ.1453 – 1804. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอ

เดียนสโตร, 2542.

นํ้าเงิน บุญเปยม. ประวัติศาสตรยุโรปตนยุคใหม ค.ศ.1450 – 1789. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2548.

บรรพต กําเนิดศิริ. ประวัติศาสตรการทูตยุโรป ต้ังแตยุคโบราณจนถึงยุคฟนฟูศิลปวิทยาการ :

การถายทอดประเพณีทางการทูต. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ภูสายแดด, 2554.

พิพัฒน พสุธารชาติ. รัฐกับศาสนา. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ศยาม, 2553.

แสงโสม เกษมศร.ี ประวัติศาสตรสากลยุคปจจุบัน (ค.ศ.1453 – 1914). กรงุเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช

, 2515.

อนันตชัย เลาหะพันธุ. ยุโรปสมัยใหม ค.ศ.1492 – 1815. กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ, 2554.

อนันตชัย เลาหะพันธุ. เรื่องนารูในยุโรปสมัยกลาง. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ,

2553.

สตีเฟน คลารก. ปลอยคนพวกน้ัน กินเคกซะ หรือไมก็กินกันเอง (1000 Years of Annoying

the French). แปลโดย นริศรา กีรติวิทยานันท. กรุงเทพฯ: ฟรีฟอรม. 2557.

นิคโคโล มาคิอาเวลล.ี The Prince เจาผูปกครอง, แปลโดย สมบัติ จันทรวงศ. กรุงเทพฯ:

โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2542.

หนังสือภาษาตางประเทศ

Cameron, Euan. Short Oxford History of Europe: The Sixteenth Century. New York: Oxford University Press, 2006.

Constant, Jean-Marie. Naissance des États moderns. Paris: Editions Belin, 2000.

Doran, Susan. Elizabeth I and Foreign Policy 1558-1603. New York: Routledge, 2000.

Doran, Susan. England and Europe 1485 – 1603. New York: Routledge, 2013.

Doran, Susan. Monarchy & Matrimony: The Courtships of Elizabeth I. New York:

Routledge, 1996.

64

Hutton, Ronald. A Brief History of Britain 1485 – 1660. London: Robinson, 2010

O. Morgan, Kenneth. The Oxford Illustrated History of Britain. Oxford: Oxfore University Press, 1984.

Phillips, Charles. The Illustrated History of the Kings & Queens of Britain. London:

Southwater, 2012.

S. Marcus, Leah, and Mueller, Janel, and Rose, Mary Beth. Elizabeth I Collected Works. Chicago: The University of Chicago Press, 2002.

Smith, Goldwin. History of England. New York: Barnes & Nobel, Inc, 1966.

Weber, Eugen, A Modern History of Europe. New York: Norton, 1971.

Wilson, A. N. The Elizabethans. London: Hutchinson, 2011.

บทความ

อนันตชัย เลาหะพันธุ. “เศรษฐกิจใหม ในคริสตศตวรรษที่ 17”. ใน อนันตชัย เลาหะพันธุ,

บรรณาธิการ. วารสารอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปท่ี 33 ฉบับท่ี 1, 191 – 197.

กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ, 2554.

Estelle Paranque. “Elizabeth I of England and Henry IV of France: Fathers of their

country?” Conference: Kings and Queens. Bath: Bath Spa University, 19 – 20

April 2012.

สารสนเทศจากสื่ออิเล็กทรอนิกส

E-Chronologie. “Renaissance Valois – Orleans”.

http://www.e-chronologie.org/france/chronologies/renaissance. วันที่ 16

มิถุนายน 2557.

History Learning Site. “Third French War of Religion”.

http://www.historylearningsite.co.uk/FWR3.htm. วันที่ 9 พฤศจิกายน 2557.

Wikipedia, The Free Encyclopedia. “Treaty of Blois”.

http://en.wikipedia.org/wiki/Treaty_of_Blois_(1572). วันที่ 16 มิถุนายน 2557.

65

ภาคผนวก ก

การสังหารครัง้ใหญในฝรั่งเศส ค.ศ.1572 จากพระราชสาสนของพระราชินอีลิซาเบธที ่1

66

ภาคผนวก ก

การสังหารครัง้ใหญในฝรั่งเศส ค.ศ.1572 จากพระราชสาสนของพระราชินอีลิซาเบธที ่1

QUEEN ELIZABETH TO SIR FRANCIS WALSINGHAM, AMBASSADOR TO FRANCE,

DECEMBER 1572

[Headed] To our trusty and well-beloved Francis Walsingham, Esquire, our

ambassador resident in France.

[Endorsed]Received 19 December, 1572

“…We are sorry to hear, first, the great slaughter made in France of

noblemen and gentleman, unconvicted and untried, so suddenly (as it is said at his

commandment), did seem with us so much to touch the honour of our good brother

as we could not but with lamentation and with tears of our heart hear it of a prince

so well allied unto us, and in a chain of undissoluble love knit unto us be league and

oath. That being after excused by a conspiracy and treason wrought againt our good

brother’s own person, which whether it was true of false, in another prince’s kingdom

and jurisdiction where we have nothing to do, we minded not to be curious. Yet that

we were not brought to answer by law and to judgment before they were executed

(those who were found guilty) we do hear it marvelously evil taken and as a thing of

a terrible and dangerous example; and are sorry that our good brother was so ready

to condescend to any such counsel, whose nature we took to be more humane and

noble…”

ที่มา: คัดลอกจาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works (Chicago: The University of Chicago Press, 2002), pp. 215 – 216.

67

ภาคผนวก ข

เงื่อนไขการอภิเษกสมรสระหวางพระราชินอีลิซาเบธที่ 1 กับดุกแหงอองฌูของฝรั่งเศส

ใน ค.ศ.1579 จากพระราชสาสนของพระราชินีอลซิาเบธที่ 1

68

ภาคผนวก ข

เงื่อนไขการอภิเษกสมรสระหวางพระราชินอีลิซาเบธที่ 1 กับดุกแหงอองฌูของฝรั่งเศส

ใน ค.ศ.1579 จากพระราชสาสนของพระราชินีอลซิาเบธที่ 1

QUEEN ELIZABETH TO SIR AMYAS PAULET, CIRCA MAY 1579

[Headed] Her majesty’s letter to Sir Amyas Paulet, then her ambassador resident in

France.

“...And for that you may the more substantially and fully deal therein, you

shall understand that the articles upon the which he did at the said conference with

certain of our Council insist, were three. The first, that the said duke might jointly

have authority with us to dispose of all things donative within this our realm and

other our dominions. The second, that he might be after marriage crowned king,

offering certain cautions that nothing should be done thereby to the prejudice of our

realm. And lastly, that he might have threescore thousand pounds’ pension during

his life…”

ที่มา: คัดลอกจาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works (Chicago: The University of Chicago Press, 2002), pp. 234.

69

ภาคผนวก ค

การเจรจาระหวางพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กับราชทูตของกษตัริยเฮนรีแหงนาวารใน

ค.ศ.1579 จากกพระราชสาสนของพระราชินอีลิซาเบธที่ 1

70

ภาคผนวก ค

การเจรจาระหวางพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 กับราชทูตของกษตัริยเฮนรีแหงนาวารใน

ค.ศ.1579 จากกพระราชสาสนของพระราชินอีลิซาเบธที่ 1

QUEEN ELIZABETH TO MONSIEUR, DECEMBER 19, 1579

[Adressed] To my dear Monsieur, duke of Anjou

“…And for the cause of the king of Navarre and his party, this I will make bold

to tell you: that it will touch you very near in reputation if you should leave him In

worse state than they were in at the beginning of these new troubles. For if their

greatest sureties were torn from them, how could they trust to the king in this? –

adding that the king himself sent to tell me by ambassador that he would not deny

them the first pacification and would ask nothing except the cities and places newly

taken. You will forgive me the curiosity that hold me to your actions, to whom I wish

all the honour and glory that can accrue to the perpetual renown of a prince. I assure

myself that desire of greatness after this peace will not blind your eyes so as to make

you omit that which will be for the safety of those that trust in your goodness...”

ที่มา: คัดลอกจาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works (Chicago: The University of Chicago Press, 2002), pp. 238.

71

ภาคผนวก ง

พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ถึงลอรด วิลลาฟบ ี

72

ภาคผนวก ง

พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ถึงลอรด วิลลาฟบ ี

QUEEN ELIZABETH TO PEREGRINE BERTIE, LORD WILLOUGHBY, IN FRANCE,

DECEMBER 6, 1589

[Superscription] My good Peregrine, I bless God that your old prosperous success

followeth your valiant acts, and joy not a little that safety accompanieth your luck.

Your loving sovereign, Elizabeth

Right trusty and well beloved, we greet you well. Albeit your abode and of our troops

in that realm hath been longer than was first required and by us meant; whereof, as it

seemeth, your yielding to divers services there hath been partly a cause, contrary to

our expectation, to the king’s purpose at the first declared, and to your own writing

also hither, whose advertisements moved us to give order for certain ships of ours to

be sent for the safe conducting of you and our subjects with you; yet now perceiving

the great contentment and satisfaction the king, our good brother, hath received by

your good service, and of our companies under your charge, whereby also such as

heretofore might have conceived an opinion either of our weakness or of the decay

and want of courage or other defects of our English nation may see themselves much

deceived, in that the contrary hath now well appeared in that country by so small a

troop as is with you, to the great honour and reputation of us and of our nation, and

to the disappointing and (as we hope) the daunting of our enemies.

We have, upon request of our said good brother that king, declared by his

ambassador here, accorded unto them, and hereby we signify unto you, that we are

pleased you shall continue your abode there with the number under you for this

month longer, hoping the king will then be content to dismiss you with liberty and his

good favor to return into this our realm, in case he shall not be able to keep them in

pay and satisfy them for any longer time; and that in the meantime he will be careful

for well using of you and them, so as ye may neither want pay nor suffer otherwise

too many wants. And for that it is to our no small comfort to perceive the forward

73

endeavors and valor, both of yourself and of those under you, we are pleased not

only to let you understand the same by these our own letters, with our thankful

acceptation to yourself in particular; but also we will and require you to signify so

much, both to the whole company of our soldiers there, and to such captains and

gentlemen particularly as you shall think most worthy thereof, who we trust we show

the continuance of their valiant and willing minds, rather more than less, knowing the

same shall be an increase of our comfort, and of the honour of the whole realm and

nation, and to their own more reputation.

You shall also say unto the king that although we have cause, in respect of

the wants which we heard our men endured sundry ways there, to be unwilling that

they should remain there any longer time, yet when we understood that he hoped to

do himself the more good by the use of them than otherwise he might look for,

wanting them, we were – we know not how – overcome and enchanted by the king

to yield there unto. Given under our signet at Richmond, the sixth day of December,

1589, in the thirty – second year of our reign.

ที่มา: คัดลอกจาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works (Chicago: The University of Chicago Press, 2002), pp. 360 – 361.

74

ภาคผนวก จ

พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ถึงกษตัริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส

เรื่องการเปลี่ยนศาสนา

75

ภาคผนวก จ

พระราชสาสนของพระราชินีอลิซาเบธที่ 1 ถึงกษตัริยเฮนรีที่ 4 แหงฝรั่งเศส

เรื่องการเปลี่ยนศาสนา

ELIZABETH TO HENRY IV OF FRANCE, JULY, 1593

Ah what griefs, O what regrets, O what groanings felt I in my soul at the sound of such

news as Morlains has told me! My God, is it possible that any worldly respect should

efface the terror with which the fear of God threatens us? Can we with any reason

expect a good sequel from an act so iniquitous? He who has preserved you many

years by His hand – can you imagine that He would permit you to walk alone in your

greatest need? Ah, it is dangerous to do evil to make good out of it; I still hope that a

sounder inspiration will come to you. However, I will not cease to place you in the

forefront of my devotions, that the hands of Esau may not spoil the blessing of

Jacob. And where you promise me all friendship and fidelity, I confess I have dearly

merited it, and I will not repent it, provided you do not change your Father.

Otherwise I will always prefer the natural to the adopted, as God best knows. May He

guide you in the right path of the best way.

Your most assured sister, if it be after the old

Fashion; with the new I have nothing to do.

ที่มา: คัดลอกจาก Leah S. Marcus, and Janel Mueller, and Mary Beth Rose, Elizabeth I

Collected Works (Chicago: The University of Chicago Press, 2002), pp. 370 – 371.

76

ภาคผนวก ฉ

ลําดับราชวงศทิวดอร

77

ภาคผนวก ฉ

ลําดับราชวงศทิวดอร

ที่มา: http://www.britroyals.com/tudor.htm

78

ภาคผนวก ช

ลําดับราชวงศวาลัวส

79

ภาคผนวก ช

ลําดับราชวงศวาลัวส

ที่มา: คัดแปลงจาก http://www.edstephan.org/Rulers/valois.html

80

ภาคผนวก ซ

แผนที่แสดงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางศาสนาครั้งใหญในคริสตศตวรรษที่ 16

81

ภาคผนวก ซ

แผนที่แสดงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางศาสนาครั้งใหญในคริสตศตวรรษที่ 16

ภาพแสดงดินแดนภายใตอิทธิพลทางศาสนา ลิทธิตางๆ โดยประมาณ

รวมถึงเมือง และคนสวนนอยของกลุมทางศาสนาใน ค.ศ.1640 (ระหวางสงครามสามสบิป)

ที่มา: ดัดแปลงจาก Eugen Weber, A Modern History of Europe (New York: Norton,

1971), pp. 177.

82

ประวัตผิูศกึษา

ชื่อ – สกุล ธนพนธ รงรอง

ประวัติการศึกษา

พ.ศ.2554 สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนอํานาจเจริญ และ

ศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต (ประวัติศาสตร) คณะ

ศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี