fulltext.pdf - าง - Silpakorn University

685
รูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์นปอล ที2 โดย นายวุฒิชัย อ่องนาวา วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2556 ลิขสิทธิ ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร หอ

Transcript of fulltext.pdf - าง - Silpakorn University

รูปแบบการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์นปอล ที่ 2

โดย

นายวุฒิชัย อ่องนาวา

วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหนึง่ของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎบีัณฑติ

สาขาวชิาพฒันศึกษา ภาควชิาพืน้ฐานทางการศึกษา

บัณฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

ปีการศึกษา 2556

ลขิสิทธิ์ของบัณฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

รูปแบบการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์นปอล ที่ 2

โดย

นายวุฒิชัย อ่องนาวา

วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหนึง่ของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎบีัณฑติ

สาขาวชิาพฒันศึกษา ภาควชิาพืน้ฐานทางการศึกษา

บัณฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

ปีการศึกษา 2556

ลขิสิทธิ์ของบัณฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

THE MODEL FOR HUMAN BEING DEVELOPMENT ACCORDING TO

POPE JOHN PAUL II'S PARADIGM

By

Mr. Wuttichai Ongnawa

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

Doctor of Philosophy Program in Development Education

Department of Education Foundations

Graduate School, Silpakorn University

Academic Year 2013

Copyright of Graduate School, Silpakorn University

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร อนุมติัใหว้ิทยานิพนธเ์ร่ือง “ รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์นปอล ท่ี 2 ” เสนอโดย นายวุฒิชยั อ่องนาวา เป็น

ส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบณัฑิต สาขาวิชาพฒันศึกษา

……...........................................................

(รองศาสตราจารย ์ดร.ปานใจ ธารทศัวงศ)์

คณบดีบณัฑิตวิทยาลยั

วนัท่ี..........เดือน.................... พ.ศ........... อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ ์

1. อาจารย ์ดร.ลุยง วีระนาวนิ

2. ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ธีรศกัด์ิ อุ่นอารมยเ์ลิศ

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ ์

.................................................... ประธานกรรมการ

(ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม)

............/......................../..............

.................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ

(บาทหลวง ดร.ออกสัติน สุกีโย ปีโตโย) (ดร.ลุยง วีระนาวิน)

............/......................../.............. ............/......................../..............

.................................................... กรรมการ

(ผูช่้วยศาสตราจารย.์ ดร.ธีรศกัด์ิ อุ่นอารมยเ์ลิศ)

............/......................../..............

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

54260909 : สาขาวิชาพฒันศึกษา

คาํสาํคญั : พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2, รูปแบบการพฒันามนุษย ์

วุฒิชัย อ่องนาวา : รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2. อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์ : อ.ดร.ลุยง วีระนาวิน และ ผศ.ดร.ธีรศกัด์ิ

อุ่นอารมยเ์ลิศ. 669 หนา้.

การวิจยัคร้ังน้ี มีวตัถุประสงคเ์พื่อพฒันารูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 โดยใช้การวิจัยและพฒันา ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสานวิธี กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษา

สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา ชั้นปีท่ี 4 วิทยาลยัแสงธรรม ภาคเรียนท่ี 2/2556 จาํนวน 25 คน ซ่ึงเป็นผูมี้ความ

สนใจเขา้รับการอบรมในการพฒันาชีวิตตามคาํสอนคริสต์ศาสนา โดยมีความรู้พื้นฐานในคาํสอนคริสต์ศาสนา

และการคิดวิเคราะห์เชิงปรัชญา เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวิจยัประกอบดว้ย 1) รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ 2) คู่มือการใชรู้ปแบบฯ 3) แบบประเมินความสอดคล้องของรูปแบบ 4) แบบวัด

ความรู้กระบวนทัศน์การพัฒนามนุษย์ฯ 5) แบบวัดเจตคติการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ 6) แบบวัด

พฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ 7) แบบสอบถามความคิดเห็นการใชรู้ปแบบฯ 8) แบบสัมภาษณ์

การใช้รูปแบบฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test

dependent และการวิเคราะห์เน้ือหา

ผลการวิจยัพบว่า

1. รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ เป็นการเสริมสร้างบุคคลให้ดาํเนิน

ชีวิตสอดคลอ้งกบัการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ดว้ยความสาํนึกและใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง คนอื่น/สังคม ในบริบทสิ่งแวดลอ้มรวมถึงการตอบรับ แนวทางของพระเจ้าใน

การดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ 2. ผลการพฒันารูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ ประกอบดว้ย

หลกัการ เป้าหมาย จุดหมาย กระบวนการ การประเมินและเง่ือนไข/ปัจจยั รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ ประกอบดว้ยสามขั้นตอน ไดแ้ก่ 1) การทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ 2) การไตร่ตรอง

ชีวิตและ 3) การออกแบบแนวทางปฏิบติั ภายใตบ้ริบทสภาพแวดลอ้มของความเป็นหน่ึงเดียวกนัในการปฏิบติั

ความรักและเคารพคุณค่าของความเป็นมนุษย ์3. ผลการศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ พบว่า

หลงัการใชรู้ปแบบฯ นกัศึกษามีความรู้ เจตคติการใชเ้สรีภาพและพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ สูงข้ึน อยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05 4. ผลการประเมินรูปแบบการพฒันาโดยนกัศึกษาพบว่ามีความคิดเห็นต่อรูปแบบ ในระดบัมาก

ภาควิชาพ้ืนฐานทางการศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร

ลายมือช่ือนกัศึกษา........................................ ปีการศึกษา 2556

ลายมือช่ืออาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ ์ 1. ........................................ 2. .......................................

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

54260909 : MAJOR : DEVELOPMENT EDUCATION KEY WORD : POPE JOHN PAUL II, A MODEL FOR HUMAN BEING DEVELOPMENT WUTTICHAI ONGNAWA : THE MODEL OF HUMAN BEING DEVELOPMENT ACCORDING TO POPE JOHN PAUL II'S PARADIGM. THESIS ADVISORS : LUYONG VEERANAVIN,Ph.D. AND ASST.PROF.TEERASAK UNAROMLERD. 669 pp.

The purpose of this research was to develop a model of human being development according to Pope John Paul II’s paradigm by means of research and development with mixed methods research. The samples were the twenty five of the fourth year students of philosophy and religious department in the second semester of the academic year 2013 at Saengtham college who attend to the development of life according to catholic formation that have the basic knowledge of the catholic catechism and the basic of philosophical thinking. The instruments used in the study included 1) the model for human being development according to Pope John Paul II’s paradigm 2) the manual for the model of human being development according to Pope John Paul II’s paradigm 3) the assessment form of model congruence 4) the test of understanding for human being development 5) the test of attitude on freedom for human being 6) the test of behavior on freedom for human being 7) the questionnaire form of the opinions towards the model 8) the interview form of the opinions towards the model. The data was analyzed by percentage, mean, standard deviation, t-test dependent and content analysis.

The results of the research were as follows : 1. The Model for human being development according to Pope John Paul II’s paradigm

was personal development to the way of life as the image of God with conscience and use the freedom to respect human dignity in his life, other/social in the context of the environment and also the blessings/guidance of God in the life to a perfect person.

2. The development of the Model for human being development according to Pope John Paul II’s paradigm includes the principle, goal, purpose, process, factors/conditions and the assessment development. The three steps of the model for human being development process were as follows : 1) understanding the phenomenon 2) contemplation of life and 3) designing guidelines of life within the context of the environment in unity of agape and with respect for the human being.

3. The effectiveness study found the implementation of the model by the subject students led to their achievement of higher knowledge, attitude and behavior on freedom of hahuman being development than previous with the statistical significance at the 0.05 level.

4. The overall opinions of the students toward the model of human being development according to Pope John Paul II’s paradigm were at high level.

Department of Education Foundations Graduate School, Silpakorn University Student's signature ........................................ Academic Year 2013 Thesis Advisors' signature 1. ............................................... 2. ...............................................

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

กติตกิรรมประกาศ

วิทยานิพนธ์ฉบบัน้ีสาํเร็จลุล่วงไปดว้ยดี เพราะผูว้ิจยัไดรั้บความกรุณาอย่างสูงจาก

กรรมท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ์ไดแ้ก่ ดร.ลุยง วีระนาวิน ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. ธีรศกัด์ิ อุ่นอารมยเ์ลิศ

และ บาทหลวง ดร.ออกสัติน สุกีโย ปีโตโย ท่ีกรุณาใหค้าํปรึกษา ใหข้อ้เสนอแนะท่ีเป็นประโยชน์

สนบัสนุนและช่วยเหลือแกไ้ขขอ้บกพร่องต่างๆ รวมถึง ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. ไชยยศ ไพวิทยศิริ

ธรรม ประธานกรรมการ บาทหลวง ดร. เชิดชยั เลิศจิตรเลขา ผูเ้ช่ียวชาญดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา

(เทววิทยาดา้นคริสตจริยธรรม) บาทหลวงชีวิน สุวดินทร์กรู ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการจดัอบรมดา้นการ

พฒันาจิตใจตามคาํสอนคริสต์ศาสนา รองศาสตราจารย ์ดร.ประเวศ อินทองปาน ผูเ้ช่ียวชาญ

ดา้นปรัชญาและศาสนา และรองศาสตราจารย ์ดร. สุมาลี จนัทร์ชลอ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการวดัและ

ประเมินผล ท่ีให้ความรู้ แนวคิด และแนะแนวทางในการศึกษาวิจัย เพ่ือให้มีความถูกตอ้งและ

สมบูรณ์ยิง่ข้ึน

ขอขอบพระคุณผูเ้ช่ียวชาญ/ผูเ้ก่ียวขอ้งในขั้นตอนต่างๆ ของการจดัทาํวิทยานิพนธ ์

ทั้งในการตรวจสอบความเหมาะสมของเคร่ืองมือการวิจัยในขั้นตอนต่างๆ การให้ข้อมูลด้วย

สมัภาษณ์ การวิพากษรู์ปแบบ การทดลองใชรู้ปแบบ

ขอขอบพระคุณผูบ้ริหาร คณาจารยแ์ละเจ้าหน้าท่ีวิทยาลยัแสงธรรม สําหรับการ

อาํนวยความสะดวกต่างๆ ทั้ งด้านบุคคล เอกสารและสถานท่ีสาํหรับการศึกษาและทดลองใช้

รูปแบบ และขอบพระคุณคณาจารยส์าขาวิชาพฒันศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยัศิลปากร

สาํหรับโอกาสและการถ่ายทอดประสบการณ์ความรู้ และทกัษะในการศึกษา

ขอขอบคุณเพ่ือนๆ นึกศึกษาร่วมรุ่น ในสาขาวิชาพฒันศึกษา รุ่น 3 ท่ีเป็นกาํลงัใจและ

แบบอยา่งท่ีดีต่อการศึกษา รวมถึงขอบคุณอาจารยทิ์พอนงค์ รัชนีลดัดาจิต ช่วยเหลือในการให้

ขอ้มลูและแนวทางสาํหรับการออกแบบเคร่ืองมือการวิจยัต่างๆ

ขอขอบพระคุณสังฆมณฑลราชบุรี โดยพระคุณเจา้ปัญญา กฤษเจริญ และคณะ

ผูบ้ริหารสังฆมณฑล ท่ีให้โอกาสและการสนับสนุนการศึกษาในทุกอย่าง รวมถึงคณะผูบ้ริหาร

คณะครูโรงเรียนธีรศาสตร์ จ.ราชบุรี ท่ีเป็นแรงบนัดาลใจในการทาํวิทยานิพนธใ์นคร้ังน้ี

คุณประโยชน์ของปริญญาวิทยานิพนธ์ฉบับน้ี ผูว้ิจัยขอมอบแด่ครอบครัว ท่ีเป็น

กาํลงัใจและอยูเ่คียงขา้งผูว้ิจยัเสมอ ตลอดจนคณาจารยทุ์กท่านท่ีประสิทธ์ิประสาทวิชาความรู้ ทาํ

ใหผู้ว้ิจยัประสบความสาํเร็จในการศึกษาคร้ังน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

สารบัญ

หนา้

บทคดัยอ่ภาษาไทย................................................................................................................. ง

บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ............................................................................................................ จ

กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................. ฉ

สารบาญตาราง....................................................................................................................... ฎ

สารบาญภาพ......................................................................................................................... ฒ

บทท่ี

1 บทนาํ........................................................................................................................ 1

ความเป็นมาและความสาํคญัของปัญหา......................................................... 1

คาํถามการวจิยั................................................................................................ 6

วตัถุประสงคข์องการวจิยั............................................................................... 6

สมมติฐานการวจิยั.......................................................................................... 7

ขอบเขตของการวจิยั....................................................................................... 7

นิยามศพัทเ์ฉพาะ............................................................................................ 8

ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดรั้บ............................................................................ 10

2 วรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ง............................................................................................ 11

ตอนท่ี 1 แนวคิดเร่ืองการพฒันามนุษย.์....................................................... 11

ความหมายและเป้าหมายของการพฒันามนุษย.์............................... 11

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

หนา้

บทท่ี

มิติการพฒันามนุษย.์........................................................................ 20

รูปแบบ แนวทาง/กระบวนการเรียนรู้และการประเมินฯ................. 23

ตอนท่ี 2 กระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2...... 57

พ้ืนฐานกระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ.................. 57

มนุษย ์ตามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปาฯ............................. 92

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ............ 123

ตอนท่ี 3 เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง.................................................... 168

กรอบแนวคิดท่ีใชใ้นการวิจยั...................................................................... 178

3 วิธีดาํเนินการวิจยั.................................................................................................. 180

ขั้นท่ี 1 การวิจยั (Research : R) การศึกษาขอ้มลูพ้ืนฐานการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศันก์ารพฒันาของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2....... 183

ขั้นท่ี 2 การพฒันา (Development : D) การสร้างรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2....................... 191

ขั้นท่ี 3 การวิจยั (Research : R) การทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2....................... 200

ขั้นท่ี 4 การพฒันา (Development : D) การประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 213

4 ผลการวิเคราะห์ขอ้มลู.......................................................................................... 219

ตอนท่ี 1 ผลการศึกษาขอ้มลูพ้ืนฐานการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2............................................................ 219

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

หนา้

บทท่ี

ตอนท่ี 2 ผลการสร้างและพฒันารูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์อง

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2..................................................... 258

ตอนท่ี 3 ผลการทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2............................................................ 299

ตอนท่ี 4 ผลการประเมินรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2............................................................ 304

การนาํรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 ไปเผยแพร่และขยายผล.................................................... 311

5 สรุป อภิปรายและขอ้เสนอแนะ............................................................................ 313

สรุปผลการวิจยั.......................................................................................... 314

อภิปรายผลการวจิยั.................................................................................... 316

ขอ้เสนอแนะในการนาํผลการวิจยัไปใช.้................................................... 326

ขอ้เสนอแนะเชิงนโยบาย................................................................. 326

ขอ้เสนแนะในการนาํรูปแบบไปใช.้................................................ 327

ขอ้เสนอแนะในการทาํวจิยัคร้ังต่อไป.............................................. 328

รายการอา้งอิง..................................................................................................................... 330

ภาคผนวก........................................................................................................................... 347

ภาคผนวก ก รายนามผูเ้ช่ียวชาญ.......................................................................... 348

ภาคผนวก ข คู่มือการใชรู้ปแบบฯ ........................................................................ 357

ภาคผนวก ค ขอ้มลูแสดงความสอดคลอ้งของเคร่ืองมือ....................................... 517

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

หนา้

ภาคผนวก ง แบบประเมินความเหมาะสมและความสอดคลอ้งของเคร่ืองมือ...... 542

ภาคผนวก จ เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการเก็บรวบรวมขอ้มลู........................................... 615

ภาคผนวก ฉ ค่าสถิติของเคร่ืองมือ........................................................................ 646

ภาคผนวก ช ชีวประวติัพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2..................................... 664

ประวติัผูว้จิยั....................................................................................................................... 669

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

สารบาญตาราง

หน้า

ตาราง

1 เสนอมิติการพฒันาและตวับ่งช้ีสําหรับดชันีการพฒันามนุษยท์ี่ปรับคา่แลว้

ของ UNDP .............................................................................. 47

2 สรุปขั้นตอนที่ 1 การวิจยั (Research : R1) เป็นการวิเคราะห์ขอ้มลูพ้ืนฐาน

กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 191

3 สรุปข ั้นตอนท่ี 2 การพฒันา (Development : D1) เป็นการสร้างและพฒันา

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2............................................................................ 199

4 แสดงเกณฑก์ารใหค้ะแนนแบบวดัความรู้ฯในแบบความเรียง................... 204

5 แสดงเกณฑก์ารใหค้ะแนนแบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ............................... 209

6 สรุปข ั้นตอนท่ี 3 การวิจยั (Research : R2) การนาํรูปแบบฯไป

ทดลองใช.้.................................................................................... 212

7 สรุปข ั้นตอนท่ี 4 การพฒันา (Development : D2) .................................... 218

8 แสดงขอ้คน้พบการศึกษาขอ้มูลพ้ืนฐานการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2..................... 252

9 แสดงรายละเอียดข ั้นตอนการจดัอบรมตามรูปการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2..................... 281

10 แสดงรูปแบบการประเมินการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2................................................. 287

11 แสดงองคป์ระกอบของรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน ์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2........................................... 292

12 แสดงค่าความสอดคลอ้ง ความเหมาะสม ความเป็นไปไดแ้ละความเป็น

ประโยชนข์องร่างรูปแบบฯ......................................................... 293

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

ตารางท่ี หนา้

13 แสดงค่าความสอดคลอ้งและความเป็นไปไดข้องคู่มือฯ และเคร่ืองมือ

ประเมินการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2............................................................................ 297

14 แสดงผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความรู้การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pretest) และ

หลงั (Posttest) การทดลอง........................................................... 299

15 แสดงผลการเปรียบเทียบเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก่อน (Pretest) และหลงั (Posttest) การทดลอง............................. 301

16 แสดงผลการเปรียบเทียบทกัษะการวิพากษแ์ยกแยะการใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิต ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pretest) และหลงั (Posttest) การทดลอง... 302

17 แสดงผลการแสดงความคิดเห็นของนกัศกึษาท่ีมีต่อรูปแบบการพฒันามนุษย ์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2................ 305

18 แสดงตารางการจดัอบรม........................................................................... 383

19 แสดงรายละเอียดการจดัอบรม..................................................................... 399

20 ค่าดชันีความสอดคลอ้งของแบบตรวจผลการศกึษาเอกสาร..................... 518

21 ค่าดชันีความสอดคลอ้งของแบบสัมภาษณก์ระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์อง

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2.................................................. 520

22 ค่าดชันีความสอดคลอ้งของแบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันา

มนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 (ตอนท่ี 1)................ 524

23 แสดงค่าความยากง่ายและอาํนาจจาํแนกของแบบวดัความรู้กระบวนทศัน์

การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 (ตอนท่ี 1) 526

24 ค่าดชันีความสอดคลอ้งของแบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์อง

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 (ตอนท่ี 2)................................. 529

25 แสดงการวิเคราะห์แบบวดัความรูก้ระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2.......................................................... 531

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

ตารางท่ี หน้า

26 แสดงรายละเอียดการวิเคราะห์ขอ้สอบ/แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันา

มนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นรายขอ้............... 531

27 ค่าดชันีความสอดคลอ้งของแบบวดัเจตคติดา้นการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2....... 533

28 ผลการวิเคราะห์ค่าความเช่ือม ัน่ (ค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของคอนบราค) ของ

แบบวดัเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติตามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2................................................ 537

29 ค่าดชันีแสดงความสอดคลอ้งของแบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2..... 538

30 ค่าดชันีแสดงความสอดคลอ้งของแบบสอบถามความคิดเห็นการใช ้

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2............................................................................ 540

31 ค่าดชันีแสดงความสอดคลอ้งแบบสัมภาษณก์ารใชรู้ปแบบการพฒันา

มนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2... 541

32 ผลการประเมินความสอดคลอ้งของรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2.................... 647

33 ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2.................... 648

34 ผลการประเมินความเป็นไปไดข้องรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2.................... 649

35 ผลการประเมินความเป็นประโยชนข์องรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2.................... 650

36 ผลการประเมินความสอดคลอ้งของคู่มือการใชรู้ปแบบฯ และเคร่ืองมือ

ประเมินการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2.......................................................................... 651

37 ผลการประเมินความเป็นไปไดข้องคู่มอืการใชรู้ปแบบฯ และเคร่ืองมือ

ประเมินการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2............................................................................ 652

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

ตารางที ่ หน้า

38 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนความรู้การพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก่อน (Pre-test) และ หลงั (Post-test) การทดลอง........................ 653

39 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนเจตคติดา้นการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

ตามกระบวนทศัน์พฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก่อน (Pre-test) และ หลงั (Post-test) การทดลอง.......................... 654

40 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pre-test) และ หลงั (Post-test)

การทดลอง................................................................................. 655

41 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลจากแบบวดัความรู้ฯ ก่อนและหลงัทดลอง.......... 657

42 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลจากแบบวดัเจตคต ิ(การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

ท่ีเคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง) ก่อนและหลงั

ทดลอง......................................................................................... 658

43 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลจากแบบวดัเจตคต ิ(การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

ท่ีเคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน) ก่อนและหลงั

ทดลอง......................................................................................... 659

44 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลจากแบบวดัเจตคต ิ(การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

อย่างเหมาะสมในบริบทสิ่งแวดลอ้ม) ก่อนและหลงัทดลอง.......... 660

45 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลจากแบบวดัเจตคต ิ(การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

ตอบรับแนวทางของพระเจา้) ก่อนและหลงัทดลอง....................... 661

46 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลจากแบบวดัพฤติการณใ์ชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ ใน

ภาพรวมก่อนและหลงัทดลอง...................................................... 662

47 ค่าแสดงความคิดเห็นของผูเ้ขา้ร่วมอบรมที่มีต่อรูปแบบการพฒันามนุษย ์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2............... 663

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

สารบาญภาพ

แผนภาพ

หนา้

1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจยั.................................................................... 179

2 แสดงขั้นตอนการดาํเนินการวิจยั................................................................ 182

3 แสดงขั้นตอนการดาํเนินการในขั้นตอนท่ี 1 การวิจยั (Research : R1) ........ 190

4 แสดงขั้นตอนการดาํเนินการในขั้นตอนท่ี 2 การวิจยั (Development : D1) 198

5 แสดงกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ...................... 254

6 ร่างกรอบแนวคิดรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2................................................... 267

7 รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2.......................................................................................... 270

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

1

บทท่ี 1

บทนํา

ความเป็นมาและความสําคญัของปัญหา

จากปรากฏการณ์สงัคม อนัเป็นผลจากความกา้วหน้าทางวิทยาการแขนงต่างๆ ทาํให้สังคมมี

ความเจริญ มีความทนัสมยั มีความกา้วหนา้ทางกายภาพ ส่งผลให้มนุษยด์าํเนินชีวิตอย่างสะดวกสบาย

ลว้นเป็นผลจากการพฒันาในกระแสโลกาภิวตัน์และความกา้วหน้าของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตามแนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลกั ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมท่ีเน้นการพฒันาโดยมี

เศรษฐกิจเป็นศนูยก์ลาง มีเป้าหมายเพ่ือสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง ส่งเสริมให้มีการ

แข่งขนั แสวงหากาํไรและกรรมสิทธ์ิในทรัพยสิ์นเป็นแรงจงูใจใหเ้กิดการทาํงานอยา่งมีประสิทธิภาพ มี

การคิดคน้ส่ิงประดิษฐห์รือเทคนิคใหม่ๆ มีการพฒันาอยูต่ลอดเวลา ทาํใหส้งัคมยุคปัจจุบนัเป็นสังคมท่ี

มีความเจริญไม่หยดุนิ่ง มีการเปล่ียนแปลง กา้วหนา้อยูต่ลอดเวลา อยา่งไรก็ตาม เม่ือพิจารณาอยา่งลึกซ้ึง

ส่ิงท่ีปรากฏใหเ้ห็นเป็นคู่ขนานของความสะดวกสบายเหล่าน้ี คือ ความขาดแคลน ในขณะท่ีบางแห่ง

เจริญไปด้วยส่ิงอาํนวยความสะดวกต่างๆ ให้เสพอย่างฟุ่มเฟือย แต่หลายแห่งยงัคงสิ้นหวงั ยากจน

เน่ืองจากความขดัสนในส่ิงอุปโภค บริโภค แมม้นุษยจ์ะมีความสะดวกสบายทางกายภาพ แต่ปัญหา

และความวุ่นวายต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในสังคม ไม่ว่าจะเป็นปัญหาอาชญากรรม ปัญหาส่ิงแวดลอ้ม ปัญหา

สุขภาพจิต ปัญหาความแตกแยกในสังคม วิกฤติเศรษฐกิจ ยงัคงดาํเนินไปอย่างต่อเน่ือง ซบัซอ้น และ

นบัวนัยิง่ทวีความรุนแรงยิง่ข้ึน ความขาดแคลน ปัญหาและความวุ่นวายต่างๆ เหล่าน้ีสะทอ้นถึงความ

จริงอีกดา้นหน่ึงว่า การพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ ท่ีเนน้การพฒันาความเจริญทางวตัถุ ละเลยและตี

กรอบคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยแ์ต่เพียงระดบัวตัถุ ให้ความสาํคญักบัการพฒันาเศรษฐกิจมาก่อน

และสาํคญักว่าส่ิงอ่ืน ส่งผลใหม้นุษยต์กเป็นทาสของความตอ้งการ และกระทาํส่ิงต่างๆ ดว้ยความเห็น

แก่ตวั จนกระทัง่อาจก่อใหเ้กิดการเบียดเบียนผูอ่ื้น และสร้างความทุกขใ์หแ้ก่ทั้งตนเอง ผูอ่ื้นและสังคม

ความเส่ือมโทรมทางศีลธรรมท่ีเช่ือมโยงไปสู่ปัญหาสงัคม การใชอ้าํนาจแยง่ชิง กดข่ีเอาเปรียบทุกอย่าง

เพ่ือผลประโยชน์และผลกาํไรเป็นหลกั กรรมสิทธ์ิในทรัพยสิ์นเป็นส่ิงมีค่ามากกว่าคุณธรรมความดี

คุณค่าทางจิตใจและคุณค่าความเป็นมนุษยถ์กูลดทอนใหเ้ป็นเพียงตน้ทุนและฟันเฟืองในการผลิต ดว้ย

เหตุน้ี แนวคิดเพ่ือการเยยีวยาแกไ้ขปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในสงัคม อนัเป็นผลจากกระแสโลกาภิวตัน์ อนั

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

2

เป็นผลจากการพฒันาตามระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม จึงเป็นความจาํเป็นเร่งด่วน ท่ีมีการต่ืนตวัอย่าง

จริงจงัตั้งแต่ปลายศตวรรษท่ี 20 ท่ีสงัคมโลกเร่ิมใหค้วามสนใจการวดัการพฒันาประเทศท่ีไม่ไดเ้น้นท่ี

ตวัเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่เน้น “ความสุข” (เสรี พงศพิ์ศ, 2005: 1) ตัวช้ีวดัการพฒันา

ประชาชาติให้ออกห่างจากตวัเลขทางเศรษฐกิจ มาสู่ “ตวัช้ีวดัการพฒันาคน” (Human Development

Index - HDI) ซ่ึงเป็นองคร์วม และมีลกัษณะบูรณการ มีการเปล่ียนแปลงกระบวนการพฒันาใหม่ โดย

เปล่ียนวิธีการพฒันา โดยหนัมาใช ้“คน” เป็นศนูยก์ลางของการพฒันา ใหส้าํคญัต่อการพฒันาคนและ

กระบวนการพฒันาท่ีบูรณการการเช่ือมโยงกนัทุกดา้นในลกัษณะองค์รวม มีการพฒันาแบบสมดุล

สมศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ ใหม้นุษยมี์คุณภาพชีวิตท่ีดี มีการดาํเนินชีวิตอยา่งสร้างสรรค ์และเหมาะสม

(Rennie, 2003: abstract) โดยมีเศรษฐกิจเป็นเคร่ืองมือในการพฒันาคน และส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือความอยูดี่

มีสุขอยา่งย ัง่ยนืตลอดไป

แนวคิดการพฒันาท่ีเนน้มนุษยเ์ป็นศูนยก์ลางของการพฒันา เป็นสาระสาํคญัและเป็นพ้ืนฐาน

ของการพฒันาอยา่งย ัง่ยนื เน่ืองจากมนุษยเ์ป็นทรัพยากรท่ีมีคุณค่าสูงสุดและเป็นกลไกสาํคญัท่ีทาํให้

เกิดการพฒันางาน งานท่ีมีคุณภาพจะเกิดจากคนท่ีมีคุณภาพ การพฒันามนุษยจึ์งนําไปสู่งานท่ีมี

ประสิทธิภาพซ่ึงเป็นการสร้างคุณค่า ต่อผลผลิตหรือบริการ (Value creation) ท่ีส่งผลต่อคุณค่าของ

องคก์ร (Corporate value) จึงมีความจาํเป็นท่ีตอ้งมีการพฒันามนุษยใ์นแต่ละองค์กรอย่างต่อเน่ือง (จีระ

หงส์ลดารมภ,์ 2550: 1-3) อยา่งไรกต็าม การพฒันามนุษยอ์ยา่งแทจ้ริง ตอ้งเป็นการพฒันาท่ีสอดคลอ้ง

กบัความเป็นมนุษย ์กล่าวคือ ตอ้งมีพ้ืนฐานอยูบ่นความเขา้ใจท่ีถกูตอ้งว่า “มนุษยคื์ออะไร?” “เป้าหมาย

ชีวิตคืออะไร?” ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานสาํคญัต่อการกาํหนดวิถีชีวิตและการพฒันาชีวิตมนุษยอ์ยา่งแทจ้ริง

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 อดีตประมุขของคริสตศ์าสนา โรมนัคาทอลิก ในช่วงปี 1978–

2005 เป็นทั้งผูน้าํศาสนาและนกัวิชาการท่ีใหค้วามสาํคญักบัการอธิบายคุณค่าและความหมายของชีวิต

มนุษย ์ ทรงเห็นดว้ยว่าประวติัศาสตร์มนุษยชาติแสดงใหเ้ห็นถึงการพฒันาในดา้นต่าง ๆ ของสงัคม เห็น

ไดช้ดัว่าสังคมมีการเจริญเติบโต มีการพฒันาส่ิงต่าง ๆ เพ่ืออาํนวยความสะดวกต่อการดาํเนินชีวิต

พระสนัตะปาปาฯ ทรงช่ืนชมกบัความเจริญกา้วหนา้ของสงัคม แต่ในขณะเดียวกนั พระองคเ์รียกร้องให้

มีการพฒันาอย่างรอบคอบสอดคลอ้งกบัความคิดเก่ียวกบัชีวิตท่ีแทจ้ริง ทั้งน้ี สรุปกระบวนทศัน์เร่ือง

มนุษยแ์ละการพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

ประการแรก กระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะเป็น

ปรัชญาบุคคลนิยมท่ียึดมนุษยเ์ป็นศูนยก์ลางตามแนวคิดแบบคาทอลิก โดยเน้นให้เคารพคุณค่าและ

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ แนวคิดของพระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะเป็นปรัชญาบุคคลนิยม

ท่ียึดมนุษยเ์ป็นศูนยก์ลางตามแนวคิดแบบคาทอลิก (Catholic Anthropocentric) กล่าวคือ เป็นการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

3

อธิบายความหมายของชีวิตมนุษยโ์ดยนาํปรัชญาบุคคลนิยมมาอธิบายคาํสอนคริสต์ศาสนา ทรงให้

ความสาํคญัต่อการอธิบายมนุษยใ์นฐานะท่ีเป็นบุคคล (Person) ท่ีมีอยู่จริงในประวติัศาสตร์ ดงัท่ีทรง

กล่าวในเอกสาร Redemptor Hominis ว่า “เราไม่พดูถึงมนุษยท่ี์เป็นนามธรรม แต่พดูถึงมนุษยจ์ริง ๆ ท่ี

เป็นรูปธรรมและมีอยูจ่ริงในประวติัศาสตร์... มนุษยท่ี์เป็นมนุษยแ์ทอ้ย่างท่ีไม่มีเหมือนซํ้ ากนัสองคน...

ซ่ึงต้องไดรั้บความเคารพในด้านคุณค่าและศกัด์ิศรีแห่งความเป็นมนุษย”์ (John Paul II, 1979: 13)

พระองคว์ิจารณ์ทั้งแนวคิดเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและลทัธิมาร์กซท่ี์แพร่หลายอยูใ่นความคิดปัจจุบนัวา่มี

ขอ้บกพร่อง เพราะมองคุณค่าและความหมายชีวิตในแง่วตัถุสสารมากเกินไป และเป็นระบบท่ีมุ่งให้

มนุษยมี์การครอบครองวตัถุส่ิงของ (Having) มากกว่ามุ่งให้มนุษยเ์ป็นส่ิงท่ีมีคุณภาพภายใน (Being)

เป็นการส่งเสริมใหม้นุษยเ์ป็น “ปัจเจก” (Individual) ละเลยต่อการเป็น “บุคคล” (Person) ซ่ึงเป็นการลด

คุณค่าจนลืมความหมายและเป้าหมายแทจ้ริงของชีวิตมนุษยอ์นัมาจากพระเจา้ พระสนัตะปาปาฯ เสนอ

ความคิดว่า นอกเหนือจากท่ีมนุษยม์าจากพระเจา้แลว้ “พระเจา้ยงัให้มนุษยเ์ป็นบุคคล ๆ ท่ีเป็นตวัของ

ตวัเองและควบคุมตนเองได ้ ยิง่กว่านั้น ในฐานะท่ีเขาเป็นตวัของตวัเอง เขาจึงสามารถให้ตวัเขาเองแก่

ผูอ่ื้นซ่ึงต่างก็มาจากพระเจา้” (Schall, 1984: 2)

ประการท่ีสอง คุณค่าและศกัด์ิศรีมนุษย ์คือ การเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ มนุษยจึ์งมีศกัยภาพ

ท่ีจะบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ได ้ พระสนัตะปาปาฯ ทรงสอนว่าแก่นแทข้องมนุษยอ์ยู่ท่ีศกัด์ิศรี ในฐานะ

ท่ีพระเจา้สร้างใหเ้ป็นภาพลกัษณ์และเป็นความเหมือนกบัพระเจา้ดว้ยกนัทุกคน คุณค่าและความหมาย

ของมนุษยจึ์งอยูท่ี่การเป็นมนุษยท่ี์มาจากพระเจา้และมุ่งสู่พระเจา้ มนุษยมี์วิญญาณและร่างกายรวมเป็น

หน่ึงเดียวกนั มีศกัยภาพท่ีสามารถบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ อาศยัความรู้สาํนึก เสรีภาพ และ

ความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้นซ่ึงเป็นลกัษณะพิเศษท่ีบ่งบอกว่ามนุษยแ์ตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ ทั้งหมดน้ีคือ

คุณลกัษณะพื้นฐานของมนุษยต์ามแนวคิดของพระสนัตะปาปาฯ อยา่งไรก็ตามมนุษยไ์ม่ใช่พระเจา้ แต่

ได้รับการเช้ือเชิญและได้รับพระพรให้ดาํเนินชีวิตในความรักของพระเจ้า มนุษยมี์ขอบเขตจาํกัด

จาํเป็นตอ้งไดรั้บความช่วยเหลือจากพระเจา้ (John Paul II, 1986: 36) ดว้ยการตอบรับวิถีทางในการมี

ความสมัพนัธก์บัพระเจา้ คนอ่ืนและส่งแวดลอ้มอยา่งสอดคลอ้ง เหมาะสมและสมดุล

ประการท่ีสาม การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 คือ

การพฒันาท่ีสอดคลอ้งกบัคุณค่าและศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ หรือ การพฒันา “ความเป็น” มนุษย ์ พระ

สนัตะปาปาฯ ทรงเสนอว่าการพฒันามนุษย ์ตอ้งมุ่งพฒันาความเป็นมนุษยว์่า “มาก่อน” และ “อยูเ่หนือ”

ทุกส่ิง แนวทางการพฒันาชีวิตมนุษยไ์ม่ใช่มุ่งพฒันาส่ิงท่ีมนุษยต์อ้งการดา้นร่างกายภายนอก (Having)

เท่านั้น แต่ตอ้งมุ่งพฒันาท่ีศนูยก์ลางภายในจิตใจ (Being) ตอ้งคาํนึงถึงศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษยซ่ึ์งอยู่

เหนือสรรพส่ิงทั้งหลาย กล่าวคือ มนุษยต์อ้งสาํนึกและมีความรับผดิชอบในฐานะเป็นส่วนหน่ึงของหมู่

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

4

คณะ (Community) ดังนั้ น จึงต้องเอาใจใส่ชีวิตตนเองและปฏิสัมพนัธ์กับคนอ่ืนด้วย เพ่ือมุ่งหน้าสู่

จุดหมายปลายทางของชีวิตซ่ึงเป็นส่ิงท่ีพระเจา้กาํหนดไว ้ อยา่งไรก็ตามแนวคิดเร่ืองมนุษยแ์บบบุคคล

นิยมของพระสันตะปาปาฯ ซ่ึงยึดมนุษยเ์ป็นศูนยก์ลางน้ีก็ยงัไม่ได้ละทิ้งแนวคาํสอนเดิมของคริสต์

ศาสนา โรมนัคาทอลิก ท่ีกล่าวว่า มนุษยเ์ป็นส่ิงจาํกดั เน่ืองจากเป็นส่ิงท่ีพระเจา้สร้างให้เป็นภาพลกัษณ์

และเป็นความเหมือนพระเจา้ และดว้ยพระกรุณาของพระเจา้ มนุษยจึ์งมีศกัยภาพ ท่ีสามารถกา้วพน้

ขอบเขตแห่งโลกผสัสะ เขา้ไปสู่การมีส่วนร่วมในชีวิตของพระเจา้ได ้ (John Paul II, 1995: 2)

ประการท่ีส่ี การพฒันามนุษย ์คือ การพฒันาชีวิตสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในสังคม การ

พฒันามนุษย ์ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 จึงเป็นการพฒันาชีวิตสู่การเป็น

บุคคลท่ีสมบูรณ์ในสงัคมโดยมีแนวคิดหลกัว่า “จงเป็นในส่ิงท่ีท่านเป็นเถิด” (John Paul II, 1981: 17)

ซ่ึงหมายถึงการเป็นตวัแทนท่ีดีของพระเจา้บนโลก พระองค์ทรงตั้ งคาํถามว่า “การพฒันาความเจริญ

ของมนุษย์นั้ นควรคู่ กันกับการเป็นมนุษย์หรือไม่?” และแนวทางการพัฒนาเช่นน้ี “เป็นความ

เจริญกา้วหนา้หรือเป็นการคุกคามชีวิตมนุษยก์นัแน่?” (John Paul II, 1979: 16) พระองค์ไดท้รงเสนอ

ความคิดเก่ียวกบัการพฒันาท่ีแทจ้ริงของชีวิตมนุษย ์บนพ้ืนฐานของคุณค่าและศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยท่ี์

“มาก่อน” และ “อยูเ่หนือ” ทุกส่ิง

อยา่งไรก็ตาม พระสนัตะปาปาฯ ทรงวิเคราะห์ว่ามนุษยชาติกาํลงัเผชิญหน้ากบัยุคโลกาภิวตัน์

ตามกระแสบริโภคนิยม วตัถุนิยม ประโยชน์นิยม ซ่ึงมีแนวคิดท่ีลดทอนความเป็นมนุษยล์งเป็นเพียง

วตัถุส่ิงของ มุ่งตอบสนองแต่เพียงความตอ้งการของร่างกายเท่านั้น ส่งผลให้สังคมประสบกบัภาวะ

วิกฤติทางดา้นจิตใจ โดยเฉพาะปัญหาเร่ืองความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคลในสงัคม ปัญหาชีวิตครอบครัว

และปัญหาการทาํลายธรรมชาติส่ิงแวดลอ้มอยา่งมากมาย “ความชัว่ร้ายไม่ไดอ้ยูท่ี่การมีวตัถุส่ิงของ แต่

อยูท่ี่การเป็นเจา้ของ (การมี) โดยไม่คาํนึงถึงคุณภาพและลาํดบัคุณค่าความจาํเป็นก่อนหลงัของส่ิงท่ีตนมี

เพราะแทจ้ริงแลว้คุณภาพและลาํดบัคุณค่า... ตอ้งข้ึนอยูก่บั “ความเป็น” ของมนุษยแ์ละวิถีชีวิตท่ีแทจ้ริง

ของมนุษย”์ (John Paul II, 1987: 28) ซ่ึงลิตเติล (Little, 1995: 67) วิเคราะห์ว่า “พระสนัตะปาปาฯ ทรง

เห็นว่าโลกสมยัใหม่มีการพฒันาท่ีจงใจให้มนุษยม์าแทนท่ีพระเจา้ เพราะมนุษยคิ์ดว่าตนเองพฒันา

ตนเองมาแทนท่ีพระเจ้าได้ น่ีเป็นความหายนะของศตวรรษท่ี 20” ดังท่ีมีการทดลองค้นควา้ทาง

วิทยาศาสตร์ท่ีนาํเซลลข์องส่ิงมีชีวิตและเซลลข์องมนุษยไ์ปศึกษาวิจยั เพ่ือหาวิธีการให้กาํเนิดชีวิตใน

รูปแบบใหม่ หรือการดดัแปลงหรือนําทรัพยากรในธรรมชาติมาใชโ้ดยไม่คาํนึงถึงความสมดุลของ

ระบบระเบียบของส่ิงต่าง ๆ ตามธรรมชาติ เช่น การตดัไมท้าํลายป่าโดยไม่มีการปลูกทดแทน เป็นตน้

ตวัอยา่งดงักล่าวแสดงให้เห็นมนุษยพ์ยายามทุ่มเทชีวิตในการพฒันาโลกให้เป็นไปตามความตอ้งการ

ของตน พระองค ์มิไดต้รัสส่ิงท่ีทุกคนอยากฟัง แต่พระดาํรัสของพระองค์แจง้ชดัและไม่โอนเอนตาม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

5

กระแสสงัคม ทรงคดัคา้นและต่อตา้นอยา่งแข็งขนัซ่ึงความคิดกา้วหน้าสมยัใหม่ แต่ขดัต่อศีลธรรมมูล

ฐาน ทรงออกมาประณามความไม่ถกูตอ้งในรูปแบบต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนตามภูมิภาคต่างๆ ของโลก ไม่ว่าจะ

เป็นเร่ืองสิทธิมนุษยชน ซ่ึงถูกย ํ่ายีดว้ยการทาํแทง้ โสเภณี แรงงานเด็ก ผูอ้พยพยา้ยถิ่นฐานเพราะภยั

สงคราม การเข่นฆ่ากนัเพราะความแตกต่างทางเช้ือชาติ ศาสนา การใชค้วามรุนแรงในการแกปั้ญหา

เป็นตน้ ทรงเดินทางรอบโลกเพ่ือเยีย่มเยยีนประเทศต่างๆ มากกว่าพระสนัตะปาปาองค์ใด ๆ ในอดีตท่ี

ผ่านมา เพ่ือต่อต้านกระแสทุนนิยมท่ีไร้ขอบเขต การกดข่ีทางการเมือง และการเบียดเบียนสิทธิ

มนุษยชนในรูปแบบต่างๆ

กระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ไม่ได้

จาํกดัวงเฉพาะผูน้บัถือศาสนาคริสตเ์ท่านั้น แนวคิดของพระองค์มีอิทธิพลต่อผูน้าํหลายๆ ประเทศ ท่ี

ไดข้อเขา้เฝ้าเพ่ือนาํแนวคิดไปประยกุตใ์ชใ้นการบริหาร การพฒันามนุษย ์ ทรงเขา้ประชุมร่วมกบัผูน้าํ

ทางการเมืองกว่า 1,600 คร้ัง รวมไปถึงการเขา้พบกบัประมุขของรัฐ 776 ท่าน และนายกรัฐมนตรีอีก

246 ท่าน ทรงเสด็จไปเยี่ยมเยือนประชาชนในประเทศต่างๆ มากกว่า 100 ประเทศ ทรงเคยดาํรง

ตาํแหน่งอาจารยป์รัชญาและศาสตราจารยด์า้นเทววิทยา (Professor of Theology) ท่ีมหาวิทยาลยั

คาทอลิกแห่งลบูลิน (The Catholic University in Lublin) ประเทศโปแลนด์ ดว้ยเหตุน้ี จึงมีการศึกษา

แนวคิดและจดัตั้งสถาบนัการศึกษาเพ่ือเป็นเกียรติและเป็นแหล่งเรียนรู้แนวคิดของพระองค์ในหลายๆ

ประเทศ เช่น มหาวิทยาลยัคาทอลิก ยอห์น ปอล ท่ี 2 แห่งลูบลิน (John Paul II Catholic University of

Lublin) มหาวิทยาลยัสันตะสาํนักยอห์น ปอล ท่ี 2 (Pontifical University of John Paul II) ประเทศ

โปแลนด์ สถาบนัสันตะสาํนักยอห์น ปอล ท่ี 2 แห่งมหาวิทยาลยัคาทอลิก สหรัฐอเมริกา (Pontifical

John Paul II Institute, The Catholic University of America) มหาวิทยาลยัคาทอลิกยอห์น ปอล (John

Paul the Great Catholic University)ในประเทศสหรัฐอเมริกา สถาบนัยอห์น ปอล ท่ี 2 แห่งมหาวิทยาลยั

ลาเตรัน ประเทศอิตาลี (Pontifical John Paul II Institute, Pontifical Lateran University) เป็นตน้ ทรง

ไดรั้บการยกย่องจากผูน้าํประเทศ นักวิชาการและส่ือมวลชน ดว้ยการตั้ งสมญานามของพระองค์ว่า

“บุรุษแห่งสนัติภาพ” (Man of Peace) “พระสนัตะปาปาแห่งสหสัวรรษ” (The Millennial Pope) “บุรุษ

เพ่ือปวงชนทั้งมวล” (A Man for All People) จนนิตยสารไทม ์(Time) ยกยอ่งใหพ้ระองคเ์ป็นบุคคลแห่ง

ปี 1994 (Gaines, 1994: 1)

การศึกษากระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

จึงเป็นประเด็นท่ีควรค่าต่อการศึกษาวิจยัอย่างยิ ่ง ประกอบกบัในฐานะท่ีพระองค์เคยเป็นประมุขของ

คริสตศ์าสนา โรมนัคาทอลิก อนัเป็นศาสนาสาํคญัศาสนาหน่ึงของโลก แมพ้ระองคจ์ะทรงสิ้นพระชนม์

ไปแลว้ แต่แนวคิดและคาํสอนของพระองคย์งัคงมีอิทธิพลต่อสงัคมปัจจุบนัอย่างกวา้งขวาง ทั้งในหมู่ผู ้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

6

นับถือคริสต์ศาสนาและผูส้นใจศึกษาแนวคิดเร่ืองมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยใ์นบริบทของคริสต์

ศาสนาและการพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของคุณค่าและศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ ดว้ยเหตุน้ี ผูว้ิจยัจึง

เลือกศึกษาเร่ืองน้ี เพ่ือไดท้ราบถึงคุณค่า ความหมายของชีวิตมนุษย ์นาํสู่การสังเคราะห์ และเสนอ

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอลท่ี 2 และหลงัจากการ

ทาํการศึกษาวิจยัอยา่งถ่องแทแ้ลว้ จะไดน้าํผลของการศึกษามาประยุกต์ใชต้อบปัญหาชีวิตของตนเอง

และผูอ่ื้น อนัจะก่อใหเ้กิดประโยชน์ในการดาํรงชีวิตอย่างสุขสงบ ในสังคมปัจจุบนัท่ีเต็มไปดว้ยความ

สบัสนวุ่นวายและความรุนแรง อนัเป็นผลจากการพฒันาท่ีละเลยคุณค่าและศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

คาํถามการวจิยั

1. กระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นอยา่งไร

2. รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นอยา่งไร

3. ผลการทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 เป็นอยา่งไร

4. ผลการประเมินและปรับปรุงรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นอยา่งไร

วตัถุประสงค์ของการวจิยั

1. เพ่ือศึกษาขอ้มลูพ้ืนฐานเร่ืองการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

2. เพ่ือพฒันารูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

3. เพ่ือทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์พระสนัตะปาปายอห์น ปอลท่ี 2

4. เพ่ือประเมินรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

7

สมมตฐิานของการวจิยั

ในการวิจยัคร้ังน้ี กลุ่มผูใ้ชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นกลุ่มเฉพาะ กล่าวคือ เป็นผูมี้ความสนใจเขา้รับการอบรมในการพฒันาชีวิตตามคาํ

สอนคริสตศ์าสนา โดยมีความรู้พ้ืนฐานในคาํสอนคริสต์ศาสนา และมีพ้ืนฐานในการคิดวิเคราะห์เชิง

ปรัชญา โดยผ่านการศึกษาสาขาวิชาปรัชญาและศาสนามากกว่าหน่ึงปีการศึกษา จึงตั้ งสมมติฐานว่า

หลงัการใชรู้ปแบบฯ กลุ่มผูใ้ชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 มีความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยฯ์ เจตคติการใช้เสรีภาพฯ และพฤติกรรมการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มากข้ึนกว่าก่อนการ

ใชรู้ปแบบฯ

ขอบเขตของการวจิยั

การวจิยัน้ีเป็นการวจิยัเพ่ือศึกษารูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยมีขอบเขตการวิจยั ดงัน้ี

1. ขอบเขตดา้นเน้ือหา

ผูว้ิจยักาํหนดขอบเขตดา้นเน้ือหาในเร่ืองหลกัการ เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย กระบวนการ การ

ประเมินการพฒันาและเง่ือนไข/ปัจจยั โดยศึกษาแนวคิดเร่ืองมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 บนพ้ืนฐานของการอธิบายมนุษยต์ามคาํสอนคริสต์ศาสนา

โดยใชก้ารวิเคราะห์เชิงปรัชญา

2. ขอบเขตดา้นประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง

ประชากร กาํหนดประชากร เป็นผูมี้ความสนใจเขา้รับการอบรมในการพฒันาชีวิตตามคาํ

สอนคริสตศ์าสนา โดยมีความรู้พ้ืนฐานในคาํสอนคริสตศ์าสนา มีพ้ืนฐานในการคิดวิเคราะห์เชิงปรัชญา

จึงกาํหนดขอบเขตประชากรเป็นนักศึกษาวิทยาลยัแสงธรรม ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 ท่ีผ่าน

การศึกษาในสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลยัแสงธรรม ตั้งแต่ 1 ปีการศึกษาข้ึนไปจาํนวน 175 คน

กลุ่มตวัอย่าง ไดแ้ก่ นักศึกษาสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา ชั้นปีท่ี 4 วิทยาลยัแสงธรรม

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 จาํนวน 25 คน ท่ีไดจ้ากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

เน่ืองจากมีคุณสมบติัตามท่ีกาํหนด กล่าวคือ เป็นผูค้วามสนใจสมคัรเขา้รับการอบรมในการพฒันาชีวิต

ตามคาํสอนคริสต์ศาสนา ในวิทยาลยัแสงธรรม ซ่ึงเป็นสถาบนัเฉพาะทางสาํหรับผูส้นใจเขา้รับการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

8

อบรมพฒันาชีวิตตามคาํสอนคริสตศ์าสนา เพ่ือเตรียมตวัเป็นศาสนบริกรของคริสต์ศาสนจกัรคาทอลิก

และมีพ้ืนฐานในการคิดวิเคราะห์เชิงปรัชญา โดยผา่นการศึกษาในสาขาวิชาปรัชญามากกว่าสามปี และ

นกัศึกษากลุ่มตวัอยา่งน้ี เป็นกลุ่มนกัศึกษาท่ีอยูใ่นช่วงชั้นปีท่ีอยูต่รงกลางของการเขา้รับการศึกษาอบรม

ท่ีวิทยาลยัแสงธรรม ซ่ึงใชเ้วลาในการศึกษาอบรมจาํนวน 7 ปีการศึกษา

3. ขอบเขตดา้นตวัแปร

3.1 ตวัแปรตน้ ไดแ้ก่ รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

3.2 ตวัแปรตาม ไดแ้ก่

1. ความรู้กระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2. เจตคติดา้นการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

3. พฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

4. ความคิดเห็นต่อรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

4. ขอบเขตดา้นระยะเวลาท่ีใชใ้นการทดลอง

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 โดยจดัอบรมตามรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 จาํนวน 6 คร้ังๆ ละ 8 ชัว่โมง รวมเป็น 48 ชัว่โมง

นิยามศัพท์เฉพาะ

พระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2 หมายถึง อดีตประมุขของคริสตศ์าสนจกัรคาทอลิก ระหว่าง

ปี 1978 – 2005 มีแนวคิดในการอธิบายมนุษยใ์นบนพ้ืนฐานของความเคารพในคุณค่าและศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษยใ์นฐานะเป็น “ภาพลกัษณ์ของพระเจา้” ดว้ยการวิเคราะห์เชิงปรากฏการณ์ตามแนวปรัชญา

แนวบุคคลนิยมมาอธิบายมนุษยต์ามคาํสอนคริสตศ์าสนา ทรงแยกใหเ้ห็นความแตกต่างระหว่างคุณค่า

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

9

ของการมีทรัพยสิ์นส่ิงของกบัคุณค่าของการเป็นมนุษย ์ การพฒันามนุษยโ์ดยยดึวตัถุส่ิงของ (เศรษฐกิจ)

เป็นหลกั เป็นการพฒันาท่ีละเลยคุณค่า ศกัด์ิศรีและไม่สอดคลอ้งกบัความเป็นมนุษย ์

รูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2 หมายถึง

ขอ้เสนอการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ในเร่ืองหลกัการ

เป้าหมาย จุดหมาย เง่ือนไข/ปัจจยั กระบวนการและการประเมินการพฒันา ท่ีผูว้ิจยัพฒันาข้ึนมาจาก

การศึกษาแนวคิดเร่ืองมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยข์องพระองค ์

ความรู้กระบวนทัศน์การพัฒนามนุษย์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2 หมายถึง

คุณลกัษณะดา้นความรู้ในเร่ืองกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ ท่ีให้ความสาํคญั

ต่อการใชเ้สรีภาพ ดว้ยความสาํนึกรับผดิชอบในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย์

ของตนเอง คนอ่ืน/สงัคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการ

ดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ซ่ึงประเมินดว้ยแบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปาฯ ท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึน

เจตคติด้านการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตตามกระบวนทัศน์การพัฒนามนุษย์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2 หมายถึง ความรู้สึกนึกคิด/ท่าทีภายในท่ีมีต่อสภาพ/สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน ท่ี

แสดงถึงความสาํนึกและการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์อง

ตนเอง คนอ่ืน/สงัคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม โดยกาํหนดเจตคติเป็นส่ีดา้น ไดแ้ก่ การใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ

คุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบท

ส่ิงแวดลอ้ม และการใชเ้สรีภาพในการตอบรับแนวทางของพระเจา้ ซ่ึงประเมินดว้ยแบบวดัเจตคติดา้น

การใชเ้สรีภาพฯ ท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึน

พฤตกิรรมการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ที่ 2 หมายถึง แนวโน้มของพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการดาํเนินชีวิตด้วยความสํานึกต่อเสรีภาพและใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง คนอ่ืน/สังคม ในบริบท

ส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์ ซ่ึงประเมินดว้ยแบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพฯ ท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึน

ความคดิเห็นต่อรูปแบบการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่

2 หมายถึง การแสดงความคิดเห็นของผูใ้ชรู้ปแบบฯ ท่ีมีต่อรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

10

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ว่าช่วยในการพฒันามนุษย ์ โดยใชแ้บบสอบถามความคิดเห็นฯ

และแบบสมัภาษณ์ท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึน

การพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2 หมายถึง แนว

ทางการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีมีพ้ืนฐานอยู่บนการ

ปรับเปล่ียน/พฒันาเจตคติในการดาํเนินชีวิต ท่ีมิไดมุ่้งพฒันาแต่เพียงวตัถุกายภาพ ตามค่านิยมท่ีเน้น

เศรษฐกิจเป็นหลกั แต่สาํนึกและใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย์

ของตนเอง คนอ่ืน/สงัคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการ

ดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

กระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2 หมายถึง ชุดแนวความคิดหรือ มโนทศัน์

(Concepts) ค่านิยม (Values) ความเขา้ใจรับรู้ (Perceptions) และการปฏิบติั (Practice) เก่ียวกบัความ

จริง (Reality) เร่ืองมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีอธิบายคุณค่า

ความหมายของชีวิตมนุษยต์ามคาํสอนคริสต์ศาสนา โดยใชป้รัชญาบุคคลนิยมเป็นแนวทางในการ

วิเคราะห์และนาํเสนอแนวคิด

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. ไดอ้งค์ความรู้ในเร่ืองรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือการประยกุตใ์ชใ้นหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ง

2. ไดรู้ปแบบและคู่มือการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี

2 เพ่ือนาํไปใชใ้นการจดัอบรม/สัมมนาเพ่ือเสริมสร้างความรู้ ความสามารถในการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

3. สามารถนําผลการวิจัยไปใช้ในการจัดอบรม หรือนําไปพฒันาเป็นหลกัสูตรเร่ืองการ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 แก่หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้งในการ

บริหารจดัการดา้นพฒันามนุษย ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

11

บทท่ี 2

วรรณกรรมที่เกีย่วข้อง

งานวิจยัเร่ือง รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 มี

แนวคิดท่ีไดจ้ากการศึกษาเอกสารและงานวิจยัในการกาํหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั ดงัน้ี

ตอนท่ี 1 แนวคิดเร่ืองการพฒันามนุษย ์

1. ความหมายและเป้าหมายของการพฒันามนุษย ์

2. มิติการพฒันามนุษย ์

3. รูปแบบ/การพฒันารูปแบบ แนวทาง/กระบวนการเรียนรู้และการประเมินการ

พฒันามนุษย ์

ตอนท่ี 2 กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1. พ้ืนฐานกระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2. มนุษยแ์ละการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ตอนท่ี 3 งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง

โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

ตอนที่ 1 แนวคดิเร่ืองการพฒันามนุษย์

ความหมาย และเป้าหมายของการพฒันามนุษย์

การพฒันามนุษย ์ เป็นประเด็นท่ีไดรั้บความสนใจศึกษาอยา่งต่อเน่ือง แนวคิดการพฒันามนุษย์

ข้ึนอยูก่บักระบวนทศัน์เก่ียวกบัมนุษยว์่าชีวิตคืออะไร คุณค่าชีวิตอยูต่รงไหน เป้าหมายของชีวิตคืออะไร

แลว้จึงนาํสู่กาํหนดวิถีชีวิต แนวทางการดาํเนินชีวิตใหส้อดคลอ้งกบัคุณค่า ความหมายและเป้าหมายชีวิต

ตามกระบวนทศัน์นั้นๆ อยา่งไรก็ตาม จากการศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ง มีการนาํเสนอแนวคิด ทฤษฏีและ

แนวทางการพฒันามนุษยใ์นหลายรูปแบบ มีการใชค้าํสาํคญัหลายคาํท่ีเก่ียวขอ้ง เช่ือมโยงกนัและทาํให้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

12

เกิดความสับสนต่อแนวคิดการพฒันามนุษย ์ท่ีเน้นเป้าหมายท่ีการพฒันามนุษยเ์พ่ือตวัมนุษย ์หรือการ

พฒันาท่ีเนน้มนุษยเ์ป็นศนูยก์ลางและเป้าหมาย (ก่อ สวสัด์ิพาณิชย,์ 2539) มนุษยจึ์งเป็นเป้าหมายสูงสุด

เป็นทั้งผูถ้กูพฒันาและรับผลของการพฒันา (สัญญา สัญญาวิวฒัน์, 2549) กล่าวคือ การพฒันามนุษยท่ี์

แทจ้ริง ตอ้งมีพ้ืนฐานบนการพฒันาท่ีสอดคลอ้งกบัคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ (Feely, 2012) เป็น

การพฒันาท่ีมีมนุษยเ์ป้าหมายของการพฒันา

1. ความหมายของการพฒันาและการพฒันามนุษย์

1.1 การพฒันา คอื การเปลีย่นแปลงในทางท่ีดีขึน้

การพฒันา หมายถึง การทาํใหเ้จริญ หรือ การทาํใหดี้ข้ึน เจริญข้ึน หรือการทาํให้ส่ิงนั้นบรรลุ

เป้าหมายท่ีตั้งไว ้ โดยการพฒันาน้ี ดาํเนินไปควบคู่กบับริบทของส่ิงนั้น ดงัท่ีราชบณัฑิตยสถาน 2542

(2546: 779) ไดใ้ห้ความหมายว่า “พฒันา” คือ “ทาํให้เจริญ” สอดคลอ้งกบั ยุวฒัน์ วุฒิเมธี (2526: 1)

และ แบ็ทเท็น (Batten, n.d.: 2) ให้นิยามว่า การพฒันา คือ การทาํให้ดีข้ึน นอกจากนั้น การพฒันา ยงั

หมายถึง ผลการกระทาํตามแนวทางท่ีกาํหนดไว ้ ดงัในพจนานุกรมฉบบัลองแมน (Longman, Dictionary

of Contemporary English 2001: 370) ให้นิยามว่า การพฒันาหมายถึง การเติบโตของบางส่ิงท่ีแสดงถึง

ความกา้วหนา้ หรือผลของการกระทาํท่ีดีข้ึนกว่าเดิม หรือท่ี สัญญา สัญญาวิวฒัน์ (2526: 5) อธิบายว่า

การพฒันา หมายถึง การเปล่ียนแปลงท่ีมีการกาํหนดทิศทาง หรือการเปล่ียนแปลงท่ีไดว้างแผนไวแ้น่นอน

ล่วงหนา้ นอกจากนั้น วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2555: 4) อธิบายการพฒันาว่ามีความเก่ียวขอ้งกบัธรรมชาติ

โดยแบ่งวิวฒันาการการพฒันาเป็นสามช่วงใหญ่ๆ ไดแ้ก่ วิวฒันาการช่วงแรก เป็นการพฒันาในสภาพท่ี

มนุษยอ์ยูภ่ายใต ้อิทธิพลของธรรมชาติ วิวฒันาการช่วงท่ีสอง เป็นการพฒันาท่ีมนุษยพ์ยายามเอาชนะ

ธรรมชาติ และวิวฒันาการช่วงท่ีสาม คือ การพฒันาท่ีมนุษยเ์อาชนะธรรมชาติได ้และนาํธรรมชาติมาใช้

ประโยชน์ ทั้งหมดน้ีเป็นการพฒันาเพ่ือก่อใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงในทิศทางท่ีดีข้ึน ช่วยเพิ่มอตัราเร่งใน

การทาํกิจกรรมหรือการผลิตใหร้วดเร็วข้ึน และทาํใหส้ภาพความเป็นอยูข่องมนุษยดี์ข้ึนกว่าเดิมทั้งในดา้น

คุณภาพและปริมาณ

1.2 การพฒันามนุษย์ กบัการพฒันาสังคม : แนวคดิและทฤษฏีการพฒันา

แนวคิดเร่ืองการพฒันามนุษย ์ควบคู่กบัแนวคิดเร่ืองการพฒันาสังคม เน่ืองจากวิเคราะห์ว่า

มนุษยอ์ยู่ร่วมกนัเป็นสังคม ดงัท่ี มาร์ลิน (Marlin, 2011) อา้งแนวคิดของอริสโตเติ้ล (Aristotle, 384

ก่อน ค.ศ.-322 ก่อน ค.ศ.) และโทมสั อาไควนสั (Thomas Aquinas, ค.ศ. 1225–1274) ว่ามนุษยมี์ภาวะท่ี

อยูร่่วมกนัเป็นสงัคม (Social being) ดว้ยเหตุน้ี การอธิบายการพฒันามนุษย ์จึงดาํเนินควบคู่กบัแนวคิด

เร่ืองการพฒันาสังคม โดยเฉพาะหลงัสงครามโลกคร้ังท่ี 2 (ปกรณ์ ปรียากร, 2552: 30) โดยการ

ขบัเคล่ือนขององคก์ารสหประชาชาติท่ีมีบทบาทสาํคญั ภายใตพ้ฒันาการของกระบวนทศัน์การพฒันา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

13

ซ่ึงสาํนกังานปลดักระทรวงการพฒันาสงัคมและความมัน่คงของมนุษย ์ กระทรวงการพฒันาสังคมและ

ความมัน่คงของมนุษย ์(2554: 3) เสนอว่าแนวคิดเร่ืองการพฒันามีกาํเนิดมาจากโลกตะวนัตก โดยเร่ิมจาก

แนวคิดท่ีใหค้วามสาํคญักบั การขยายตวัหรือการเติบโตทางเศรษฐกิจ และต่อมาไดแ้พร่ขยายไปมีอิทธิพล

ครอบงาการกาํหนดนโยบายในประเทศต่างๆ ทัว่โลก โดยเฉพาะประเทศในโลกท่ีสาม ซ่ึงเคยตกเป็น

อาณานิคม ของประเทศมหาอาํนาจในโลกตะวนัตกและประเทศอ่ืนๆ ท่ีถูกจดัให้เป็นประเทศดอ้ยพฒันา

หรือประเทศกาํลงัพฒันา ดว้ยเหตุน้ีแนวคิดการพฒันาจึงเนน้การพฒันาสู่ความเจริญของประเทศ เน้นท่ี

การพฒันาเศรษฐกิจเป็นหลกั ดว้ยการใชแ้นวคิดการพฒันาให้ทนัสมยัตามแบบตะวนัตก (Yonehara,

2006: 33) อยา่งไรก็ตาม ประวติัศาสตร์แนวคิดเร่ืองการพฒันา มีการเปล่ียนแปลงและพฒันาการมาเป็น

ลาํดบั จากการเนน้ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมาเป็นการกระจายความเติบโต ทางเศรษฐกิจ การเน้น

ความจาํเป็นขั้นพ้ืนฐาน จนมาถึงการเน้นในตัวมนุษย ์ ความสัมพนัธ์ระหว่างมนุษยด์้วยกัน และ

ความสัมพนัธ์ระหว่างมนุษยก์บัธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้มเพ่ือการดาํรงชีวิตอยู่อย่างย ัง่ยืน หรืออาจจะ

กล่าวไดว้่าแนวคิดการพฒันามีวิวฒันาการจากท่ีเนน้การเติบโตทางเศรษฐกิจในช่วงแรกๆ ค่อยๆ ไปสู่การ

พฒันาท่ีใหค้วามสาํคญักบัมนุษยแ์ละสังคมมากข้ึน มีการแบ่งแนวคิดการพฒันากวา้งๆ เป็นสองแนว

ไดแ้ก่ แนวคิดและทฤษฏีการพฒันายุคความทนัสมยั และ แนวคิดและทฤษฏีการพฒันายุคหลงัความ

ทนัสมยั (สุมิตร สุวรรณ, 2554: 38–69) โดยสรุปไดด้งัน้ี

1.2.1 แนวคดิและทฤษฏีการพฒันายุคความทันสมยั

แนวคิดและทฤษฏีการพฒันายคุความทนัสมยัมีพ้ืนฐานแนวคิดท่ีเน้นการพฒันาโดย

เน้นความเจริญทางเศรษฐกิจเป็นหลกั เช่ือว่าถา้เศรษฐกิจมัง่คัง่สังคมจะเจริญตามไปดว้ย แนวคิดน้ีถือ

กาํเนิดหลงัสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ตามแผนมาร์แชล การพฒันาตามแนวคิดน้ี เรียกว่า ทฤษฎีความทนัสมยั

ซ่ึงต่อมาไดถ้กูใชเ้ป็นตน้แบบของการพฒันาและแพร่กระจายไปสู่รัฐต่าง ๆ ทัว่โลก โดยเฉพาะในรัฐแบบ

ทุนนิยมหรือประเทศโลกเสรีซ่ึงถือว่าเป็น การพฒันากระแสหลกั ของโลก จนองค์การสหประชาชาติ

(United Nation) ไดป้ระกาศให้ ระหว่าง ค.ศ. 1960 – 1970 เป็น “ทศวรรษแห่งการพฒันา” ใน

ขณะเดียวกนัมีการวิพากษว์ิจารณ์และไดพ้ยายามเสนอแนวคิดการพฒันาท่ีแตกต่างไปจากการพฒันาตาม

ทฤษฎีความทนัสมยั ซ่ึงเรียกว่า การพฒันากระแสรอง ไดแ้ก่ ทฤษฎีการพ่ึงพา (Dependency Theory)

ทฤษฎีของมาร์กซ์ (Marxist Theory) และทฤษฎีระบบโลก (World System Theory) เป็นตน้ (สุมิตร

สุวรรณ, 2554: 38-50)

1.2.2 แนวคดิและทฤษฏีการพฒันายุคหลงัความทันสมยั

แนวคิดและทฤษฏีการพฒันายุคหลงัความทนัสมยั เป็นแนวคิดท่ีมีพ้ืนฐานจากการ

วิพากษ์แนวคิดและทฤษฏีการพฒันาตามกระบวนทศัน์กระแสหลกั หลงัจากท่ีมีการนําแนวทางของ

กระบวนทศัน์การพฒันาตามกระแสหลกั โดยเฉพาะทฤษฎีความทนัสมยั ซ่ึงเป็นตน้แบบของการพฒันา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

14

และได้แพร่กระจายไปทั ่วโลก ได้ประสบผลสําเร็จและก่อให้เกิดผลดีโดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจ

อยา่งไรก็ตาม การพฒันาตามแนวทางดงักล่าวน้ีถึงแมจ้ะเกิดผลดี แต่ก็เกิดปัญหาในหลายดา้นไปทัว่โลก

เช่นกนั โดยเฉพาะปัญหาดา้นส่ิงแวดลอ้ม จนไดเ้กิดแนวคิดการพฒันาข้ึนใหม่หลายแนวคิดและในหลาย

ประเทศเพื่อเป็นทางเลือกให้กบัประเทศต่าง ๆ ท่ีมกัเรียกว่า กระแสทางเลือก เช่น การพฒันาท่ีย ัง่ยืน

(Sustainable Development) เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เป็นตน้ (สุมิตร สุวรรณ, 2554:

38)

แนวคิดการพฒันาตามกระแสหลกั โดยเฉพาะการพฒันาเศรษฐกิจภายใต้ระบบ

เศรษฐกิจแบบทุนนิยม ท่ีมุ่งเนน้การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic growth) เป็นหลกั เน้นความ

เจริญในดา้นความมัง่คัง่ทางเศรษฐกิจ ก่อใหเ้กิดปัญหาท่ีตามมา ดงัท่ี อมาตยา เซน (Sen, 1999) เสนอว่า

การพฒันาท่ีผ่านมามีมิติและมุมมองท่ีคบัแคบ เน่ืองจากให้ความสําคญัแต่เพียงความเจริญเติบโตทาง

เศรษฐกิจ การพฒันาไปสู่ความเป็นอุตสาหกรรม และการสร้างสงัคมแห่งความทนัสมยั ดว้ยการเร่งการ

ขยายตวัของผลิตภณัฑม์วลรวมประชาชาติ (GNP) รายไดต่้อหวัของประชากรดว้ยการส่งเสริมเทคโนโลยี

ขั้นสูง และการทางานของกลไกตลาดเสรี ส่งผลให้สังคมมีความเจริญกา้วหน้า มีความสะดวกสบายใน

การดาํเนินชีวิต แต่ปรากฏการณ์ท่ีเกิดควบคู่ขนานกบัผลการพฒันาดงักล่าว ไดน้าํมาซ่ึงการแย่งชิง และ

จดัสรรทรัพยากรอยา่งไม่เป็นธรรม ทาํให้มนุษยจ์าํนวนมากถูกจาํกดัเสรีภาพ และตกเป็นเหยื่อของการ

พฒันา อนัสะทอ้นจากความยากจน การขาดโอกาสทางเศรษฐกิจ ความเส่ือมโทรมทางสังคม รวมทั้ ง

ปัญหาส่ิงแวดลอ้มและความเส่ือมโทรมของทรัพยากร เป็นประเด็นสาํคญัท่ีเป็นท่ีประจกัษ์ให้เห็นในทัว่

ทุกมุมโลก สอดคลอ้งกบั สุธาวลัย ์เสถียรไทย (2555 : 169) ท่ีวิเคราะห์ว่า ผลท่ีตามมาของการพฒันาตาม

สนองความเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหลกั ดว้ยการใชป้ระโยชน์จากทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจาํกดัมาเพ่ือ

สนองตอบความตอ้งการท่ีไม่จาํกดัของมนุษย ์ผา่นกิจกรรมทางอุตสาหกรรมท่ีก่อให้เกิดมลพิษ หรือการ

ทาํลายป่าเพ่ือใชท่ี้ดิน เป็นตน้ โดยส่วนหน่ึงของกิจกรรมเหล่าน้ี นอกจากจะทาํลายส่ิงแวดลอ้มแลว้ยงั

ก่อใหเ้กิดประเด็นของความไม่เป็นธรรมในสิทธิการเขา้ถึงทรัพยากร ความไม่เป็นธรรมทางดา้นเศรษฐกิจ

และสังคมรวมทั้ งการก่อให้เกิดความเส่ียงจากปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีกาํลงัคุกคาม

มนุษยชาติอยูข่ณะน้ี

ดว้ยเหตุน้ี การพฒันาสงัคมตามกระแสหลกั ท่ีเน้นความเจริญเศรษฐกิจเป็นหลกั จึง

เป็นแนวคิดการพฒันาท่ีมองสงัคมเพียงดา้นเดียว กล่าวคือ เนน้การแกไ้ขปัญหาความลา้หลงัทางเศรษฐกิจ

เป้าหมายหลกัของการพฒันา คือ การเพิ่มรายไดป้ระชาชาติ การยกระดบักิจกรรมการผลิตการลงทุน การ

ออม “หากพิจารณาความหมายตามกระแสน้ีแลว้ การมองความหมายการพฒันายงัแคบไปเน่ืองจากเน้น

เฉพาะเศรษฐกิจมิติเดียว” (ปรีชา เป่ียมพงศส์านต ์และคนอ่ืนๆ, 2543: 302)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

15

ดงันั้น จึงเกิดกระแสการพฒันาโดยคาํนึงถึงการพฒันามนุษยเ์ป็นหลกั (ยุทธการ

โกษากุล 2555: 1) โดยเฉพาะองค์การสหประชาชาติ (UN) ในโครงการพฒันาแห่งสหประชาชาติ

(UNDP) ได้กาํหนดแนวทางการวดัความเจริญก้าวหน้า โดยคาํนึงถึง “การพฒันามนุษย”์ (Human

Development) โดยองค์การสหประชาชาติไดจ้ดัตั้ งองค์การชาํนัญพิเศษต่างๆ ไดแ้ก่ องค์การแรงงาน

ระหว่างประเทศ (ILO) เพ่ือช่วยเหลือการสถาปนาสันติภาพ โดยการส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคม

ปรับปรุงฐานะและ มาตรฐานการครองชีพของแรงงานใหดี้ข้ึน โดยอาศยัความพยายามและความร่วมมือ

กนัระหว่างรัฐบาลฝ่ายนายจา้ง และฝ่ายลกูจา้ง องคก์ารอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) เพ่ือ

ปรับปรุงมาตรฐานการครองชีพและยกระดบัโภชนาการใหสู้งข้ึน โดยการเพิ ่มผลิตผลทางการเกษตร การ

ประมงและการป่าไม ้องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวฒันธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) เพ่ือ

ขยายการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ประชาชนในทุกประเทศมีโอกาสทางการศึกษาไดท้ัว่ถึงกัน เพ่ือเผยแพร่

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือยกมาตรฐานการครองชีพให้สูงข้ึน และเพ่ือสนับสนุนให้แต่ละประเทศมี

ความเขา้ใจดีต่อกนั และองค์การอนามยัโลก (WHO) เพ่ือต่อตา้นโรคภยัต่างๆ และปรับปรุงสุขภาพ

อนามยัของประชาชนในโลกใหดี้ข้ึนทั้งร่างกายและจิตใจ เป็นตน้

1.3 การพฒันามนุษย์ คอื การทําให้มนุษย์ดีขึน้ หมายถึงการทําให้มนุษย์เป็นมนุษย์มากขึน้

แนวคิดเร่ืองการพฒันามนุษยถื์อกาํเนิดอย่างจริงจงัตั้ งแต่ปี 1990 เป็นตน้มา (Yonehara,

2006: 10) เน่ืองจากพบว่าแนวคิดในการพฒันาตามกระแสหลกัท่ียดึความกา้วหนา้ทางเศรษฐกิจเป็นหลกั

ไดล้ดทอนคุณค่าของมนุษยเ์ป็นเพียงเคร่ืองมือหรือปัจจยั/องคป์ระกอบในการพฒันาเศรษฐกิจและสังคม

ว่าเป็นแนวทางท่ีไม่ถกูตอ้ง ส่ิงท่ีสาํคญัท่ีสุดของการพฒันาคือ มนุษย ์ท่ีควรไดรั้บความเอาใจใส่เป็นพิเศษ

จึงเกิดกระแสการพฒันาท่ียดึมนุษยเ์ป็นศนูยก์ลาง มุ่งการพฒันามนุษยโ์ดยมองมนุษยใ์นฐานะเป็นมนุษย ์

โดยมีพ้ืนฐานจากแนวคิดมนุษยนิยม (Humanism) ท่ีมีแนวคิดให้ความสําคัญต่อคุณค่าของมนุษย ์

(Angeles, 1981: 116) มนุษยมี์ศกัยภาพท่ีจะเขา้ใจและบรรลุถึงความจริงโดยไม่ตอ้งอา้งอิงส่ิงเหนือ

ธรรมชาติ เน่ืองจากมนุษยมี์สติปัญญา สามารถใชเ้หตุผลในการเขา้ถึงความจริงได ้ การพฒันาท่ียดึมนุษย์

เป็นศนูยก์ลางของการพฒันาน้ี ไม่ใช่เน้นดา้นการพฒันาความสามารถหรือความรู้ในวิชาการต่าง ๆ แต่

หมายถึงพฒันาคุณสมบติัท่ีอยู่ภายในตวับุคคล เช่น ศีลธรรมหรือพฒันาจิตใจนั้นเอง กล่าวคือ การมอง

มนุษยด์ว้ยการตั้งคาํถามว่าจะพฒันามนุษยใ์หเ้ป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ไดอ้ยา่งไร ในฐานะท่ีมนุษยมี์ความเป็น

มนุษยข์องเขาเอง ชีวิตมนุษยน์ั้นมีจุดหมาย จุดหมายของชีวิตคือ ความสุข อิสรภาพ ความดีความงามของ

ชีวิต ซ่ึงเป็นเร่ืองเฉพาะบุคคล (พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต), 2550: 151) สอดคลอ้งกบัแนวคิดของอ

มาตยา เซน (Sen, 2004: 15) ท่ีเสนอว่าการพฒันามนุษยมี์ความสาํคญัมากกว่าการเพิ ่มข้ึนหรือลดลงของ

รายไดป้ระชาชาติ การพฒันามนุษยเ์พ่ือใหมี้ประสิทธิภาพอยา่งย ัง่ยนืตอ้งเป็นการเสริมสร้างบรรยากาศท่ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

16

มนุษยส์ามารถพฒันาศกัยภาพของตน เพ่ือให้มนุษยส์ามารถดาํรงชีวิตสมกับความเป็นมนุษย์และ

แสวงหาความสาํเร็จในชีวิต

2. เป้าหมายและแนวทางการพฒันา : จากความมัง่คัง่ สู่ความมัน่คงของมนุษย์

แนวคิดท่ีใหค้วามสาํคญัต่อการพฒันา โดยมีมนุษยเ์ป็นศูนยก์ลางและเป้าหมายของการพฒันา

ไดรั้บความสนใจอยา่งต่อเน่ืองในสงัคม อนัเป็นผลจากการตระหนกัถึงผลเสียท่ีตามมาของการพฒันาโดย

ยดึเศรษฐกิจเป็นหลกั ตามกระแสวตัถุนิยม/บริโภคนิยม (พชัรี ดาํรงสุนทรชยั, 2551: 1) มีทิศทางการ

พฒันาตามกระแสหลกั โดยเฉพาะการพฒันาให้ทันสมยั โดยมีเศรษฐศาสตร์กระแสหลกัเป็นกรอบ

แนวคิดในการพฒันา ทิศทางในการพฒันามนุษยจึ์งเนน้การพฒันาจึงดาํเนินตามระบบทุนนิยมเป็นหลกั

ใหค้วามสนใจเพียงการสร้างโครงสร้างพ้ืนฐาน (Infrastructure Development ) แบบตะวนัตก การพฒันา

จึงเป็นกระบวนการสร้างความทนัสมยั ท่ีมุ่งเน้นในเชิงปริมาณหรือการเติบโตทางวตัถุเพียงดา้นเดียว

เน้นความมัง่คั ่งทางเศรษฐกิจไปสู่การพฒันาให้เกิดความมัง่คงของมนุษย ์โดยเฉพาะแนวคิดในการ

กาํหนดคุณภาพชีวิต หรือการมีสุขภาวะท่ีดี ดงัท่ี สเตนตนั (Stanton, 2007: 3) ให้ขอ้สังเกตว่า องค์การ

สหประชาชาติ (UN) ผา่นทางโครงการพฒันาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ไดจ้ดัทาํรายงานการพฒันา

มนุษย ์(Human Development Report : HDR) ใน ค.ศ. 1990 โดยเปล่ียนแปลงกรอบแนวคิด ตวัช้ีวดัและ

นโยบายการพฒันา รวมทั้ งจดัทาํดชันีการพฒันามนุษย ์(Human Development Index : HDI) ภายใต้

แนวคิดการพฒันามนุษยสู่์การมีสุขภาวะท่ีดี (Well-being) สอดคลอ้งกบั สาํนักงานปลดักระทรวงการ

พฒันาสงัคมและความมัน่คงของมนุษย ์ กระทรวงการพฒันาสงัคมและความมัน่คงของมนุษย ์ (2554) ท่ี

เสนอว่า แนวคิดเร่ืองความมัน่คงของมนุษย ์(Human Security) เป็นแนวคิดใหม่ ท่ีเสนอเป็นระเบียบวาระ

โลก ดงัปรากฏในรายงานการพฒันามนุษย ์ปี 1994 ของแผนงานพฒันาองค์กรสหประชาชาติ (United

Nations Development Programme - UNDP) ถือเป็นแนวคิดท่ียึดประชาชนเป็นศูนยก์ลาง (People

Centered) และไดมี้การจดัทาํรายงานข้ึนมาอีกอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงส่งอิทธิพลต่อนโยบายการพฒันาใน

ประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทยท่ีมีการบรรจุในแผนพฒันาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้ งแต่ฉบบัท่ี

8 (พ.ศ. 2540 – 2544) เป็นตน้มา รวมทั้งในแผนพฒันาเศรษฐกิจและสงัคมแห่งชาติฉบบัท่ี 11 (พ.ศ. 2555

– 2559)

แนวคิดในการพฒันามนุษยมี์เป้าหมายอยู่ท่ีการคุณภาพชีวิตท่ีดี หมายถึง ชีวิตท่ีมีคุณภาพซ่ึง

เป็นชีวิตท่ีอยูร่อด อยูดี่ อยูอ่ยา่งมีหลกัการ และบุคคลนั้นสามารถปรับตวัและแกไ้ขปัญหาไดเ้พ่ือดาเนิน

ชีวิตอย่างสงบตามสถานภาพ (สุมน อมรวิวฒัน์, 2525: 119) ซ่ึงสหประชาชาติ (UN) ผ่านทางองค์การ

อนามยัโลก (WHO) ใชค้าํว่า “การมีสุขภาวะ” (Well-being) (Stanton, 2007) โดยเร่ิมตน้จากการพฒันา

เพ่ือตอบสนองความจําเป็นขั้ นพ้ืนฐานของชีวิต (Basic Needs Approach) ได้แก่ การศึกษา การ

สาธารณสุข เป็นตน้ ต่อมาจึงเป็นการพฒันาศกัยภาพของมนุษย ์(Capabilities Approach) เพ่ือให้มนุษยมี์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

17

คุณภาพ มีทกัษะการดาํเนินชีวิต เพ่ือเสริมสร้างการพฒันามนุษยอ์ย่างย ัง่ยืน มีการใชค้าํว่าการพฒันา

เพ่ือใหม้นุษยอ์ยูดี่มีสุข มีการเปล่ียนในการให้นํ้ าหนักกบัตวัวดัดา้นมิติทางสังคม เช่น การลงทุนในการ

พฒันามนุษย ์นอกเหนือจากตวัเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว เพ่ือทาํให้การพฒันามีความ

ย ัง่ยนืและครอบคลุมมากข้ึน รวมทั้งขยายโอกาสและเสริมสร้างศกัยภาพในการเลือกท่ีจะมีชีวิตท่ียาวนาน

อย่างมีคุณภาพ กล่าวคือ การมีสุขภาพอนามัยท่ีดี เป็นบุคคลท่ีมีความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ให้

ความสาํคญัต่อสิทธิมนุษยชน การมีส่วนร่วมตดัสินใจ การมีเสรีภาพทางการเมือง ตลอดจนความมัน่คง

ปลอดภยัในชีวิต (สมพร กิตติโสภากูร และสุธิดา แสงทองสุข, 2551) จึงกาํหนดเป้าหมายพ้ืนฐานของ

การพฒันามนุษยด์ว้ยการเพิ ่มทางเลือกสู่การมีชีวิตท่ีอยูดี่มีสุข ส่งเสริมการพฒันาแบบองค์รวม เป็นการ

พฒันาท่ีครอบคลุมในหลายมิติ ทั้งดา้นเศรษฐกิจ สงัคม การเมือง วฒันธรรม เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอ้ม

ดงัท่ี มาห์บบั อุล ฮกั (Mahbub, 1995: 21) นักเศรษฐศาสตร์ท่ีเป็นผูห้น่ึงในการจัดทาํดชันีการพฒันา

มนุษย ์ไดเ้สนอกระบวนทัศน์การพฒันามนุษยว์่าตอ้งครอบคลุมในเร่ือง “การกาํหนดให้มนุษยเ์ป็น

ศนูยก์ลางการพฒันา จุดประสงคก์ารพฒันา คือ การเพิ่มทางเลือกในทุกๆ ดา้นแก่มนุษย ์ไม่ใช่แค่รายได ้

กระบวนทศัน์การพฒันาตอ้งมีลกัษณะเป็นการเสริมสร้างศกัยภาพและการใช้ศกัยภาพเหล่านั้นอย่าง

เต็มท่ี” ทั้งน้ี กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยเ์ป็นสาระสาํคญัและตอ้งมีการวิเคราะห์อย่างเป็นเหตุเป็นผล

เพ่ือทาํใหก้ารพฒันามนุษยป์ระสบความสาํเร็จ โดยคาํนึงถึง ความเท่าเทียม (Equity) หมายถึง ความเท่า

เทียมทางดา้นโอกาสในการมีสิทธิเลือกวถีิทางการดาํเนินชีวิต ความย ัง่ยนื (Sustainability) หมายถึง ความ

ย ัง่ยืนในการมีโอกาสในการดาํรงชีวิตท่ีดี การเพิ่มผลผลิต (Productivity) หมายถึง ตอ้งมีการลงทุนใน

มนุษยแ์ละมีส่ิงแวดลอ้มท่ีอาํนวยประโยชน์ต่อการพฒันาศกัยภาพ และการเสริมอาํนาจ (Empowerment)

หมายถึง การท่ีมนุษยมี์เสรีภาพในการตดัสินใจเลือก อนัเป็นผลจากการเสริมสร้างความสามารถทาง

การศึกษาและสุขภาพอนามยัท่ีดี เพ่ือมีส่วนร่วมในการตดัสินใจทางการเมือง การปกครอง (Mahbub,

1995: 21)

ดงันั้น ทิศทางและเป้าหมายการพฒันามนุษย ์จึงมุ่งสู่การเสริมสร้างความมัน่คงให้เกิดข้ึนใน

ชีวิตมนุษย ์ ไม่ใช่มุ่งสู่ความมัง่คัง่ทางเศรษฐกิจเป็นหลกัดงัเช่นในอดีต ดงัท่ี พระธรรมปิฎก (2539) เสนอ

ว่า แนวทางการพฒันาแต่เดิม มองแต่เพียงการพฒันาเศรษฐกิจ แต่เม่ือมีการปรับเปล่ียน ประกอบกบัการ

ใชใ้นการพฒันาแลว้ ทาํให้มีการให้ความสาํคญัต่อการเติมปัจจยัในการพฒันาให้ครบสามอย่าง ไดแ้ก่

ปัจจยัดา้นส่ิงแวดลอ้ม ปัจจยัดา้นการพฒันา และปัจจยัดา้นการพฒันามนุษย ์ โดยปัจจยัดา้นการพฒันา

มนุษย ์ตอ้งมีการพฒันาทั้งดา้นพฤติกรรม ดา้นจิตใจและดา้นปัญญา แมว้่าการสร้างความมัง่คัง่ทางวตัถุ

เป็นส่ิงจาํเป็น เพราะเป็นพ้ืนฐานสาํคญัในการดาํรงชีวิตของมนุษย ์แต่แนวคิดเก่ียวกบัการพฒันาจะตอ้ง

กา้วขา้มพน้เร่ืองการสะสมแต่เพียงความมัน่คัง่ทางวตัถุ การขยายตวัของรายไดป้ระชาชาติ และเร่ืองอ่ืนๆ

ท่ีเก่ียวกบัการสร้างรายไดเ้ท่านั้น การพฒันาตอ้งไม่ละเลยความสาํคญัของการขยายตวัทางเศรษฐกิจ แต่

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

18

ตอ้งมองให้ไปไกลกว่านั้น เพ่ือท่ีจะเขา้ใจกระบวนการพฒันาทั้ งหมด จาํเป็นจะตอ้งตรวจสอบเร่ือง

เป้าหมายและแนวทางการพฒันาให้ลึกซ้ึง เป้าหมายคงไม่ใช่การแสวงหารายได ้หรือความมัง่คัง่สูงสุด

เพราะนั ่นเป็นเพียงแนวทางเท่านั้ น การขยายตวัทางเศรษฐกิจก็ไม่ไดเ้ป็นเป้าหมายของการพฒันา แต่

เป้าหมายของการพฒันา คือ การท่ีมนุษยด์าํรงชีวิตอยา่งมีความสุขและมีเสรีภาพ ดงัท่ี อมาตยา เซน (Sen,

1999: 18) ท่ีเสนอว่าเป้าหมายการพฒันามนุษย ์คือ การพฒันามนุษยใ์ห้มีเสรีภาพและมีศกัยภาพในการ

เขา้ถึงทรัพยากรสาธารณะ

สอดคลอ้งกับโครงการพฒันาสหประชาชาติ (United Nations Development Programme,

UNDP 2000) ในรายงานการพฒันามนุษย ์ ค.ศ. 2000 (Human Development Report 2000) ท่ีใชช่ื้อว่า

“สิทธิมนุษยชนกบัการพฒันามนุษย ์เพ่ือเสรีภาพและความเป็นปึกแผ่นหน่ึงเดียวกนั” อนัเป็นการเช่ือม

ความสมัพนัธร์ะหว่างสิทธิมนุษยชน การพฒันามนุษย ์และความมัน่คงของมนุษยเ์ขา้ดว้ยกนั โดยเห็นว่า

สิทธิมนุษยชนและการพฒันามนุษยมี์วิสัยทศัน์และจุดประสงค์ร่วมกนั ไดแ้ก่ การสร้างความมัน่คงแก่

เสรีภาพ การอยู่ดีมีสุขและศกัด์ิศรีของมนุษยทุ์กคนทัว่โลก และไดจ้าํแนกความมัน่คงทางเสรีภาพ

ออกเป็น 7 ประการ ไดแ้ก่ 1. เสรีภาพจากการกีดกนั 2. เสรีภาพจากความตอ้งการ 3. เสรีภาพในการพฒันา

และการประจกัษ ์ในศกัยภาพแห่งตน 4. เสรีภาพจากความหวาดกลวั เช่น ภยัคุกคามต่อความมัน่คงของ

บุคคล 5. เสรีภาพจากความอยติุธรรมและการละเมิดการปกครองโดยกฎหมาย 6. เสรีภาพทางความคิด

การพดูและการรวมกลุ่ม 7. เสรีภาพในการทางานท่ีเหมาะสมไม่ถกูขดูรีด

นอกจากนั้ น พรพจน์ เป่ียมสมบูรณ์ (2006: 8) สรุปสาระแนวคิดการพฒันาท่ีย ัง่ยืน และ

เศรษฐกิจพอเพียง ท่ีเสนอหลกัการพฒันามนุษย ์โดยให้มนุษยรู้์จักใชท้รัพยากรของโลก โดยใชอ้ย่าง

เหมาะสม ใชอ้ย่างมีประสิทธิภาพ คาํนึงถึงผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนจากการใชท้รัพยากรเหล่านั้นทั้ งต่อ

ตวัเอง ต่อผูอ่ื้นและต่อส่ิงแวดลอ้มรอบตวัมนุษย ์การดาํเนินชีวิตตอ้งเป็นไปอย่างไม่ประมาทและมีสติ

รับรู้ตลอดเวลา เน่ืองจากสงัคมมีความผนัผวนอย่างรวดเร็ว สอดคลอ้งกบัพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต)

(2539) ไดเ้สนอหลกัการพฒันาย ัง่ยืน ว่ามีลกัษณะเป็นการพฒันาท่ีเป็นบูรณการ (Integrated) เป็นองค์

รวม (Holistic) หมายความว่าองคป์ระกอบทั้งหลายท่ีเก่ียวขอ้งจะตอ้งมาประสานกบัครบองค์ และมีดุลย

ภาพ การพฒันาท่ีย ัง่ยนื จะดาํเนินการใหบ้รรลุผลสาํเร็จไดน้ั้น จะอาศยัแต่เทคโนโลย ีและวตัถุไม่ได ้ตอ้ง

พฒันาจิตใจใหมี้จริยธรรมท่ีนาํมาปฏิบติัให้เกิดผลจริงดว้ย และท่ี วชัรี ทรงประทุม (2555) ท่ีวิเคราะห์

พระราชดาํรัสเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจา้อยูห่วัภูมิพลอดุลยเดชฯ ว่าเป็นวิถีชีวิตท่ี

พ่ึงตนเอง มีลกัษณะท่ีตรงกนัขา้มกบัเศรษฐกิจการคา้หรือเศรษฐกิจท่ีตอ้งพ่ึงตลาด (Trade or market

economy) ซ่ึงมิไดมี้ความหมายเฉพาะทางดา้นเศรษฐกิจเท่านั้น แต่เป็นแนวความคิดเก่ียวกบัวิถีชีวิตท่ีดีวา่

ควรเป็นอยา่งไร จึงจะอยูเ่ยน็เป็นสุข พอมีพอกิน ช่วยตนเองได ้ไม่เดือดร้อน วิถีชีวิตหรือการดาํรงตนจะ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

19

ครอบคลุมทั้ งความประพฤติในชีวิตประจาํวนั การประกอบอาชีพ การบริโภคสินคา้บริการ และการ

สงัคมอยูร่่วมกบัคนอ่ืน ท่ีจะตอ้งยดึความพอเพียงความพอดี

3. การพฒันามนุษย์ คอื การพฒันาคุณภาพชีวติ/การพฒันามนุษย์ให้มสุีขภาวะที่ด ี

ตามท่ีโครงการพฒันาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ไดก้าํหนดดชันีการพฒันามนุษย ์(HDI) และ

พยายามจดัหามาตรการวดัการมีสุขภาวะท่ีดีของมนุษย ์(The measurement of human well-being) และ

ตวัช้ีวดัความสุข (Welfare indicators) (Stanton, 2007: 1) จึงมีการอธิบายความหมายสุขภาวะและเป็น

ประเด็นท่ีไดรั้บความสนใจจากกระแสสงัคมอยา่งต่อเน่ือง มีการอธิบายนิยามของสุขภาวะ ดงัท่ี คริส์พ

(Crisp, 2008) อธิบายว่า สุขภาวะ เป็นคุณค่าชนิดหน่ึงท่ีแต่บุคคลพึงมี พึงกระทาํเพ่ือประโยชน์สุข หรือ

ความดีต่อตนเอง ในกรอบคาํถามท่ีว่า “ชีวิตแบบไหนท่ีดีท่ีสุดสาํหรับตนเอง?” สอดคลอ้งกบั เอคเกอรส์

เลย (Eckersley, 2005) ท่ีเสนอว่า สุขภาวะ เป็นเร่ืองเก่ียวกบัคุณภาพชีวิตของบุคคล เป็นความสุขต่อ

สภาพชีวิต ท่ีไม่ใช่แค่รู้สึกว่าตนเองมีความสุข แต่เป็นความสาํนึกว่าชีวิตของตนมีคุณค่า มีคุณภาพชีวิตท่ีดี

สอดคลอ้งกบั วิริยะ สว่างโชติ (2007) ท่ีสรุปนิยามและพฒันาการอธิบายความหมายของสุขภาวะของ

องคก์ารอนามยัโลก ว่า ในระยะแรก องคก์ารอนามยัโลกอธิบายว่าสุขภาวะท่ีดี หมายถึงการอยู่ในสภาวะ

ท่ี ร่างกาย จิตใจ สงัคมท่ีดีและการไม่มีโรคภยัไขเ้จ็บเป็นสภาวะของความสมบูรณ์ท่ีดี มีกาส่งเสริมให้มี

การดูแลสุขภาพ ซ่ึงทาํให้เช่ือมไปสู่ความสัมพนัธ์เก่ียวกบัการพฒันาคุณภาพชีวิตของมนุษย ์ มีการ

อธิบายว่า “สุขภาพ” หมายถึง สภาวะของความสมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจและความเป็นอยู่ท่ีดีในสังคม

มิใช่หมายแต่เพียงปราศจากโรคและความอ่อนแอเท่านั้น ต่อมาในปี 1998 ท่ีประชุมสมชัชาองค์การ

อนามยัโลก (World Health Organization Assembly) เพิ่มคาํว่า “Spiritual well-being” หรือ “สุขภาวะทาง

จิตวิญญาณ” เขา้ไปในคาํนิยามเดิม ซ่ึง เสรี พงศพิ์ศ (2008) วิเคราะห์ว่าการเปล่ียนความเขา้ใจว่า สุขภาพ

คือการไม่มีโรค ไปสู่สุขภาพเป็นความสมดุลของชีวิต เป็นการเปล่ียนแปลงกระบวนทศัน์อยา่งสาํคญั เป็น

การเปล่ียนแปลงการมองโลกมองชีวิต จนทาํให้วิธีคิด วิธีปฏิบติั วิธีให้คุณค่าเปล่ียนไปดว้ย หรือท่ีเรียก

กนัว่าเปล่ียนไปทั้งกระบวน เพราะทศันะแม่บทเปล่ียนไปแลว้ อาจเพราะดว้ยเหตุน้ี จึงมีความพยายามหา

คาํใหม่ท่ีแตกต่างออกไปด้วย ใช้คาํว่าสุขภาวะ แทนคาํว่าสุขภาพ เพ่ือให้สุขภาวะเป็นตัวแทนของ

กระบวนทศัน์ใหม่ ท่ีใหค้วามสาํคญัต่อความสมดุลของชีวิต อนัเป็นตวัแทนของวิธีคิดแบบตะวนัออก ซ่ึง

มีลกัษณะท่ีเป็นองค์รวม ไม่แยกส่ิงต่างๆ ส่วนต่างๆ ออกจากกัน มองทุกอย่างเป็น “องคาพยพ”

(Organism) ซ่ึงแปลว่าระบบชีวิต ซ่ึงทุกส่วน ทุกเซลสมัพนัธแ์ละมีปฏิสมัพนัธก์นั

จึงสรุปความไดว้่าสุขภาวะท่ีดีเป็นเร่ืองของคุณภาพชีวิต กล่าวคือ การดาํเนินชีวิตอยา่งสมดุลทั้ง

จิตใจ ร่างกาย และความรู้และทกัษะความสามารถ เพ่ือใหมี้ความเพียบพร้อมทั้งดา้นคุณธรรมและความรู้

ใหส้ามารถรู้เท่าทนัการเปล่ียนแปลงและสามารถดาํรงชีวิตร่วมกบัผูอ่ื้นในสงัคมไดอ้ยา่งอยูเ่ยน็เป็นสุข

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

20

มติกิารพฒันามนุษย์

การพฒันามนุษยเ์ป็นเร่ืองละเอียด ซบัซอ้น มีการใชค้าํต่างๆ กนัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการพฒันามนุษย ์

เช่น การพฒันาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development) การพัฒนามนุษย ์ (Human

Development) การจดัการ/การบริหารทรัพยากรมนุษย ์(Human Resource Management) แต่ละอยา่งต่างมี

องคป์ระกอบ มีมิติการพฒันาท่ีต่างกนัออกไป เน่ืองจากมุมมองหรือระดบัการวิเคราะห์ท่ีต่างกนั (สุมิตร

สุวรรณ, 2554: 29) ข้ึนอยู่กบัจุดมุ่งหมายท่ีสอดคลอ้งกบับริบทในการพฒันา หากมองในระดบับุคคล

มนุษยต์อ้งไดรั้บการพฒันาใหเ้ป็นคนดี มีความรู้ความสามารถไปทาํงานให้กบัองค์กร รวมไปถึงการอยู่

ร่วมกนัในสังคม ประเทศหรือในโลกไดอ้ย่างมีความสงบสุข หากมองในระดบัสังคมหรือประเทศ

จุดเนน้หรือเป้าหมายของการพฒันาก็เร่ิมตั้งแต่การเป็นคนดีอยูร่่วมกนัในสงัคมไดอ้ยา่งมีความ สงบสุข มี

ความรู้ความสามารถในการทาํงานจนไปถึงการแข่งขนัในการผลิต การสร้างรายไดห้รือความมัง่คัง่ให้กบั

ประเทศเพื่อความอยูดี่กินดีมีสุขหรือความสงบสุขร่มเยน็ของมวลมนุษยชาติ แต่หากมองในระดบัองคก์าร

โดยเฉพาะองคก์ารทางธุรกิจ “มนุษย”์ เป็นหน่ึงในปัจจยัการผลิต ดงันั้นการพฒันาทรัพยากรมนุษยจึ์งมี

จุดเน้นหรือเป้าหมายเพ่ือการเพิ่มศกัยภาพหรือประสิทธิภาพของคนในการทาํงานให้กบัองค์การ การ

พฒันาทรัพยากรมนุษยใ์นแนวคิดน้ีจะเป็นส่วนหน่ึงของแนวคิดการจดัการทรัพยากรมนุษยใ์นองค์การ

เป็นตน้ แมว้่ามุมมองในการพิจารณาจะแตกต่างกนั แต่ก็มีความสัมพนัธ์เช่ือมโยงถึงกนัในการพิจารณา

เก่ียวกบัมิติการพฒันามนุษย ์ ซ่ึงโดยทัว่ไป มกัมีการอธิบายถึงความสัมพนัธ์กบัมิติของการพฒันา อนั

ประกอบดว้ย มิติดา้นเศรษฐกิจ มิติดา้นสงัคม และมิติดา้นส่ิงแวดลอ้ม (สาํนักงานคณะกรรมการพฒันา

เศรษฐกิจและสงัคม, 2555)

ในขณะท่ีคณะกรรมการบรัทแลนด์ (Brundtland Commission) (WCED, 1987) ไดเ้สนอแนว

ทางการพฒันาท่ีย ัง่ยนื ว่าประกอบดว้ย 3 มิติของการพฒันา ไดแ้ก่

1. มิติสภาพทรัพยากร เพ่ือคงมีทรัพยากรเหลือไวใ้หค้นรุ่นหลงัใช ้

2. มิติสภาวะแวดลอ้มและนิเวศน์ เพ่ือสามารถอยู่ได้ภายใต้สภาวะแวดลอ้มท่ีสะอาดและ

สุขอนามยัท่ีดี ทั้งในปัจจุบนัและในอนาคต

3. มิติคุณภาพชีวิต เพ่ือใหมี้ความเป็นอยูดี่ ทั้งในปัจจุบนัและอนาคต

ซ่ึง เคริกและเมนเนล (Kerk and Mannel, 2008) ไดข้ยายความโดยเพิ่มมิติเป็น 5 มิติ พร้อมกบั

ดชันี 22 ตวั ไดแ้ก่

1. มิติการพฒันาบุคลากร (Personal Development) ประกอบดว้ย 6 ดชันี ไดแ้ก่ ชีวิตท่ีมีสุขภาพ

(Healthy Life) มีอาหารท่ีเพียงพอ (Sufficient Food) มีนํ้ าด่ืมท่ีเพียงพอ (Sufficient to Drink) มี

สุขอนามยัท่ีปลอดภยั (Safe Sanitation) มีโอกาสการศึกษา (Education Opportunities) และมีความเสมอ

ภาคทางเพศ (Gender Equality)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

21

2. มิติสภาวะแวดลอ้มท่ีสะอาด ประกอบดว้ยดชันีอยู่ 3 ตวั ไดแ้ก่ คุณภาพอากาศ (Air Quality)

คุณภาพนํ้ าพ้ืนผวิ (Surface Water Quality) คุณภาพดิน (Land Quality)

3. มิติสงัคมท่ีมีความสมดุลท่ีดี (Well–balanced Society) ประกอบดว้ยดชันี 5 ตวั ไดแ้ก่ธรรมาภิ

บาล (Good Governance) ความว่างงาน (Un employment) การเติบโตของประชากร (Population

Growth) การกระจายรายได ้(Income Distribution) หน้ีสาธารณะ (Public Debt)

4. มิติการใชท้รัพยากรอย่างย ัง่ยืน (Sustainable Use of Resources) ประกอบดว้ยดชันี 3 ตวั

ไดแ้ก่ การหมุนเวียนของเสียกลบัมาใชใ้หม่ (Waste Recycling) การใชท้รัพยากรนํ้ าท่ีทดแทนได ้(Use of

Renewable Water Resources) การใชพ้ลงังานท่ีทดแทนได ้(Consumption of Renewable Energy)

5. มิติโลกท่ีย ัง่ยืน (Sustainable World) ประกอบดว้ยดชันี 5 ตวั ไดแ้ก่ พ้ืนท่ีป่า (Forest Area)

การรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ (Preservation of Biodiversity) การปล่อยก๊าซเรือนกระจก

(Emission of Green house Gases) รอยพิมพท์างนิเวศน์ (Ecological Footprint) ความร่วมมือระหว่าง

ประเทศ (International Cooperation)

นอกจากนั้น ส่ิงท่ีควรไดรั้บการพิจารณาในเร่ืองมิติการพฒันามนุษย ์จาํเป็นตอ้งใส่ใจต่อการ

พฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของความมัน่คง ซ่ึง กระทรวงการพฒันาสังคมและความมัน่คงของมนุษย ์

(2554) อธิบายว่า แต่เดิม “ความมัน่คงของมนุษย”์ มีความหมายครอบคลุมเฉพาะความมัน่คงของ

ประชากรจากภยัสงคราม ต่อมาความหมายของคาํน้ีจึงขยายไปถึงความมัน่คงของมนุษยใ์นมิติต่าง ๆ จน

ทาํให ้“ความมัน่คงของมนุษย”์ และ “ความกินดีอยูดี่” เกือบจะเป็นคาํท่ีแทนกนัได ้ จึงกาํหนดนิยามความ

มัน่คงของมนุษยว์่าหมายถึง “การท่ีประชาชนไดรั้บหลกัประกนัดา้นสิทธิ ความปลอดภยั การสนองตอบ

ต่อความจาํเป็นขั้นพ้ืนฐาน สามารถดาํรงชีวิตอยูใ่นสงัคมไดอ้ยา่งมีศกัด์ิศรี ตลอดจนไดรั้บโอกาสอยา่งเท่า

เทียมในการพฒันาตนเอง” จึงไดเ้สนอมิติการพฒันาเพ่ือมุ่งสู่ความมัน่คงของมนุษย ์ในบริบทประเทศ

ไทยประกอบดว้ย 10 มิติ ดงัน้ี (กระทรวงการพฒันาสงัคมและความมัน่คงของมนุษย,์ 2554) ไดแ้ก่ มิติ

ท่ีอยูอ่าศยัและส่ิงแวดลอ้มทางกายภาพ มิติสุขภาพอนามยั มิติการศึกษา มิติการมีงานทาํและรายได ้มิติ

ครอบครัว มิติความมัน่คงส่วนบุคคล มิติการสนบัสนุนทางสงัคม มิติสงัคมวฒันธรรม มิติสิทธิและความ

เป็นธรรม มิติการเมืองและธรรมาภิบาล

นอกจากนั้น การพฒันามนุษย ์(Human being development) ยงัมีการกล่าวถึงปัจจยัท่ีเก่ียวขอ้งใน

การพฒันา ดงัท่ี สญัญา สญัญาวิวฒัน์ (2549) เสนอว่าการพฒันามนุษยจ์ะเป็นไปได ้ตอ้งคาํนึงถึงปัจจยัท่ี

เก่ียวขอ้ง ไดแ้ก่

1. ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงท่ีมีอยูต่ามธรรมชาติ ไม่ใช่ส่ิงท่ีมนุษยส์ร้างข้ึน เช่น ดิน นํ้ า ป่า

แร่ธาตุ นํ้ ามนั ก๊าซ ทองคาํ เพชร เป็นตน้ จะทาํให้เกิดเป็นทรัพยสิ์นเงินทอง สามารถจะนาํไปใชจ่้าย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

22

ยกระดบัคุณภาพชีวิตใหสู้งข้ึนได ้ซ่ึงหากมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีค่าจาํนวนมากก็จะยิ ่งทาํให้ระดบัการ

พฒันาสูงข้ึน

2. ทรัพยากรมนุษย ์หมายถึง กลุ่มคนในวยัแรงงาน หากมีคนในวยัแรงงานมากเท่าใดก็จะยิ ่งทาํ

ให้ระดบัการพฒันาสูงมากข้ึน คือ คนในวยัแรงงานมีกาํลงัแรงงานท่ีสามารถใชใ้ห้เกิดประโยชน์ต่อ

คุณภาพชีวิตได ้เช่น เพิ่มการศึกษา ทาํใหสุ้ขภาพอนามยัแข็งแรง จิตใจมัน่คงเขม้แข็ง ทาํใหเ้กิดการพฒันา

ได ้

3. องคก์ารสงัคม หมายถึง กลุ่มคนประเภทต่าง ๆ เช่น กลุ่มอาชีพ สหกรณ์ คณะกรรมการ ซ่ึงจะ

ทาํใหเ้กิดพลงัในการทาํงานไดใ้หญ่ข้ึนและมากข้ึน เพราะไดร่้วมคิดร่วมพิจารณา มีความรอบคอบ ไม่

บกพร่องหรือบกพร่องนอ้ย ทาํใหเ้กิดการพฒันาได ้

4. ภาวะผูน้าํ หมายถึง จาํนวนคนท่ีเป็นผูน้าํ เช่น ผูน้าํทางการเมือง ผูน้าํทางการศึกษา ผูน้าํทาง

เศรษฐกิจ ผูน้าํกลุ่มชาวไร่ชาวนา เป็นตน้ ซ่ึงหากไดผู้น้าํท่ีมีคุณภาพหรือมีบารมีก็จะทาํให้คนมารวมตวั

กนัทาํงานไดเ้ป็นจาํนวนมาก สามารถทาํงานใหญ่หรืองานปริมาณมากได้ รวมทั้ งทาํงานอย่างทุ่มเท จึง

เกิดผลดีต่อการพฒันา

5. การติดต่อส่ือสาร หมายถึง การติดต่อระหว่างชุมชน ระหว่างเมืองหรือระหว่างประเทศ

โดยเฉพาะประเทศท่ีดอ้ยพฒันาจะไดป้ระโยชน์ เพราะทาํให้เกิดการถ่ายทอด เรียนรู้ รับเอาความรู้ความ

ชาํนาญ สินคา้ เทคโนโลย ีจากสงัคมท่ีเจริญมาใชห้รือผลิตเคร่ืองมือเคร่ืองใช ้

6. การฝึกอบรม หมายถึง การได้รับการศึกษาของประชาชน โดยเฉพาะการศึกษาท่ีเป็น

ประโยชน์ต่อการดาํรงชีวิต เช่น การฝึกอาชีพ การสาธารณสุข การตลาด การช่าง เพราะทาํใหค้วามรู้ความ

ชาํนาญดา้นต่าง ๆ ทาํใหเ้กิดการพฒันาสูงข้ึน

ดว้ยเหตุน้ี แนวคิดเร่ืองการพฒันามนุษยมี์ความหมายครอบคลุมกวา้งและเก่ียวขอ้งกบัศกัยภาพ

ของมนุษยใ์นการสร้างสรรคส์งัคม เป็นเร่ืองของความใฝ่ฝัน ความคิดและการต่ืนตวัของมนุษย ์ในการ

ตระหนักถึงสภาพปัญหาของสังคม และตอ้งการแกปั้ญหาท่ีมนุษยป์ระสบอย่างสร้างสรรค์ (Cleveland

and Jacobs, 1999) โดยนัยน้ี การพฒันาสังคมจึงเก่ียวพนักบัมิติต่างๆ ของความเป็นอยู่และการดาํเนิน

ชีวิตของมนุษย ์ทั้งความเช่ือ ทศันคติ ค่านิยม อุดมการณ์ จารีตขนบธรรมเนียมประเพณี วฒันธรรม

กฎระเบียบ บรรทดัฐานทางวฒันธรรม ความรู้ การศึกษา ความสัมพนัธ์ระหว่าง คน สถาบนัเศรษฐกิจ

การเมือง ตลอดไปจนถึงศาสนาและจิตวิญญาณ (สาํนักงานปลดักระทรวงการพฒันาสังคมและความ

มัน่คงของมนุษย ์ กระทรวงการพฒันาสงัคมและความมัน่คงของมนุษย,์ 2554: 3) และตอ้งครอบคลุมส่ี

ดา้น คือ การพฒันากาย การพฒันาพฤติกรรม การพฒันาจิต และการพฒันาปัญญา (พระธรรมปิฎก,

2542)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

23

ดงันั้น มิติการพฒันามนุษยจึ์งตอ้งพิจารณาถึงธรรมชาติของความเป็นมนุษย ์กล่าวคือ มนุษยเ์ป็น

ทั้งร่างกายและจิตวิญญาณ (ปัญญา) และตอ้งมีความสมัพนัธก์บัคนอ่ืนๆ ในสงัคมและส่ิงแวดลอ้มซ่ึงเป็น

ส่วนสาํคญัท่ีทาํใหม้นุษยมี์การพฒันาสู่การเป็นมนุษยย์ิง่ๆ ข้ึน

รูปแบบ/การพฒันารูปแบบ แนวทาง/กระบวนการเรียนรู้ และการประเมนิการพฒันามนุษย์

การพฒันามนุษยจ์ะเป็นจริงได ้จาํเป็นตอ้งมีการนาํแนวคิด ความหมายของการพฒันามนุษยม์า

จดัทาํเป็นรูปแบบหรือแนวทางการพฒันามนุษย ์ อย่างไรก็ตามรูปแบบหรือแนวทางการพฒันามนุษยน้ี์

คงไม่ไดมี้ลกัษณะสูตรสาํเร็จรูป แต่มีลกัษณะเป็นพลวตั พร้อมปรับเปล่ียนและพฒันาอย่างต่อเน่ือง เป็น

ปัจจุบนั (Koesveld, 2001: 6) สอดคลอ้งกบัธรรมชาติมนุษยท่ี์ไม่อาจอธิบายไดด้ว้ยแนวคิดหรือทฤษฏีใด

ทฤษฏีหน่ึง และมนุษยมี์การปรับตวั เปล่ียนแปลงอยู่เสมอ ตามค่านิยมของสังคม (Welzel and Inglehart,

2010: 46) ส่ิงแวดลอ้ม และสภาพสงัคมท่ีเปล่ียนแปลงอยูต่ลอดเวลา

1. แนวคดิเกีย่วกบัรูปแบบ

รูปแบบ (Model) หมายถึง ส่ิ ง ท่ีสร้างหรือพัฒนาข้ึนจากแนวคิด/ทฤษฏี เพ่ือถ่ายทอด

ความสมัพนัธข์ององคป์ระกอบ โดยใชส่ื้อท่ีทาํให้เขา้ใจไดง่้ายๆ กระชบัและถูกตอ้ง สามารถตรวจสอบ

เปรียบเทียบกบัปรากฏการณ์จริง เพ่ือช่วยใหเ้ขา้ใจไดช้ดัเจนข้ึน

1.1 ความหมายของรูปแบบ

ในพจนานุกรม นิยามรูปแบบ ว่าเป็น “รูป” หรือ “ส่ิงท่ีกาํหนดข้ึน” เพ่ืออธิบายบางส่ิง

ดงัท่ีพจนานุกรมราชบณัฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2542: ออนไลน์) ให้นิยามคาํ “รูปแบบ” หมายถึง รูปท่ี

กาํหนดข้ึนเป็นหลกัหรือเป็นแนวซ่ึงเป็นท่ียอมรับ ในขณะท่ี พจนานุกรมฉบับลองแมน (Longman

Dictionary of Contemporary English, 2001: 917) ให้นิยามว่า รูปแบบ หมายถึง ส่ิงซ่ึงเป็นแบบย่อส่วน

ของของจริง ซ่ึงเท่ากบั แบบจาํลอง/ส่ิงของหรือคนท่ีนาํมาใชเ้ป็นแบบอยา่งในการดาํเนินการบางอยา่ง

นอกจากนั้น มีการอธิบายว่ารูปแบบ หมายถึง การจาํลองหรือการย่อส่วนแนวความคิด

หรือปรากฏการณ์ ต่าง ๆ ท่ีใกลเ้คียงกบัความเป็นจริง เพ่ือความเขา้ใจท่ีง่ายข้ึนและเขา้ใจถึงสภาพท่ีแทจ้ริง

ไดอ้ยา่งลึกซ้ึง ซ่ึงโครงสร้างของรูปแบบนั้น จะตอ้งมีแนวความคิด และองค์ประกอบท่ีมีความสัมพนัธ์

ต่อเน่ืองและมีความเป็นเหตุเป็นผลซ่ึงกนัและกนั ดงัท่ี เคเวส (Keeves P.J., 1988: 559) กล่าวว่า รูปแบบ

หมายถึง ส่ิงท่ีแสดงโครงสร้างของความเก่ียวข้องระหว่างชุดของ ปัจจัยหรือตัวแปรต่าง ๆ หรื

องค์ประกอบท่ีสําคัญในเชิงความสัมพนัธ์หรือเหตุผลซ่ึงกันและกัน เพ่ือช่วยเขา้ใจข้อเท็จจริงหรือ

ปรากฏการณ์ในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงโดยเฉพาะ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

24

รูปแบบยงัหมายถึง ลกัษณะท่ีพึงประสงค ์ ดงัท่ี ถวลัยรั์ฐ วรเทพพุฒิพงษ์ (2540: 21–23)

อธิบายว่า รูปแบบ หมายถึง ลกัษณะท่ีพึงปรารถนาซ่ึงมีลกัษณะเป็นอุดมคติ หรือเกิดไดย้ากในโลกของ

ความเป็นจริง โดยเฉพาะอย่างยิ ่งส่ิงท่ีเราอยากไดก้บัความสามารถท่ีจะหาส่ิงท่ีตอ้งการนั้น แตกต่างกนั

มาก นอกจากนั้น ยงัมีการอธิบายความหมายของรูปแบบ โดยให้ความสาํคญัต่อการทดสอบความแม่น

ตรง (Validity) และความน่าเช่ือถือ (Reliability) แลว้ สามารถระบุและพยากรณ์ความสมัพนัธร์ะหว่าง ตวั

แปรโดยวิธีการทางคณิตศาสตร์หรือทางสถิติไดด้ว้ย (ถวลัยรั์ฐ วรเทพพุฒิพงษ,์ 2540: 21-23)

จึงสรุปไดว้่า รูปแบบ (Model) หมายถึง ส่ิงท่ีแสดงโครงสร้างและความสัมพนัธ์ของ

ปัจจยัหรือตวัแปรหรือองคป์ระกอบของส่ิงท่ีศึกษา หรืออธิบายคุณลกัษณะสาํคญัของปรากฏการณ์ท่ีคาด

ว่าจะเกิดข้ึน เพ่ือใหเ้ขา้ใจง่ายมองเห็นเป็นรูปธรรม ไม่มีองคป์ระกอบตายตวัหรือใหร้ายละเอียดทุกแง่มุม

โดยผา่นกระบวนการทดสอบอยา่งเป็นระบบ เพ่ือให้เกิดความแม่นตรงและเช่ือถือได ้แลว้นาไปใชเ้ป็น

แนวทางในการดาเนินการอยา่งใดอยา่งหน่ึง

1.2 ประเภทของรูปแบบ

รูปแบบมีหลายประเภทดว้ยกัน ในแต่ละสาขาก็มีการจดัแบ่งประเภทของรูปแบบท่ี

แตกต่างกนัออกไป มีทั้งรูปแบบอยา่งง่ายๆ ไปจนถึงรูปแบบท่ีมีความสลบัซบัซอ้นมากๆ มีทั้งรูปแบบเชิง

กายภาพ รูปแบบเชิงคุณลกัษณะ รูปแบบท่ีใชก้ารอุปมาอุปไมยเทียบเคียงปรากฏการณ์ซ่ึงเป็นรูปธรรม

เพ่ือสร้างความเขา้ใจในปรากฏการณ์ท่ีเป็นนามธรรม รูปแบบท่ีใชภ้าษาเป็นส่ือในการบรรยายหรืออธิบาย

ปรากฏการณ์ท่ีศึกษาดว้ยภาษา แผนภูมิ รูปภาพ รูปแบบท่ีใชส้มการทางคณิตศาสตร์เป็นส่ือในการแสดง

ความสัมพนัธ์ของตัวแปรต่าง ๆ และรูปแบบท่ีนําเอา ตัวแปรต่าง ๆ มาสัมพนัธ์กันเชิงเหตุและผลท่ี

เกิดข้ึน เป็นตน้ ตามแต่นกัวิชาการดา้นต่าง ๆ ไดแ้บ่งประเภทของรูปแบบต่างกนัออกไป สาํหรับรูปแบบ

ทางการศึกษาและสงัคมศาสตร์นั้น ไดแ้บ่งออกเป็น 4 ประเภท ไดแ้ก่ (Keeves, 1988: 561-565)

1. รูปแบบเชิงเทียบเคียง (Analogue Model) เป็นรูปแบบท่ีใชก้ารอุปมาอุปมยัเทียบเคียง

ปรากฏการณ์ท่ีเป็นรูปแบบ ซ่ึงสร้างความเขา้ใจในปรากฏการณ์ท่ีเป็นนามธรรม

2. รูปแบบเชิงขอ้ความ (Semantic model) เป็นรูปแบบท่ีใชภ้าษาเป็นส่ือในการบรรยาย

หรืออธิบายปรากฏการณ์ท่ีศึกษาด้วยภาษา แผนภูมิ หรือรูปภาพ เพ่ือให้โครงสร้างทางความคิด

องคป์ระกอบ และความสมัพนัธข์ององคป์ระกอบของปรากฏการณ์นั้น ๆ และใชข้อ้ความในการอธิบาย

เพ่ือใหเ้กิดความกระจ่างมากข้ึน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

25

3. รูปแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical model) เป็นรูปแบบท่ีใช้สมการทาง

คณิตศาสตร์เป็นส่ือในการแสดงความสัมพนัธ์ของตวัแปรต่าง ๆ รูปแบบประเภทน้ีมกันิยมใชก้นัทั้ งใน

สาขาจิตวิทยาและศึกษาศาสตร์ รวมทั้งการบริหารการศึกษา

4. รูปแบบเชิงสาเหตุ (Causal model) เป็นรูปแบบท่ีพฒันามาจากเทคนิคท่ีเรียกว่า

เทคนิคการวิเคราะห์เส้นทาง ในการศึกษาเก่ียวกบัพนัธุศาสตร์ รูปแบบเชิงสาเหตุทาํให้สามารถศึกษา

รูปแบบเชิงขอ้ความท่ีมีตวัแปรสลบัซบัซอ้นได้ แนวคิดสาํคญัของรูปแบบแนวน้ีคือ ต้องสร้างข้ึนจาก

ทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้งหรืองานวิจยัท่ีมีมาแลว้ รูปแบบจะเขียนในลกัษณะสมการเส้นตรง แต่ละสมการแสดง

ความสมัพนัธเ์ชิงเหตุเชิงผลระหว่างตวัแปร จากนั้นมีการรวบรวมขอ้มลูในสภาพการณ์ท่ีเป็นจริงเพ่ือทด

สอยรูปแบบ

ในขณะท่ี ศิริชัย กาญจนวาสี (2545) ได้แบ่งประเภทของรูปแบบจากวิธีการนําเสนอ

แนวคิดของรูปแบบตามการกระทาํไดส้ามรูปแบบ ไดแ้ก่

1. รูปแบบเชิงบรรยาย เป็นการนาํเสนอโดยใชก้ารบรรยายระบุถึงหลกัการหรือตวัแปร

และมีคาํอธิบายถึงปรากฏการณ์ด้วยคาํบรรยายความสัมพนัธ์ระหว่างแนวคิด หลกัการ หรือตวัแปร

เหล่านั้น

2. รูปแบบเชิงรูปภาพ เป็นการนําเสนอโดยใชรู้ปภาพ หรือสัญลกัษณ์จาํลองแสดงถึง

แนวคิด หลกัการหรือตัวแปร และลากเส้นโยงความสัมพนัธ์ระหว่างแนวคิด หลกัการหรือตัวแปร

เหล่านั้น

3. รูปแบบเชิงคณิตศาสตร์ เป็นการนาํเสนอโดยใชส้ัญลกัษณ์แทนแนวคิด หลกัการ หรือ

ตวัแปร และใชฟั้งกช์นัคณิตศาสตร์เช่ือมโยงความสมัพนัธร์ะหว่างแนวคิด หลกัการ หรือตวัแปรเหล่านั้น

จึงกล่าวไดว้่า การแบ่งประเภทของรูปแบบ ข้ึนกบันักวิชาการแต่ละดา้นท่ีจะมุ่งเน้นการ

นาํเสนอในบริบทของแขนงวิชาท่ีตนสนใจศึกษาและนาํเสนอตามแนวทางของแต่ละสาขา

1.3 องค์ประกอบของรูปแบบ

จากการศึกษาตัวอย่างของรูปแบบจากเอกสารท่ีเก่ียวข้องต่างๆ พบว่าไม่มีปรากฏ

หลกัเกณฑท่ี์เป็นเกณฑ์ตายตวัว่ารูปแบบนั้นตอ้งมีองค์ประกอบอะไรบา้ง ข้ึนอยู่กบัลกัษณะเฉพาะของ

ปรากฏการณ์ท่ีผูส้นใจดาํเนินการศึกษา (Bardo, and Hartman, 1982: 70) ดงัท่ี บราวน์และโมเบร์ิก

(Brown and Moberg, 1980: 16-17) ไดส้งัเคราะห์รูปแบบข้ึนจากแนวคิดเชิงระบบ (System Approach)

กบัหลกัการบริหารตามสถานการณ์ (Contingency Approach) จึงเสนอว่าองค์ประกอบของรูปแบบว่า

ควรประกอบดว้ย สภาพแวดลอ้ม เทคโนโลย ีโครงสร้าง กระบวนการจดัการ และการตดัสินใจสัง่การ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

26

ในขณะท่ี อีเวนเซวิช (Ivancevich, 1989, อา้งถึงใน พิสิฐ เทพไกรวลั, 2554: 16) ได้

กล่าวถึงองค์ประกอบของรูปแบบเชิงระบบว่า ประกอบดว้ย ปัจจยันาํเขา้ กระบวนการ ผลผลิต และ

ขอ้มลูป้อนกลบัจากสภาพแวดลอ้ม การพิจารณารูปแบบในลกัษณะน้ีถือว่า ผลผลิตของระบบเกิดจาก

การท่ีมีปัจจยันาํเขา้ส่งเขา้ไปผ่านกระบวนการ ท่ีจะทาํให้เกิดผลผลิตข้ึน และให้ความสนใจกบัขอ้มูล

ป้อนกลับจากสภาพแวดลอ้มภายนอก นอกจากนั้ น เลขาธิการสภาการศึกษา (2549) ได้สรุป

องค์ประกอบสาํคญัของรูปแบบ ว่าส่วนประกอบสาํคญัอยู่สองส่วน ไดแ้ก่ วตัถุประสงค์ของรูปแบบ

และ กลไกของรูปแบบซ่ึงเป็นตวัจกัรในการทาํหนา้ท่ีของรูปแบบเพ่ือการบรรลุวตัถุประสงค ์โดยมีบริบท

เป็นเง่ือนไขของการเกิดข้ึน คงอยู ่และล่มสลายของรูปแบบท่ีสร้างข้ึน

ดงันั้ น จึงสรุปได้ว่า หลกัในการพิจาณาองค์ประกอบของรูปแบบว่าตอ้งประกอบดว้ย

รายละเอียดมากนอ้ยเพียงใด มีองคป์ระกอบอะไรบา้ง ไม่มีขอ้กาํหนดแน่นอนตายตวั ข้ึนกบัปรากฏการณ์

หรือแนวคิดท่ีตอ้งการอธิบาย (Bardo and Hartman, 1982: 70)

1.4 กระบวนการสร้างและพฒันารูปแบบ

การสร้างและพฒันารูปแบบ ถือเป็นส่วนท่ีตอ้งดาํเนินการควบคู่กนั เน่ืองจากรูปแบบท่ี

นาํไปใช ้จาํเป็นตอ้งมีกระบวนการสร้าง และการพฒันารูปแบบอย่างต่อเน่ือง การสร้างและพฒันา

รูปแบบ คือ การกาํหนดมโนทศัน์ท่ีเก่ียวขอ้งสัมพนัธ์กนัอย่างเป็นระบบ เพ่ือช้ีให้เห็นชดัเจนว่า รูปแบบ

เสนออะไร เสนออยา่งไร เพ่ือใหไ้ดอ้ะไร และส่ิงท่ีไดน้ั้นอธิบายปรากฏการณ์อะไร ตลอดจนนาํไปสู่ขอ้

คน้พบอะไรใหม่ ๆ ไดบ้า้ง การสร้างรูปแบบท่ีมีลกัษณะท่ีดี ควรมีพ้ืนฐานอยู่บนหลกัการสาํคญั ไดแ้ก่

(Keeves, 1988: 560)

1. รูปแบบควรประกอบข้ึนดว้ยความสัมพนัธ์อย่างมีโครงสร้าง (ของตวัแปร) มากกว่า

ความสมัพนัธเ์ชิงเส้นตรงธรรมดา อย่างไรก็ตามความเช่ือมโยงแบบเส้นตรงแบบธรรมดาทัว่ไปนั้นก็มี

ประโยชน์ โดยเฉพาะอยา่งยิง่ในการศึกษาวิจยัในช่วงตน้ของการพฒันารูปแบบ

2. รูปแบบควรใช้เป็นแนวทางในการพยากรณ์ผลท่ีจะเกิดข้ึนจากการใช้รูปแบบได ้

สามารถตรวจสอบไดโ้ดยการสงัเกตและหาขอ้มลูสนบัสนุนดว้ยขอ้มลูเชิงประจกัษไ์ด ้

3. รูปแบบควรจะต้องระบุหรือช้ีให้เห็นถึงกลไกเชิงเหตุผลของเร่ืองท่ีศึกษา ดงันั้ น

นอกจากรูปแบบจะเป็นเคร่ืองมือในการพยากรณ์ได ้ควรใชใ้นการอธิบายปรากฏการณ์ไดด้ว้ย

4. รูปแบบควรเป็นเคร่ืองมือในการสร้าง มโนทศัน์ใหม่และการสร้างความสมัพนัธข์องตวั

แปรในลกัษณะใหม่

ในขณะท่ี อลัเบิร์ต และ เคดอร์รี (Albert and Khedourri, 1985, อา้งถึงใน กนิษฐา นาวา

รัตน์, 2549) เสนอว่าการสร้างและพฒันารูปแบบ มีลกัษณะเป็นการดาํเนินการต่อเน่ืองกนั ไดแ้ก่ การ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

27

รวบรวมปัญหา การพฒันารูปแบบ การทดสอบเคร่ืองแบบ การนาํไปใช้และการพฒันาปรับปรุงให้

ทนัสมยั กล่าวคือ ขั้นแรกเป็นการรวบรวมปัญหา (Problem formulation) เพ่ือให้รู้ว่าอะไรคือปัญหาท่ี

แทจ้ริง ขั้นต่อมาคือ การพฒันารูปแบบ (Model Construction) ดาํเนินการหลงัจากการรวบรวมปัญหา

การสร้างรูปแบบตอ้งพิจารณาวตัถุประสงคเ์บ้ืองตน้ของการสร้าง และรู้ถึงลกัษณะเฉพาะท่ีตอ้งการของ

ผลผลิต ขอ้มูลสารสนเทศท่ีจาํเป็น และควรคาํนึงถึงค่าใชจ่้ายในการสร้างและความสนใจของผูใ้ชด้ว้ย

ถา้รูปแบบมีค่าใชจ่้ายสูงและไม่เป็นท่ียอมรับของผูใ้ช ้ขอ้มลูท่ีรวบรวมมาอาจมีขอ้บกพร่องไดใ้นระหว่าง

ดาเนินการ ดงันั้น จึงควรมีการใหค้าํจากดัความสภาพการณ์การสุ่มตวัอยา่งและทาํตามหลกัวิชาการอย่าง

เคร่งครัด ควรมีการประเมินค่าและพิจารณาความแปรปรวนอยา่งระมดัระวงั สมควรนาํตวัแปรใดบา้งมา

วางไวใ้นรูปแบบท่ีจะสร้าง และเม่ือสร้างเสร็จแลว้ก็ตอ้งพิจารณาว่าครอบคลุมตวัแปรหรือไม่ มีความ

บกพร่องในตวัแปรใดบา้ง จากนั้นจึงไปสู่ ขั้นการทดสอบรูปแบบ (Testing the Model) เม่ือสร้าง

รูปแบบเสร็จแลว้ควรทดสอบโดยพิจารณาว่ารูปแบบนั้น มีความตรงตามสถานการณ์จริง (Valid) แค่

ไหน รูปแบบท่ีสร้างข้ึน หากมีความใกลเ้คียงกบัความจริงจะเป็นรูปแบบท่ีดี จะช่วยให้การตดัสินใจดีข้ึน

ไม่ยุ่งยากต่อการนาํไปใช ้และควรพิจารณาถึงความสาํเร็จของการแกปั้ญหาดว้ย จากนั้น มีการนาํไป

ทดลองใช ้เพ่ือเปรียบเทียบว่า ผลการนาํไปใชท้าํใหมี้การปรับปรุงคุณภาพใน การปฏิบติังานอย่างไร การ

ทดลองใชมี้สองลกัษณะ คือ ทดลองยอ้นหลงั (Retrospective Evaluation) โดยใชก้บัขอ้มูลในอดีต และ

การทดลองใชป้ฏิบติัจริงในปัจจุบนั (Pretest) จากนั้นจึงไปสู่ขั้นการนาํไปใช ้(Implementation) กล่าวคือ

เม่ือผา่นการทดสอบแลว้ควรจะนาํไปใชใ้หเ้กิดความสาํเร็จ เพราะไม่มีรูปแบบใดท่ีสาํเร็จสมบูรณ์จนกว่า

จะไดรั้บความสนใจและมีการนาํไปใช ้ ท่ีสุดไปสู่ขั้นตอนสุดทา้ย คือ ขั้นการพฒันาปรับปรุงให้ทนัสมยั

(Model up Dating) ขั้นตอนน้ีมีความสาํคญัเช่นกนั แมว้่าจะมีการนาํรูปแบบไปใชอ้ยา่งประสบผลสาํเร็จ

แต่ก็ควรมีการพฒันาปรับปรุงประยุกต์ให้เหมาะสมกบัวตัถุประสงค์ขององค์กร และสถานการณ์ท่ีมา

กระทบจากภายนอกและภายในองคก์รสอดคลอ้งกบัแนวคิดของบอดดิทท์ และคณะ (Bodditt and other,

2000: 29–35) กล่าวถึงรูปแบบการเรียนสอนท่ีใหผู้เ้รียนจดักระบวนการเรียนรู้จากสภาพจริงดว้ยตนเอง

สอดคลอ้งกบั ทิศนา แขมมณี (2550: 133-137) ท่ีใหค้วามสาํคญัต่อการจดับรรยากาศห้องเรียน โดยเน้น

การมีส่วนร่วมของผูเ้รียน โดยเนน้ใหผู้เ้รียนแต่ละคนไดส้ร้างประสบการณ์การเรียนรู้จากประสบการณ์

เดิมเช่ือมโยงกับประสบการณ์ใหม่ โดยการแสวงหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลายผ่าน

กระบวนการทาํงานกลุ่มและทาํงานเป็นทีม และสอดคลอ้งกับ เชียรศรี วิวิธศิริ (2534 :138–139) ท่ี

กล่าวถึงการจดัการเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงกบัแรงจูงใจ เพ่ือให้เกิดความสนใจและมีความตอ้งการท่ีจะเรียนรู้

และเม่ือส่ิงท่ีเรียนนั้นมีความจาํเป็นและเป็นประโยชน์สามารถนาํไปใชไ้ด้ทนัที รวมทั้ งบทเรียนนั้ น

สมัพนัธก์บัสภาพปัญหาท่ีมีอยูจ่ริงในสงัคม การไดมี้โอกาสฝึกฝนการคิดวิเคราะห์ แกปั้ญหา จะทาํใหก้าร

เรียนรู้เพิ่มพูนข้ึน จึงกล่าวได้ว่า การสร้างรูปแบบ จาํเป็นต้องให้ความสําคัญต่อกระบวนการสร้าง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

28

รูปแบบ (Construct) และการหาความตรง (Validity) ของรูปแบบดว้ย (Willer, 1967: 83) ซ่ึง บุญชม ศรี

สะอาด (2535: 13) แบ่งการดาํเนินการสร้างและพฒันารูปแบบเป็นสองขั้นตอน คือ การพฒันารูปแบบ

และและการทดสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของรูปแบบ

ดงันั้น การสร้างและพฒันารูปแบบ จึงไม่มีขอ้กาํหนดท่ีตายตวัแน่นอนว่าตอ้งทาํอะไรบา้ง

แต่โดยทัว่ไปจะเร่ิมตน้จากการศึกษาองคค์วามรู้ (Intensive knowledge) เก่ียวกบัเร่ืองท่ีจะสร้างรูปแบบให้

ชดัเจน จากนั้นจึงคน้หาสมมุติฐานและหลกัการของรูปแบบท่ีจะพฒันา แลว้สร้างรูปแบบตามหลกัการท่ี

กาํหนดข้ึน และนาํรูปแบบท่ีสร้างข้ึนไปตรวจสอบความเหมาะสมและหาคุณภาพของรูปแบบต่อไป ส่วน

การพฒันารูปแบบมีการดาํเนินการเป็นสองตอนใหญ่ คือ การสร้างรูปแบบและการประเมินความ

เหมาะสมและการหาคุณภาพของรูปแบบ

1.5 การตรวจสอบรูปแบบ

การตรวจสอบรูปแบบ ถือเป็น เร่ืองสําคัญ เ พ่ื อช่วยให้ รูปแบบนั้ นมีคุณภาพ มี

ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลยิง่ข้ึน มีความน่าเช่ือน่าถือต่อการนาํไปใช ้ การตรวจสอบรูปแบบมีหลายวิธี

ซ่ึงอาจจะใชก้ารวิเคราะห์จากหลกัฐานเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ โดยผูท้รงคุณวุฒิ/ผูเ้ช่ียวชาญ

การตรวจสอบรูปแบบควรตรวจสอบคุณลกัษณะ 2 อย่าง คือ การตรวจสอบความมาก

น้อยของความสัมพนัธ์ ความเก่ียวขอ้ง เหตุผลระหว่างตัวแปร และการประมาณค่าพารามิเตอร์ของ

ความสัมพนัธ์ดงักล่าว โดยสามารถประมาณค่าขา้มกาลเวลา กลุ่มตวัอย่าง หรือสถานท่ี (Across Time,

Samples Sites) หรืออา้งอิงจากกลุ่มตวัอย่างไปหาประชากรได ้โดยผลการตรวจสอบนาํไปสู่ การสร้าง

รูปแบบ และการปรับปรุงหรือพฒันารูปแบบเดิม (อุทุมพร จามรมาน, 2541: 21-26) อย่างไรก็ตาม การ

ตรวจสอบรูปแบบในบางเร่ืองท่ีตอ้งการความละเอียดอ่อนมากกว่าการวิจยัเชิงปริมาณ คือ การประเมิน

จากผูท้รงคุณวุฒิ/ผูเ้ช่ียวชาญ โดยมีความเช่ือว่าการรับรู้ท่ีเท่ากนันั้นเป็นคุณสมบติัพ้ืนฐานของผูรู้้ และได้

เสนอแนวคิดการประเมินโดยผูท้รงคุณวุฒิ/ผูเ้ช่ียวชาญไว ้ดงัน้ี (Eisner, 1976, อา้งถึงใน วาโร เพง็สวสัด์ิ,

2553: 10-11)

1. การประเมินโดยผูเ้ช่ียวชาญ เป็นการประเมินท่ีไม่ไดเ้น้นผลสัมฤทธ์ิของเป้าหมายหรือ

วตัถุประสงค์ตามรูปแบบ การประเมินแบบอิงเป้าหมาย (Goal-based Model) การตอบสนองความ

ตอ้งการของผูเ้ก่ียวขอ้งตามรูปแบบการประเมินแบบสนองตอบ (Responsive Model) หรือกระบวนการ

ตดัสินใจ (Decision Making Model) อย่างใดอย่างหน่ึง แต่การประเมินโดยผูท้รงคุณวุฒิจะเป็นการ

วิเคราะห์วิจารณ์อยา่งลึกซ้ึงเฉพาะในประเด็นท่ีนามาพิจารณา ซ่ึงไม่จาเป็นตอ้งเก่ียวโยงกบัวตัถุประสงค์

หรือผูมี้ส่วนเก่ียวขอ้งกบัการตดัสินใจเสมอไป แต่อาจจะผสมผสานปัจจยัในการพิจารณาส่ิงต่างๆ เขา้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

29

ดว้ยกนัตามวิจารณญาณของผูท้รงคุณวุฒิ เพ่ือให้ไดข้อ้สรุปเก่ียวกบัคุณภาพ ประสิทธิภาพ หรือความ

เหมาะสมของส่ิงท่ีทาํการประเมิน

2. เป็นรูปแบบการประเมินท่ีเน้นความเช่ียวชาญเฉพาะทาง (Specialization) ในเร่ืองท่ีจะ

ประเมิน โดยท่ีพฒันามาจากรูปแบบการวิจารณ์งานศิลป์ (Art Criticism) ท่ีมีความละเอียดอ่อนลึกซ้ึง และ

ตอ้งอาศยัผูเ้ช่ียวชาญระดบัสูงมาเป็นผูว้ินิจฉยั เน่ืองจากเป็นการวดัคุณค่า ท่ีไม่อาจประเมินดว้ยเคร่ืองวดั

ใด ๆ ได ้ และต้องใชค้วามรู้ความสามารถของผูป้ระเมินอย่างแทจ้ริง ต่อมาไดมี้การนําแนวคิดน้ีมา

ประยกุตใ์ชใ้นทางการศึกษาระดบัสูงในวงการอุดมศึกษามากข้ึน ในสาขาเฉพาะท่ีตอ้งอาศยัผูรู้้ในเร่ืองนั้น

จริงๆ มาเป็นผูป้ระเมินผล จึงจะทราบและเขา้ใจอยา่งลึกซ้ึง

3. เป็นรูปแบบท่ีใชต้วับุคคล คือ ผูท้รงคุณวุฒิเป็นเคร่ืองมือในการประเมิน โดยให้ความ

เช่ือถือว่าผูท้รงคุณวุฒินั้นเท่ียงธรรมและมีดุลยพินิจท่ีดี ทั้งน้ีมาตรฐานและเกณฑ์พิจารณาต่าง ๆ นั้น จะ

เกิดข้ึนจากประสบการณ์และความชาํนาญของผูท้รงคุณวุฒิเอง

4. เป็นรูปแบบท่ีใหค้วามยดืหยุน่ในกระบวนการทาํงานของผูท้รงคุณวุฒิตามอธัยาศยั และ

ความถนดัของแต่ละคน ตั้งแต่การกาํหนดประเด็นสาํคญัท่ีจะพิจารณา การบ่งช้ีขอ้มูลท่ีตอ้งการ การเก็บ

รวบรวม การประมวลผล การวินิจฉยัขอ้มลู ตลอดจนวิธีการนาํเสนอ

สอดคลอ้งกบัแนวคิดของจอยซ์ และเวลล ์ ( Joyce and Weil, 1996: 13) ท่ีกล่าวว่า การ

พฒันารูปแบบการเรียนการสอนต้องมีทฤษฎีรองรับ เม่ือพฒันารูปแบบการเรียนการสอนแลว้ ก่อน

นาํไปใช ้จะตอ้งมีการวิจยัเพ่ือทดสอบทฤษฎีและตรวจสอบคุณภาพในเชิงการนาํไปใชใ้นสถานการณ์จริง

และนาํขอ้คน้พบมาปรับปรุงแกไ้ขเพ่ือใหเ้ป็นรูปแบบท่ีสมบูรณ์จึงนาํไปใชไ้ด ้ สอดคลอ้งกบัทิศนา แขม

มณี (2545: 294) สรุปไวว้่า รูปแบบการจดัการเรียนการสอนเป็นแผนการดาํเนินการสอน ท่ีไดรั้บการจดั

อยา่งเป็นระบบ สมัพนัธส์อดคลอ้งกบัทฤษฎี หลกัการเรียนรู้หรือการสอนท่ีรูปแบบนั้นยึดถือ และไดรั้บ

การทดสอบว่ามีประสิทธิภาพ สามารถช่วยใหผู้เ้รียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายเฉพาะของรูปแบบการ

เรียนการสอนนั้นๆ ในขณะท่ี เคเวส (Keeves, 1988: 568) สรุปไวว้่า ลกัษณะของรูปแบบท่ีดี ควร

ประกอบดว้ยความสัมพนัธ์อย่างมีโครงสร้าง ใชเ้ป็นแนวทางในการพยากรณ์ผลท่ีจะเกิดข้ึน สามารถ

ตรวจสอบได้โดยการสังเกต ตอ้งระบุหรือช้ีให้เห็นถึงกลไกเชิงเหตุผลของเร่ืองท่ีศึกษา ควรอธิบาย

ปรากฏการณ์ได ้และเป็นเคร่ืองมือในการสร้างมโนทศัน์ใหม่ และสร้างความสัมพนัธ์ซ่ึงขยายในเร่ืองท่ี

กาํลงัศึกษาได ้

ดงันั้น จึงสรุปไดว้่า รูปแบบจึงเป็น ส่ิงท่ีสร้างหรือพฒันาข้ึนจากแนวคิด/ทฤษฏี เพ่ือ

ถ่ายทอดความสัมพนัธ์ขององค์ประกอบ โดยใชส่ื้อท่ีทาํให้เขา้ใจไดง่้ายๆ กระชบัและถูกตอ้ง สามารถ

ตรวจสอบเปรียบเทียบกบัปรากฏการณ์จริง เพ่ือช่วยให้เขา้ใจไดช้ดัเจนข้ึน จึงเป็นส่ิงจาํเป็นต่อการนํา

แนวคิด (ภาคทฤษฏี) ไปสู่การปฏิบติั ทั้งน้ี รูปแบบท่ีจะนําไปใชไ้ดป้ระโยชน์สูงสุดนั้น จะตอ้งเป็น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

30

รูปแบบท่ีมีความสัมพนัธ์เชิงโครงสร้าง สามารถทาํนายผล ขยายผลของ การทาํนายไดก้วา้งขวางข้ึน

และสามารถนาํไปสู่แนวคิดใหม่ ๆ

2. แนวทางและกระบวนการเรียนรู้เพือ่การพฒันามนุษย์

2.1 แนวทางการพฒันามนุษย์ที่ยดึมนุษย์เป็นศูนย์กลางการพฒันา

แนวทางการพฒันามนุษยโ์ดยมีมนุษยเ์ป็นศูนยก์ลางและเป้าหมายของการพฒันา มี

ลกัษณะสวนกระแสการพฒันาตามกระแสหลกัท่ีเน้นแนวทางการพฒันาเพ่ือเสริมสร้าง “ความมัง่คัง่”

เป็นเร่ืองท่ีเก่ียวกบัการสะสมทุน การสะสมทรัพยส์มบติั รายได ้วตัถุ และสินคา้ทางเศรษฐกิจอ่ืนๆ ทัว่ไป

มีความมัง่คัง่ทางวตัถุในระบบ มีการสะสมส่ิงต่าง ๆเหล่าน้ีมากข้ึน ความมัง่คัง่ในความหมายน้ี คือ ความ

มัง่คัง่ทางวตัถุในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ความมัง่คัง่เก่ียวพนักบัการบริโภคของมวลชน ซ่ึงมี

แนวโนม้มากข้ึนตามความตอ้งการท่ีเพิ่มข้ึน และหลากหลายมากข้ึน แต่เราตอ้งมองว่า ความมัง่คัง่ทาง

วตัถุ เป็นเพียงเคร่ืองมือ หรือปัจจยั เพ่ือบาบดัความตอ้งการพ้ืนฐานของมนุษยเ์ท่านั้นเอง ความตอ้งการ

ของมนุษยย์งัมีอีกหลายอยา่ง หลายรูปแบบ นอกเหนือไปจากทางดา้นวตัถุ เราจะเห็นว่ามีปัจจยัหลายอยา่ง

(ท่ีไม่ใช่วตัถุ) สามารถหล่อเล้ียงหรือสร้างความย ัง่ยืนให้แก่ชีวิตจิตใจ เช่น ความดี มิตรภาพสัจธรรม

ความงาม ธรรมชาติ สามารถสร้างความพึงพอใจใหแ้ก่คนเราอยา่งลึกซ้ึงมากกว่าปัจจยัทางวตัถุ นัน่คือ ส่ิง

ท่ีเราเรียกว่าความมัน่คงทางจิตใจ ซ่ึงเป็นคุณลกัษณะพิเศษท่ีมีเฉพาะมนุษย ์

แนวทางการพฒันามนุษยท่ี์ยดึมนุษยเ์ป็นศนูยก์ลางและเป้าหมายของการพฒันา มีแนวทาง

ในการพฒันาท่ี “เร่ิมจากตนเอง” ดังท่ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงให้

ความสาํคญัต่อการพฒันามนุษย ์ทรงยดึการดาํเนินการในลกัษณะ “ทางสายกลาง” ท่ีสอดคลอ้งกบัส่ิงท่ีอยู่

รอบตวัและสามารถปฏิบติัไดจ้ริง ทรงมีความละเอียดรอบคอบและทรงคิดคน้หาแนวทางพฒันาเพ่ือมุ่งสู่

ประโยชน์ต่อประชาชนสูงสุด มีคุณค่าและควรยดึเป็นแบบอย่างในการเจริญรอยตามเบ้ืองพระยุคลบาท

นาํมาปฏิบติัเพ่ือให้บงัเกิดผลแก่ตนเอง สังคม และประเทศชาติตลอดไป โดยมีแนวทางการทรงงาน ท่ี

ทรงย ํ้ าถึงแนวทางการพฒันาโดย “ระเบิดจากขา้งใน” หมายความว่า ตอ้งสร้างความเขม้แข็งให้บุคคลมี

สภาพพร้อมท่ีจะรับการพฒันาเสียก่อน แลว้จึงค่อยออกมาสู่สังคมภายนอก และ “องค์รวม” หมายถึง

ตอ้งมีวิธีคิดอยา่งองคร์วม (Holistic) หรือมองอยา่งครบวงจร ทรงมองเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนและแนวทางการ

แก้ไขอย่างเช่ือมโยง นอกจากนั้ น ยงัสรุปแนวทางการพฒันาตามหลกัเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่

(สาํนกังานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอนัเน่ืองมาจากพระราชดาํริ, 2550)

1. การใหค้วามสาํคญักบั “การพฒันาคน” ในการดาํเนินวิถีชีวิตอยา่งมัน่คงบนพ้ืนฐานของ

การรู้จกัความพอประมาณ การคาํนึงถึงความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุม้กนัในตวัท่ีดี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

31

2. เน้นการ “เข้าใจ เข้าถึง และร่วมพัฒนา” อย่างสอดคล้องกับ “ภูมิสังคม” ท่ีให้

ความสาํคญักบัความหลากหลายของระบบภูมินิเวศ เศรษฐกิจ วฒันธรรม ประเพณี เพ่ือผลประโยชน์ของ

ประชาชน โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการตดัสินใจ

3. การพฒันาท่ีคาํนึงถึงการ “ทาํตามลาํดบัขั้นตอน” จากการสร้างพ้ืนฐานใหม้ัน่คงพอควร

แลว้ จึงค่อยสร้างเสริมความเจริญขั้นสูงข้ึนไปตามลาํดบั

แนวทางการพัฒนาชีวิตตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง มี พ้ืนฐานจากคําสอนใน

พระพุทธศาสนา ท่ีสอนว่าทุกคนท่ีเกิดมาจะตอ้งไดรั้บการพฒันา เม่ือพฒันาแลว้จึงจะมีความเป็นมนุษย ์

กล่าวคือ เป็นสตัวป์ระเสริฐ การพฒันามนุษยจ์ะตอ้งพฒันาทั้ งกาย จิต และปัญญา การพฒันากาย คือ ทาํ

ใหร่้างกายแข็งแรง มีระเบียบวินยั ขยนัขนัแข็งในการปฏิบติัหน้าท่ี ทาํแต่ส่ิงดีงาม การพฒันาจิต คือ การ

ทาํใหจิ้ตมีความมัน่คง ไม่หวัน่ไหว คิดแต่ในทางท่ีดี มีเมตตากรุณาต่อผูอ่ื้น ดาํเนินชีวิตอย่างระมดัระวงั

ไม่ประมาทเลินเล่อ การพฒันาปัญญาทาํไดส่ี้ทาง ประการท่ีหน่ึง คือ การคบหาสมาคมกบับณัฑิต เป็นคน

ดีมีความรู้เป็นกลัยาณมิตร ประการท่ีสอง คือ การศึกษาหาความรู้จากการอ่านหนังสือ การฟังวิทยุ การดู

โทรทัศน์ ประการท่ีสาม คือ การคิดพิจาณาเร่ืองราวต่าง ๆ ท่ีไดศึ้กษามาทาํให้ความรู้นั้ นแตกฉาน

กวา้งขวางและลึกซ้ึง ประการสุดทา้ย คือ การปฏิบติัความรู้ทฤษฎีท่ีไดม้าอย่างถูกตอ้ง ครบถว้นถูกตอ้ง

ยาวนาน (สัญญา สัญญาวิวฒัน์, 2549) ในทาํนองเดียวกนั พระธรรมปิฎก (2542) ไดก้ล่าวเพิ่มเติมว่า

มนุษยเ์ป็นสัตวท่ี์ฝึกหรือพฒันาได ้ความประเสริฐของมนุษยอ์ยู่ท่ีการฝึกฝนและพฒันา เม่ือพฒันาแลว้

มนุษยจ์ะสามารถเขา้ถึงอิสรภาพและความสุขไดจ้ริง กลายเป็นความประสานเสริมเติมเต็มกลมกลืนซ่ึง

กนัและกนั ทาํให้เกิดความสมบูรณ์และดุลยภาพ หากมนุษยย์งัไม่พฒันามกัจะทาํให้เกิดความแตกต่าง

กลายเป็นความขดัแยง้หรือเกิดความสบัสน ศกัยภาพของการพฒันา คือ การทาํใหค้นสามารถทาํให้ความ

ขดัแยง้ มีความหมายเป็นความประสานเสริม การพฒันามนุษยจ์ะตอ้งประยุกต์ให้เขา้กบัสภาพแวดลอ้ม

ซ่ึงในการพฒันามนุษยห์รือการพฒันาคน ตอ้งทาํทั้ง 3 ขั้นตอน คือ

1. พฤติกรรม ไดแ้ก่ การทาํมาหาเล้ียงชีพ และวิธีปฏิบติัในการผลิตและบริโภค แบ่งปัน

และอยูร่่วมกบัส่ิงแวดลอ้ม

2. จิตใจ ไดแ้ก่ คุณธรรม ความรู้สึก แรงจูงใจ และสภาพจิตใจ เช่น ความสุข ความพอใจ

ความสดช่ืนเบิกบาน

3. ปัญญาหรือปรีชาญาณ ไดแ้ก่ ความรู้เขา้ใจเหตุผล การเขา้ถึงความจริง ความเช่ือ

ทศันคติค่านิยมและแนวความคิดต่าง ๆ

นอกจากนั้น สัญญา สัญญาวิวฒัน์ (2549) ไดก้ล่าวถึงแนวทางการพฒันามนุษย ์ โดยมุ่ง

พฒันามนุษยใ์หมี้คุณภาพ มีคุณธรรม มีความสุขและห่วงใยสภาพแวดลอ้ม กล่าวคือ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

32

1. มีคุณภาพ คือ มีความรู้ ความสามารถ ความชาํนาญ และทกัษะในดา้นใดดา้นหน่ึง จน

สามารถหาเล้ียงตนเองและครอบครัว ตลอดจนดูแลชุมชนและสงัคมได ้

2. มีคุณธรรม คือ เป็นคิดดี พดูดีและทาํดี ประกอบอาชีพสุจริต ไม่เบียดเบียนตนเองและ

ผูอ่ื้น มีเมตตากรุณา ใฝ่รู้อยู่เสมอ รู้จกัตนเอง เสียสละเพ่ือส่วนรวม มองการณ์ไกล ไม่ประมาท และมี

ศีลธรรม

3. มีความสุข คือ มีจิตใจปลอดโปร่งโล่งสบายในการดาํรงชีวิต

4. มีความห่วงใย ส่ิ งแวดล้อม คือ รู้จักใช้ประโยชน์จาก ส่ิ งแวดล้อมและ

ทรัพยากรธรรมชาติ โดยรักษาสมดุลของระบบนิเวศและคงความหลากหลายทางชีวภาพเอาไว ้

2.2 กระบวนการเรียนรู้เพือ่การพฒันามนุษย์

การเรียนรู้เป็นกิจกรรมท่ีมีลกัษณะเป็นกระบวนการในการพฒันาความสามารถ และ

ศกัยภาพของมนุษยใ์นดา้น ต่าง ๆ อาทิ ดา้นความรู้ ดา้นทกัษะ ดา้นเจตคติ เป็นตน้ แนวคิดเก่ียวกบัการ

เรียนรู้เพ่ือการพฒันา ไดรั้บความสนใจจากนกัปรัชญาและนกัจิตวิทยามาตั้งแต่ในอดีต ซ่ึงต่างก็มีแนวคิด

หรือทศันะท่ีหลากหลาย และไดพ้ฒันาไปเป็นรากฐานในการจดัการศึกษาในปัจจุบนั ในฐานะท่ีการศึกษา

เป็นเคร่ืองมือสาํคญัต่อการพฒันามนุษยแ์ละสังคม ดงัท่ี คอร์ปและเลวิส (Kolb and Lewis, 1986: 168-

169) ท่ีกล่าวว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการถ่ายทอดประสบการณ์ เพ่ือเพิ่มพนูประสบการณ์ของผูเ้รียน

2.2.1 ความหมายและจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้

การเรียนรู้เป็นกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนอยา่งต่อเน่ืองกบัมนุษยต์ลอดชีวิต เพ่ือการดาํรงชีพ

และการพฒันาชีวิต นาํสู่การเปล่ียนพฤติกรรมของบุคคลอนัเน่ืองมาจากการเผชิญสถานการณ์ โดยเฉพาะ

สถานการณ์ซํ้ าๆ โดยท่ีไม่ไดเ้ป็นสญัชาติญาณหรือเป็นส่วนของการพฒันาการโดยปกติ การเรียนรู้จึงมี

ลกัษณะเป็นกระบวนการท่ีเป็นลาํดับขั้นตอนท่ีต้องมีการฝึกฝนประสบการณ์ นําสู่การพฒันาหรือ

เปล่ียนแปลงพฤติกรรม (Bower and Hilgard, 1981) สอดคลอ้งกบั คิมเบิล (Kimble, 1964, อา้งถึงใน เอม

อร กฤษณะรังสรรค์, 2556) ท่ีอธิบายว่า การเรียนรู้ คือ การเปล่ียนแปลงศกัยภาพแห่งพฤติกรรมท่ี

ค่อนขา้งถาวร ซ่ึงเป็นผลมาจากการฝึกหรือการปฏิบติั ครอบคลุมทั้ งดา้นความรู้ อารมณ์/ความรู้สึกและ

ทกัษะ/พฤติกรรม

จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ คือ การเกิดการพฒันาหรือการเปล่ียนแปลงในสามระดบั

(Bloom, 1976, อา้งถึงใน ปรียาพร วงศอ์นุตรโรจน์, 2546: 26-27) ไดแ้ก่

1. ดา้นพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ท่ีเป็นความสามารถ

ทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจาํ ความเขา้ใจ การนาํไปใช ้ การวิเคราะห์ การสงัเคราะห์

และประเมินผล

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

33

2. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) คือ ผลของการเรียนรู้ท่ีเปล่ียนแปลงดา้น

ความรู้สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทศันคติ การประเมินค่าและค่านิยม

3. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของการเ รียนรู้ ท่ี เป็น

ความสามารถดา้นการปฏิบติั ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคล่ือนไหว การกระทาํ การปฏิบติังาน

การมีทกัษะและความชาํนาญ

ดงันั้น จึงสรุปไดว้่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการท่ีทาํให้มนุษยมี์การเปล่ียนแปลง

หรือการพฒันาเจตคติ ทั้งดา้นความรู้ ความเขา้ใจ ความมุ่งมัน่และพฤติกรรมหรือทกัษะต่างๆ อยา่งถาวร

2.2.2 ขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้

มลูลีย ์(Mouly, 1973, อา้งถึงใน เอมอร กฤษณะรังสรรค์, 2555) ไดก้าํหนดลาํดบั

ขั้นกระบวนการเรียนรู้ไว ้เจ็ดขั้นตอน ไดแ้ก่

1. การเกิดแรงจูงใจ (Motivation) เม่ือใดก็ตามท่ีอินทรียเ์กิดความตอ้งการหรืออยู่

ในภาวะท่ีขาดสมดุลก็จะมีแรงขบั (Drive) หรือแรงจูงใจ (Motive) เกิดข้ึนผลกัดนัใหเ้กิดพฤติกรรมเพื่อหา

ส่ิงท่ีขาดไปนั้นมาใหร่้างกายท่ีอยูใ่นภาวะท่ีพอดี แรงจูงใจมีผลใหแ้ต่ละคนไวต่อการสมัผสัส่ิงเร้าแตกต่าง

กนัเป็นส่ิงท่ีจะกาํหนด ทิศทางและความเขม้ของพฤติกรรมและเป็นส่ิงจาํเป็นเบ้ืองตน้ สาํหรับการเรียนรู้

2. การกาํหนดเป้าประสงค์ (Goal) เม่ือมีแรงจูงใจเกิดข้ึนแต่ละบุคคลก็จะกาํหนด

เป้าประสงคท่ี์จะก่อใหเ้กิดความ พึงพอใจ เป้าประสงคจึ์งเป็น ผลบั้นปลายท่ีอินทรียแ์สวงหา ซ่ึงบางคร้ัง

อาจจะชดัเจน บางคร้ังอาจจะเล่ือนลอย บางคร้ังอาจกาํหนดข้ึน เพ่ือสนองความตอ้งการทางสรีระ หรือ

บางคร้ังเพ่ือสนองความตอ้งการทางสงัคม

3. การเกิดความพร้อม (Readiness) คนแต่ละคนมีขีดความสามารถท่ีจะรับ และ

ความตอ้งการพ้ืนฐานเพ่ือท่ีจะเสาะแสวงหาความพอใจ หรือหาส่ิงท่ีจะสนอง ความตอ้งการไดจ้าํกดัและ

แตกต่างกนัไปตามสภาพความพร้อมของแต่ละ บุคคล เช่น เด็กทารกซ่ึงมีความเจริญ ทางสรีระ ยงัไม่มาก

ก็จะไม่พร้อมท่ีจะเรียนรู้วิธีการหาอาหารดว้ยตนเองได ้เด็กท่ีร่างกายอ่อนแอ หรือมีความบกพร่องของ

อวยัวะบางส่วน ก็จะไม่พร้อมในการเล่นกีฬาบางอย่างได ้กล่าวไดว้่าสภาพความพร้อมในการเรียนของ

บุคคลนั้นจะตอ้งอยูก่บัองคป์ระกอบ อ่ืน ๆ หลายประการ อาทิเช่น ความเจริญเติบโตของโครงสร้างทาง

ร่างกาย การจูงใจ ประสบการณ์ดว้ย เป็นตน้ เร่ืองของความพร้อมน้ีนับว่า เป็นส่ิงจาํเป็นมากท่ีจะตอ้งดี

ก่อนท่ีจะเกิดการเรียนรู้

4. การมีอุปสรรค (Obstacle) อุปสรรคจะเป็นส่ิงขวางกั้นระหว่างพฤติกรรมท่ีเกิด

จากแรงจูงใจกบัเป้าประสงค ์ถา้หากไม่มีอุปสรรค์ หรือส่ิงกีดขวางเราก็จะไปถึงเป้าประสงค์ไดโ้ดยง่าย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

34

ซ่ึงเราก็ถือว่าสภาพการณ์เช่นน้ี ไม่ไดช่้วยใหเ้กิดความตอ้งการท่ีจะแกปั้ญหาและเรียนรู้ ตรงกนัขา้มการท่ี

เราไม่สามารถไปถึงเป้าหมายได้จะก่อให้เกิดความเครียดและจะ เกิดความพยายามท่ีจะหาวิธีการ

แกปั้ญหาซ่ึงจะทาํใหเ้กิด การเรียนรู้ข้ึน

5. การตอบสนอง (Response) เม่ือบุคคลมีแรงจูงใจ มีเป้าประสงค ์เกิดความพร้อม

และเผชิญกับอุปสรรคเขา้ก็จะมีพฤติกรรมต่าง ๆ เกิดข้ึน พฤติกรรมนั้ นอาจเร่ิมดว้ยการตัดสินใจ เกิด

อาการตอบสนองท่ีเหมาะสมทดลองทาํ แลว้ปรับปรุงแกไ้ขการตอบสนองนั้นให้แกปั้ญหาไดดี้ท่ีสุด ซ่ึง

แนวทางของ การตอบสนองอาจมุ่งสู่เป้าประสงคโ์ดยตรงหรือโดยทางออ้มอยา่งใดอยา่งหน่ึง

6. การเสริมแรง (Reinforcement) การเสริมแรงก็หมายถึง การไดร้างวลัหรือให้ส่ิง

เร้าท่ี ก่อใหเ้กิดความพอใจ ซ่ึงปกติผูเ้รียนจะไดรั้บ หลงัจากท่ีตอบสนองแลว้ ตวัเสริมแรงไม่จาํเป็นตอ้ง

เป็นส่ิงของหรือวตัถุท่ีมองเห็นได้เสมอไป เพราะความสาํเร็จ ความรู้ ความกา้วหน้า ฯลฯ ก็เป็นตัว

เสริมแรงไดเ้ช่นเดียวกนั

7. การสรุปความเหมือน (Generalization) หลงัจากท่ีผูเ้รียนสามารถตอบสนอง

หรือหาวิธีการท่ีจะมุ่งสู่เป้าประสงคไ์ด ้แลว้ เขาก็อาจจะประสงคใ์ชก้บัปัญหา หรือสถานการณ์ท่ีจะพบใน

อนาคตไดน้ั้นก็แสดงว่า ผูเ้รียนเกิดความสามารถท่ีจะสรุปความ เหมือนระหว่างสถานการณ์การเรียนรู้ท่ีมี

มาก่อน กบัปัญหาหรือสถานการณ์ท่ีเพิ่งจะพบใหม่ ซ่ึงเป็นการขยายขอบเขตของพฤติกรรม การเรียนรู้ให้

กวา้งขวางออกไป

ในขณะท่ี กาเย่ (Gagne, 1977, อา้งถึงใน มาลี จุฑา, 2544: 65) ไดก้ล่าวถึง

กระบวนการเรียนรู้ไว ้8 ขั้นตอนคือ

1. การจูงใจ (Motivation Phase) ก่อนการเรียนรู้จะตอ้งมีการจูงใจให้ผูเ้รียนอยากรู้

อยากเห็น และมีส่วนร่วมในกิจกรรมซ่ึงจะช่วยใหก้ารเรียนรู้ดาํเนินการไปไดด้ว้ยดี

2. ความเขา้ใจ (Apprehending Phase) ในการเรียนรู้ผูเ้รียนจะตอ้งเขา้ใจในบทเรียน

จึงจะช่วยใหก้ารเรียนรู้มีประสิทธิภาพ

3. การไดรั้บ (Acquisition Phase) เม่ือผูเ้รียนเกิดความเข้าใจในบทเรียน จะ

ก่อใหเ้กิดการไดรั้บความรู้เพ่ือเก็บไวห้รือจดจาํบทเรียนไวต่้อไป

4. การเก็บไว ้(Retention Phase) หลงัจากท่ีผูเ้รียนไดรั้บความรู้ก็จะเก็บความรู้

เหล่านั้นไวต้ามสมรรถภาพการจาํของบุคคล

5. การระลึกได ้(Recall Phase) เม่ือผูเ้รียนเก็บความรู้ไวก้็จะถูกนาํมาใชใ้นโอกาส

ต่าง ๆ เท่าท่ีจะระลึกได ้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

35

6. ความคลา้ยคลึง (Generalization Phase) ผูเ้รียนจะนาํส่ิงท่ีระลึกไดไ้ปใช ้และเม่ือ

พบกบัสถานการณ์หรือส่ิงเร้าท่ีคลา้ยคลึงกนัจะนาํความรู้ดงักล่าวไปสมัพนัธก์บัการเรียนรู้ในความรู้ใหม่

ท่ีคลา้ยคลึงกนั

7. ความสามารถในการปฏิบติั (Performance Phase) หลงัจากท่ีไดเ้รียนรู้แลว้ผูเ้รียน

ตอ้งนาํความรู้ท่ีเรียนรู้ไปแลว้นั้นไปปฏิบติัไดอ้ยา่งถกูตอ้ง

8. การป้อนกลบั(Feedback Phase) เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ ว่าผูเ้รียนเรียนรู้

ไดถ้กูตอ้งเพียงใด สอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคข์องบทเรียนหรือไม่ จะไดน้าํขอ้มูลไปปรับปรุงและพฒันา

กระบวนการเรียนรู้ต่อไป

2.2.3 ทฤษฏีการเรียนรู้

การเรียนรู้เป็นกระบวนการทั้ งดา้นสมรรถภาพ ทกัษะและทศันคติท่ีคนเราไดรั้บ

ตั้งแต่เป็นทารก จนเป็นผูใ้หญ่ กระบวนการเรียนรู้จึงเป็นส่วนสาํคญัของความสามารถของมนุษย ์ ดงัท่ี

วารินทร์ รัศมีพรหม (2542: 152) อธิบายว่า การเรียนรู้ คือ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ซ่ึงเป็นผลมาจาก

ประสบการณ์ท่ีคนเรามีปฏิสัมพนัธ์กบัส่ิงแวดลอ้ม ในการเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึน ไดมี้การศึกษาคน้ควา้ดา้น

ความรู้ท่ีเก่ียวขอ้งกบัการเรียนรู้ จนเกิดเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ สอดคลอ้งกบั ทิศนา แขมมณี (2548: 43)

ท่ีกล่าวว่าทฤษฎีการเรียนรู้ เป็นแนวความคิดท่ีไดรั้บการยอมรับว่าสามารถใชอ้ธิบายลกัษณะของการเกิด

การเรียนรู้ หรือการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมได ้

ดงันั้น จึงกล่าวไดว้่า ทฤษฎีการเรียนรู้ จึงเป็นการสงัเคราะห์แนวความคิด หลกัการ

รวมทั้งกระบวนการเรียนรู้ท่ีไดจ้ากการศึกษาคน้ควา้ และทดลองจนเป็นท่ียอมรับว่า สามารถอธิบายถึง

ลกัษณะของการเกิดการเรียนรู้ หรือการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมซ่ึงเป็นผลมาจากประสบการณ์ท่ีมี

ปฏิสมัพนัธก์บัส่ิงแวดลอ้ม ซ่ึงแบ่งออกเป็นส่ีทฤษฏีท่ีสาํคญัๆ ไดแ้ก่ ทฤษฏีพฤติกรรมนิยม ทฤษฏีความรู้

เขา้ใจ ทฤษฏีกลุ่มมนุษยนิยม และทฤษฏีผสมผสาน (ปรียาพร วงค์อนุตรโรจน์, 2546; ทิศนา แขมมณี,

2548) สรุปความได ้ดงัน้ี

1. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) เป็นทฤษฏีท่ีเน้นการเรียนรู้ท่ีเกิดการ

เปล่ียนแปลงภายในและแสดงออกดว้ยพฤติกรรมท่ีปรากฏใหเ้ห็นอยา่งชดัเจน เนน้พฤติกรรมท่ีสังเกตได ้

โดยสภาพแวดลอ้มจะเป็นตวักาํหนดพฤติกรรม พฤติกรรมการเรียนรู้ถูกกาํหนดโดยประสบการณ์ การ

เรียนรู้จะเกิดข้ึน เม่ือมีการเช่ือมโยงระหว่างส่ิงเร้าและการตอบสนอง พฤติกรรมสามารถปรับเปล่ียนได ้

สร้างได ้โดยมีการวางเง่ือนไข มีการเสริมแรง ใหร้างวลั มีการลงโทษ ควรเลือกการเสริมแรงใหเ้หมาะกบั

สถานการณ์ ในการจดัการเรียนการสอน ครูควรจะใชก้ารเสริมแรง การเรียนรู้ความแตกต่าง และ ความ

เหมือนกนัเป็นส่ิงสาํคญัท่ีใหก้ารเรียนรู้อยูไ่ดน้าน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

36

ทฤษฏีพฤติกรรมนิยม แบ่งย่อยออกเป็นหลายทฤษฏี เช่น ทฤษฎีการเช่ือมโยง

ของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory) ทฤษฎีการวางเง่ือนไข (Conditioning Theory)

ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮลัล ์(Hull’s Systematic Behavior Theory) (ทิศนา แขมมณี, 2548 : 50)

2. ทฤษฎีความรู้ความเขา้ใจหรือทฤษฎีปัญญา (Cognitive Theories) อธิบายว่าการ

เรียนรู้เป็นการรับรู้และหย ัง่เห็น (Insight) พฤติกรรมมีทั้ งพฤติกรรมภายนอก และพฤติกรรมภายในซ่ึง

เนน้ในดา้นความคิด การเรียนรู้เกิดจากการหย ัง่เห็นโครงสร้างเป็นกลุ่ม ๆ ของกระบวนการท่ีจะแกปั้ญหา

ทฤษฏีน้ีให้ความสาํคญักบัมนุษยว์่าเป็นผูมี้สติปัญญา สามารถรับรู้และเขา้ใจความจริงอาศยัสติปัญญา

ดงันั้น จึงเนน้การส่งเสริมบรรยากาศใหผู้เ้รียนเกิดความสนใจในการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิดความพร้อมไปสู่

กระบวนการเรียนรู้ต่อไป

ทฤษฏีความรู้เขา้ใจแบ่งเป็นทฤษฎีย่อย ๆ เช่น ทฤษฎีกลุ่มเกสต์ตลัท์ (Gestalt

Theory) ทฤษฎีเคร่ืองหมาย (Sign Theory) ทฤษฎีพฒันาการทางสติปัญญา (Intellectual Development

Theory) ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learning) ทฤษฎีสนาม

(Field Theory) ทฤษฎีความยืดหยุ่นทางปัญญา (Cognitive Flexibility Theory) ทฤษฎีโครงสร้างความรู้

(Schema Theory) (ทิศนา แขมมณี, 2548)

3. ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม (Humanisticism) เป็นทฤษฏีท่ีมีพ้ืนฐานจากแนวคิด

มนุษยนิยม ใหค้วามสาํคญัของการเป็นมนุษย ์และมองมนุษยว์่ามีคุณค่า มีความคิด มีสมอง และอิสรภาพ

ในการกระทาํ การเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีน้ีเช่ือว่าผูเ้รียนเป็นศูนยก์ลางของการเรียน การจดัการ

เรียนการสอนจึงมุ่งให้เกิดการเรียนรู้ทั้ งด้านความเข้าใจ ทักษะและเจตคติไปพร้อม ๆ กันโดยให้

ความสาํคญักบัความรู้สึกนึกคิด ผูเ้รียนควรไดรั้บความช่วยเหลือจากครูในทุกดา้น ไม่ใช่เฉพาะการไดรั้บ

ความรู้ หรือการมีความเฉลียวฉลาดเพียงอยา่งเดียว แต่ควรไดรั้บความช่วยเหลือให้รู้จกัศึกษาและสาํรวจ

เก่ียวกบัอารมณ์ความรู้สึก และทาํความเขา้ใจเก่ียว กบัความรู้สึกนึกคิด เจตคติ และจุดมุ่งหมายความ

ตอ้งการของตนเอง และมีแรงจูงใจภายในท่ีจะพฒันาศกัยภาพของตนเองไปสู่ความเป็นมนุษย ์ หากบุคคล

ไดรั้บอิสรภาพและเสรีภาพ มนุษยก์็จะพยายามพฒันาตนเองไปสู่ความเป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ (ทิศนา แขม

มณี, 2548: 68) โดยส่งเสริมใหผู้เ้รียนมีความสาํนึกรับผดิชอบตวัเอง นาํตนเอง พฒันาตนเอง ดงันั้น ใน

การจดัการเรียนการสอนตอ้งเคารพในความเป็นมนุษยข์องผูเ้รียนเป็นพิเศษ

ทฤษฏีกลุ่มมนุษยนิยม แบ่งเป็นทฤษฏีย่อยๆ เช่น ทฤษฎีความตอ้งการของมาส

โลว ์ (Abraham H. Maslow) ทฤษฎีของโรเจอร์ (Carl R. Rogers) ทฤษฎีของคอมบส์ (Arther Combs)

4. ทฤษฎีผสมผสาน (Intergrated Theory) เป็นการผสมผสานของแนวคิดและ

ทฤษฏีต่างๆ มีนกัวิชาการท่ีสาํคญัๆ ของกลุ่มน้ี ไดแ้ก่ ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่ (Gagne’s eclecticism)

และ ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลมู (Bloom's Taxonomy)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

37

4.1 ทฤษฏีการเรียนรู้ของกาเย่ (Robert Gagne) เป็นการผสมผสานทฤษฎี

พฤติกรรมนิยมกบัทฤษฎีความรู้ความเขา้ใจ แลว้สรุปเป็นลาํดบัขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้ ดงัน้ี

4.1.1 การเรียนรู้สัญญาณ (Sign Learning) เป็นการเรียนรู้ท่ีอยู่ในระดบั

ตํ่าสุด เป็น พฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนอย่างไม่ตั้ งใจ การเรียนรู้สัญญาณเป็นส่ิงท่ีสามารถสังเกตเห็นจาก

ชีวิตประจาํวนั ไดแ้ก่ การกระพริบตา เม่ือมีของมากระทบตาเรา

4.1.2 การเรียนรู้ความสมัพนัธร์ะหว่างส่ิงเร้าและการตอบสนอง (Stimulus

Response Learning) เป็นการเคล่ือนไหวของอวยัวะต่างๆ ของร่างกายต่อส่ิงเร้า เป็นการเน้น ขอ้ต่อ

ระหว่างส่ิงเร้าและการตอบสนองโดยผูเ้รียนเป็นผูก้ระทาํเอง

4.1.3 การเรียนรู้การเช่ือมโยง (Chaining) เป็นการเรียนรู้ท่ีเกิดจากการ

เช่ือมโยง ระหว่างส่ิงเร้าและการตอบสนองติดต่อกนัเป็นการเรียนรู้ในดา้นทกัษะ เช่น การเขียน การอ่าน

การพิมพดี์ด และการเล่นดนตรี เป็นตน้

4.1.4 การเช่ือมโยงทางภาษา (Verbal Association) เป็นการเช่ือมโยง

ความหมาย ทางภาษาโดยออกมาเป็นคาํพูด แลว้จึงใชต้วัอกัษร เช่น การเรียนการใชภ้าษา รวมทั้ งการ

เขียนตวัอกัษรดว้ย

4.1.5 การแยกประเภท (Multiple Discrimination Learning) เป็น

ความสามารถใน การแยกส่ิงเร้าและการตอบสนอง ผูเ้รียนเห็นความแตกต่างของส่ิงของประเภทเดียวกนั

เป็นการ จาํแนกความแตกต่างดา้นทกัษะและภาษา สามารถแยกลกัษณะของลายเสน้จากหมึกเขียนได ้

4.1.6 การเรียนรู้ความคิดรวบยอด (Concept Learning) เป็นความสามารถท่ี

ผูเ้รียนมองเห็นลกัษณะร่วมของส่ิงต่างๆ เช่น เม่ือนึกถึงวิทยุก็นึกถึงความถ่ีของเสียง การใช ้ไฟฟ้าและ

แบตเตอร่ี

4.1.7 การเรียนรู้หลกัการ (Principle Learning) เป็นการเรียนรู้ท่ีเกิดจากการ

นาํ ความคิดรวบยอดสองความคิดหรือมากกว่า นั้นมาสัมพนัธ์กนั แลว้สรุปตั้ งเป็นกฎเกณฑ์ข้ึน เช่น

ไฟฟ้า เป็นส่ือนาํความร้อน

4.1.8 การเรียนรู้การแกปั้ญหา (Problem-Solving Learning) การเรียนรู้ดว้ย

การ แกปั้ญหา เกิดข้ึนจากท่ีผูเ้รียนนาํหลกัการท่ีมีประสบการณ์มาก่อนมาใชใ้นการแกปั้ญหา เป็น

ความสมัพนัธร์ะหว่างส่ิงแวดลอ้มและปัญหา

4.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลมู (Benjamin S. Bloom) ไดเ้สนอทฤษฎีการเรียนรู้

ในโรงเรียน โดยใหค้วามสาํคญัต่อพ้ืนฐานของผูเ้รียนและคุณลกัษณะของผูเ้รียนแต่ละคน นอกจากนั้น

ไดแ้บ่งจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้เป็นสามดา้น ไดแ้ก่ ดา้นพุทธพิสัย (Cognitive Domain) ทกัษะพิสัย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

38

(Psychomotor Domain) และจิตพิสัย (Affective Domain) และไดเ้สนอกระบวนการเรียนรู้ออกเป็น 6

ขั้นตอน (ชาตรี สาํราญ, 2545: 34-35) ไดแ้ก่

4.2.1 ความรู้ หลงัจากท่ีบุคคลไดเ้รียนรู้ไปแลว้จะเกิดเป็นความรู้ ติดตวั

ผูเ้รียน โดยวดัไดจ้ากการจาํไดห้รือท่องจาํได ้เป็นตน้

4.2.2 ความเขา้ใจ ต่อจากขั้นท่ี 1 บุคคลจะแปลความหมายหรืออธิบายส่ิงท่ี

ไดเ้รียนรู้มาแลว้ในขั้นท่ี 1 เกิดเป็นความเขา้ใจ

4.2.3 การนาํไปใช ้เม่ือบุคคลไดเ้รียนรู้มีความรู้ความเขา้ใจแลว้จะสามารถ

นาํความรู้ความเขา้ใจไปใชไ้ด ้เช่น เรียนรู้การหาพื้นท่ีของรูปส่ีเหล่ียม ใชสู้ตรดา้นกวา้งคูณยาว ผูเ้รียน

สามารถอธิบายได ้ต่อจากนั้นผูเ้รียนสามารถนาํไปคาํนวณหาพ้ืนท่ีของหอ้งเรียนได ้เป็นตน้

4.2.4 การวิเคราะห์ เม่ือบุคคลได้เรียนรู้ถึงขั้ นท่ี 3 แลว้บุคคลจะมี

ความสามารถในการวิเคราะห์หรือสร้างความคิดข้ึนมาใหม่ เช่น เม่ือนาํดูพ้ืนท่ีของส่ีเหล่ียมใหญ่ ๆ ก็มา

คิดว่าจะคิดคาํนวณอยา่งไร ใชสู้ตรใดมาหาผลรวมของพ้ืนท่ี เป็นตน้

4.2.5 การสังเคราะห์ เม่ือบุคคลได้เรียนรู้ถึงขั้นท่ี 4 แลว้บุคคลจะมี

ความสามารถในการสังเคราะห์หรือสร้างสูตรข้ึนมาใหม่ เช่น การนาํผลรวมพื้นท่ีของหน่วยย่อย ๆ มา

รวมกนัจะไดเ้ป็นพ้ืนท่ีของส่ีเหล่ียมใหญ่ จึงไดสู้ตรว่าพ้ืนท่ีส่ีเหล่ียมเป็นผลคูณของดา้นกวา้งและดา้นยาว

เป็นตน้

4.2.6 การประเมินผล เม่ือบุคคลไดเ้รียนรู้ถึงขั้นท่ี 5 แลว้ บุคคลจะมี

ความสามารถในการตดัสินหรือตีค่าหรือประเมินค่าของส่ิงท่ีพบเห็นว่าถกูตอ้งและดีงามหรือไม่ เป็นตน้

องคป์ระกอบสาํคญัท่ีทาํใหบ้รรลุจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ ไดแ้ก่

1. อุปกรณ์การสอน (Instructional Material) อุปกรณ์ท่ีจะช่วยให้ครูไดใ้ช้

ในการสอน ผูเ้รียนใหส้ะดวกและเขา้ใจไดง่้าย

2. กระบวนการสอนของครู (Teaching Process) จากวิธีการถ่ายทอดความรู้

ของครู การอธิบายใหผู้เ้รียนไดเ้ขา้ใจ

3. กระบวนการของผูเ้รียนในการเรียนการสอน (Student Processing of

Instruction) เนน้กระบวนการเรียนรู้ของตวัผูเ้รียน โดยอาศยัความตั้ งใจเอาใจใส่ และความ สามารถใน

การรับรู้และเรียนรู้

4. สภาพแวดลอ้มทางบา้นและการยอมรับของสังคม (Home Environment

and Social Support System) สภาพแวดลอ้มทั้ งทางบา้นและสังคมทัว่ไปมีผลต่อการเรียนรู้ เช่น เพ่ือน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

39

วิทย ุโทรทศัน์ หนงัสือพิมพ ์ซ่ึงมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ ผูเ้รียนไดเ้รียนรู้จากส่ิงเหล่าน้ี โดยการฟัง การพบ

เห็น การติดต่อ บางคร้ังเกิดการเรียนรู้โดยไม่รู้ตวั และบางคร้ังก็เป็นการ เลียนแบบ

ดว้ยเหตุน้ี จึงเน้นบทบาทและคุณภาพของผูส้อนว่ามีความสาํคญัต่อการ

จดัการเรียนรู้ โดยกาํหนดบทบาทของผูส้อน ว่ามีบทบาทในการช้ีแนะ การมีส่วนร่วม การเสริมแรง และ

การใหข้อ้มลูยอ้นกลบัและแกไ้ขขอ้บกพร่อง สอดคลอ้งกบัแนวคิดของบอดดิทท์ และคณะ (Bodditt and

other, 2000: 29–35) กล่าวถึงรูปแบบการเรียนสอนท่ีใหผู้เ้รียนจดักระบวนการเรียนรู้จากสภาพจริงดว้ย

ตนเอง สอดคลอ้งกบั ทิศนา แขมมณี (2550: 133-137) ท่ีให้ความสาํคญัต่อการจดับรรยากาศห้องเรียน

โดยเน้นการมีส่วนร่วมของผูเ้รียน โดยเน้นให้ผูเ้รียนแต่ละคนได้สร้างประสบการณ์การเรียนรู้จาก

ประสบการณ์เดิมเช่ือมโยงกบัประสบการณ์ใหม่ โดยการแสวงหาขอ้มูลจากแหล่งขอ้มูลท่ีหลากหลาย

ผา่นกระบวนการทาํงานกลุ่มและทาํงานเป็นทีม และสอดคลอ้งกบั เชียรศรี วิวิธศิริ (2534: 13 –139) ท่ี

กล่าวถึงการจดัการเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงกบัแรงจูงใจ เพ่ือให้เกิดความสนใจและมีความตอ้งการท่ีจะเรียนรู้

และเม่ือส่ิงท่ีเรียนนั้นมีความจาํเป็นและเป็นประโยชน์สามารถนาํไปใชไ้ด้ทนัที รวมทั้ งบทเรียนนั้ น

สมัพนัธก์บัสภาพปัญหาท่ีมีอยูจ่ริงในสงัคม การไดมี้โอกาสฝึกฝนการคิดวิเคราะห์ แกปั้ญหา จะทาํใหก้าร

เรียนรู้เพิ่มพนูข้ึน

3. การประเมนิการพฒันามนุษย์

การประเมินเป็นกลไกสาํคญันาํไปสู่การปรับปรุงและพฒันาการดาํเนินการท่ีมุ่งสู่เป้าหมาย

โดยเน้นประโยชน์ท่ีผูรั้บบริการและผูเ้ก่ียวขอ้ง การประเมินไม่ใช่เป็นการตรวจสอบเพื่อจบัผิด แต่มี

เป้าหมายเพ่ือพฒันาการดาํเนินการใหมี้คุณภาพ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลยิง่ๆ ข้ึน

3.1 ความหมายของการประเมนิ

การประเมิน หมายถึงกระบวนการตดัสินคุณค่าของส่ิงใดส่ิงหน่ึง โดยนาํผลการวดัมา

เทียบกับเกณฑ์ท่ีกาํหนดไว ้และสามารถนําผลการประเมินไปใช้ในการตัดสินใจเพ่ือวางแผนการ

ดาํเนินงานในคร้ังต่อไป ดงัท่ี ศิริวฒัน์ วรนาม (2540: 18) กล่าวไวว้่า การประเมินหมายถึง วิธีการตดัสิน

คุณค่าหรือตีราคาของส่ิงท่ีถูกประเมิน และเป็นการเสนอสารสนเทศ เพ่ือช่วยเสนอทางเลือกในการ

ตดัสินใจต่อการดาํเนินการต่าง ๆ การประเมินยงัมีลกัษณะเป็น “กระบวนการ” ดงัท่ี สมหวงั พิธิยา

นุวฒัน์ (2544: 21) อธิบายว่า การประเมิน หมายถึง กระบวนการท่ีก่อให้เกิดสารสนเทศ (เชิงคุณค่า) เพ่ือ

ช่วยใหผู้มี้อาํนาจหรือผูเ้ก่ียวขอ้งไดต้ดัสินใจเลือกทางเลือกไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ สอดคลอ้งกบั ศิริชยั

กาญจนวาสี (2545: 21-22) ไดส้รุปความหมายของการประเมินไวว้่า เป็นกระบวนการศึกษาส่ิงต่างๆโดย

ใช้ระเบียบวิธีวิจัย (Research oriented) เป็นการตรวจสอบการบรรลุผลตามวตัถุประสงค์ ช่วยเสนอ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

40

สารสนเทศเพ่ือการตดัสินใจและเป็นการตดัสินคุณค่าของส่ิงท่ีมุ่งประเมิน นอกจากนั้น การประเมินตอ้ง

มีหลกัการหรือเกณฑก์ารประเมิน ดงัท่ี พิสณุ ฟองศรี (2549: 4) ไดใ้หค้วามหมายของการประเมินว่า การ

ประเมิน หมายถึง กระบวนการตดัสินคุณค่าของส่ิงหน่ึงส่ิงใด โดยนาํสารสนเทศหรือผลจากการวดัมา

เปรียบเทียบกบัเกณฑท่ี์กาํหนดไว ้

3.2 ความสําคญั/ประโยชน์ของการประเมนิ

การประเมินมีความสาํคญัต่อกระบวนการบริหารงาน เน่ืองจากให้สารสนเทศท่ีเป็น

ประโยชน์ต่อการดาํเนินงานดา้นต่างๆ ดงัท่ี ศิริชยั กาญจนวาสี (2537: 67) ไดก้ล่าวถึงประโยชน์ของการ

ประเมินในดา้นต่างๆ เช่น ดา้นบริหาร (Administrative) การประเมินสามารถใชเ้ป็นเคร่ืองมือในการ

ติดตาม กาํกบัการดาํเนินงาน ให้เป็นไปตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ดา้นจิตวิทยา

(Psychological) การประเมินสามารถใชเ้ป็นกลยทุธ ์สาํหรับการกระตุน้ใหเ้ร้าความสนใจ และสร้างความ

ต่ืนตัวในการปฏิบัติงานด้านรัฐศาสตร์ (Sociological) การประเมินสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการ

ตรวจสอบความรับผดิชอบต่อการปฏิบติั (Accountability) ตลอดจนสามารถใชเ้ป็นกลยุทธ์ในการสร้าง

แรงสนบัสนุน

นอกจากน้ี สมคิด พรมจุย้ (2535: 11) ไดช้ี้แจงใหเ้ห็นถึงประโยชน์ของการประเมินท่ีมี

ต่อการวางแผน การบริหารงาน ซ่ึงพอสรุปไดด้งัน้ี

1. ช่วยให้ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพ่ือนาํไปใช้ในการตัดสินใจเก่ียวกบัการกาํหนด

แผนงานและโครงการ การตรวจสอบความพร้อมของทรัพยากรต่างๆ ท่ีจาํเป็นตอ้งใชใ้นการดาํเนินงาน

กิจกรรม ตลอดจนความเป็นไปไดใ้นการจดักิจกรรมต่างๆ

2. ช่วยในการจดัหาขอ้มลูเก่ียวกบัความกา้วหน้า ปัญหาอุปสรรคของการดาํเนินงานท่ี

นาํมาใชใ้นการตดัสินใจเก่ียวกบัการปรับปรุงหรือเปล่ียนแปลงแกไ้ขการดาํเนินงานโครงการให้เป็นไป

ไดต้ามทิศทางท่ีตอ้งการ

3. ช่วยในการจดัหาขอ้มลูเก่ียวกบัความสาํเร็จและความลม้เหลวของกิจกรรมท่ีนาํมาใช้

ในการตดัสินใจ และวินิจฉยัท่ีจะดาํเนินงานในช่วงต่อไปหรือไม่ จะยกเลิกหรือจะขยายการดาํเนินงาน

ต่อไปอีก

4. ช่วยให้ไดข้อ้มูลท่ีบ่งบอกประสิทธิภาพของการดาํเนินงานว่าเป็นอย่างไรคุม้ค่ากบั

การลงทุนหรือไม่

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

41

5. เป็นแรงจูงใจใหผู้ป้ฏิบติังานไดมี้ขอ้มลูเก่ียวกบัการปฏิบติังาน และนาํขอ้มลูมาใชใ้น

การปรับปรุงและพฒันางานไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ

ดงันั้น จึงกล่าวไดว้่า การประเมินมีความสาํคญัต่อกระบวนการบริหารงานต่าง ๆ เป็น

อย่างยิ ่ง เพราะการประเมินจะทาํให้ไดข้อ้มูลสารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์ต่อการดาํเนินงานได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ

3.3 ลกัษณะของการประเมนิ

การประเมินมีลกัษณะเป็นวิทยาการข้ามสาขา (Tran discipline) ซ่ึงสุวิมล ว่องวานิช

(2541: 162-164) กล่าวว่าเป็นวิทยาการท่ีเป็นเคร่ืองมือ (Tool Discipline) สามารถนาํไปใชข้า้มศาสตร์ได้

เช่นเดียวกบัวิทยาการดา้นสถิติศาสตร์ การวดัและตรรกวิทยา และสามารถนาํความรู้จากศาสตร์สาขาอ่ืน

มาใชใ้นการประเมินได้เช่นกัน วิทยาการข้ามสาขาประกอบด้วย 2 ส่วน คือส่วนท่ีเป็นแกน (Core

Discipline) ซ่ึงเป็นแนวคิดทฤษฎีเก่ียวกบัการประเมิน และส่วนท่ีเป็นการประยุกต์ (Applied Discipline)

ซ่ึงเป็นการนาํเน้ือหาไปใชก้บัวิทยาการสาขาอ่ืนๆ ท่ีเรียกว่า Big Six คือการประเมินผลิตภณัฑ ์(Personnel

Evaluation) การประเมินผลการดาํเนินงาน (Performance Evaluation) การประเมินผลิตภณัฑ์(Product

Evaluation) การประเมินขอ้เสนอ หรือเคา้โครง (Proposal Evaluation) การประเมินนโยบาย (Policy

Evaluation) และการประเมินโครงการ (Program Evaluation)

การประเมิน นอกจากจะเป็นการตดัสินคุณค่าของส่ิงท่ีประเมินแลว้ ยงัช่วยพฒันาส่ิงท่ีจะ

ประเมินหรือโครงการท่ีประเมินใหบ้รรลุจุดมุ่งหมายไดด้ว้ย ดงันั้นถา้จะให้การประเมินมีความสมบูรณ์

และอยูใ่นวิสยัท่ีทาํได ้ นกัประเมินก็ควรจะกาํหนดเกณฑก์ารประเมินเพ่ือตดัสินคุณค่าของส่ิงท่ีประเมิน

หรือโครงการท่ีประเมิน และทาํหน้าท่ีเป็นผูอ้าํนวยความสะดวก (Facilitator) รวมทั้ งเป็นนักพฒันา

โครงการท่ีจะประเมินไปในตวัดว้ย

3.4 วธิีการประเมนิ

ศิริชยั กาญจนวาสี (2545: 10-11) ไดแ้บ่งวิธีการประเมินเป็นสองวิธี ไดแ้ก่

1. การประเมินเชิงระบบ

การประเมินดว้ยวิธีเชิงระบบ (Systematic Approach) จะใชแ้นวทางปรนัยนิยม

(Objectivism) โดยนกัประเมินจะมีการวางแผนการดาํเนินงานอย่างแน่ชดัและใชเ้คร่ืองมือมาตรฐานใน

การรวบรวม วิเคราะห์ขอ้มลู และสรุปผลตามเกณฑม์าตรฐานสากลท่ีกาํหนดไว ้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

42

2. การประเมินเชิงธรรมชาติ

การประเมินด้วยวิธีเชิงธรรมชาติ(Naturalistic Approach) จะใช้แนวทางอตันัย

นิยม (Subjectivism) การประเมินอยูบ่นหลกัการของวิธีการดาํเนินงานท่ียืดหยุ่น นักประเมินจะกาํหนด

มาตรฐานหรือเกณฑ์ในการตดัสินคุณค่าข้ึนเองตามเหตุผลของตนและรวบรวมขอ้มูลสารสนเทศอย่าง

ครอบคลุมตามสภาพธรรมชาติ และใชค้วามรู้ ความเช่ียวชาญของผูป้ระเมินเป็นเกณฑใ์นการสรุปผล

แนวทางการประเมินทั้งสองวิธี ต่างมีขอ้ดีและขอ้เสีย โดยวิธีเชิงระบบ มีขอ้ดีท่ีสาํคญั

เร่ืองความชัดเจน เป็นปรนัย น่าเช่ือถือ และนักประเมินไม่ต้องเช่ียวชาญ ส่วนข้อเสียท่ีสําคัญคือ

สารสนเทศท่ีไดจ้ะจาํกดัตามกรอบท่ีกาํหนดไว ้ขาดความลึกซ้ึง สาํหรับวิธีเชิงธรรมชาติมีขอ้ดีท่ีสาํคญั

ดา้นความยดืหยุน่ เขา้ถึงสภาพท่ีแทจ้ริงของส่ิงท่ีประเมิน และไดส้ารสนเทศรอบดา้นลึกซ้ึงแต่มีขอ้เสีย

คือ ขาดความเป็นปรนยั ไม่น่าเช่ือถือ นกัประเมินตอ้งมีความเช่ียวชาญ การเขา้ร่วมตามสภาพธรรมชาติ

อาจทาํใหมี้อคติได ้ และการประเมินวิธีน้ีมีความสิ้นเปลืองสูง อย่างไรก็ตามเน่ืองจาก ทั้ง 2 วิธีต่างก็มี

ขอ้ดีขอ้เสีย นกัประเมินจึงเร่ิมนาํวิธีการทั้ง 2 มาใชร่้วมกนัในการประเมิน เพ่ือเสริมซ่ึงกนัและกนัมากข้ึน

(Weiss, 2004: 154) การประเมินวิธีเชิงระบบคลา้ยกับวิธีการวิจยัเชิงปริมาณ และการประเมินวิธีเชิง

ธรรมชาติ คลา้ยกบัวิธีการวิจยัเชิงคุณภาพ ซ่ึงในการวิจยั นักวิจยัเร่ิมนิยมใชว้ิธีการวิจยัทั้ ง 2 วิธี ร่วมกนั

มากข้ึนเช่นกนัท่ีเรียกว่า วิธีวิทยาการวิจยัแบบผสมผสาน (Mixed Methodology) ทั้งเชิงปริมาณและเชิง

คุณภาพ

จึงสรุปไดว้่า วิธีการประเมินมี 2 วิธีใหญ่ๆ คือ การประเมินดว้ยวิธีเชิงระบบซ่ึงเนน้การ

ประเมินโดยใชม้าตรฐานท่ีกาํหนดไวแ้ละวิธีเชิงธรรมชาติซ่ึงเนน้ความยดืหยุน่ใหส้อดคลอ้งกบัธรรมชาติ

3.5 ประเภทการประเมนิ

การประเมินแบ่งไดห้ลายประเภท ซ่ึงไดส้รุปประเภทการประเมินตามท่ีนิยม โดยแบ่ง

ได ้ดงัน้ี (ศิริชยั กาญจนวาสี และคนอ่ืนๆ, 2541: 47-48)

1. การแบ่งการประเมินตามวตัถุประสงคก์ารประเมิน

1.1 การประเมินความกา้วหน้า (Formative Evaluation) เป็นการประเมินระหว่าง

การดาํเนินงาน โดยพิจารณาความกา้วหนา้ของส่ิงท่ีประเมินว่าจาํเป็นตอ้งมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงส่วน

ใด เพ่ือใหเ้กิดความเหมาะสมและทาํใหก้ารดาํเนินงานมีประสิทธิภาพมากข้ึน

1.2 การประเมินผลสรุป (Summative Evaluation) เป็นการประเมินเม่ือสิ้นสุดการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

43

ดาํเนินงาน เพ่ือตัดสินความสําเร็จว่า บรรลุวตัถุประสงค์หรือเป้าหมายมากน้อยเพียงใดหรือบรรลุ

เป้าหมายท่ีควรจะเป็นเพียงใด

2. การแบ่งการประเมินตามช่วงเวลาของการประเมิน

2.1. การประเมินความตอ้งการจาํเป็น (Needs Assessment) เป็นการประเมินความ

ตอ้งการจาํเป็นในเบ้ืองต้น ก่อนท่ีจะจัดทาํส่ิงใด ๆ ซ่ึงมีประโยชน์ต่อการกาํหนดนโยบาย และการ

วางแผน เพ่ือใหไ้ดแ้นวคิดของการดาํเนินงานท่ีสามารถสนองความตอ้งการของกลุ่มเป้าหมายได ้

2.2. การประเมินความเป็นไปได้ (Feasibility Evaluation) เป็นการประเมินเพ่ือ

พิจารณาความเป็นไปไดข้องส่ิงท่ีจะดาํเนินการ โดยศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจยัท่ีจาํเป็นต่อความสาํเร็จ ซ่ึงจะ

พบการประเมินประเภทน้ีไดม้ากในการประเมินโครงการขนาดใหญ่ โดยมกัจะประเมินในดา้นการตลาด

หรืออุปสงค ์ดา้นเทคนิค ดา้นการเงิน ดา้นเศรษฐกิจ ดา้นสงัคม และดา้นสภาพแวดลอ้ม เป็นตน้

2.3 การประเมินปัจจยันาํเขา้ (Input Evaluation) เป็นการประเมินส่ิงท่ีป้อนเขา้สู่การ

ดาํเนินงานว่ามีความเหมาะสมเพียงใดก่อนท่ีจะเร่ิมดาํเนินงาน เช่น คนวตัถุดิบ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ และ

งบประมาณ เป็นตน้

2.4 การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการประเมินกระบวน

ดาํเนินงานตามท่ีกาํหนด โดยประเมินในขณะท่ีกาํลงัดาํเนินงานอยู่ เพ่ือใชผ้ลการประเมินไปปรับปรุง

หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการดาํเนินงานซ่ึงมีลกัษณะครอบคลุมการประเมินความกา้วหนา้ของโครงการฯ

2.5 การประเมินผลผลิตหรือผลิตผล (Output/Product Evaluation) เป็นการ

ประเมินผลท่ีไดจ้ากส่ิงท่ีประเมินหรือผลการดเนินงานโดยตรง ตามวตัถุประสงค์หรือเป้าหมายของส่ิงท่ี

ประเมินว่ามากนอ้ยเพียงใด

2.6 การประเมินผลลพัธ์หรือผลกระทบ (Outcome/Impact Evaluation) เป็นการ

ประเมินผลท่ีได ้อนัเน่ืองมาจากผลของส่ิงท่ีประเมินหรือการดาํเนินงานทั้งท่ีคาดหวงั และไม่ไดค้าดหวงั

ซ่ึงเป็นผลทั้งทางบวกและทางลบ เพ่ือนาํผลไปประกอบการตดัสินใจในการหยุด ยกเลิกปรับ หรือขยาย

ส่ิงท่ีประเมินนั้น ๆ

2.7 การประเมินดว้ยการติดตาม เม่ือดาํเนินงานเสร็จสิ้นไปแลว้ระยะหน่ึง (Follow

Up Evaluation) เป็นการประเมินท่ีอาจเหล่ือมกบัข้อ (2.6) หรือเป็นการประเมินตามหัวขอ้ (2.6) แต่

ประเมินเม่ือการดาํเนินงานเสร็จไปแลว้ระยะหน่ึง อาจเป็น 6 เดือน 1 หรือ 2 ปี เพ่ือคอยดูผลท่ีจะเกิดข้ึน

ใหไ้ด ้ชดัเจนบางคร้ังเรียกกนัว่าการติดตามหลงัสิ้นสุดการดาํเนินงาน แต่เพ่ือไม่ให้สับสนกบัคาํว่าการ

ติดตามระหว่างการดาํเนินงาน จึงใชค้าํน้ีแทน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

44

2.8 การประเมินงานประเมิน (Meta Evaluation) เป็นการประเมินผลของการประเมิน

อีกคร้ังหน่ึง เพ่ือพิจารณาคุณภาพโดยศึกษาความถูกตอ้งและความเหมาะสมของการประเมินในดา้น

ต่างๆ การประเมินประเภทน้ียงัไม่แพร่หลายมากนกั

ทั้งน้ี การเรียกช่ือการประเมินต่างๆ ขา้งตน้ บางคร้ังอาจมีช่ือเรียกต่างกนัออกไปบา้ง

เช่น การประเมินความพยายาม และการประเมินความพร้อม เป็นตน้ นอกจากน้ีการประเมินบางประเภท

อาจประเมินร่วมกนัแลว้เรียกช่ือเป็นอยา่งอ่ืน เช่น การประเมินความตอ้งการจาํเป็นและการประเมินความ

เป็นไปได ้ถา้ประเมินร่วมกนัอาจเรียกว่า การประเมินบริบท เป็นตน้

3. การแบ่งการประเมินตามผูป้ระเมิน

การแบ่งตามเกณฑผ์ูป้ระเมินแบ่งได ้2 ประเภทคือ

3.1 การประเมินโดยผูป้ระเมินภายใน (Internal Evaluator Evaluation) ผูป้ระเมินเป็น

บุคลากรท่ีเก่ียวขอ้งหรือปฏิบติังานกบัส่ิงท่ีประเมินนั้น หรือปฏิบัติงานในองค์การท่ีรับผิดชอบส่ิงท่ี

ประเมิน ซ่ึงมีขอ้ดี คือ ทราบรายละเอียดของส่ิงท่ีประเมิน แต่มกัมีขอ้เสียเร่ืองความลาํเอียง (Bias) เขา้ขา้ง

ตนเองเสมอ

3.2 การประเมินโดยผูป้ระเมินภายนอก(External Evaluator Evaluation) ผูป้ระเมิน

เป็นบุคคลภายนอกท่ีไม่ไดเ้ก่ียวขอ้งหรือไม่ไดป้ฏิบติังานกบัส่ิงท่ีประเมินโดยตรง อาจเป็นบุคลากรของ

หน่วยงานอ่ืน หรือหน่วยงานกลาง ซ่ึงมีขอ้ดี คือ ความเป็นกลาง แต่มีขอ้เสียคือมกัจะทราบรายละเอียด

ของส่ิงท่ีประเมินไม่ดีพอและอาจไม่ไดรั้บความร่วมมือจากผูเ้ก่ียวขอ้ง โดยเฉพาะถา้เห็นว่าเป็นการจบัผดิ

ทั้งน้ี การแบ่งประเภทการประเมินขา้งตน้อาจมีการดาํเนินการในลกัษณะผสม เช่น

ประเมินร่วมกนัระหว่างผูป้ระเมินภายในกบัภายนอก หรือมีการประเมินทั้งความกา้วหนา้และผลสรุป

3.6 แนวทางการประเมนิการพฒันามนุษย์

เน่ืองจากมนุษยมี์ธรรมชาติท่ีซบัซอ้น ยากต่อการทาํความเขา้ใจ แนวทางการพฒันามนุษย์

จึงไม่ตายตวั และตอ้งใชห้ลายแนวคิด หลากทฤษฏีในการพฒันา ในเร่ืองการประเมินการพฒันามนุษย์

เช่นกนั จาํเป็นตอ้งประยกุตแ์นวคิด แนวทางการประเมินท่ีหลากหลายเขา้ดว้ยกนั

3.6.1 การประเมนิการพฒันามนุษย์ตามแนวทางของสหประชาต ิ

สหประชาชาติ (UN) กาํหนดว่าการพฒันา คือ การยกระดบัคุณภาพชีวิต แต่เดิม

ประเทศส่วนใหญ่มกัเลือกใชก้ารเจริญ เติบโตของผลิตภณัฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อบุคคล (Growth

of Gross Domestic Product per Capita) เป็นเป้าหมายในการพฒันา เน่ืองจากเห็นว่าเม่ือประเทศมี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

45

ผลิตภณัฑม์วลรวมภายใน ประเทศต่อบุคคลสูงข้ึน ยอ่มหมายถึงการท่ีประชาชนในประเทศ มีรายไดต่้อ

บุคคลสูงข้ึนและมีมาตรฐานการครองชีพท่ีสูงข้ึน และ นาํไปสู่คุณภาพชีวิตท่ีสูงข้ึนในท่ีสุดนั ่นเอง (ศุภ

เจตน์ จนัทร์สาส์น 2554 : 47) ต่อมา พบว่าการเจริญเติบโตของผลิตภณัฑ์มวลรวม ภายในประเทศต่อ

บุคคลสามารถสะทอ้นคุณภาพชีวิตของบุคคล ไดเ้พียงมิติเดียว นัน่คือ มาตรฐานการครองชีพ (Standard

of Living) ในขณะท่ีคุณภาพชีวิตเก่ียวขอ้งกบัมิติอ่ืนๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นสุขภาพอนามยั การไดรั้บ

การศึกษา ความมัน่คงในชีวิต การไดรั้บความอบอุ่นจากครอบครัว และการไดรั้บความยอมรับ นบัถือจาก

คนรอบข้าง เป็นตน้ เน่ืองจากการเจริญเติบโตของผลิตภณัฑ์มวลรวมภายใน ประเทศต่อบุคคลไม่

สามารถสะทอ้นคุณภาพชีวิตของคนในสังคม ไดอ้ย่างครอบคลุมดงักล่าวขา้งตน้ ทาํให้นักวิชาการและ

หน่วยงานต่างๆ ใหค้วามสนใจศึกษาและพฒันาการประเมินการพฒันา โดยเสนอดชันีช้ีวดัระดบัคุณภาพ

ชีวิตในประเทศของตนและในระดบันานาชาติ เช่น ดชันีความสุขโลกของสถาบนัเศรษฐศาสตร์ใหม่

(Happy Planet Index, NEF) ดชันีคุณภาพชีวิตขององค์การอนามยัโลก (World Health Organization’s

Quality of Life, WHOQOL) (WHO 1997) และ ดชันีความจนของมนุษย ์ (Human Poverty Index (HPI)

(UNDP, 2010) ซ่ึงวดัระดบัคุณภาพชีวิตในระดบันานาชาติ เป็นตน้ (ศุภเจตน์ จนัทร์สาส์น 2554 : 47)

ทั้งน้ี ดชันีช้ีวดัระดบัคุณภาพชีวิตท่ีไดรั้บการยอมรับในระดบันานาชาติและถกูนาํไปใชว้ดัระดบัคุณภาพ

ชีวิตในประเทศต่างๆ อยา่งกวา้งขวาง ไดแ้ก่ ดชันีการพฒันามนุษย ์(Human Development Index)

ดงัท่ี ศุภเจตน์ จนัทร์สาส์น (2554: 48–51) อธิบายว่าดชันีการพฒันามนุษย ์(Human

Development Index) หรือเรียกสั้นๆ ว่า ดชันี HDI เป็นตวับ่งช้ีท่ีใชว้ดัระดบัการพฒันา มนุษยข์องประเทศ

ซ่ึงถกูนาํไปใชว้ดัระดบัคุณภาพชีวิต ดชันีการ พฒันามนุษย ์(HDI) ถูกคิดคน้ข้ึนใน ค.ศ. 1990 โดยนัก

เศรษฐศาสตร์ ชาวอินเดียซ่ึงไดรั้บรางวลัโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ช่ือว่า อมารตยา เซน (Amartya Sen,

1933–ปัจจุบนั) ดชันีการพฒันามนุษย ์(HDI) เป็นดชันีท่ี สหประชาชาติ (UN) นาํไปใชเ้พ่ือวดัระดบั

คุณภาพชีวิตของประชาชนใน ประเทศต่างๆ ทัว่โลก ภายใตโ้ครงการพฒันาแห่งสหประชาชาติ (United

Nations Development Programme, UNDP)

โครงการพฒันาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ไดว้ดัความเจริญกา้วหน้าของประเทศ

โดยคาํนึงถึง “การพฒันามนุษย”์ (Human Development) ใน 3 ดา้น ไดแ้ก่ รายได ้การศึกษา และความยืน

ยาวของอายคุน (ยทุธการ โกษากุล, 2555: 1) ส่ิงท่ีจะช่วยในการประเมินการพฒันามนุษย ์ คือ การจดัทาํ

ดชันีการพฒันามนุษย ์ (Human Development Index, HDI) นอกจากนั้น ไดมี้การจดัทาํตวัช้ีวดัและดชันี

การพฒันามนุษย ์มีลกัษณะเป็นดชันีประสม (Composite index) ท่ีองค์การสหประชาชาตินาํมาใชว้ดั

ความสาํเร็จโดยเฉล่ีย ในการพฒันามนุษยข์องแต่ละประเทศ โดยคาํนึงถึงความสาํเร็จใน 3 ดา้น ไดแ้ก่

ความยืนยาวของชีวิตและสุขภาพดี ความรู้ และมาตรฐานคุณภาพชีวิต (ความยากจน) เพ่ือนําไปวดั

ระดบัคุณภาพชีวิตมนุษยใ์นสามดา้น (UNDP, 2010) ไดแ้ก่

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

46

1. ดา้นสุขภาพ (Long and Healthy Life) โดยมีตวับ่งช้ี คือ ความคาดหมายการคงชีพ

เม่ือแรกเกิด (Life Expectancy at Birth)

2. ดา้นการศึกษา (Education) โดยมีตวับ่งช้ีคือ จาํนวน ปีเฉล่ียท่ีไดรั้บการศึกษา

(Mean Years of Schooling) และจาํนวน ปีท่ีคาดว่าจะไดรั้บการศึกษา (Expected Years of Schooling)

3. ดา้นมาตรฐานการครองชีพ (A Decent Standard of Living) โดยมีตวับ่งช้ีคือ

รายไดป้ระชาชาติมวลรวมต่อบุคคล (Gross National Income per Capita)

อยา่งไรก็ตาม แมว้่าดชันีการพฒันามนุษย ์(HDI) จะสามารถสะทอ้นระดบัการพฒันา

มนุษยแ์ละคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศต่างๆ ไดอ้ย่าง ชดัเจนและเป็นรูปธรรม แต่ก็ยงัมี

ขอ้จาํกดัต่อการนาํไปใชว้ดัระดบัคุณภาพชีวิต ทั้งน้ีเน่ืองจากคุณภาพชีวิตไม่ไดมี้เพียงมิติทางดา้นสุขภาพ

ดา้นการศึกษา และดา้นมาตรฐานการครองชีพเท่านั้น แต่ยงัเก่ียวขอ้งกบัมิติอ่ืนๆ จาํนวนมาก ซ่ึงประเด็น

ดงักล่าวไดถ้กูวิจารณ์ไวใ้นงาน วิจยัจาํนวนมาก เช่น งานวิจยัของ Sagar and Najam (1998) และ Bagolin

(2004) (อา้งถึงใน ศุภเจตน์ จนัทร์สาส์น, 2554: 50-51) และนาํไปสูงการพฒันาตวับ่งช้ีอ่ืนๆ ท่ีนาํมาใช้

วดั ระดบัคุณภาพชีวิต ท่ีสุด ใน ค.ศ. 2010 โครงการพฒันาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ไดส้ร้างระบบท่ี

ช่ือว่า “Build You Own Index” ไวใ้นเว็บไซต์ของรายงานการพฒันามนุษย ์ ค.ศ. 2010 (Human

Development Report 2010) (UNDP, 2010) โดยเป็นระบบท่ีเปิดโอกาสใหบุ้คคลทัว่ไปสามารถออกแบบ

และคาํนวณดชันีการพฒันามนุษยต์ามความตอ้งการของตนเองได ้ จึงถือเป็นการเปิดโอกาสให้ผูท่ี้สนใจ

เพิ่มตัวบ่งช้ีและมิติของการพฒันาในการคาํนวณดัชนีการพฒันามนุษยไ์ด้ตามความต้องการนั ่นเอง

นอกจากนั้นไดท้าํการปรับค่าดชันีการพฒันามนุษย ์โดยเพิ่มมิติการพฒันาเป็น 7 ดา้น แต่ละดา้นมีตวับ่งช้ี

ดงัรายละเอียดในตาราง 1 (หนา้ 47)

3.6.2 การประเมนิการพฒันามนุษย์ตามดัชนีความสุขมวลรวมประชาชาต ิ(GNH)

แนวคิดเร่ืองความสุขรวมประชาชาติ (Gross National Happiness : GNH) เป็นแนวทางกาํหนดทิศทางการ

พฒันาของประเทศภูฎาน ดว้ยการสร้างแนวคิดใหม่ในการนิยามความเจริญกา้วหน้าแบบองค์รวม โดย

การวดัความอยู่ดีมีสุขท่ีแท้จริงมากกว่าการบริโภค และกลายเป็นผูน้ ําในการเผยแพร่แนวคิดเร่ือง

“ความสุขมวลรวมประชาชาติ” (Gross National Happiness: GNH) (ภูวดล ศิริพงษ์, 2549: 41)

สอดคลอ้งกบั สิริมา ศิริมาตยนันท์ และคนอ่ืนๆ (2555: 225) ท่ีกล่าวว่าการใชท้ฤษฎีความสุขมวลรวม

ประชาชาติ (Gross National Happiness) เพ่ือเป็นดชันีใชว้ดัความ สุขของคนในชาติมากกว่าท่ีจะเน้นการ

วดัผลท่ีเป็นตัวเงินซ่ึงการมี จุดยืนท่ีเด่นชัดน้ีทาํให้ภูฎานพฒันาประเทศไปอย่างมัน่คง ย ัง่ยืน โดย

สอดคลอ้งกบัวิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน ความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness : GNH)

จะกล่าวถึงความสาํคญัของการวดัความกา้วหนา้ทางเศรษฐกิจและทางวตัถุเช่นเดียวกบัผลิตภณัฑม์วล

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

47

ตารางท่ี 1 เสนอมิติการพฒันาและตวับ่งช้ีสาํหรับดชันีการพฒันามนุษยท่ี์ปรับค่าแลว้ของ UNDP

มติกิารพฒันา

ตวับ่งชี ้

ดา้นสุขภาพ ความคาดหมายการคงชีพเม่ือแรกเกิด (ปี)

ดา้นการศึกษา จาํนวนปีเฉล่ียท่ีไดรั้บการศึกษา (ปี) และจาํนวนปีท่ีคาดว่าจะไดรั้บ

การศึกษา (ปี)

ดา้นมาตรฐานการครองชีพ รายไดป้ระชาชาติมวลรวมต่อบุคคล (ดอลล่าร์สหรัฐ)

ด้านความ เห ล่ื อมลํ้ า ทา ง

รายได ้

สมัประสิทธ์ิความไม่เสมอภาค

ดา้นความเท่าเทียมทางเพศ

อัตราส่วนท่ีนั ่ งในสภาผู ้แทนราษฎรของผู ้หญิงต่อผู ้ชาย และ

อตัราส่วนประชากรเพศหญิงท่ีมีการศึกษาอยา่งนอ้ยระดบัมธัยมศึกษา

ต่อประชากรเพศชาย

ดา้นความย ัง่ยนื ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซดต่์อบุคคล (ตนั)

ดา้นความมัน่คงของมนุษย ์ อตัราการฆาตกรรม (คนต่อประชากร 100,000 คน)

ท่ีมา : United Nations Development Programme. (2010). Human Development Reports 2010.

Accessed 5 สิงหาคม 2556. Available from http://hdr.undp.org/en/.

รวมในประเทศ (Gross Domestic Product, GNP) แต่ขณะเดียวกนัก็คาํนึงถึงและเน้นคุณค่าเชิงบวกดา้น

สังคม อารมณ์ และจิตวิญญาณ ความเคารพต่อสภาพแวดลอ้มทางธรรมชาติและวฒันธรรมประเพณี

รวมทั้งความจาํเป็นท่ีจะตอ้งมีธรรมาภิบาลเป็นพ้ืนฐานในการวางนโยบายและกาํหนดเป้าหมายของชาติ

โดยมีพ้ืนฐานแนวคิดว่า “ความสุขของประชาชนสาํคญักว่าผลผลิตมวลรวมประชาชาติ” (Gross National

Happiness is more important than Gross National Product) (Wangchuck, 1972, อา้งถึงใน ภูวดล ศิริ

พงษ,์ 2549: 41) กล่าวคือ ความสุขมวลรวมประชาชาติ (GNH) เป็นการวดัการพฒันาประเทศท่ีไม่ไดเ้น้น

ตวัเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่เนน้ “ความสุข” ท่ีแทจ้ริงของคนในสังคม ปัจจุบนัแนวคิดเร่ือง GNH

กาํลงัไดรั้บความสนใจจากนักวิชาการหลายประเทศเน่ืองจากเล็งเห็นว่าการพฒันาเศรษฐกิจมิไดเ้ป็น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

48

ปัจจยัเดียวและปัจจยัสาํคญัท่ีสุดของความสุข หากแต่การมุ่งพฒันาเศรษฐกิจทาํให้เกิดผลเสียหายต่างๆ

มากมาย ทั้งความไม่เป็นธรรมทางสงัคม การสูญเสียความสมดุลทางธรรมชาติ และมลภาวะแวดลอ้มเป็น

พิษ

แนวคิดเร่ืองความสุขมวลรวมประชาชาติหรือ GNH ยึดหลกัว่าการพฒันาสังคม

มนุษยท่ี์แทจ้ริงเกิดจากการพฒันาทางดา้นวตัถุและจิตใจควบคู่กนัไปเพื่อเติมเต็มและส่งเสริมซ่ึงกนัและ

กนั จึงถือเป็นรูปแบบการพฒันาท่ีมุ่งเนน้การสร้างสภาพแวดลอ้มท่ีประชากรทุกคนมีโอกาสพบความสุข

ไดอ้ยา่งเท่าเทียมกนั ความสุขมวลรวมประชาชาติจึงพยามยามทาํใหเ้กิดความสมดุลระหว่างจิตใจกบัวตัถุ

ระบบตลาดกบัรัฐบาลการจดัตั้ งสมาคมแรงงานกบัการวางแผน การเปิดกวา้งกบัการควบคุมดูแล และ

ความเห็นอกเห็นใจกบัการแข่งขนั ถึงแมว้่าความสุขจะเป็นส่ิงท่ีวดัไดย้าก ทว่าเราสามารถวดัเง่ือนไขหรือ

สภาพต่างๆ ท่ีทาํให ้คนเรามีความสุขได ้โดยตอ้งกาํหนดประเภทขององคว์ามสุขท่ีจะใชว้ดัเสียก่อน โดย

กาํหนดหลกัการสาํคญั 4 ประการ หรือเสาหลกัแห่งความสุขทั้ งส่ี (Four pillars of happiness) (ภูวดล ศิริ

พงษ์, 2549: 42) ไดแ้ก่ การพฒันาทางเศรษฐกิจท่ีย ัง่ยืน(Sustainable Economic Development) การ

อนุรักษ์และส่งเสริมคุณค่าทางวฒันธรรม (Cultural Conservation) การรักษาส่ิงแวดลอ้มทางธรรมชาติ

(Nature Preservation) และการมีธรรมาภิบาล (Good Governance)

ดงันั้น ความสุขมวลรวมประชาชาติ จึงใหค้วามสาํคญัต่อการวดัระดบัความสุขขั้น

พ้ืนฐานได ้เพราะเป็นเร่ืองท่ีเก่ียวกบัคุณภาพของโภชนาการการมีท่ีอยู่อาศยั การศึกษา สุขภาพ และชีวิต

ชุมชน ดงันั้นดชันีช้ีวดัความสุขจึงอาจจะเป็นดชันีต่าง ๆ ท่ีสะทอ้นสุขภาพกายและสุขภาพจิตใจของ

มนุษย ์ ซ่ึงวดัได้ในระดับปัจเจกบุคคลดว้ย เพ่ือให้ ประชาชนแต่ละคนและแต่ละชุมชนสามารถวดั

ความกา้วหนา้ในการแสวงหาความสุขของตน โดยดชันีดงักล่าวตอ้งสนบัสนุนความรับผิดชอบต่อสังคม

การมีธรรมาภิบาล และการดาํเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ีสร้างสรรคส์งัคมส่วนรวมทั้งในชีวิตประจาํวนั

และนโยบายการพฒันาประเทศในระยะยาว (ภูวดล ศิริพงษ,์ 2549) อยา่งไรก็ตาม อยา่งไรก็ตาม แนวคิด

เร่ืองความสุขมวลรวมประชาชาติก็มิได ้ปฏิเสธการพฒันาทางเศรษฐกิจ แต่การพฒันาดา้นต่างๆ จะตอ้ง

สมดุลกนั (สิริมา ศิริมาตยนนัท ์และคนอ่ืนๆ, ไม่ระบุปี)

3.6.3 การประเมนิการพฒันามนุษย์ตามแนวทางการพฒันามนุษย์ให้มสุีขภาวะที่ด ี

แนวทางการประเมินการพฒันามนุษย ์ยงัสามารถนําแนวคิดเร่ืองสุขภาวะมา

ประยกุตใ์ชใ้นการประเมินการพฒันามนุษยไ์ด ้ดงัท่ี คริส์พ (Roger Crisp, 2008) กล่าวว่า สุขภาวะ เป็น

คุณค่าชนิดหน่ึงท่ีแต่บุคคลพึงมี พึงกระทาํเพ่ือประโยชน์สุข หรือความดีต่อตนเอง ในกรอบคาํถามท่ีว่า

“ชีวิตแบบไหนท่ีดีท่ีสุดสาํหรับตนเอง?” ดงัท่ี เอคเคอร์สเลย ์(Richard Eckersley, 2005) กล่าวว่า สุข

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

49

ภาวะ เป็นเร่ืองเก่ียวกับคุณภาพชีวิตของบุคคล เป็นความสุขต่อสภาพชีวิต ท่ีไม่ใช่แค่รู้สึกว่าตนเองมี

ความสุข แต่เป็นความสาํนึกว่าชีวิตของตนมีคุณค่า มีคุณภาพชีวิตท่ีดี

การประเมินการพัฒนามนุษย์ตามแนวสุขภาวะ จึงเช่ือมโยงกับการพิจารณา

องคป์ระกอบของสุขภาวะทั้งส่ีดา้น ดงัท่ี ประเวศ วะสี (2551) สรุปความคิดว่า สุขภาพท่ีดี คือ สุขภาวะ

ท่ีสมบูรณ์ทั้ งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปัญญา สุขภาวะทั้ ง 4 ดา้น เช่ือมโยงกนัเป็นบูรณการ

เช่ือมโยงถึงกนัและอยูใ่นกนัและกนัแต่ละดา้นมีองค์ประกอบ 4 รวมกนัเป็นสุขภาวะ 4x4 = 16 สุขภาวะ

ทางกาย 4 อยา่ง ประกอบดว้ย ร่างกายแข็งแรง ความปลอดสารพิษ มีความปลอดภยั ความมีปัจจยั 4 ซ่ึงมา

จากการมีสมัมาชีพทางจิต 4 อยา่งเป็นไฉน ทางจิต 4 อยา่งประกอบดว้ย ความดี ความงาม หรือ สุนทรียะ

ความสงบ ความมีสติ ทางสงัคม 4 อยา่งประกอบดว้ยสงัคมสุสมัพนัธห์รือมีความสมัพนัธท่ี์ดีในทุกระดบั

สงัคมเขม้แข็ง สงัคมยติุธรรม สงัคมสนัติ ทางปัญญา 4 อยา่งประกอบดว้ยปัญญารู้รอบรู้เท่าทนั ปัญญาทาํ

เป็น ปัญญาอยูร่่วมกนัเป็น ปัญญาบรรลุอิสรภาพ ปัญญาเป็นศูนยก์ลาง ถา้ปราศจากปัญญาสุขภาวะทาง

กาย ทางจิต และทางสงัคมก็เป็นไปไม่ไดก้ารพฒันาปัญญาตอ้งนาํไปสู่การพฒันากาย จิต และสังคม การ

พฒันากาย จิต และสงัคม ตอ้งนาํไปสู่การพฒันาปัญญาทั้ง 4 ร่วมกนัจึงเกิดสุขภาวะท่ีสมบูรณ์

นอกจากนั้น ปาริชาต เทพอารักษ ์และ อมราวรรณ ทิวถนอม (2550) ไดเ้สนอว่าสุข

ภาวะ เป็นองคป์ระกอบแรกของสงัคมท่ีร่มเยน็เป็นสุข ซ่ึงประกอบดว้ย การมีสุขภาวะ ครอบครัวอบอุ่น

ชุมชนเขม้แข็ง เศรษฐกิจเขม้แข็งและเป็นธรรม สภาพแวดลอ้ม และระบบนิเวศสมดุล และสังคม

ประชาธิปไตยท่ีมีธรรมาภิบาล โดยองคป์ระกอบการมีสุขภาวะเป็นเร่ืองท่ีเช่ือมโยงสัมพนัธ์กนัอย่างเป็น

องค์รวม โดยเร่ิมจากตนเอง ไปสู่ครอบครัว ชุมชน วฒันธรรม ส่ิงแวดลอ้มการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม

การเมือง และอ่ืนๆ และเป็นปัจจยัพ้ืนฐานท่ีจะทาํใหบุ้คคลสามารถพฒันาศกัยภาพของตนเองและใชชี้วิต

ในสังคมไดอ้ย่างมีความสุข นับตั้ งแต่เร่ิมปฏิสนธิในครรภ์มารดา ผ่านการเจริญเติบโตในแต่ละช่วงวยั

และดาํเนินชีวิตอยูจ่นกระทั้งถึงวาระสุดทา้ยของชีวิตอยา่งสมศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

การประเมินการพฒันามนุษยสู่์การมีสุขภาวะท่ีดี จึงไม่ไดเ้ป็นเร่ืองของแค่ร่างกาย

หากแต่เป็นเร่ืองท่ีรวมเอาประเด็นเร่ืองของศีลธรรม จริยธรรมและการเมือง เขา้ไปดว้ย (วิริยะ สว่างโชติ,

2007) กล่าวคือ การมีสุขภาวะท่ีดี คือ การมีภาวะท่ีสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย ทางจิตใจ และจิตวิญญาณ และ

ทางสติปัญญาท่ีเช่ือมโยงสัมพันธ์กันอย่างเป็นองค์รวมทั้ งตนเอง ครอบครัว ชุมชน วฒันธรรม

ส่ิงแวดลอ้ม การศึกษา เศรษฐกิจ สงัคม การเมืองและอ่ืนๆ ซ่ึงเป็นปัจจยัพ้ืนฐานท่ีจะทาํให้บุคคลสามารถ

พฒันาศกัยภาพของตนเองและใชชี้วิตในสงัคมอยา่งมีความสุขนับตั้ งแต่เร่ิมปฏิสนธิในครรภ์มารดาผ่าน

การเจริญเติบโตในแต่ละช่วงวยั และดาํเนินชีวิตอยู่จนกระทัง่ถึงวาระสุดทา้ยของชีวิตอย่างสมศกัด์ิศรี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

50

ความเป็นมนุษย ์ทั้งยงัประโยชน์ต่อการพฒันาประเทศในฐานะทรัพยากรมนุษยท่ี์มีคุณค่า (ปาริชาต เทพ

อารักษ ์และ อมราวรรณ ทิวถนอม, 2550)

ดงัท่ี ไดเนอร์และมาร์ติน (Diener and Martin n.d. cited in Eckersley, 2005) ได้

แยกรายละเอียดต่อการพิจารณาสุขภาวะ ได้แก่ มีการดาํเนินชีวิตเป็นประชาธิปไตย มีเพ่ือนและ

ครอบครัวท่ีสนับสนุนกันและกัน มีหน้าท่ีการงานท่ีมั ่นคง มีสุขภาพท่ีแข็งแรง มีเป้าหมายชีวิตท่ี

สอดคลอ้งกบัคุณค่าส่วนบุคคล และมีหลกัการดาํเนินชีวิตท่ีทาํใหต้ระหนกัถึงคุณค่าและความหมายชีวิต

จึงกล่าวได้ว่า การประเมินการพฒันามนุษยต์ามแนวคิดเร่ืองสุขภาวะ เป็นเร่ือง

เก่ียวกบัการประเมินภาวะท่ีดาํเนินชีวิตอย่างมีความสุขในชีวิต เป็นศิลปะการดาํเนินชีวิตท่ีสมดุลในมิติ

ต่างๆ ในชีวิตของบุคคล (Vernon, 2008) ไดแ้ก่สุขภาพดา้นร่างกาย จิตใจ การอยูร่่วมกบัคนอ่ืนในสงัคม

และการดาํเนินชีวิตอยา่งสาํนึกในคุณค่าและความหมายชีวิตท่ีเช่ือมโยงกบัหลกัธรรมคาํสอนของศาสนาท่ี

สอนใหต้ระหนกัถึงคุณค่าและเคารพศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

ดงัท่ี สถาบนัการเรียนรู้และพฒันาประชาสงัคม (2008) อธิบายว่าสุขภาวะ หมายถึง

สภาวะท่ีมนุษยมี์ความสุขทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และกลุ่ม เพราะเพียง แต่ความสุขของคนๆ เดียวนั้น

ไม่ไดก่้อใหเ้กิดสุขภาวะ แต่ตอ้งเช่ือมต่อเป็นความสุขของ ครอบครัว ของชุมชน เป็นความสุขของคนใน

ท่ีทาํงาน ของกลุ่ม สู่ความสุขของสงัคม ความ สุขเหล่าน้ีประกอบดว้ยความสุขพ้ืนฐานจากปัจจยัส่ีท่ีเป็น

วตัถุ ไปจนถึงสุขภาพทางใจ รวมทั้ง การสร้างความสมัพนัธท่ี์ดีในชุมชน คนในชุมชนไดดู้แลซ่ึงกนัและ

กนั และพฒันาทางจิตวิญญาณ ไปสู่ความสงบ สุขภาวะเป็นเร่ืองท่ีซบัซอ้น และมีองค์ประกอบมาก แต่

ทา้ยสุดจะพบว่า สุขภาวะจะตอ้ง ประกอบไปดว้ยความสุขทางกาย และความสุขทางใจ

การมีสุขภาวะ จึงหมายถึง ภาวะท่ีบุคคลปราศจากโรคภยัไขเ้จ็บ มีร่างกายท่ีแข็งแรง

มีอายุยืนยาว มีจิตใจท่ีดีมีความเมตตากรุณา ยึดมั ่นในคุณธรรม จริยธรรม ดาํเนินชีวิตอย่างมี

สติสัมปชญัญะ และใฝ่รู้ สามารถ “คิดเป็น ทาํเป็น” มีเหตุมีผล ดาํเนินชีวิตอยู่ในสังคมไดอ้ย่างเป็นสุข

นัน่เอง ดว้ยเหตุน้ี การประเมินการพฒันามนุษยโ์ดยพิจาณาความหมายของสุขภาวะทั้ ง 4 ดา้น จึงควร

ไดรั้บการพิจารณาต่อการจดัรูปแบบการประเมินการพฒันามนุษย ์อยา่งไรก็ตามการพิจารณาสุขภาวะทาง

กายและสุขภาวะทางจิตเป็นสุขภาวะท่ีทาํความเข้าใจได้ง่าย เป็นการเปล่ียนแปลงท่ีสังเกตเห็นได้

ตลอดเวลา ในขณะท่ีสุขภาวะทางสงัคมเป็นการแสดงออกรวมกนัของสังคม ซ่ึงตอ้งทาํความเขา้ใจและ

ยอมรับรวมกนัของทั้งสงัคม และสุขภาวะทางจิตวิญญาณ หมายถึงมิติทางคุณค่าท่ีสูงสุดเหนือไปจากโลก

หรือภาพภูมิทางวตัถุ การมีศรัทธาและมีการเขา้ถึงคุณค่าท่ีสูงส่ง ทาํใหเ้กิดความสุขอนัประณีตลึกลํ้ า เป็น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

51

สุขภาวะท่ีทาํความเขา้ใจไดย้ากและเป็นขั้นสูงสุดของสุขภาวะแบบองค์รวม (วิริยะ สว่างโชติ, 2007)

โดยมีรายละเอียดต่อไปน้ี

1. สุขภาวะทางกาย

สาํนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (2550) อธิบายว่าสุขภาวะทางกาย

หมายถึง การมีร่างกายท่ีสมบูรณ์แข็งแรง มีเศรษฐกิจพอเพียง มีส่ิงแวดลอ้มดี ไม่มีอุบติัภยั เป็นตน้

สอดคล้องกับมหาวิทยาลยัราชภัฏเพชรบุรี (2553) อธิบายว่าสุขภาวะทาง

กาย คือ ไม่ขาดแคลนวตัถุปัจจยั ไม่เป็นโรค มีร่างกายแข็งแรง ปลอดภัย ในชีวิตทรัพยสิ์น มี

ส่ิงแวดลอ้มท่ีเหมาะสม สุขภาวะทางกาย ประกอบดว้ย ร่างกายมีความสมบูรณ์และแข็งแรง ระบบต่าง

ๆ และอวยัวะทุกส่วนทาํงานเป็นปกติและมีประสิทธิภาพ ความเจริญเติบโตของร่างกายเป็นไปในอตัรา

ปกติและมีความสัมพนัธ์กบัการเจริญดา้นอ่ืนๆ ร่างกายมีความแข็งแรง สามารถทาํงานไดน้านๆ ไม่

เหน่ือยเร็ว และมีประสิทธิภาพ การนอนหลบัพกัผอ่นเป็นไปตามปกติ เม่ือต่ืนข้ึนมาแลว้รู้สึกสดช่ืน คืนสู่

สภาพปกติ ฟันมีความคงทนแข็งแรง หู ตา มีสภาพดี สามารถมองเห็นและไดย้ินไดดี้ ผิวหนังสะอาด

เกล้ียงเกลา สดช่ืน เปล่งปลัง่ ทรวดทรงดี ไดส้ดัส่วน และการปราศจากโรคภยัไขเ้จ็บต่าง ๆ

จึงสรุปดงัท่ี ปาริชาต เทพอารักษ์ และ อมราวรรณ ทิวถนอม (2550) อธิบายว่า

สุขภาวะทางกายท่ีดี มีความหมายครอบคลุมถึง การมีร่างกายท่ีแข็งแรง มีภาวะโภชนาการท่ีดี มี

พฤติกรรมการดาํรงชีวิตท่ีเหมาะสม อยูใ่นสภาพแวดลอ้มท่ีเหมาะสม ส่งผลใหห่้างไกลจากโรคภยัไขเ้จ็บ

ไม่มีโรคประจาํตวั/โรคเร้ือรัง และมีอายยุนืยาวอยา่งมีคุณภาพนัน่เอง

2. สุขภาวะทางจิต

สาํนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (2550) อธิบายว่าสุขภาวะทางจิต

หมายถึง จิตใจท่ีเป็นสุข ผ่อนคลาย ไม่เครียด คล่องแคล่ว มีความเมตตา กรุณา มีสติ มีสมาธิ เป็นต้น

สอดคลอ้งกบัมหาวิทยาลยัราชภฏัเพชรบุรี (2553) ท่ีกล่าวว่า สุขภาวะทางจิต คือ มีสุขภาพจิตดี เขม้แข็ง

มีจิตพร้อมในการดาํเนินชีวิต มีสมาธิหลุดพน้ความครอบงาํจากกิเลส นอกจากนั้นไดเ้สนอรายละเอียด

เก่ียวกบัสุขภาวะทางจิตว่าประกอบดว้ยการมีความสามารถปรับตวัเขา้กบัสงัคมและส่ิงแวดลอ้มไดดี้ การ

มีความกระตือรือร้น ไม่เหน่ือยหน่ายทอ้แท ้และหมดหวงั การมีอารมณ์มัน่คงและสามารถควบคุม

อารมณ์ไดดี้ มีอารมณ์ขนับา้งพอสมควร ไม่ เครียดเกินไป การมองโลกในแง่ดีเสมอการมีความตั้งใจและ

มีสมาธิในงานท่ีกาํลงัทาํอยู ่ การรู้จกัตนเองและเขา้ใจบุคคลอ่ืนไดดี้ การมีความเช่ือมัน่ในตนเองอย่างมี

เหตุผล การมีความสามารถแสดงออกอย่างเหมาะสมเม่ือประสบความลม้เหลว การมีความสามารถ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

52

ตดัสินใจไดร้วดเร็ว ถกูตอ้ง และไม่ผดิพลาด และการมีความปรารถนาและยินดี เม่ือบุคคลอ่ืนมีความสุข

ความสาํเร็จ และมีความปรารถนาป้องกนัผูอ่ื้นใหมี้ความปลอดภยั

สอดคลอ้งกับ มหาวิทยาลัยอสัสัมชัญ (2553) อธิบายว่าสุขภาวะทางจิตใจ

หมายถึง สภาวะทางดา้นจิตใจของบุคคล ซ่ึงมีผลมาจากปัจจยัท่ีก่อใหเ้กิดความเครียดในชีวิต และวิธีการ

ตอบสนองของบุคคลนั้น ต่อปัจจยัดงักล่าว รวมทั้งความสามารถ และโอกาสในการใชเ้วลาส่วนตวั เพ่ือ

ความเพลิดเพลิน และผอ่นคลายความเครียด ปัจจุบนัมีหลกัฐานมากข้ึน ท่ีแสดงถึงความเช่ือมโยง ระหว่าง

สุขภาพทางอารมณ์ กบัการใชบ้ริการทางการแพทย ์กบัความไวต่อการเกิดโรค และกบัพฤติกรรมท่ีส่งผล

เสียต่อสุขภาพ

จึงสรุปความไดว้่า สุขภาวะทางจิต คือ ภาวะของผูท่ี้สามารถปรับตนเองอยู่ได้

ดว้ยความสุข ในสถานการณ์ต่างๆ ท่ีตอ้งพบเจอในชีวิต กล่าวคือ มีบุคลิกภาพท่ีมัน่คงต่อการเผชิญหน้า

กบัสถานการณ์ท่ีเขา้ในชีวิตนัน่เอง

3. สุขภาวะทางสงัคม

สาํนกังานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (2550) อธิบายว่าสุขภาวะทางสังคม

หมายถึง การอยู่ร่วมกนัดว้ยดี ในครอบครัว ในชุมชน ในท่ีทาํงาน ในสังคม ในโลก ซ่ึงรวมถึงการมี

บริการทางสงัคมท่ีดี และมีสนัติภาพ เป็นตน้ ในขณะท่ีมหาวิทยาลยัราชฎฎัเพชรบุรี (2553) อธิบายว่าสุข

ภาวะทางสงัคม หมายถึงสุขภาวะท่ีเกิดจากการอยู่ร่วมกนัดว้ยดีของกลุ่มคน ในขนาดและลกัษณะต่างๆ

เช่น ในครอบครัว ในชุมชน ในสถานท่ีทาํงาน ในสงัคมขนาดใหญ่หรือประเทศ และการอยูร่่วมกนัดว้ยดี

ทั้งโลก

สอดคลอ้งกับ มหาวิทยาลยัอสัสัมชัญ (2553) อธิบายว่าสุขภาวะทางสังคม

หมายถึง ความสามารถในการอยูร่่วมกบัผูอ่ื้น อนัไดแ้ก่ สมาชิกในครอบครัว เพ่ือนฝงู เพ่ือนร่วมงาน และ

เพ่ือนบ้าน ทั้ งน้ีมีการแสดงให้เห็นว่า การสนับสนุนของสังคม มีส่วนสําคัญในการช่วยให้ร่างกาย

สามารถฟ้ืนตวัจากโรคภยัไขเ้จ็บไดเ้ร็วข้ึน นอกจากน้ี ยงัช่วยลดผลกระทบของความเครียด ท่ีมีต่อสุข

ภาวะทางกาย และทางอารมณ์ รวมทั้งยงัช่วยลดอตัราการเจ็บป่วย และอตัราตายดว้ย สาํหรับพ้ืนฐานทาง

สงัคมนั้น จะส่งผลกระทบอยา่งมาก ต่อพฤติกรรม หรือวิถีการดาํรงชีวิตของบุคคลนั้น โปรแกรมดา้นสุข

ภาวะทางสงัคม อาจรวมถึง โปรแกรมการดูแลเด็ก หรือผูป้กครอง การจดักลุ่มสนบัสนุนดา้นสุขภาพ การ

จดัโอกาสในการพฒันาความเป็นผูน้าํ ความพยายามในการปรับเปล่ียนวฒันธรรม สันทนาการกลุ่ม และ

การกีฬา และโปรแกรมการพฒันาความชาํนาญ ทางดา้นการติดต่อส่ือสาร การเป็นผูป้กครอง และการมี

ความเช่ือมัน่ในตนเอง การผสมผสานโปรแกรมดา้นสุขภาวะทางสงัคม เขา้สู่โครงการส่งเสริมสุขภาพ ใน

สถานประกอบการ จะช่วยเพิ่มโอกาสในการประสบผลสาํเร็จ ของโครงการไดม้าก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

53

มิติของสุขภาวะด้านสังคม มีพ้ืนฐานจากแนวคิดว่า มนุษย์เป็นสัตว์สังคม

ดงันั้น ความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืนจึงเป็นส่วนท่ีมีความสาํคญัต่อชีวิตมนุษย ์ แต่ความสัมพนัธ์น้ีไม่ใช่เป็น

เพียงแค่ระดบัวตัถุหรือร่างกายเท่านั้น แต่เป็นระดบัจิต ซ่ึงเป็นความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคล เป็นการท่ีเรา

ยอมรับคนอ่ืนในฐานะท่ีเขาแตกต่างจากตวัเรา ในฐานะท่ีผูอ่ื้นแตกต่างจากเรา และไม่ใช่ในแบบยึดตวัเรา

เป็นศนูยก์ลาง แต่เป็นการเปิดตนเองสู่คนอ่ืน เพ่ือสร้างความสัมพนัธ์ ซ่ึงในเร่ืองน้ี ลาวีนัส (Emmanuel

Levinas n.d., อา้งถึงใน ดงัโตแนล, 2536 : 94) ไดอ้ธิบายไวว้่า “การพบคนอ่ืนไม่ใช่ความรู้หรือความคิด

อย่างเดียว แต่เป็นเร่ืองความสัมพนัธ์อย่างแทจ้ริง คือ การยอมรับว่าคนอ่ืนเป็นคนเหมือนผม เป็นผูท่ี้มี

ความคิด ความรู้สึก นํ้ าใจเสรีเหมือนท่ีผมมี” แมค้นอ่ืนอาจมีหลายส่ิงท่ีต่างจากตวัเรา แต่เราก็ยอมรับใน

ความเป็นตวัเขา และมุ่งส่งเสริมใหเ้ขาเป็นอยา่งท่ีเขาเป็น เป็นการเปิดตวัของเราสู่ความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน

ในฐานะท่ีเขาเป็นเพ่ือนมนุษยด์ว้ยกนัซ่ึงมีลกัษณะพิเศษเฉพาะของเขาซ่ึงอาจไม่เหมือนตวัเรา แต่เราก็

ยอมรับความเป็นตวัเขาท่ีแตกต่างจากเรา การอยูร่่วมกนัของมนุษยจึ์งมีลกัษณะเป็นสงัคมของบุคคล และ

มุ่งส่งเสริมลกัษณะท่ีดีของแต่ละบุคคล

จึงกล่าวไดว้่า สุขภาวะทางสังคม คือ ภาวะในการดาํเนินชีวิตอยู่กบัคนอ่ืนใน

สงัคมอยา่งมีความสุข บนพ้ืนฐานการเคารพสิทธิและหนา้ท่ีของแต่ละบุคคล ตามสถานภาพของชีวิต

4. สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (ปัญญา)

สาํนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (2550) อธิบายว่าสุขภาวะทางจิต

วิญญาณ หมายถึง ความสุขอนัประเสริฐท่ีเกิดจากมีจิตใจสูง เขา้ถึงความจริงทั้ งหมด ลดละความเห็นแก่

ตวั มุ่งเขา้ถึงส่ิงสูงสุด ซ่ึงหมายถึงนิพพาน หรือพระผูเ้ป็นเจา้หรือความดีสูงสุด สุดแลว้แต่ความเช่ือมท่ี

แตกต่างกนัของแต่ละคน

ซ่ึง มหาวิทยาลยัอสัสัมชญั (2553) อธิบายว่าสุขภาวะทางจิตวิญญาณ หมายถึง

สภาวะการมีจิตตารมย์ ของบุคคลใดบุคคลหน่ึง ซ่ึงรวมความถึง การตั้ งว ัตถุประสงค์ในชีวิต

ความสามารถในการให ้และรับความรัก และความรู้สึกในการเสียสละ และปรารถนาดีต่อผูอ่ื้น สาํหรับ

ในคนบางกลุ่ม ศาสนาอาจจะเป็นองคป์ระกอบกลาง ท่ีสาํคญัของโปรแกรมดา้นสุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ได ้โปรแกรมน้ีอาจรวมถึงการจดัสมัมนา เร่ือง การวางแผนชีวิต การใหบ้ริการอยา่งสมคัรใจ หรือการให้

บริจาคแก่องค์กรอ่ืนๆ และโปรแกรมความร่วมมือต่างๆ ในกลุ่มศาสนา การศึกษาวิจยัในเร่ืองดงักล่าว

เหล่าน้ี ยงัมีอยูค่่อนขา้งจาํกดั แต่ก็กาํลงัแพร่หลายมากข้ึน ดงัท่ี มหาวิทยาลยัราชภฎัเพชรบุรี (2553) ได้

อา้งถึง พระราชบญัญติัสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ไดก้าํหนดไวว้่า “สุขภาพทางปัญญา หมายความว่า

ความรู้ทัว่รู้เท่าทนั และความเขา้ใจอยา่งแยกไดใ้นเหตุผลแห่งความดีความชัว่ ความมีประโยชน์และความ

มีโทษ ซ่ึงนาํไปสู่ความมีจิตใจอนัดีงาม และเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ สุขภาวะทางปัญญาช่วยให้ผูค้นบรรลุถึง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

54

ความสุขท่ีแท ้คือความสุข ท่ีเกิดจากการมีทศันคติท่ีถกูตอ้ง รู้เท่าทนัความจริงของชีวิตและโลก สามารถ

คิดถกู คิดชอบ และรู้จกัแกทุ้กขไ์ดด้ว้ยปัญญา รวมทั้งมีความสุขจากการดาํเนินชีวิต ถกูตอ้ง ดีงาม จากการ

เป็นผูใ้ห ้และการทาํความดีเพ่ือคนอ่ืนหรือส่วนรวม

สุขภาวะทางปัญญาเกิดจากการเรียนรู้ท่ีทาํใหรู้้รอบ รู้เท่าทนัสรรพส่ิง เรียนรู้ให้

ทาํเป็น เรียนรู้เพ่ือการอยูร่่วมกนั และการเรียนรู้เพ่ือบรรลุอิสรภาพ การเรียนรู้ดงักล่าวทาํให้เกิดสุขภาวะ

ทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสงัคม และสุขภาวะทางปัญญา รวมกนัเป็นสุขภาวะท่ีสมบูรณ์ สุข

ภาวะท่ีสมบูรณ์เกิดจากการเรียนรู้ท่ีดี การเรียนรู้ท่ีดีจึงเป็นส่ิงท่ีประเสริฐท่ีสุดของมนุษย ์ ซ่ึง เสรี พงศ์

พิศ (2008) อธิบายว่าสุขภาวะทางจิตวิญญาณเป็นความสมดุลของชีวิต เกิดจากการอยู่อย่างรู้คุณค่าของ

การมีชีวิต ไม่ว่าจะเกิดอะไรข้ึน พร้อมท่ีจะเผชิญและยอมรับส่ิงท่ีเกิด ไม่ว่าดีหรือร้าย เพราะหลายอยา่งเรา

กาํหนดเองไม่ได ้พร้อมท่ีจะอยู่ร่วมกบัส่ิงต่างๆ ร่วมกบัผูค้นท่ีเราอาจไม่รักไม่ชอบสุขภาวะทางจิต

วิญญาณเป็นการเห็นคุณค่า ความหมาย การมีสติ การใชปั้ญญา เป็นสุขภาวะท่ีมาจาก “ใจ” การเห็นคุณค่า

และความหมาย ก่อใหเ้กิดความสมดุล การไม่สามารถยอมรับ ไม่สามารถปรับตวั ไม่สามารถอยู่ร่วมกบั

ส่ิงต่างๆ ท่ีไม่สมดุล หรือเอียงไปขา้งหน่ึงขา้งใดมากเกินไปก็ทาํใหเ้กิดทุกข ์

อย่างไรก็ตาม รอฮานิ เจะอาแซ และคนอ่ืนๆ (2553) อธิบายว่ามิติจิตวิญญาณ

เป็นมิติท่ีมีความซบัซอ้น และเป็นปัญหาในเร่ืองของความเป็นสากลของความหมายเน่ืองจากมีความ

เก่ียวข้องกบัเง่ือนไขและคุณค่าของสังคมและยุคสมยั ดงันั้ นจึงยากต่อการท่ีจะจาํกดัความเพ่ือให้มี

ความหมายแง่ใดแง่หน่ึงได ้ เน่ืองจากการจาํกัดความอย่างใดอย่างหน่ึงจะทาํให้เกิดการจาํกัดเร่ืองจิต

วิญญาณเฉพาะกับกลุ่มท่ีมีความเช่ือใดความเช่ือหน่ึง มิติของสุขภาวะทางจิตวิญญาณ จึงเป็นเร่ือง

เก่ียวขอ้งกบัคุณค่า ความหมาย เป้าหมายของชีวิต (Highfield, 1992, อา้งถึงใน รอฮานิ เจะอาแซ และคน

อ่ืนๆ, 2553) ความหวงั ความเช่ือในส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิและอาํนาจเหนือธรรมชาติ ความเล่ือมใสศรัทธาต่อ

ศาสนา (Lillis and others, 2008, อา้งถึงใน รอฮานิ เจะอาแซ และคนอ่ืนๆ, 2553) จิตวิญญาณมีความ

เก่ียวขอ้งกบัเง่ือนไขและคุณค่าของสงัคมและยคุสมยั ดงันั้นการใหค้าํจาํกดัความและองคป์ระกอบของจิต

วิญญาณจึงมีความหลากหลายตามบริบทและคุณค่าของแต่ละสงัคมท่ีเคร่ืองมือเหล่านั้นพฒันาข้ึน อยา่งไร

ก็ตามเม่ือพิจารณาถึงองค์ประกอบของจิตวิญญาณท่ีปรากฏจากผลการพฒันาเคร่ืองมือเหล่านั้นมีความ

คลา้ยคลึงกนัในคุณลกัษณะทัว่ไป สามารถแบ่งองค์ประกอบของจิตวิญญาณไดเ้ป็น 4 องค์ประกอบ คือ

คุณค่า เป้าหมายและความหมายของชีวิต ความศรัทธาในศาสนาและความรู้สึกต่ออาํนาจเหนือธรรมชาติ

การมีปฏิสัมพนัธ์กบัตนเอง ส่ิงแวดลอ้มและอาํนาจเหนือธรรมชาติ และความตระหนักรู้และคุณธรรม

พ้ืนฐาน ซ่ึง ดวงใจ รัตนธญัญา (2547) เสนอว่า คนท่ีมีสุขภาวะทางจิตวิญญาณ จกัรู้ไดด้้วยตนเอง

ตวัช้ีวดัไดแ้ก่ ศรัทธาและพากเพียรในการศึกษาและกาํจดักิเลสในตน มีศีลธรรม สงบเยน็ สุภาพ มีปิย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

55

วาจา มีความประหยดั ประณีตและเรียบง่าย ขยนั มีสมรรถนะ รับผิดชอบในการทาํงาน มีเมตตา กรุณา

เอ้ือเฟ้ือผูอ่ื้น ร่าเริง เบิกบานแจ่มใส มีจิตท่ีรับรู้และแยกแยะอย่างรวดเร็วถึงกุศล อกุศล มีจิตท่ีเป็นอาํนาจ

ลด ละกิเลสได ้และจิตตัง่มัน่ ไม่หวัน่ไหวต่อกิเลส

จึงกล่าวไดว้่า สุขภาวะทางจิตวิญญาณ ไดแ้ก่ การดาํเนินชีวิตดว้ยความสุขอนั

ประเสริฐท่ีเกิดจากมีจิตใจสูง เขา้ถึงความจริงทั้งหมด ลดละความเห็นแก่ตวั มุ่งเขา้ถึงส่ิงสูงสุด ตามแต่

ความเช่ือมท่ีแตกต่างกนัของแต่ละคน สุขภาวะทางจิตวิญญาณสะทอ้นความสมดุลในครอบครัว ใน

ชุมชน ในสงัคม สะทอ้นความสมัพนัธอ์นัดีกบัธรรมชาติ กบัทุกส่ิงในจกัรวาล

นอกจากนั้ น จากการพิจารณาแนวทางการประเมินการพัฒนามนุษย์โดย

ประยกุตแ์นวคิดเร่ืองสุขภาวะท่ีมีการพิจารณาดชันีช้ีวดัการพฒันาสุขภาวะ ซ่ึง ปาริชาต เทพอารักษ์ และ

อมราวรรณ ทิวถนอม (2550) เสนอว่าการประเมินสุขภาวะ นอกจากจะประเมินผลกระทบสุดทา้ยของ

ความสมบูรณ์ทั้ งดา้นร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณแลว้ ยงัครอบคลุมถึงกระบวนการ และ

พฤติกรรมท่ีนาํไปสูสุขภาวะท่ีดี ไดแ้ก่ การมีพฤติกรรมการดาํรงชีวิตท่ีเหมาะสม มีคุณภาพชีวิตท่ีดี

ตระหนกัถึงภยัอนัตรายท่ีมีผลเสียต่อร่างกายและจิตใจ ยดึมัน่ในศีลธรรม มีความซ่ือสตัยสุ์จริต เรียนรู้ดว้ย

ตนเองอยา่งต่อเน่ืองตลอดชีวิต มีทกัษะความสามารถในการปรับตวัไดอ้ย่างรู้เท่าทนั และดาํเนินชีวิตอยู่

ในสงัคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยา่งรวดเร็วไดอ้ยา่งปกติสุข มีการศึกษาซ่ึงเป็นเคร่ืองมือสาํคญัในการสร้าง

โอกาส และพฒันาสติปัญญาและกระบวนการเรียนรู้ของคนให้สามารถ “คิดเป็น ทาํเป็น” เรียนรู้ท่ีจะ

พ่ึงตนเอง และใชป้ระสบการณ์ ศกัยภาพ และทกัษะความสามารถของตนเองให้เป็นประโยชน์ในการ

ดูแลสุขภาพกาย สุขภาพใจ และสติปัญญาตลอดจนสามารถปฏิบติัภารกิจในสงัคม และมีส่วนร่วมในการ

พฒันา และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนัของประเทศไดอ้ย่างมีประสิทธิภาพ มีภูมิคุม้กนัจาก

กระแสทุนนิยม หรือกระแสโลกาภิวตัน ์อนัจะนาํไปสู่ความอยูดี่มีสุขของสงัคมโดยรวม

นอกจากนั้น ไดเ้สนอดชันีช้ีวดัสุขภาวะดว้ยการพิจารณาจากปัจจยัพ้ืนฐานการ

สร้างความอยูเ่ยน็เป็นสุข โดยแจกแจงออกเป็นปัจจยัพ้ืนฐานท่ีจะส่งผลใหเ้กิดความอยูเ่ยน็เป็นสุขได ้แบ่ง

ออกเป็น 3 องคป์ระกอบยอ่ยท่ีมีความเช่ือมโยงกนัอยา่งเป็นบูรณการ ไดแ้ก่ สุขภาพกายดี สุขภาพจิตดี มี

คุณธรรมจริยธรรม และมีสติปัญญา และใฝ่รู้ สามารถอธิบายแต่ละองคป์ระกอบยอ่ย ดงัน้ี (ปาริชาต เทพ

อารักษ ์และ อมราวรรณ ทิวถนอม, 2550)

1. องค์ประกอบของการมีสุขภาพกายดี หมายถึง การมีร่างกายท่ีแข็งแรง มี

ภาวะโภชนาการท่ีดีมีพฤติกรรมการดาํรงชีวิตท่ีเหมาะสม ส่งผลให้ห่างไกลจากโรคภยัไขเ้จ็บ ไม่มีโรค

ประจาํตวั/โรคเร้ือรัง และมีอายยุนืยาวอย่างมีคุณภาพ โดยไดก้าํหนดประเด็นการประเมินไว ้2 ประเด็น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

56

คือ ร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ มีพฤติกรรมท่ีเหมาะสม ไม่เป็นปัจจยัเส่ียงต่อสุขภาพ ไม่เจ็บป่วย ไม่มีโรค

ประจาํตวั/โรคเร้ือรัง ส่งผลใหก้ารใชจ่้ายในดา้นรักษาพยาบาลลดลง และ อายยุืนยาวอย่างมีคุณภาพชีวิต

ท่ีดี และช่วยเหลือตนเองไดโ้ดยมีตวัช้ีวดั 2 ตัว ไดแ้ก่ ร้อยละของประชากรท่ีมีโรคเร้ือรังหรือโรค

ประจาํตวั และอายขุยัเฉล่ียเม่ือแรกเกิด

2. องค์ประกอบของการมีสุขภาพจิตดี มีคุณธรรมจริยธรรม หมายถึง

ความสามารถในการใชก้ลไกปรับตวัท่ีถูกตอ้ง สามารถปรับอารมณ์ ความรู้สึกสู่สภาวะสมดุลไดโ้ดยท่ี

ตนเอง และส่ิงแวดลอ้มไม่เดือดร้อน มีความสมัพนัธท่ี์ดีกบับุคคลอ่ืน ตลอดจนมีจิตใจท่ีดีงาม เอ้ือเฟ้ือ เผื่อ

แผ ่รวมทั้ งมีจิตสาํนึกความเป็นไทย โดยกาํหนดประเด็นการประเมินไว ้2ประเด็น ไดแ้ก่ จิตใจดี ไม่

เจ็บป่วยทางจิต มีสติ สามารถปรับตวัให้อยู่ในสังคม ไดอ้ย่างมีความสุข และยึดมัน่ในศีลธรรม มีความ

ซ่ือสตัย ์สุจริต ตลอดจนมีความเมตตากรุณาต่อเพ่ือนมนุษย ์จะใชต้วัช้ีวดั 2 ตวั คือ อตัราการฆ่าตวัตายต่อ

ประชากรแสนคน และสดัส่วนคดีอาญาต่อประชากรพนัคน

3. องคป์ระกอบของการมีสติปัญญา และใฝ่รู้ หมายถึง การรู้เท่าทนัและปรับตวั

ต่อการเปล่ียนแปลงอยา่งรวดเร็วของสงัคมได ้สามารถใชป้ระสบการณ์ ศกัยภาพและทกัษะความสามารถ

ของตนเองใหเ้ป็นประโยชน์ในการปฏิบติัภารกิจต่างๆไดอ้ยา่งเต็มประสิทธิภาพ โดยกาํหนดประเด็นการ

ประเมินไว ้3 ประเด็น คือ ความสามารถในการเรียนรู้ มีโอกาสทางการศึกษาท่ีเป็นพ้ืนฐานทาํให้คิดเป็น

ทาํเป็น รู้เท่าทนัและปรับตวัต่อการเปล่ียนแปลงไดดี้ มีการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพสามารถคิดคน้ พฒันา

นวตักรรม และใฝ่รู้ กระตือรือร้นต่อการรับรู้ขอ้มลู ข่าวสาร ติดตามคน้ควา้หาความรู้เพิ่มเติม

นอกจากนั้น มหาวิทยาลยัราชฎฎัเพชรบุรี (2553) เสนอว่า การวดัหรือประเมิน

สุขภาวะทางจิตวิญญาณ บางคนสามารถวดัโดยตวัเอง และสามารถวดัไดโ้ดยผูอ่ื้น แต่ การวดัตอ้งดูองค์

รวมในระยะยาวตอ้งดูในหลายๆ บริบท ดงัต่อไปน้ี

1. เช่ือว่าการวดัจะทาํไดโ้ดยญาณท่ีทาํให้สามารถ กาํหนดหย ัง่รู้วาระจิตคน

อ่ืน เป็นการใชจิ้ตสมัผสัจิต ขณะเดียวกนับางท่านเช่ือว่าผูท่ี้มีสุขภาวะทางจิต/จิตวิญญาณจริงจะรู้ว่าคือ

อะไร แต่บอกคนอ่ืนยาก การวดัจึงไม่ตอ้งไปเดาคนอ่ืน ไม่ตอ้งไปอ่านคนอ่ืน บอกคนอ่ืนไม่ได ้ ตอ้งรู้ดว้ย

ตนของตนเท่านั้น

2. เช่ือว่าการวดัจะทาํไดโ้ดยการสงัเกตถึงท่าทีของการเคารพคุณค่าในตวัคนอ่ืน

และคุณค่าในตวัเอง การรู้จกัปล่อยวาง ความตระหนกัรู้ท่ีจะนาํเราไปสู่ความไม่ประมาทในเหตุ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

57

จึงสรุปความไดว้่า ดชันีช้ีวดัสุขภาวะหรือคุณภาพชีวิตท่ีดี ตอ้งพิจารณาด้วย

รูปแบบท่ีหลากหลาย และค่อยๆ พฒันาตวัช้ีวดัอย่างต่อเน่ือง แมด้ชันีช้ีวดัสุขภาวะท่ีมีอยู่ในปัจจุบนัอาจ

ไม่ครอบคลุมและบ่งช้ีไดค้รบถว้น แต่การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ร่วมกนัประเมินและเรียนรู้ร่วมกนั

ย่อมทาํให้ดชันีช้ีวดัสุขภาวะมีความครบถว้นมากยิ ่งข้ึน ทั้งน้ี การประเมินการพฒันามนุษยจ์าํเป็นตอ้ง

บูรณการรูปแบบการประเมินทั้ งเชิงปริมาณและคุณภาพ บนพ้ืนฐานของกาํหนดเป้าหมายของการ

ประเมินใหช้ดัเจน ว่าเป็นการประเมินเพ่ือพฒันามนุษย ์หรือเพ่ือการตดัสินใจ ตอ้งกาํหนด/ใชเ้คร่ืองมือท่ี

ใหไ้ดม้าซ่ึงขอ้มลู ทั้งขอ้มลูเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยควรเลือกใชเ้คร่ืองมือท่ีหลากหลาย

ตอนที่ 2 กระบวนทัศน์การพฒันามนุษย์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

พืน้ฐานกระบวนทัศน์เร่ืองมนุษย์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

กระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีพ้ืนฐานบนคาํสอนคริสต์

ศาสนาท่ีสอนว่ามนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ โดยใชป้รัชญาบุคคลนิยมมาอธิบายคาํสอนดงักล่าว

ดงัท่ี เบลทซ์ (Beltz , 1996) เสนอว่า พระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 เนน้อธิบายคาํสอนคริสต์ศาสนา

ในเร่ืองมนุษย ์ ซ่ึง สเชล (Schall, 1997) ขยายความว่าแนวคิดเร่ืองมนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะเป็นปรัชญาบุคคลนิยมท่ียดึมนุษยเ์ป็นศนูยก์ลางตามแนวคิดแบบคาทอลิก (Catholic

Anthropolocentric) กล่าวคือ เป็นการอธิบายความหมายของชีวิตมนุษย์โดยนําปรัชญาบุคคลนิยม

(Personalism) มาอธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนา มนุษยมี์ศกัด์ิศรีในฐานะเป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้างให้เป็น

ภาพลกัษณ์ มีศกัยภาพท่ีสามารถบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ (ชีวิตนิรันดร) ในพระเจา้ โดยอาศยัความรู้สาํนึก

(Consciousness) เสรีภาพ (Freedom) และความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น (Relation) ซ่ึงเป็นลกัษณะพิเศษท่ีบ่ง

บอกว่ามนุษยแ์ตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ และ วิล์ลส (Wills, 1998) ท่ีเสนอว่าแนวคิดของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นแนวบุคคลนิยมแบบคริสตชน ซ่ึงเรียกร้องให้มนุษยช่์วยกนัสร้างสังคม

ในแบบท่ีใหค้วามเคารพและปกป้องศกัด์ิศรีและเสรีภาพของมนุษย ์ และช่วยกนัต่อสูก้บักระแสของการ

ทาํลายชีวิต โดยสร้างวฒันธรรมท่ีปกป้องชีวิตมนุษย ์ในฐานะท่ีชีวิตมนุษยเ์ป็นศนูยก์ลางของทุกกิจกรรม

บนโลก

1. แนวคดิเร่ืองมนุษย์ตามคาํสอนคริสต์ศาสนา

คาํสอนคริสตศ์าสนา มีพ้ืนฐานจากพระคมัภีร์ไบเบิ้ล (Bible) ผา่นการตีความตามกรอบ

ของธรรมประเพณี (Tradition) และการสอนทางการของคริสตศ์าสนจกัร (Magisterium) แนวคิดเร่ือง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

58

มนุษยต์ามคาํสอนคริสตศ์าสนาจึงมีพ้ืนฐานอยูบ่นคาํสอนวา่ “มนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้” ซ่ึง

ไดรั้บการตีความคาํสอนดงักล่าวผา่นการสอนตามธรรมประเพณี (Tradition) และการสอนทางการของ

ผูน้าํคริสตศ์าสนจกัร (Magisterium) โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

1.1 มนุษย์ ตามแนวความคดิจากพระคมัภีร์คริสต์ศาสนา (Bible)

จุดเร่ิมตน้สาํคญัในความเขา้ใจเก่ียวกบัมนุษยคื์อ ความเช่ือว่าพระเจา้เป็นผูส้ร้าง

สรรพส่ิงและมนุษย ์ พระเจา้เป็นผูเ้ป็นดว้ยพระองคเ์อง (Being himself) แต่เพียงผูเ้ดียวโดยไม่ตอ้งข้ึนกบั

ส่ิงอ่ืนและพระเจา้ไดใ้หล้กัษณะเช่นน้ีแก่มนุษยแ์ละสรรพส่ิงท่ีพระองคท์รงสร้าง หมายความว่ามนุษยไ์ม่

มีความเป็นตวัของตวัเอง แต่มีส่วนร่วมในความเป็นของพระเจา้ในความหมายท่ีว่าพระเจา้ทรงถ่ายทอด

ความเป็นของพระองคแ์ก่ส่ิงท่ีพระองคส์ร้าง เน่ืองจากพระคมัภีร์ย ํ้ าความพิเศษของมนุษยใ์นฐานะเป็น

“ภาพลกัษณ์ของพระเจา้” (Image of God) มนุษยจึ์งมีธรรมชาติและมีความสมัพนัธพิ์เศษกบัพระเจา้

มากกว่าส่ิงอ่ืนๆ ท่ีพระองคส์ร้างและ “ความสมัพนัธพิ์เศษน้ีเองท่ีกาํหนดความเป็นอยูแ่ละประวติัศาสตร์

ของมนุษย”์ (เสรี พงศพิ์ศ และคนอ่ืนๆ, 2524: 201) พระเจา้ทรงเปิดเผย เช้ือเชิญและประทานพรแก่

มนุษยใ์หเ้ขา้มามีความสมัพนัธอ์ยา่งใกลชิ้ดกบัพระองค ์ ในฐานะท่ีพระองคเ์ป็นบ่อเกิดและจุดหมายของ

มนุษย ์

พระคมัภีร์คริสตศ์าสนา (Bible) แบ่งออกเป็นสองภาค ไดแ้ก่ พระคมัภีร์ภาคพนัธ

สญัญาเดิมและพระคมัภีร์ภาคพนัธสญัญาใหม่ ซ่ึงมีรายละเอียดการอธิบายคาํสอนเร่ืองมนุษย ์ดงัน้ี

1.1.1 มนุษย์ตามแนวพระคมัภีร์ภาคพนัธสัญญาเดิม (Old Testament)

1. มนุษย์เหมอืนสรรพส่ิงทั้งหลาย ในฐานะที่ได้รับ “ความมอียู่” มาจากพระ

เจ้า และทุกส่ิงที่ได้รับความมอียู่จากพระเจ้า ล้วนเป็นส่ิงทีด่ ี

พระคมัภีร์ภาคพนัสญัญาเดิม ไดก้ล่าวถึงส่ิงท่ีพระเจา้ตรัสว่า “เราคือผู ้

เป็นตวัของเราเอง” (I am who I am) (Exodus/อพย 3: 14) พระคมัภีร์แสดงใหเ้ห็นว่ามีแต่พระเจา้เท่านั้นท่ี

มีอยูด่ว้ยตวัของพระองคเ์อง “พระองคเ์ป็นสาเหตุของความมีอยูข่องพระองค”์ (Brown et al., 1989: 50 [3

: 11]) ทรงเป็นผูเ้ป็นในตวัพระองคเ์อง (Being himself) แต่เพียงผูเ้ดียว มนุษยแ์ละสรรพส่ิงท่ีถกูสร้างมา

ไดรั้บความเป็นน้ีมาจากพระเจา้ หมายความว่า “ไม่มีความเป็นในตวัเอง แต่มีส่วนร่วมในความเป็นของ

พระเจา้” (เสรี พงศพิ์ศ และคนอ่ืนๆ, 2524: 198) มนุษยแ์ละสรรพส่ิงไม่สามารถมีอยูไ่ดด้ว้ยตวัเอง ส่ิง

ต่าง ๆ จึงไม่ใช่ส่วนหน่ึงของพระเจา้ แต่ไดรั้บความเป็นอยูจ่ากพระเจา้ตามพระประสงคข์องพระองค ์

การท่ีพระเจา้ทรงเนรมิตใหส้รรพส่ิงมีอยู่นั้น มีปรากฏใน 11 บทแรกใน

พนัธสญัญาเดิม (Genesis/ปฐมกาล) ซ่ึงเล่าเร่ืองการสร้างโลกและมนุษยค์ู่แรก “โดยเนน้ความจริงท่ีสาํคญั

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

59

ว่าพระเจา้ทรงเป็นเจ้าของสรรพส่ิง พระองค์แต่ผูเ้ดียวเป็นผูส้ร้างสรรพส่ิงข้ึนมา” (ทัศไนย ์คมกฤส,

2529: 30) ความมีอยูแ่ละความหมายของโลกน้ีอยูใ่นพระหัตถข์องพระเจา้ผูท้รงเป็นปฐมเหตุของทุกส่ิง

โลกและทุกส่ิงท่ีมีอยูซ่ึ่งมาจากพระเจา้นั้นเป็นส่ิงท่ี “ดี” (Genesis/ปฐก 1 : 3; 10; 12; 18) มนุษยใ์นฐานะ

เป็นส่วนหน่ึงท่ีพระเจา้สร้างมาจึงเหมือนกบัส่ิงทั้งหลาย นัน่ก็คือมนุษยไ์ม่มีความมีอยูท่ี่เป็นของตวัเอง แต่

ไดรั้บความมีอยู่จากพระเจ้า มนุษยจึ์งข้ึนอยู่กบัพระผูส้ร้าง “น่ีเป็นการมองมนุษยใ์นฐานะเป็นหน่ึง

เดียวกบัสรรพส่ิงท่ีตอ้งข้ึนกบัพระเจา้ ซ่ึงเป็นการเนน้เอกภาพของมนุษยก์บัจกัรวาล” (เสรี พงศพิ์ศ และ

คนอ่ืนๆ, 2524: 202) มนุษยจึ์งเหมือนกบัสรรพส่ิงทั้งหลายท่ีพระเจา้สร้าง ในฐานะท่ีไม่มีความมีอยู่ดว้ย

ตวัเอง ทุกส่ิงต่างไดรั้บความมีอยูม่าจากพระเจา้และทุกส่ิงท่ีมีความอยูน่ั้น เป็นส่ิงท่ีดีทั้งสิ้น

2. มนุษย์: ในฐานะเป็นส่ิงที่พระเจ้าสร้างให้พเิศษกว่าส่ิงอืน่ ๆ

ในพนัธสญัญาเดิมไดก้ล่าวถึงการสร้างมนุษยส์องสาํนวน สาํนวนแรกมี

ในหนงัสือปฐมกาล (Genesis) บทท่ี 1 เล่าถึงการท่ีพระเจา้ทรงสร้างส่ิงต่าง ๆ และพระองคส์ร้างมนุษยใ์น

ลาํดบัสุดทา้ยโดยถือว่าเป็นส่ิงประเสริฐสูงสุดของส่ิงท่ีพระเจา้สร้าง สาํนวนท่ีสองมีในหนังสือปฐมกาล

บทท่ี 2 กล่าวว่าพระเจา้สร้างมนุษยเ์ป็นพิเศษโดยป้ันจากดินและเป่าลมแห่งชีวิต (Breathe of Life) ให้แก่

มนุษย ์พระองค์ประทานส่ิงต่าง ๆ ให้มนุษย ์ ส่ิงสําคญัท่ีสุดในการเล่าเร่ืองการสร้าง คือ “มนุษยมี์

ธรรมชาติพิเศษแตกต่างจากสตัวท์ั้งหลาย มีความสมัพนัธพิ์เศษกบัพระเจา้ และความสมัพนัธพิ์เศษน้ีเองท่ี

กาํหนดความเป็นอยูแ่ละประวติัศาสตร์ของมนุษย”์ (เสรี พงศพิ์ศ และคนอ่ืนๆ, 2524: 201) เป็นการย ํ้ า

ความสาํคญัของมนุษยใ์นฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ท่ีประเสริฐสุด ซ่ึงอธิบายไดใ้นรายละเอียดดงัน้ี

2.1 มนุษย์เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า หมายถึง การเป็นตวัแทนของ

พระเจ้าบนโลก

ส่ิงท่ีพนัธสญัญาเดิมย ํ้ าความพิเศษของมนุษยท่ี์แตกต่างจากส่ิงท่ีพระ

เจา้ทรงสร้างโดยทัว่ไป คือ การท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ มีแต่มนุษยเ์ท่านั้นท่ีถกูสร้างตาม

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ โดยมีพ้ืนฐานในหนงัสือปฐมกาล (Genesis/ ปฐก 1: 26 - 27) ท่ีอธิบายว่า “พระเจา้

จึงทรงสร้างมนุษยข้ึ์นตามพระภาพลกัษณ์ของพระองค ์ ตามภาพลกัษณ์ของพระองคน์ั้น พระองคท์รง

สร้างมนุษยข้ึ์นและไดท้รงสร้างใหเ้ป็นชายและหญิง” คาํว่า “ตามภาพลกัษณ์ของเรา” หมายถึงเป็น

ตวัแทนของพระเป็นเจา้ เพราะพระองคไ์ม่ทรงมีร่างกายเป็นวตัถุ “ทั้งชายและหญิงเป็นรูปแบบของพระ

เป็นเจา้ ทั้ง ๆ ท่ีพระองคไ์ม่มีเพศ” (ทศัไนย ์คมกฤส, 2534: 14) มนุษยใ์นฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระ

เจา้จึงหมายถึงการเป็นตวัแทนของพระเจา้บนโลก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

60

2.2 มนุษย์เหมอืนพระเจ้า หมายถึง การมอีาํนาจเหนือส่ิงต่าง ๆ ที่พระ

เจ้าสร้าง

การท่ีมนุษยเ์ป็นพระภาพลกัษณ์ของพระเจา้นั้น ยงัมีการขยายความ

ต่อในหนงัสือปฐมกาล (Genesis/ ปฐก 1: 28) ท่ีอธิบายว่า “พระเจา้ทรงอวยพระพรแก่มนุษย ์ตรัสแก่เขา

ว่า จงมีอาํนาจเหนือแผน่ดิน จงครอบครองฝงูปลาในทะเลและฝงูนกในอากาศกบับรรดาสตัวท่ี์

เคล่ือนไหวบนแผน่ดิน” น่ีคือความหมายของการถกูสร้างในความเหมือนพระเจา้ เป็นความเหมือนพระ

เจา้ท่ีพระองคป์ระทานแก่มนุษย ์ “ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ในท่ีน้ีหมายถึงความเหมือนพระเจา้ในดา้นมี

ชีวิต บุคลิกภาพ สติปัญญา และความสามารถ” (กมล อารยะประทีป, 2530: 23) เพ่ือให ้ “มนุษยมี์อาํนาจ

เหนือแผน่ดิน ครอบครองฝงูปลา ฝงูนก บรรดาสตัวเ์ล้ือยคลาน” (Genesis/ ปฐก 1: 28) เหมือนกบัท่ีพระ

เจา้ทรงมี กล่าวคือ “พระยาเวห์ ทรงโปรดใหม้นุษยมี์อาํนาจปกครองเหนือผลงานทั้งหลายท่ีมาจากพระ

หตัถข์องพระเจา้” (Mckenzie, 1976: 203) “แต่การมีอาํนาจเช่นน้ีเป็นเพียงตวัแทนของพระเป็นเจา้เท่านั้น

จึงไม่ใช่อาชญาสิทธ์ิอยา่งเด็ดขาดตามใจตวัเอง” (ทศัไนย ์คมกฤส, 2534: 14) “มนุษยถ์กูสร้างในความ

เหมือนพระเจา้ เพราะพระเจา้ใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมในบทบาทการเป็นนายของพระเจา้ในโลก” (Schelkle,

1971: 89) “แต่ในขอบเขตจาํกดัท่ีพระเจา้ทรงใหมี้ เพราะเป็นเพียงภาพลกัษณ์ไม่ใช่เป็นพระเจา้” (กมล

อารยะประทีป, 2530: 23)

2.3 มนุษย์เป็นส่ิงสร้างประเสริฐสุด เพราะได้รับลมหายใจแห่งชีวติจาก

พระเจ้า

ในพนัธสญัญาเดิม ยงัมีการเล่าเร่ืองการสร้างมนุษยอี์กแบบหน่ึง

(สาํนวนท่ีสอง) กล่าวว่า “พระเจา้ทรงป้ันมนุษยด์ว้ยผงคลีดิน ระบายลมปราณเขา้ทางจมกู มนุษยจึ์งเป็นผู ้

มีชีวิต” (Genesis/ ปฐก 2: 7) กล่าวคือ พระเจา้ทรงสร้างมนุษยจ์ากดิน (The dust of the earth) และ

พระองคป์ระสิทธ์ิประสาทชีวิตวญิญาณแก่มนุษยจ์ากลมหายใจของพระองค ์ (Soul life by the breath of

God) (Anonymous, 2004) “เป็นการใหค้วามสาํคญัแก่มนุษยใ์นฐานะท่ีพระเจา้ทรงสร้างแบบพิเศษกว่า

ส่ิงอ่ืน ๆ เพราะมีแต่มนุษยเ์ท่านั้นท่ีไดรั้บชีวิตจากลมปราณ (ลมหายใจ) ของพระเจา้” (ทศัไนย ์ คมกฤส,

2535: 34) ซ่ึงในเร่ืองน้ีจะอธิบายเพิ่มเติมในเร่ืองธรรมชาติของมนุษย ์

3. ธรรมชาต/ิลกัษณะของมนุษย์ตามพนัธสัญญาเดิม

แนวคิดเก่ียวกบัมนุษยใ์นพระคมัภีร์ปฐมกาลเร่ืองการสร้างโลกทั้งสอง

สาํนวน ท่ีเนน้ความพิเศษของมนุษยใ์นฐานะท่ีถกูสร้างใหเ้ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้และไดรั้บลมหายใจ

แห่งชีวิตจากพระองค ์ถือเป็นพ้ืนฐานต่อแนวคิดเร่ืองมนุษยใ์นพนัธสญัญาเดิม โดยมีการอธิบายและขยาย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

61

ความเพิ ่มเติมในหนงัสือเล่มต่อ ๆ มาในพนัธสญัญาเดิม จึงอธิบายลกัษณะตามธรรมชาติของมนุษยไ์ด้

ดงัน้ี

3.1 พระเจ้าทรงสร้างมนุษย์ให้เป็นอมตะ แต่บาปทําให้มนุษย์ต้องตาย

“ในหนงัสือปฐมกาล บอกเราว่ามนุษยแ์ต่เร่ิมแรกถกูสร้างโดยไม่

ตอ้งตาย” (Rahner, 1969: 33) มีการอธิบายเพิ่มเติมในวรรณกรรมประเภทปรีชาญาณ ว่า “พระเจา้สร้าง

มนุษยม์าใหเ้ป็นอมตะ” (Wisdom/ ปชญ 9: 15) “ทรงสร้างมนุษย ์(ทั้งกายและวิญญาณ) มาใหเ้ป็นอมตะ

(Wisdom/ ปชญ 2 : 23) “เพราะมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ มนุษยจึ์งเป็นอมตะ” (Schelkle, 1971 :

90) พนัธสญัญาเดิมใหแ้นวคิดว่าธรรมชาติดั้งเดิมของมนุษยเ์ป็นอมตะ เพราะพระเจา้สร้างมนุษยใ์หเ้ป็น

อมตะ ตามรูปแบบของพระองค ์แต่เพราะบาป ส่งผลใหม้นุษยต์อ้งตาย “แต่พนัธสญัญาเดิมไม่ไดบ้อกว่า

ความตายเป็นจุดจบของชีวิต” (McWilliam, 1986: 16) มนุษยย์งัมีจิตหลงัความตาย “เพราะกาย (มาจาก

ฝุ่ นดิน) จะกลบัเป็นฝุ่ นดินดงัเดิม แต่จิตวิญญาณ (ลมหายใจแห่งชีวิต) เป็นอมตะ” (Schelkle, 1971: 86)

แมร่้างกายตอ้งตายโดยกลบัไปเป็นดินดงัเดิม แต่มนุษยใ์นฐานะท่ีเป็นภาพลกัษณ์และไดรั้บลมหายใจ

แห่งชีวิตจากพระเจา้ จึงมีส่วนร่วมในความเป็นอมตะของพระเจา้ดว้ย มนุษยย์งัมีลกัษณะท่ีเป็นจิตซ่ึง

ยงัคงมีอยูห่ลงัความตายทางกาย ซ่ึงพนัธสญัญาเดิมก็ไม่ไดอ้ธิบายชดัเจนนกั แต่ใหพ้ื้นฐานท่ีจะพฒันา

ชดัเจนยิง่ข้ึนต่อไปในพนัธสญัญาใหม่

3.2 มนุษย์เป็นภวนัต์/ภาวะทางสังคม : การเน้นความเป็นหนึ่งเดียวของ

มนุษยชาต ิ

แนวคิดเร่ืองมนุษยเ์ป็นภวนัต์ทางสังคม มีพ้ืนฐานในหนังสือปฐม

กาลท่ีว่า “ไม่ควรท่ีชายจะอยูค่นเดียว” (Genesis/ ปฐก 2: 18) อนัแสดงถึง “ธรรมชาติมนุษยท่ี์นอกจากจะ

หมายถึงลกัษณะการเป็นสตัวส์งัคมของมนุษยแ์ลว้ ยงัหมายถึงความตอ้งการลึกซ้ึงภายในธรรมชาติมนุษย์

ท่ีจะพบผูห้น่ึงซ่ึงมีธรรมชาติเหมือนกบัตน แต่ก็ไม่ใช่ตนทีเดียว” (ทศัไนย ์คมกฤส, 2535: 34) กล่าวคือ

มนุษยไ์ม่อาจอยู่ตามลาํพังคนเดียว มนุษยมี์ธรรมชาติท่ีต้องอยู่กับคนอ่ืนท่ีมีธรรมชาติเป็นมนุษย์

เหมือนกบัตนเอง โดยลกัษณะการเป็นภวนัตท์างสงัคมของมนุษยน้ี์ มีพ้ืนฐานอยู่ท่ีการตระหนักถึงการ

เป็นพ่ีนอ้งกนั สืบเช้ือสายเดียวกนัและไดรั้บพระกรุณาจากพระเจา้เหมือนกนั อนัหมายถึงการเป็นหน่ึง

เดียวกนัของมนุษยชาติ อาดมั (มนุษยค์นแรก) จึงหมายถึงทั้งการเป็นมนุษยค์นเดียว (Man) และมนุษยชาติ

(Mankind) และการนาํเสนอลาํดบัพงศพ์นัธุใ์นพระคมัภีร์ (Genesis/ ปฐก 4: 17–5: 32) มีจุดประสงค์ท่ีจะ

สอนความจริงท่ีสาํคญัคือ “ตอ้งการแสดงให้เห็นว่ามนุษยชาติมีความสัมพนัธ์เป็นอนัหน่ึงอนัเดียวกนั

เพราะสืบเช้ือสายมาจากตน้ตระกูลคนเดียวกนั เป็นญาติพ่ีน้องกนัทั้ งสิ้น มีชะตากรรมร่วมกนัในพระ

กรุณาของพระเป็นเจา้” (ทศัไนย ์คมกฤส, 2529: 45)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

62

3.3 มนุษย์ได้รับเสรีภาพ ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า

พนัธสญัญาเดิมเผยแสดงพระธรรมชาติของพระเจา้ในฐานะท่ีเป็น

พระบุคคลผูท้รงมีเสรีภาพอยา่งสมบูรณ์ ทรงสร้างสรรพส่ิงตามพระประสงคข์องพระองคเ์อง “มนุษยใ์น

ฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ จึงไดรั้บส่วนในการเป็นบุคคลท่ีมีเสรีภาพดว้ย” (เสรี พงศพิ์ศ, 2524:

209) “มนุษยจึ์งไม่ใช่หุ่นเชิดของพระเจา้ แต่มีเสรีภาพในการดาํเนินชีวติ” (กมล อารยะประทีป, 1997:

25) มีการเสริมความคิดในวรรณกรรมประเภทปรีชาญาณว่าเสรีภาพน้ี หมายถึงการมีอิสระในการ

ตดัสินใจเลือก ดงัมีปรากฏในหนงัสือบุตรสิราท่ีเสริมความคิดว่าพระเป็นเจา้ทรงเนรมิตสร้างมนุษยใ์หมี้

อิสรเสรีมาตั้งแต่แรก “พระองคป์ระทานใหเ้ขาสามารถเลือกดีหรือชัว่ เลือกชีวิตหรือความตาย” (ทศัไนย ์

คมกฤส, 2534: 45) มนุษยเ์ลือกทาํดีหรือทาํชัว่ไดด้ว้ยตนเอง “เม่ือพระเจา้ทรงสร้างมนุษยใ์นปฐมกาล

พระองคท์รงปล่อยใหม้นุษยต์ดัสินใจทาํดีหรือทาํชัว่” (Son of Sira/ บสร 15: 14) “พระองคท์รงตั้งนํ้ ากบั

ไฟไวต่้อหนา้เจา้ เจา้หยบิอนัไหนก็ไดต้ามใจชอบ มนุษยมี์ทั้งชีวิตและความตายอยูต่่อหนา้ เขาเลือก

อยา่งไรก็จะไดอ้ยา่งนั้น” (Son of Sira 15/ บสร: 16-17)

เสรีภาพท่ีมนุษยไ์ดรั้บจากพระเจา้น้ีมีขอบเขตจาํกดั เน่ืองจากมนุษย์

เป็นเพียงภาพลกัษณ์ ไม่ใช่พระเจา้ เสรีภาพของมนุษยจึ์งมีลกัษณะไม่สมบูรณ์เหมือนพระเจา้ กล่าวคือ

แทนท่ีมนุษยจ์ะใชเ้สรีภาพท่ีพระเจา้ประทานให ้เพ่ือสร้างความสมัพนัธก์บัพระเจา้มากยิง่ข้ึน มนุษยก์ลบั

ใชเ้สรีภาพทาํลายความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ผูเ้ป็นบ่อเกิดและเป้าหมายแห่งชีวิตของตน เป็นการใชเ้สรีภาพ

ในแบบฝืนธรรมชาติชีวิตของตน มนุษยใ์ชเ้สรีภาพในทางท่ีผดิ อนัก่อใหเ้กิดปัญหาเร่ืองบาปและความ

ชัว่ ซ่ึงอธิบายไดใ้นรายละเอียดดงัต่อไปน้ี

3.3.1 บาป คอื การใช้เสรีภาพทีฝื่นธรรมชาต ิ

มนุษย์เป็นส่ิ งสร้างของพระเจ้า จึงต้องดําเนินชีวิตตาม

ธรรมชาติของตน คือการข้ึนตรงกบัพระเจา้ บาป จึงหมายถึง “การฝืนธรรมชาติมนุษยโ์ดยการฝ่าฝืนพระ

บญัชาของพระเจา้” (ทศัไนย ์คมกฤส, 2535: 35) พนัธสญัญาเดิม เล่าโดยใชส้ญัลกัษณ์ของการกินผลไม้

ท่ีพระเจา้ทรงหา้มไว ้เล่าว่างูล่อลวงชกัชวนใหห้ญิงและชายคิดว่าการกินผลไมจ้ะทาํให้เขาทั้ งสอง “เป็น

เหมือนพระเจา้ รู้ดีรู้ชัว่” (Genesis/ ปฐก 3: 5) “นัน่คือรู้สารพดั อนัเป็นลกัษณะของพระเจา้โดยเฉพาะ...

พดูง่าย ๆ การกินผลไมท่ี้พระเจา้ทรงหา้ม เป็นการไม่ยอมรับสภาพความเป็นส่ิงสร้าง แต่ตั้ งตนเป็นพระ

ผูส้ร้างเสียเอง” (ทศัไนย ์คมกฤส, 2535: 35) คาํสั ่งของพระเจา้ท่ีมนุษยค์ู่แรกฝ่าฝืน จึงไม่ใช่เพียง

คาํสัง่หา้มมิใหกิ้นผลไมจ้ากตน้ใดตน้หน่ึง แต่เป็นการปฏิเสธไม่ยอมเช่ือฟังพระเจา้โดยสิ้นเชิง ทั้งสอง

ซ่ึงเป็นเพียงส่ิงสร้าง ไม่ปฏิบติัตามพระบญัชา แต่ “ตอ้งการเป็นพระเจา้เสียเอง น่ีแหละคือสาระสาํคญั

ของบาป” (ทศัไนย ์คมกฤส, 2534: 20) กล่าวคือ “การตกในบาปของมนุษย ์ช้ีให้เห็นถึงการท่ีมนุษยใ์ช้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

63

เสรีภาพในการเลือกตนเองมากกว่าพระเจา้ อนัเป็นการเหินห่างจากชีวิตท่ีแทจ้ริงของตนเอง” (เสรี พงศ์

พิศ และคนอ่ืนๆ, 2524: 210)

3.3.2 ผลของบาปคือ การทําให้ความกลมกลืนของชีวิตมนุษย์

บกพร่องไป

การท่ีมนุษยใ์ชเ้สรีภาพแบบฝืนธรรมชาติ โดยการเลือกตนเอง

แทนท่ีจะเลือกพระเจา้ มีผลทาํใหค้วามสมัพนัธข์องมนุษยต่์อทุกส่ิงสบัสนไปหมด แทนท่ีมนุษยจ์ะใช้

เสรีภาพเพื่อสร้างความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ผูเ้ป็นบ่อเกิดและเป้าหมายชีวิตมนุษย ์แต่มนุษยก์ลบัใชเ้สรีภาพ

เพ่ือตั้งตวัเป็นพระเจา้เสียเอง ความสมัพนัธร์ะหว่างพระเจา้กบัมนุษยบ์กพร่องไป เม่ือความสมัพนัธ์

ระหว่างพระเจา้กบัมนุษยบ์กพร่องไป ความสมัพนัธร์ะหว่างมนุษยก์บัสรรพส่ิงก็บกพร่องไป กลบั

กลายเป็นความห่างเหิน ไม่กลมกลืนระหว่างมนุษยก์บัสรรพส่ิง เอกภาพระหว่างบุคคลและสรรพส่ิงก็

พลอยขาดหายไปดว้ย แทนท่ีมนุษยจ์ะพยายามแสวงหาเอกภาพ กลบัใชเ้สรีภาพทาํใหเ้กิดการแตกแยก

มากข้ึน เสรีภาพท่ีใชใ้นการเป็นอยูส่อดคลอ้งกบัธรรมชาติ กลบัเป็นเสรีภาพท่ีสนอง “ตณัหา” ของตนเอง

อนันาํสู่ “ความห่างเหิน” (Alienation) (เสรี พงศพิ์ศ และคนอ่ืนๆ, 2524: 206) กบัทุกส่ิง จึงไม่มีทางท่ีจะ

นาํกลบัมาสู่ทางเดิมได ้

3.3.3 บาป ส่งผลให้มนุษย์ต้องตาย

ผลของบาปท่ีแสดงถึงความไม่กลมกลืนระหว่างมนุษยก์บั

พระเจา้ชดัเจนท่ีสุด คือ มนุษยก์ลายเป็นส่ิงท่ีตอ้งตาย “ความตายเป็นส่ิงท่ีแสดงออกมาใหเ้ห็นถึงความ

แตกแยกระหว่างพระเจา้กบัมนุษย ์ เพราะมนุษยต์อ้งสูญเสียชีวิตแห่งความเป็นหน่ึงเดียวกบัพระเจา้”

(Rahner, 1969: 34) พระเจา้ทรงสร้างมนุษยใ์หมี้ชีวิตและท่ีมนุษยต์อ้งตายก็เพราะบาปของมนุษยค์ู่แรก

“ความตายจึงเป็นการลงโทษเพราะบาป” (Schonborn, 1995: 17) “พระคมัภีร์เล่าถึงความตายในฐานะ

เป็นการแตกสลายของมนุษย”์ (Rahner, 1969: 12) พระเจา้ใหข้องขวญัพิเศษสุดแก่มนุษย ์ คือ ความไม่

ตอ้งตาย (ความเป็นอมตะ) แต่เพราะมนุษยท์าํบาป มีผลทาํใหสู้ญเสียของขวญั (ความไม่ตอ้งตาย) จาก

พระเจา้ การท่ีมนุษยต์อ้งตายและกลบัเป็นดินอีกนั้น เพราะตามธรรมชาติมนุษยส์ร้างมาจากดิน “เม่ือ

มนุษยใ์ชเ้สรีภาพในการเลือกตนเองก็เท่ากบัว่ามนุษยเ์ลือกท่ีจะตดัความสมัพนัธก์บัพระเจา้ พระเจา้สร้าง

มนุษยข้ึ์นมาจากดินใหมี้ชีวิต เม่ือไม่มีพระเจา้ในชีวิตมนุษยแ์ลว้ มนุษยก์็ไม่มีอะไรนอกจากกลบัไปเป็น

ดิน” (ทศัไนย ์คมกฤส, 2529: 39) บาปทาํใหม้นุษยต์อ้งดาํเนินชีวิตในโลกเพ่ือสร้างความสมัพนัธก์บั

พระเจา้และจาํเป็นตอ้งผา่นความตายเพ่ือกลบัไปสู่พระเจา้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

64

3.3.4 บาปกาํเนดิ คอื ธรรมชาตทิี่บกพร่องของมนุษย์ ซ่ึงถ่ายทอดสู่

มนุษยชาต ิ

การท่ีมนุษยค์ู่แรกไดใ้ชเ้สรีภาพ ตดัสินใจเลือกดาํเนินชีวติใน

แบบฝืนธรรมชาติชีวิตของตน “ทาํใหธ้รรมชาติมนุษยบ์กพร่องไป เอกภาพท่ีมีกบัพระเจา้และสรรพส่ิงก็

สลายลง” (เสรี พงศพิ์ศ และคนอ่ืนๆ, 2545: 155) กลบักลายเป็นความแปลกแยก (ความห่างเหิน) กบั

สรรพส่ิง เม่ือธรรมชาติของมนุษย ์(คู่แรก) บกพร่องไปแลว้ มนุษยชาติ ในฐานะลกูหลานในสมยัต่อ มาก็

ไดรั้บการถ่ายธรรมชาติท่ีบกพร่องน้ีไปดว้ย หรือท่ีเรียกว่า “บาปกาํเนิด” (Original sin) นัน่เอง กล่าวคือ

มนุษยชาติในฐานะลกูหลานของมนุษยค์ู่แรก ไดรั้บผลหรือสภาพธรรมชาติท่ีบกพร่องเพราะบาปของ

มนุษยค์ู่แรก

3.3.5 มนุษย์ (ยงัคง)ได้รับพระเมตตาจากพระเจ้าในการช่วยให้รอด

แมธ้รรมชาติมนุษยจ์ะบกพร่องไปเพราะผลของบาป แต่พระ

เป็นเจา้ยงัประทานความหวงัว่าในท่ีสุดมนุษยจ์ะมีชยัชนะ “พระเจา้ทรงเอาพระทยัใส่ต่อมนุษยแ์ต่เดิม

อยา่งไร ก็ยงัคงเอาพระทยัใส่ต่อไปแมว้า่มนุษยต์อ้งรับผลของความผดิของตนก็ตาม” (ทศัไนย ์ คมกฤส,

2529: 39) กล่าวคือ “แมบ้าปของมนุษยจ์ะมีมากและแผฤ่ทธ์ิเดชไปกวา้งขวาง ก็ไม่อาจลบลา้งความดี

และพระเมตตาของพระเจา้ต่อมนุษยชาติ” (ทศัไนย ์คมกฤส, 2529: 41) พนัธสญัญาเดิมเล่าว่าพระเจา้

ทรงเลือกมนุษยค์นหน่ึง (อบัราฮมัใน Genesis/ ปฐก 12–15) ใหเ้ป็นจุดเร่ิมตน้ของชนชาติใหม่ชาติหน่ึง

เป็นผูรั้บพระสญัญาว่าจะทรงช่วยใหร้อด พระสญัญาน้ีแผไ่ปถึงมนุษยทุ์กยคุทุกสมยั “ประวติัศาสตร์

แรกเร่ิมจึงมิไดจ้บลงอยา่งมืดมน แต่แสดงใหเ้ห็นชดัเจนถึงพระเมตตาของพระเจา้ท่ีจะทรงช่วยมนุษยใ์ห้

รอด” (ทศัไนย ์คมกฤส, 2535: 38-39) สาระสาํคญัท่ีสุด เราพบในหนงัสืออพยพ (Exodus) ทาํใหเ้รา

ทราบถึงการกอบกูข้องพระเจา้ต่อมนุษยชาติ โดยพระเจา้ทรงกระทาํพนัธสญัญากบัชาวอิสราเอล พนัธ

สญัญาคร้ังน้ีเป็นการริเร่ิมจากพระเจา้ การท่ีพระเจา้ทรงกระทาํพนัธสญัญากบัอิสราเอลนั้น ทรงยนืยนัท่ี

จะประทานพระพร (Grace) ใหแ้ก่มนุษย ์ ก่อใหเ้กิดสมัพนัธภาพพิเศษข้ึนระหว่างพระองคก์บัประชากร

ของพระองค ์ พนัธสญัญาเดิมจึงย ํ้ าถึงพระเมตตาของพระเจา้ท่ีมีต่อมนุษย ์ เพราะแมม้นุษยจ์ะทาํบาปแต่

พระเจา้ก็ไม่ทอดทิ้ง โดยมีเง่ือนไขอยูว่่ามนุษยจ์ะตอ้งปฏิบติัตามกฎเกณฑข์องพระองค ์ จะตอ้งต่อสู้

เอาชนะความบาปท่ีมีอยูใ่นตวัเขาใหไ้ด ้ โดยการตอบรับพระกรุณาของพระเจา้ ท่ีพระองคป์ระทานใหใ้น

รูปแบบต่าง ๆ ซ่ึงเราจะเห็นชดัเจนยิง่ข้ึนผา่นทางคาํสอนเก่ียวกบัพระเยซูคริสตเจา้ ในพนัธสญัญาใหม่

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

65

1.1.2 มนุษย์ตามแนวพระคมัภีร์ภาคพนัธสัญญาใหม่ (New Testament)

1. พนัธสัญญาใหม่สานต่อพนัธสัญญาเดิมที่ว่า “มนุษย์เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า”

“พระคมัภีร์คริสตชนแมแ้บ่งออกเป็นสองภาค คือพนัธสัญญาเดิมและ

พันธสัญญาใหม่แต่ทั้ งสองภาคก็เป็นหน่ึงเดียวกันมีพระเยซูคริสตเจ้าเป็นศูนย์กลาง” (Apostolic

Constitution Fidei Depositum, 1992: 112) มโนภาพมนุษยต์ามแนวพนัธสัญญาใหม่จึงเป็นการขยาย

ความและทาํให้พนัธสัญญาเดิมสมบูรณ์ผ่านทางพระเยซูคริสตเจา้ “จงอย่าคิดว่าเรามาเพื่อลบลา้งธรรม

บญัญติัหรือคาํสอนของบรรดาประกาศก เรามิไดม้าเพ่ือลบลา้ง แต่มาเพ่ือทาํให้สมบูรณ์” (The Gospel

according to Matthew/ มธ 5: 17) สาระสาํคญัคือการสานต่อแนวคิดเร่ืองมนุษยใ์นพนัธสัญญาเดิมท่ีสอน

ว่าพระเจา้ทรงสร้างมนุษยแ์บบพิเศษ ให้เป็นภาพลกัษณ์ของพระองค์ การอธิบายมนุษยใ์นพนัธสัญญา

ใหม่ “มนุษยไ์ดรั้บการวิเคราะห์ว่าเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้” (Richards, 1972: 98) เป็นหลกั แม้

มนุษยจ์ะใชเ้สรีภาพในทางท่ีผิด ทาํให้ธรรมชาติมนุษยบ์กพร่องไป แต่พระเจ้ายงัทรงช่วยเหลือคํ้ าจุน

มนุษย ์ช่วยใหม้นุษยร์อดโดยผา่นทางพระเยซูคริสตเจา้ เพ่ือทาํใหค้วามสมัพนัธร์ะหว่างมนุษยก์บัพระเจา้

กลบัคืนมาดงัเดิม ในพนัธสญัญาใหม่มีแนวคิดสองอย่างท่ีเด่นชดัในเร่ืองมนุษย ์คือ แนวคิดเร่ืองมนุษย์

ตามพระวรสารทั้งส่ีกบัแนวคิดเร่ืองมนุษยต์ามแนวนกับุญเปาโล ถา้จะสรุปแนวคิดเร่ืองมนุษยต์ามพนัธ

สญัญาใหม่ ตอ้งพิจารณาทั้งสองแนวร่วมกนั แต่ในงานวิจยัชิ้นน้ีผูว้ิจยัขอแยกแนวคิดของนกับุญเปาโลให้

ไปอยูใ่นส่วนของนกัปรัชญาคริสต ์ เน่ืองจากแนวคิดของท่านมีลกัษณะ “เป็นการประนีประนอมระหว่าง

ปรัชญากรีกกบัคาํสอนของคริสตศ์าสนา” (กีรติ บุญเจือ, 2527: 2) โดยนาํปรัชญากรีกมาอธิบายคริสต์

ศาสนา ในขณะท่ีแนวคิดตามพระวรสารทั้งส่ีพยายามนาํเสนอแนวคิดและท่าทีของพระเยซูเจา้ต่อมนุษย ์

ดงัต่อไปน้ี

1.1 มนุษย์มภีาวะทีย่งัมอียู่หลงัความตาย

พนัธสญัญาเดิมมีแนวคิดว่าพระเจา้สร้างมนุษยใ์หเ้ป็นอมตะตาม

รูปแบบของพระเจา้ แต่ท่ีมนุษยต์อ้งตายเป็นผลมาจากบาป มีการขยายความในพนัธสญัญาใหม่ และถือ

ว่า “แนวคิดเร่ืองมนุษยเ์ป็นอมตะ และการกลบัคืนชีพของร่างกายนั้น เป็นสะพานเช่ือมพนัธสญัญาเดิมกบั

พนัธสญัญาใหม่” (ทศัไนย ์ คมกฤส, 2535 : 55) กล่าวคือ

1.1.1 มนุษย์เป็นกายและวญิญาณท่ีเป็นหนึ่งเดียวกนั

จากพนัธสญัญาเดิม หนงัสือปฐมกาล (Genesis 2: 7) เล่าว่า

“พระเจา้สร้างมนุษยจ์ากฝุ่ นดินและประทานลมหายใจแห่งชีวิต” มนุษยจึ์งมีชีวิต มีการอธิบายว่าฝุ่ นดินน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

66

หมายถึงร่างกาย และลมหายใจแห่งชีวิต หมายถึง “จิตวญิญาณของพระเจา้ ทาํใหมี้ความเขา้ใจว่ามนุษย์

ประกอบดว้ยวิญญาณและร่างกาย” (ทศัไนย ์ คมกฤส, 1992: 264) โดย “กายและจิตวิญญาณน้ีเป็นหน่ึง

เดียวกนัตามท่ีพระเจา้สร้าง” (Schelkle, 1971: 86) พระวรสารจึงเขา้ใจว่ามนุษยเ์ป็นกายท่ีมีชีวติ (A living

[i. e., be-souled] body) โดย “กายและจิตวิญญาณ แมมี้รูปแบบท่ีต่างกนัแต่ก็เป็นหน่ึงเดียวกนัในมนุษย”์

(Richardson, 1972: 98) ในพระวรสารนกับุญมาร์โก (The Gospel according to Mark/ มธ 8: 35–37) ใช้

คาํว่า “จิตใจ” (Psyche) มีความหมายเช่นเดียวกบัคาํว่าวญิญาณ (Soul) ซ่ึงใชห้มายถึงชีวิตหรือมนุษย ์

รวมทั้งพระวรสารนกับุญมทัธิว (The Gospel according to Matthew/ มธ 6: 25) พระวรสารนกับุญลกูา

(The Gospel according to Luke/ ลก 12: 20) ต่างก็มีความเขา้ใจว่าชีวิตมนุษย ์หมายถึงทั้งกายและจิตท่ี

เป็นหน่ึงเดียว กายไม่ใช่ส่วนประกอบหรือเคร่ืองมือของจิตวิญญาณแบบปรัชญาของเพลโตแ้ละอริสโต

เติ้ล ส่ิงท่ีพระวรสารเนน้คือความสาํคญัเท่าเทียมกนัของกายและจิตวญิญาณท่ีเป็นหน่ึงเดียวกนัในชีวิต

มนุษย ์ ชีวติมนุษยห์มายถึงกายและจิตวิญญาณท่ีเป็นหน่ึงเดียว ซ่ึงตอ้งข้ึนตรงและพ่ึงพิงพระเจา้

1.1.2 การยนืยนัเร่ืองการมอียู่ของมนุษย์หลงัความตาย

พระวรสารยนืยนืและพฒันาแนวคิดในพนัธสญัญาเดิมท่ีว่าแม้

มนุษยต์อ้งตาย อนัเป็นผลของบาป แต่มนุษยย์งัมีอยู ่ โดยเฉพาะในพระวรสารนกับุญมาร์โก มทัธิวและลู

กา ยนืยนัว่าชีวิตมนุษยไ์ม่ไดสิ้้นสุดท่ีความตาย มนุษยย์งัมีภาวะอยูห่ลงัความตาย พระเยซูคริสตเจา้ตอบ

โตพ้วกท่ีไม่เช่ือโดยอา้งถึงการท่ีโมเสสกล่าวถึงพระเจา้ว่า ทรงเป็นพระเจา้ของอบัราฮมั พระเจา้ของ

อิสอคัและพระเจา้ของยาโคบ “พระองคมิ์ใช่พระเจา้ของผูต้าย แต่ทรงเป็นพระเจา้ของผูเ้ป็น” (The Gospel

according to Luke/ ลก 20: 37–38) น่ีแสดงใหเ้ห็นว่ามนุษยย์งัมีภาวะท่ีมีอยู ่โดยสภาพของการมีอยูห่ลงั

ความตายของมนุษยส์อดคลอ้งกบัรูปแบบการดาํเนินชีวิตบนโลก (The Gospel according to Mark/ ลก

9: 42–48, The Gospel according to Matthew/ มธ 5: 12; 6: 20; The Gospel according to Luke/ ลก 20:

37-38) กล่าวคือ ผูด้าํเนินชีวิตสอดคลอ้งกบัพระพรของพระเจา้ตามแนวทางของพระเยซูคริสตเจา้ ก็จะได้

บรรลุถึงการเป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ในพระเจา้ ส่วนผูด้าํเนินชีวิตในโลกเพ่ือตนเอง โดยปฏิเสธแนวทางของ

พระเจา้ เขากจ็ะหมดสิทธิบรรลุถึงการเป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ในพระเจา้อยา่งสิ้นเชิง

1.2 แนวคดิเร่ือง “มนุษย์ที่สมบูรณ์”

แนวคิดเร่ืองมนุษยใ์นพนัธสญัญาเดิม กล่าวไวว้่าแมม้นุษยเ์ป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ แต่มนุษยเ์องยงัไม่ไดบ้รรลุถึงขีดขั้นความสมบูรณ์ของการเป็นภาพลกัษณ์ของ

พระเจา้อยา่งแทจ้ริง มนุษยย์งัตอ้งพฒันาตวัเอง กล่าวคือ “ธรรมชาติของมนุษยจ์าํเป็นตอ้งพฒันาตนเอง

โดยอาศยัเสรีภาพท่ีพระเจา้ประทานมา เพ่ือมุ่งหนา้สู่ความสมบูรณ์” (เสรี พงศพิ์ศ และคนอ่ืนๆ, 2524:

210) มนุษยจ์ะมีชีวติสมบูรณ์ไดต้อ้งมีสมัพนัธอ์นัดีกบัพระเจา้ผูใ้หก้าํเนิดมนุษย ์ โดยจะเป็นอยา่งอ่ืน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

67

ไม่ไดน้อกจากเป็นไปตามรูปแบบท่ีเขาไดรั้บ คือ เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้นัน่เอง การท่ีมนุษยท์าํบาป

ช้ีใหเ้ห็นถึงการใชเ้สรีภาพแบบฝืนธรรมชาติ ท่ีมนุษยเ์ลือกตนเองแทนท่ีจะเลือกพระเจา้ ซ่ึงเป็นการเหิน

ห่างจากชีวติท่ีแทจ้ริงของตนเอง แนวคิดน้ีไดรั้บการยนืยนัและขยายความในพนัธสญัญาใหม่ โดยเฉพาะ

ในพระวรสาร ต่างก็มีความเขา้ใจเก่ียวกบัชีวติมนุษยไ์ม่ใช่ในแบบคงท่ีตายตวั ไม่ไดม้องชีวิตมนุษยแ์บบ

สาํเร็จรูป แต่มองชีวิตแบบตอ้งมีการพฒันาตนเองและนาํเสนอแนวทางสู่จุดหมายของชีวติ นัน่กคื็อการ

บรรลุถึงความสมบูรณ์ของการเป็นมนุษย ์ ท่ีจะพบไดใ้นพระเจา้ ผูเ้ป็นตน้กาํเนิดและจุดหมายปลายทาง

ของชีวิตมนุษย ์ การบรรลุถึงความสมบูรณ์ดงักล่าวน้ีสามารถเป็นไปไดก้็โดยอาศยัพระเยซูคริสตเจา้

ดงันั้น พนัธสญัญาใหม่จึงเป็นการนาํเสนอถึงพระกรุณาของพระเจา้ท่ีทรงช่วยใหม้นุษยก์ลบัคืนดีกบั

พระองคโ์ดยผา่นทางพระเยซูคริสตเจา้ ซ่ึงอธิบายในรายละเอียดไดว้่า

1.2.1 พระเยซูคริสตเจ้า คอื การที่พระเจ้าช่วยมนุษย์ให้รอดพ้น

แมผ้ลของบาปจะทาํใหธ้รรมชาติของมนุษยบ์กพร่อง แต่

พนัธสญัญาเดิมก็ย ํ้ าถึงพระเมตตาและการช่วยเหลือของพระเจา้ ท่ีพระองคจ์ะทรงกอบกูธ้รรมชาติมนุษยท่ี์

เสียไปใหก้ลบัคืนมาดีดงัเดิม แมม้นุษยจ์ะปฏิเสธพระเจา้ แต่พระองคย์งัประทานความหวงัว่า จะทรงช่วย

มนุษยใ์หก้ลบัคืนสู่การมีความสมัพนัธใ์กลชิ้ดกบัพระเจา้อีกคร้ังหน่ึง พนัธสญัญาเดิมค่อย ๆ เผยแสดงถึง

แผนการช่วยใหม้นุษยร์อดพน้จากบาป อนัเป็นการตระเตรียมและเป็นพ้ืนฐานสาํหรับพระสญัญาท่ีชดัเจน

ในพนัธสญัญาใหม่ นัน่คือ “การช่วยมนุษยใ์หร้อดพน้จากบาปผา่นทางพระเยซูคริสตเจา้ ผูท้รงยอมทน

ทุกขแ์ละสิ้นพระชนมอ์ยา่งทรมาน ทั้ง ๆ ท่ีไม่มีความผดิ ความทรมานและความตายน้ีเป็นการไถ่โทษ

มนุษยใ์หพ้น้จากบาป” (ทศัไนย ์คมกฤส, 2534: 46 - 47) พระเยซูคริสตเจา้น่ีเองท่ีเผยแสดงพระเจา้ให้

มนุษยไ์ดรู้้จกั และ “ยิง่กว่านั้น พระองคท์รงนาํพระเจา้มาสู่ตวัมนุษยแ์ต่ละคน” (Taylor, 1974: 112) ทาํ

ใหค้วามสมัพนัธร์ะหว่างมนุษยก์บัพระเจา้กลบัคืนดีดงัเดิม อนัมีผลทาํใหม้นุษยมี์สิทธิและศกัด์ิศรีจน

สามารถบรรลุถึงการเป็นหน่ึงเดียวกบัพระเจา้

1.2.2 ความตายของพระเยซูคริสตเจ้าเป็นการตายเพือ่ชดเชยบาป

เพือ่ทําให้มนุษย์คนืดกีบัพระเจ้า

ตามปกติเม่ือมีการทาํผดิ ก็ยอ่มตอ้งมีการชดเชยความผิด อาจ

เป็นในรูปแบบของการถกูลงโทษหรือการชดเชย และเม่ือมนุษยท์าํบาปโดยใชเ้สรีภาพเลือกตนเองแทนท่ี

จะเลือกพระเจา้ มนุษยต์อ้งรับผลของการกระทาํของตน คือการขาดความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ มนุษยท์าํ

บาปเป็นการตดัสมัพนัธก์บัพระเจา้ จาํเป็นตอ้งรับโทษดงักล่าวมา อยา่งไรก็ตาม “ในพนัธสัญญาเดิมบอก

เราใหท้ราบถึงพระเมตตาของพระเจา้ท่ีทาํพระสญัญากบัมนุษยว์่าจะทรงกอบกูม้นุษยใ์หร้อดพน้จากโทษ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

68

(ความตาย) ท่ีมนุษยต์อ้งไดรั้บและพระสัญญาน้ี เป็นจริงในพระเยซูคริสตเจา้” (คณะกรรมการพระ

คมัภีร์คาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2537: 158-189)

จากพนัธสัญญาเดิม ในหนังสืออิสยาห์ (Isaiah [อสย] 52:

13–53: 12) เล่าถึง “ผูรั้บใชข้องพระเจา้” ท่ีถูกทอดทิ้ง ถูกสบประมาท ถูกตดัสินลงโทษอย่างอยติุธรรม

และถูกประหารชีวิตในท่ีสุด แต่ต่อมาทุกคนก็ทราบว่าเขาไม่มีความผิดเลยแมแ้ต่น้อย แต่ความทุกข์

ทรมานท่ีเขาไดรั้บนั้น พระเจา้ทรงมอบใหเ้ขา เพ่ือชดเชยความผดิของคนอ่ืน โดยผูรั้บใชค้นนั้นสมคัรใจ

มอบกายถวายชีวิตของตนเพ่ือรับโทษแทนคนอ่ืน (Brown, 1989: 378 [22: 43]) เน้ือหาเร่ืองน้ีจะ

เช่ือมโยงและมีความชดัเจนข้ึนในพนัธสัญญาใหม่ โดยเฉพาะในพระวรสารนักบุญมาร์โกและมทัธิว

(The Gospel according to Mark/ มก 10: 45; The Gospel according to Matthew/ มธ 20: 28) ท่ีบอกว่า

พระเยซูคริสตเจา้เจา้เสด็จมาเพ่ือรับใชผู้อ่ื้นและทรงมอบพระชนมชีพของพระองค์เป็นสินไถ่เพ่ือมวล

มนุษย์ พระองคท์รงทาํใหบ้ทบาทของ “ผูรั้บใชข้องพระเจา้” ในหนงัสืออิสยาห์เป็นความจริง นั ่นคือการ

เป็นผูรั้บใชท่ี้ยอมตายเพ่ือชดเชยแทนมนุษยชาติ เพ่ือเป็นค่าไถ่และชาํระหน้ีท่ีมนุษยท์าํไวก้บัพระเป็นเจา้

ในพระวรสารนักบุญยอห์น (The Gospel according to John/ ยน 3: 17; 10: 10; 12: 47) มีการอธิบาย

ภารกิจของพระเยซูคริสตเจา้ในฐานะผูช่้วยใหร้อดพน้ โดยพระองคท์รงยอมสิ้นพระชนมแ์ทนมนุษยชาติ

เพ่ือช่วยมนุษยชาติใหร้อดพน้จากบาปและความตายและ คืนดีกบัพระเจา้ดงัเดิม มนุษยจึ์งมีชีวิตสมบูรณ์

ไดอี้กคร้ังหน่ึง

1.2.3 มนุษย์ที่สมบูรณ์ คอื การบรรลุถึงชีวตินิรันดรในพระเจ้า

พนัธสญัญาเดิมนาํเสนอความหวงัและพระสญัญาท่ีพระเป็น

เจา้จะทรงช่วยมนุษยก์ลบัสู่สภาวะเดิม คือการมีความสมัพนัธท่ี์ดีกบัพระเจา้ พระสญัญาของพระเจา้

เป็นจริงโดยผา่นทางพระเยซูคริสตเจา้ในพนัธสญัญาใหม่ นัน่กคื็อ นอกจากพระองคจ์ะทรงกอบกูม้นุษย์

กลบัคืนสู่สภาวะเดิมคือการคืนดีกบัพระเจา้แลว้ พระองคย์งัประทานชีวตินิรันดรแก่มนุษย ์ (The Gospel

according to John/ ยน 10: 10 ) อนัหมายถึงคุณสมบติัของพระเจา้เท่านั้น ชีวิตดงักล่าวน้ีจึงอยูเ่หนือโลก

ของวตัถุ เหนือกาลเวลาและมาตรการวดัใด ๆ เป็นชีวิตท่ีพระเจา้ประทานใหม้นุษยผ์า่นทางพระเยซูคริ

สตเจา้ ชีวิตนิรันดรน้ีจะบรรลุถึงไดอ้ยา่งสมบูรณ์หลงัจากมนุษยก์ลบัคืนชีพในพระเจา้แลว้เท่านั้น ดงันั้น

มนุษยส์ามารถท่ีจะบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ไดโ้ดยผา่นทางพระเยซูคริสตเจา้ อาศยัความเช่ือศรัทธาและ

การดาํเนินตามแนวทางของพระองค ์

การมุ่งสู่ชีวิตนิรันดรน้ีไม่ใช่เร่ืองส่วนตวัเท่านั้น แต่ตอ้งมี

ความสมัพนัธก์บัคนอ่ืนดว้ย เป็นการเนน้เร่ืองความสมัพนัธก์นัในสงัคม การอยูร่่วมกนัเป็นสงัคม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

69

“เพราะเพ่ือนมนุษยไ์ม่ไดเ้ป็นเพียงพ่ีนอ้ง แต่เป็นส่วนหน่ึงของพระกายของพระเยซูคริสตเจา้” (เสรี พงศ์

พิศ และคนอ่ืนๆ, 2524: 237) ซ่ึงจะขยายความต่อไปในแนวคิดของนกับุญเปาโล ท่ีจะนาํเสนอต่อไป

1.2 มนุษย์ตามธรรมประเพณขีองคริสต์ศาสนา (Tradition)

การอธิบายมนุษยต์ามธรรมประเพณีของคริสตศ์าสนา เป็นการตีความและอธิบาย

ความส่ิงท่ีพระคมัภีร์ไดน้าํเสนอความหมายของชีวิตมนุษย ์ ผา่นทางนกัวิชาการ/นกัปราชญค์ริสตศ์าสนา

ในระยะเร่ิมตน้คริสตศ์าสนา ในงานวิจยัน้ี ผูว้ิจยัขอนาํเสนอเฉพาะแนวคิดของนกัวิชาการท่ีสาํคญัๆ สาม

ท่าน ท่ีมีความสาํคญัและพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มกัอา้งอิงแนวคิดของพวกท่านเสมอๆ ไดแ้ก่

นกับุญเปาโล (ค.ศ. 10 – 67) นกับุญออกสัติน (ค.ศ. 354–430) และนกับุญโทมสั อาไควนสั (ค.ศ. 1225–

1274)

1.2.1 มนุษย์ตามแนวความคดิของนกับุญเปาโล (St. Paul)

นกับุญเปาโล (St. Paul, ค.ศ. 10–64) ใหค้วามสาํคญักบัการอธิบายมนุษย ์

โดยเช่ือมโยงกบัคาํสอนเร่ืองพระเยซูคริสตเ์จา้ โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

1. มนุษย์ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้าและของพระคริสตเจ้า นกับุญเปาโลประสานความคิดเร่ืองมนุษยใ์นพนัธสัญญาเดิมและพนัธ

สัญญาใหม่ให้เข้ากันอย่างลงตัว โดย “นําพ้ืนฐานจากพันธสัญญาเดิมท่ีว่ามนุษย์เป็นส่ิงสร้างตาม

ประวติัศาสตร์การสร้างท่ีมีเล่าในหนังสือปฐมกาล” (Schelkle, 1971: 111) และ “ใช้คาํสอนในพนัธ

สญัญาใหม่เร่ืองพระเยซูคริสตเจา้สิ้นพระชนมแ์ละกลบัคืนพระชนมชีพจากบรรดาผูต้าย” (คณะกรรมการ

พระคมัภีร์คาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2537: 25) มาขยายความคิดและสรุปว่ามนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของ

พระเจา้และพระเยซูคริสตเจา้ ท่านอธิบายโดยแบ่งมนุษยเ์ป็นสองความหมาย คือ

1.1 มนุษย์ก่อนพระเยซูคริสตเจ้า : มนุษย์คอื คนบาปจงึต้องดาํเนนิ

ชีวติภายใต้กฎเกณฑ์

นกับุญเปาโลอา้งอิงแนวคิดในพนัธสญัญาเดิมท่ีสอนว่าพระเจา้

สร้างมนุษยใ์หเ้ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้จึงตอ้งข้ึนอยูก่บัพระเจา้ แต่มนุษยเ์ลือกท่ีจะทาํบาปโดยการ

ปฏิเสธพระเจา้ เม่ือมนุษยต์ดัขาดจากพระเจา้ มนุษยก์็อยูไ่ม่ได ้ “สภาวะของมนุษยท่ี์เหมือนพระเจา้ก็เส่ือม

ไปดว้ย” (Schelkle, 1971: 111) “การฝ่าฝืนของอาดมัทาํใหบ้าปและความตายเขา้มาในโลก” (Brown,

1989: 819 [79: 107]) “มนุษยจึ์งตกอยูใ่นสถานะของการเป็นคนบาป” (The Letter to the Romans/

จดหมายนกับุญเปาโลถึงชาวโรมนั [รม] 3: 9) “เป็นชีวิตท่ีผกูมดัตนเองกบับาปและความตาย" (Brown,

1989: 819 [79: 105]) “เป็นชีวิตท่ีดาํเนินตามความตอ้งการของร่างกาย” (รม 8: 12) และ “เป็นไปตาม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

70

ธรรมชาติของร่างกาย กล่าวคือเป็นมนุษยดิ์น” (The First Letter to the Corinthians/จดหมายนกับุญเปาโล

ถึงชาวโครินทร์ฉบบัท่ี 1 [1คร] 15 : 47) ในฐานะท่ีพระเจา้สร้างมนุษยจ์ากดิน เม่ือมาจากดินจึงตอ้งกลบั

เป็นดินดงัเดิม จึงตอ้งเป่ือยเน่าเส่ือมสลายไปตามธรรมชาติของสสาร ท่านมกัเรียกมนุษยย์คุก่อนพระเยซูค

ริสตเจา้ว่า “มนุษยเ์ก่า (Old man) ซ่ึงดาํรงอยูใ่นร่างกายของบาป” (The Letter to the Romans/ รม 6: 6)

จึงไม่สามารถบรรลุถึงการเป็นหน่ึงเดียวกบัพระเจา้ ดว้ยเหตุน้ี พระเจา้จึงประทานธรรมบญัญติั อนัเป็น

กฎเกณฑส์าํหรับการดาํรงชีวิตแก่มนุษย ์ ชาวอิสราเอลในพนัธสญัญาเดิมจึงสาํนึกว่าธรรมบญัญติัหรือ

กฎเกณฑก์ารดาํรงชีวติท่ีพวกเขามีนั้น เป็นพระกรุณาของพระเจา้ท่ีประทานแก่พวกเขา เพ่ือเป็นหลกัการ

ดาํเนินชีวติตามพระประสงคข์องพระองค ์ จนกว่าจะถึงการเสด็จมาของพระเยซูคริสตเจา้ ผูก้อบกู้

ความสมัพนัธร์ะหว่างมนุษยก์บัพระเจา้ใหก้ลบัคืนมาดงัเดิม

1.2 มนุษย์ในยุคพระเยซูคริสตเจ้า คอื ส่ิงสร้างใหม่

คาํสอนท่ีสาํคญัท่ีสุดของนกับุญเปาโลคือ การประกาศว่าพระเจา้

ทรงช่วยมนุษยใ์หก้ลบัคืนดีและสามารถบรรลุถึงพระเจา้โดยอาศยัการสิ้นพระชนมแ์ละการกลบัคืนพระ

ชนมชีพของพระเยซูคริสตเจา้ ผูเ้ป็น “มนุษยใ์หม่” (New man) (The Letter to the Ephesians/จดหมาย

นกับุญเปาโลถึงชาวเอเฟซสั [อฟ] 2: 15; 4: 24) ซ่ึงเป็นตน้แบบของมนุษยชาติท่ีพระเจา้ทรงสร้างสรรค์

ข้ึนใหม่ มนุษยท์าํผลงานของพระเจา้บกพร่อง พระเยซูคริสตเจา้เสด็จมาปรับแกใ้หดี้ดงัเดิม ผูอ้ยูใ่นพระ

คริสตเจา้ ผูน้ั้นก็เป็นส่ิงสร้างใหม่ (New creation) มนุษยใ์นพระคริสตเจา้จึงเป็นมนุษยชาติใหม่ ท่ีพระเจา้

ทรงสร้างข้ึนใหม่ผา่นทางพระเยซูคริสตเจา้ มนุษยใ์หม่น้ีตอ้งดาํเนินชีวิตแบบใหม่ สาํนึกว่าตนเองได้

กลบัคืนดีกบัพระเจา้แลว้ผา่นทางพระเยซูคริสตเจา้ มนุษยใ์หม่จึงเป็นภาพลกัษณ์ของพระเยซูคริสตเจา้ใน

การนาํข่าวดีท่ีพระเจา้ทรงกอบกู ้ ใหม้นุษยมี์ความสมัพนัธท่ี์ดีกบัพระองคด์งัเดิม จนสามารถบรรลุถึงการ

เป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ในพระเยซูคริสตเจา้

แมพ้ระเยซูคริสตเจา้จะทรงกอบกูใ้หม้นุษยมี์ความสมัพนัธก์บัพระ

เจา้ดงัเดิม จนสามารถบรรลุถึงพระเจา้อีก แต่เน่ืองจากมนุษยย์งัมีขอบเขตจาํกดั เสรีภาพของมนุษยย์งัไม่

สมบูรณ์เหมือนพระเจา้ นกับุญเปาโลจึงเตือนใหม้นุษยใ์ชชี้วิตอยา่งรอบคอบ “ดว้ยความศกัด์ิสิทธ์ิและ

ดว้ยความเคารพ” (The First Letter to the Thessalonians/จดหมายนกับุญเปาโลถึงชาวเธสสโลนิกาฉบบัท่ี

1 [1 ธส] 4: 4) ซ่ึงหมายถึงการสาํนึกถึงพระกรุณาท่ีพระเจา้ประทานความรอดแก่มนุษย ์ใหม้นุษยต์อบรับ

ดว้ยการใชเ้สรีภาพในการเลือกพระเจา้ ไม่ใช่เลือกตนเองอยา่งท่ีมนุษยค์ู่แรกไดท้าํไป เพ่ือใหชี้วิตใหม่ท่ี

มนุษยไ์ดรั้บแลว้น้ี สามารถบรรลุถึงความสมบูรณ์อยา่งแทจ้ริง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

71

2. มนุษย์ใหม่ คอื มนุษย์ในอดุมคต ิ

นกับุญเปาโลมกัเรียกพระเยซูเจา้ว่าเป็นมนุษยใ์หม่ เป็นอาดมัคนท่ีสอง

(The second Adam) หรือ “อาดมัใหม่” (The new Adam) (Schelkle, 1971: 111) เพ่ือตอ้งการเปรียบเทียบ

ระหว่างอาดมัคนแรก (มนุษยค์นแรก) ท่ีนาํมนุษยชาติไปสู่ความตาย กบัพระคริสตเจา้ในฐานะอาดมัใหม่

“ท่ีนาํมนุษยชาติใหก้ลบัคืนดีจนสามารถบรรลุถึงพระเจา้” (Ricciotti, n.d.: 518) อาดมัใหม่น้ีเป็นหวัหนา้

คนใหม่ของมนุษยชาติ “เป็นภาพท่ีพระเจา้ทรงใชเ้พ่ือเป็นรูปแบบสร้างทุกส่ิงข้ึนใหม่” (คณะกรรมการ

พระคมัภีร์คาทอลิกแห่งประเทศไทย, 2537: 95) นาํสภาวะดั้งเดิมท่ีพระเจา้สร้างมนุษยต์ั้งแต่แรกเร่ิม

กลบัคืนมา ซ่ึงอธิบายในรายละเอียดไดด้งัน้ี

2.1 มนุษย์ในอุดมคต ิ คอื การมชีีวติใหม่ที่มุ่งสู่พระเจ้าผ่านทางพระ

เยซูคริสตเจ้า

พระเยซูคริสตเจา้เป็นรูปแบบของมนุษยใ์หม่ เป็นมนุษยใ์นอุดมคติ

ท่ีเป็นตวัอยา่งและความรอดของมนุษยชาติ การสิ้นพระชนมข์องพระองคท์าํใหม้นุษยชาติกลบัคืนดีกบั

พระเจา้ เป็นสภาพชีวติใหม่ท่ีมนุษยชาติไดรั้บผา่นทางพระเยซูคริสตเจา้ ผูซ่ึ้งพระเจา้ “ไดท้รงเนรมิตให้

เหมือนพระองค”์ (The Letter to the Ephesians/ อฟ 4: 24) อนัเป็นสภาพดั้งเดิมท่ีพระเจา้ทรงสร้างมนุษย์

ตั้งแต่เร่ิมแรก แต่สภาพชีวิตใหม่น้ียงัไม่สมบูรณ์และ มีลกัษณะเป็น “สภาพชีวิตใหม่ท่ีเร่ิมตน้ทางพระ

เยซูคริสตเจา้และจะตอ้งพฒันาต่อไป” (เสรี พงศพิ์ศ และคนอ่ืนๆ, 2524: 228) จนบรรลุถึงความสมบูรณ์

คือ การเป็นหน่ึงเดียวกบัพระเจา้

2.2 การบรรลุถงึพระเจ้า เป็นพระกรุณาของพระเจ้า

มนุษยไ์ดก้ลบักลายเป็นมนุษยใ์หม่ทางพระเยซูคริสตเจา้ กลบัสู่การ

มีความสมัพนัธท่ี์ดี จนสามารถบรรลุถึงพระเจา้ได ้ มนุษยส์ามารถรอดพน้จากบาปและความตาย ส่ิงท่ี

นกับุญเปาโลย ํ้ าคือ ความรอดหรือการบรรลุถึงพระเจา้ท่ีมนุษยไ์ดรั้บผา่นทางพระเยซูคริสตเจา้น้ี ไม่ไดมี้

จุดเร่ิมตน้จากมนุษย ์ กล่าวคือ ไม่ไดม้าจากการท่ีมนุษยป์ฏิบติัตนตามกฎเกณฑข์องธรรมบญัญติัอยา่งท่ี

ชาวยวิเช่ือ เปาโลคิดว่าไม่มีมนุษยค์นใดจะไดรั้บความรอดพน้เพียงแค่การปฏิบติัตามธรรมบญัญติั (The

Letter to the Ephesians/ อฟ 2: 8-16) ความรอดพน้ “ไม่ไดม้าจากความสามารถของมนุษย”์ (The Letter

to the Ephesians/ อฟ 2: 8–9) แต่เป็นพระกรุณาท่ีพระเจา้มอบใหม้นุษยผ์า่นทางพระเยซูคริสตเจา้ มนุษย์

มีหนา้ท่ีตอบรับดว้ยความเช่ือในพระเจา้และในพระเยซูคริสตเจา้ โดยการทุ่มเทชีวิตของตน ดว้ยเสรีภาพ

ท่ีพระเจา้ประทานให ้มุ่งสู่การเปิดตนเองเพ่ือสร้างความสมัพนัธก์บัพระเจา้พร้อมกบัเพ่ือนมนุษยอ่ื์น ๆ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

72

2.3 เสรีภาพ คอื การเปิดตนเองสู่พระเจ้า

ชีวิตใหม่ท่ีสามารถบรรลุถึงการเป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ในพระเจา้นั้น

“เป็นพระพรท่ีพระเจา้ประทานใหท้างองคพ์ระเยซูคริสตเจา้ ไม่ใช่ไดม้าโดยอาศยัการปฏิบติัตามกฎเกณฑ์

ขอ้บงัคบัหรือจารีตพิธี” (ทศัไนย ์ คมกฤส, 2533: 63) แต่บรรลุถึงไดด้ว้ยการตอบรับพระพรท่ีพระเจา้

ประทานใหด้ว้ยใจอิสระตามแบบพระคริสตเจา้ เสรีภาพตามแนวคิดของนกับุญเปาโลจึงหมายถึง “การท่ี

มนุษยแ์สวงหาและยอมรับพระเยซูคริสตเจา้” (The Letter to the Colossians/จดหมายนกับุญเปาโลถึงชาว

โคโรสี [คส] : 21-23) ทาํใหเ้ขาไปสู่การเป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ได ้มนุษยต์อ้งตอบรับท่ีจะร่วมมือในการ

สร้างความสมัพนัธก์บัพระเจา้ทางพระเยซูคริสตเจา้ เพ่ือจะไดบ้รรลุถึงการเป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ เป็น

เสรีภาพท่ีมนุษยต์ระหนกัว่าตนเองไม่สามารถบรรลุถึงความสมบูรณ์ตามลาํพงั แต่ตอ้งอาศยัพระพรจาก

พระเจา้ท่ีประทานทางพระเยซูคริสตเจา้

2.4 มนุษยชาตเิป็นหนึง่เดียวกนัในพระเยซูคริสตเจ้า: การมุ่งสู่ความ

สมบูรณ์ในพระเจ้าเป็นเป้าหมายร่วมกนัของมนุษยชาตแิละของโลก

การท่ีมนุษยชาติไดรั้บสภาพชีวิตใหม่ผ่านทางพระเยซูคริสตเจ้า

นอกจากจะทาํใหม้นุษยก์ลบัคืนดีกบัพระเจา้แลว้ มนุษยย์งัไดก้ลบัคืนดีกบัเพ่ือนมนุษยด์ว้ยกนัในฐานะท่ี

ทุกคนต่างไดรั้บสภาพชีวิตใหม่ร่วมกนั มนุษยชาติจึงเป็นหน่ึงเดียวกนัอยา่งแทจ้ริงในพระเยซูคริสตเจา้ ผู้

เป็นรูปแบบใหม่ของมนุษยชาติ โดยนกับุญเปาโลเปรียบเทียบวา่ “พระเยซูคริสตเจา้ทรงเป็นศีรษะ” (The

Letter to the Colossians/ คส 1: 18-20) “ทรงเป็นศีรษะของส่ิงท่ีถูกสร้างข้ึนใหม่” (คณะกรรมการพระ

คมัภีร์คาทอลิกแห่งประเทศไทย, 1994: 76) และมนุษยชาติใหม่น้ี “เป็นพระวรกายของพระองค์” (The

Letter to the Ephesians/ อฟ 2: 23) อนัเป็นการสะทอ้นถึงความเป็นหน่ึงเดียวกนัของพระเยซูคริสตเจา้กบั

มนุษยชาติใหม่และสะทอ้นถึงความเป็นหน่ึงเดียวกนัของมนุษยชาติใหม่ผ่านทางพระเยซูคริสตเจา้ดว้ย

อนัเป็นสมัพนัธภาพท่ีเป็นหน่ึงเดียวกนัในองคพ์ระคริสต ์“ถา้มีอะไรเกิดข้ึนกบัส่วนหน่ึง ส่วนอ่ืนก็ไดรั้บ

ผลดว้ย” (Ricciotti, n.d.: 519) ดงันั้น มนุษยชาติท่ีมีสภาพชีวิตใหม่ท่ีมุ่งสู่พระเจา้ทางองค์พระเยซูคริสต

เจ้า จึงต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบชีวิตใหม่ของกันและกันในการมุ่งสู่ความสมบูรณ์ในพระเจ้า นั ่น

หมายความว่า การมุ่งสู่ความสมบูรณ์ในพระเจา้น้ี มนุษยต์อ้งมีความสมัพนัธก์บัคนอ่ืนในฐานะท่ีเป็นหน่ึง

เดียวกนัในพระเยซูคริสตเจา้ มนุษยจึ์งตอ้งรับผิดชอบชีวิตของกนัและกนัในการมุ่งสู่ความสมบูรณ์ใน

พระเจ้า เพราะความรอดพน้ท่ีพระเจ้าประทานให้นั้ น ไม่ใช่แค่ความรอดพน้ส่วนบุคคลเท่านั้ น แต่

หมายถึงความรอดพน้ของมนุษยชาติทั้งมวล และยิง่กว่านั้น ยงัหมายถึง “ความรอดพน้ของโลกทั้งหมด ท่ี

กลบัมีระเบียบและมีสนัติในพระเจา้ผา่นทางพระเยซูคริสตเจา้” (คณะกรรมการพระคมัภีร์คาทอลิกแห่ง

ประเทศไทย, 2537: 78)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

73

นักบุญเปาโลประสบความสําเร็จในการอธิบายมนุษยต์ามแนวคาํสอน

คริสตศ์าสนาไดอ้ยา่งดีในสมยัของท่าน แนวคิดท่ีสาํคญัคือการอธิบายว่ามนุษยน์อกจากจะเป็นภาพลกัษณ์

ของพระเจา้แลว้ ยงัเป็นภาพลกัษณ์ของพระเยซูคริสตเจา้ ในฐานะท่ีพระองค์เป็น “มนุษยใ์หม่” ผูซ่ึ้งเป็น

“รูปแบบใหม่” ของมนุษยชาติ นักบุญเปาโลยงัอธิบายความสัมพนัธ์ระหว่างพระเยซูคริสตเจ้าและ

มนุษยชาติโดยใชก้ารเปรียบเทียบว่ามนุษยชาติเป็นเหมือนกบัพระกายของพระเยซูคริสตเจา้ ซ่ึงมีพระองค์

เป็นศีรษะ ในฐานะท่ีพระองคเ์ป็นรูปแบบใหม่ของมนุษยชาติ โดยมีการใชป้รัชญากรีกมาช่วยอธิบายคาํ

สอนของคริสต์ศาสนา ถือเป็นการเร่ิมตน้ท่ีทาํให้คาํสอนคริสตศ์าสนามีลกัษณะเป็นปรัชญาท่ีเขา้ใจได้

ดว้ยเหตุผล อนัเป็นพ้ืนฐานท่ีทาํให้นักปรัชญาคริสต์สมยัต่อ ๆ มาไดน้ําไปใชเ้ป็นแบบอย่างในการ

อธิบายความเช่ือของคริสตศ์าสนาใหเ้ป็นหลกัวิชาการข้ึนเร่ือย ๆ โดยเฉพาะเมื่อตอ้งเผชิญหนา้กบัแนวคิด

และความเช่ืออ่ืน ๆ ท่ีสอดคลอ้งหรือขดัแยง้กบัคริสต์ศาสนา ท่ีเห็นไดช้ัดในสมยัต่อ ๆ มาโดยเฉพาะ

แนวความคิดของนกับุญออกสัติน และโทมสั อาไควนสั

1.2.2 มนุษย์ตามแนวความคดิของนกับุญออกสัตนิ (St. Augustine)

แนวคิดของออกัสติน (ค.ศ. 354–430) มีลกัษณะเป็นการนาํปรัชญามา

อธิบายความเช่ือของคริสตศ์าสนา ท่านคิดว่าความเช่ือและเหตุผลช่วยให้มนุษยรู้์ความจริงได ้ อย่างไรก็

ตาม “ท่านใหค้วามสาํคญัแก่ความเช่ือมากกว่าเหตุผล การบรรลุถึงความจริงตอ้งอาศยัความเช่ือเป็นหลกั

โดยใช้เหตุผลมาช่วยเพ่ือไม่ให้มนุษยห์ลงผิดหรือเช่ือแบบงมงาย” (Mourant, 1964: 8) ดังนั้ น

แนวความคิดเร่ืองมนุษยข์องออกัสตินจึงพฒันาภายในกรอบของความเช่ือตามคาํสอนคริสต์ศาสนา

ผสานกบัประสบการณ์ทางศาสนาและศีลธรรมของตวัท่านเอง “โดยใชแ้นวคิดของเพลโตและโพลตีนุ

สมาช่วยอธิบาย” (Mourant, 1964: 12) มีเป้าหมายเพ่ืออธิบายคาํสอนคริสต์ศาสนาให้เขา้ใจไดง่้ายข้ึน

และเพ่ือตอบโตแ้นวคิดท่ีขดัแยง้หรือสงสัยต่อขอ้คาํสอนคริสต์ศาสนา อย่างไรก็ตาม แมว้่าท่านจะนํา

แนวคิดปรัชญากรีกมาอธิบายคริสตศ์าสนา แต่เป็นไปในลกัษณะนาํมาใชเ้ป็นเคร่ืองมืออธิบายหรือตอบ

ปัญหาเก่ียวกบัขอ้สงสัยต่อคาํสอนคริสต์ศาสนา ไม่ใช่เปล่ียนแนวคิดของคริสต์ศาสนาให้เขา้กบัแนว

ปรัชญากรีก แนวคิดเร่ืองมนุษยข์องนกับุญออกสัติน สรุปได ้ดงัน้ี

1. มนุษย์เป็นส่ิงสร้างของพระเจ้า 1.1 พระเจ้าสร้างสรรพส่ิง แต่ไม่ได้สร้างให้เสร็จสมบูรณ์ในทีเดียว

นกับุญออกสัตินเห็นดว้ยกบัเพลโตท่ีอธิบายว่าพระเจา้ (โลกแห่ง

แบบ) เป็นความจริงนิรันดร เป็นหลกัพ้ืนฐานของสรรพส่ิง เป็นรูปแบบของส่ิงทั้งปวง ท่านอธิบายต่อว่า

“พระเจา้สร้างทุกส่ิงดว้ยนํ้ าพระทยัอิสระ” (Free will) (Stumpf, 1989: 142) จากความไม่มีอยู ่ไปสู่การมี

อยู ่ แต่พระองคไ์ม่ไดส้ร้างใหเ้สร็จสมบูรณ์ในทีเดียว เม่ือพระเจา้ทรงสร้างสรรพส่ิง พระองคท์รงใส่หลกั

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

74

หรือแบบแห่งการคงความเป็นไปตามประเภทของมนั (Seminal principle) ไวใ้นส่ิงนั้นดว้ย เพ่ือใหส้รรพ

ส่ิงสร้างตวัเองต่อไปตามรูปแบบของส่ิงนั้นตามท่ีพระเจา้กาํหนดไวแ้ละสรรพส่ิงก็ถ่ายทอดธรรมชาติของ

ตนไปสู่รุ่นต่อ ๆ มา สรรพส่ิงจึงมีลกัษณะเฉพาะตามแบบท่ีพระเจา้กาํหนดไว ้ แบบในท่ีน้ีไม่ใช่เป็นการ

ลอกแบบจากพระเจา้ (โลกแห่งแบบ) ตามแนวเพลโต แต่เป็นลกัษณะเฉพาะท่ีพระเจา้ประทานใหแ้ต่ละ

ส่ิงตามประเภทของมนั

1.2 มนุษย์เป็นส่ิงพเิศษกว่าส่ิงอืน่ เพราะมแีบบท่ีมพีลงัชีวติของพระเจ้า

ในกรณีของมนุษยก์็เช่นเดียวกบัส่ิงต่าง ๆ ท่ีพระเจา้สร้าง พระองค์

ไม่ไดส้ร้างใหเ้สร็จสมบูรณ์ในทีเดียว แต่ทรงใส่ แบบแห่งความเป็นมนุษย ์ เพ่ือใหม้นุษยส์ร้างตนเอง

ต่อไปตามรูปแบบของตนตามท่ีพระเจา้กาํหนดไว ้ แบบของมนุษยน้ี์มีลกัษณะพิเศษต่างจากส่ิงต่าง ๆ

เพราะมีพลงัชีวิตของพระเจา้ ท่ีทาํใหม้นุษยส์ามารถบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ได ้ “อนัเป็นพร

พิเศษท่ีพระเจา้ประทานใหม้นุษยเ์ท่านั้น” (Augustine, 1953: 245) ในฐานะท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระองค ์

2. องค์ประกอบของมนุษย์ คอื กายและจติวญิญาณท่ีเป็นหนึง่

2.1 มนุษย์เป็นกายและวญิญาณท่ีผสานเป็นหนึ่งเดียวกนั

นัก บุญออกัส ตินวิ เคราะ ห์องค์ประกอบของมนุษย์ ตาม

แนวความคิดของโพลตีนุส (Plotinus) มนุษยเ์ป็นความเป็นหน่ึงเดียวของสองสภาวะ คือกายและวิญญาณ

ในตาํแหน่งท่ีเคียงขา้งกนั (Juxtaposition) “ซ่ึงผสมผสานเป็นหน่ึงเดียวกนั” (Mourant, 1964: 14) แต่ท่าน

ไม่เห็นดว้ยกบัโพลตีนุสท่ีคิดว่ามนุษยจ์าํเป็นตอ้งมีองคป์ระกอบท่ีเป็นกายและวิญญาณ เพราะมนุษย ์(และ

ส่ิงต่าง ๆ ) มาจากการลน้ดว้ยความสมบูรณ์ของพระเจ้า (The One) พระเจา้ตอ้งระบายความสมบูรณ์

ออกมาเป็นส่ิงต่าง ๆ ดว้ยความจาํเป็น ออกสัตินคิดว่าพระเจา้ตั้งพระทยัสร้างสรรพส่ิง และในกรณีของ

มนุษยพ์ระองคท์รงสร้างใหเ้ป็นกายและวิญญาณ แมร่้างกายและวิญญาณมีธรรมชาติท่ีต่างกนั กล่าวคือ

ร่างกายเป็นสสาร ตอ้งเส่ือมสลายเน่าเป่ือยตามธรรมชาติของสสาร ส่วนวิญญาณเป็นจิตท่ีเป็นอมตะ ไม่

สูญสลายแมร่้างกายจะสิ้นสลายไป แต่ทั้งสองสภาวะท่ีมีลกัษณะต่างกนัน้ี พระเจา้ทรงผสานให้เป็นหน่ึง

เดียวกนัในมนุษย ์

2.2 วญิญาณสูงส่ง เพราะเป็นคุณลกัษณะของพระเจ้า

จากแนวคิดของเพลโตทาํให้ออกสัตินคิดว่าวิญญาณสําคัญกว่า

ร่างกาย เพราะมีลกัษณะตามธรรมชาติท่ีสูงส่งกว่าร่างกาย วิญญาณมีลกัษณะเป็นจิต เป็นอมตะ ซ่ึงเป็น

เหมือนกบัคุณลกัษณะของพระเจา้ วิญญาณจึงสาํคญัหรือสูงส่งกว่าร่างกาย แต่ไม่ใช่ให้ความสาํคญัแก่

วิญญาณว่าสูงส่งและคิดว่าร่างกายเป็นอุปสรรคหรือเป็นท่ีคุมขงัวิญญาณตามแนวของเพลโต ้ ออกสัติน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

75

ถือตามคาํสอนคริสตชน ร่างกายไม่ใช่ส่ิงชัว่ร้ายหรือเป็นอุปสรรคของมนุษย ์ร่างกายก็เป็นส่ิงท่ีดีดว้ย

เพราะพระเจา้สร้างข้ึน “น่ีเป็นส่ิงสาํคญัท่ีบอกไดว้่าไม่ไดพ้บแนวคิดแบบน้ีในเพลโต” (Mourant, 1964 :

13)

3. มนุษย์สามารถรู้และบรรลถุึงชีวติที่สมบูรณ์ในพระเจ้า

3.1 พระเจ้าคอืเป้าหมายชีวติที่มนุษย์สามารถบรรลถุึง

นกับุญออกสัตินคิดว่าความสุขและความดีเป็นส่ิงเดียวกนั “ชีวิตท่ีดี

คือชีวิตท่ีมีความสุข” (Stumpf, 1989: 144) พระเจา้คือความดีสูงสุดในฐานะท่ีพระองค์มีอยู่แบบสมบูรณ์

พระองคจึ์งเป็นความสุขสูงสุด ดงันั้นพระเจา้จึงเป็นเป้าหมายสูงสุดของมนุษย ์ความสุขแทจ้ริงคือ การท่ี

มนุษยผ์า่นพน้จากสภาพท่ีมีขอบเขตจาํกดัตามธรรมชาติของตนไปสู่สภาพเหนือธรรมชาติ ดงัในหนังสือ

The City of God (Augustine, n.d.: 245) ท่ีสรุปความไดว้่า

มนุษยใ์นฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ไดรั้บพลงั

ชีวติพระเจา้ในการมุ่งสู่การมีอยู่ท่ีสมบูรณ์ตามแบบพระเจา้และมีแต่มนุษยเ์ท่านั้นท่ีไดรั้บพลงั

หรือพระพรพิเศษท่ีทาํใหส้ามารถบรรลุถงึความสมบูรณ์ในพระเจา้

และในฐานะท่ีมนุษยไ์ดรั้บความมีอยู่และไดรั้บแบบแห่งความเป็น

มนุษยซ่ึ์งมีพลงัชีวิตของพระเจา้ มนุษยจึ์งตอ้งข้ึนกบัพระเจา้เพ่ือการมีอยูแ่ละเพ่ือพฒันาตนเองไปสู่การมี

ชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้

3.2 มนุษย์สามารถรู้ถึงการมอียู่และคุณลกัษณะบางอย่างของพระเจ้า นักบุญออกสัตินเห็นดว้ยกบัเพลโต ้ท่ีให้ความสาํคญัแก่มนุษยใ์น

ฐานะเป็นผูมี้สติปัญญา มีเหตุผล มีความสํานึกรู้ โดยท่านคิดว่าลกัษณะของมนุษยใ์นฐานะเป็นผูมี้

สติปัญญาน้ี เป็นลกัษณะหน่ึงของพลงัชีวิตของพระเจา้ ท่ีทาํให้รู้ถึงพระเจ้าได้ ท่านคิดว่าความรู้เป็น

กิจกรรมของวิญญาณ มนุษยรู้์ถึงพระเจา้ไดอ้าศยัการหย ัง่รู้ของวิญญาณ แต่ไม่ใช่เป็นลกัษณะของการ

ระลึกไดต้ามแนวคิดของเพลโต ความรู้ไม่ไดม้าจากการท่ีวิญญาณระลึกไดใ้นส่ิงท่ีวิญญาณเคยรู้ แต่เป็น

การหย ัง่รู้ภายในอาศยัการส่องสว่างจากพระเจา้แก่สติปัญญามนุษย ์ “พระเจา้ทรงเปิดเผยให้มนุษยรู้์ถึง

การมีอยูแ่ละคุณลกัษณะบางอยา่งของพระองคแ์ก่สติปัญญามนุษย.์.. แต่มนุษยไ์ม่อาจรู้ถึงพระเจา้ไดท้ั้ ง

ครบอยา่งท่ีพระองคเ์ป็น” (Stumpf, 1989: 141) เพราะธรรมชาติมนุษยมี์ขอบเขตจาํกดั มนุษยรู้์ถึงพระเจา้

ไดเ้พียงแค่ในส่ิงท่ีพระองคท์รงมีพระประสงคใ์หม้นุษยรู้์เท่านั้น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

76

3.3 มนุษย์สามารถบรรลถุึงชีวติที่สมบูรณ์ในพระเจ้า

3.3.1 มนุษย์มเีสรีภาพที่จะเลอืกหรือปฏิเสธพระเจ้ากไ็ด้

ในฐานะท่ีมนุษยมี์พลงัชีวิตของพระเจา้ มนุษยจึ์งมีส่วนร่วม

ในคุณลกัษณะของพระเจา้ดว้ย พระเจา้ทรงมีเสรีภาพอยา่งสมบูรณ์ มนุษยจึ์งมีส่วนร่วมในเสรีภาพของ

พระองค์ด้วย เสรีภาพเป็นลกัษณะหน่ึงของพลงัชีวิตท่ีพระเจา้ประทานให้ เป็นเคร่ืองมือมุ่งสู่ชีวิตท่ี

สมบูรณ์ในพระองค์ มนุษยเ์ลือกและกระทาํในส่ิงท่ีตนเลือกได ้ ออกสัตินคิดว่ามนุษยมี์เสรีภาพอย่าง

เต็มท่ีในความหมายท่ีว่า “การเลือกหรือปฏิเสธพระเจา้ก็ได”้ (Mourant, 1964 : 26)

3.3.2 มนุษย์ใช้เสรีภาพแบบผดิธรรมชาตทิําให้เกดิความช่ัวร้ายใน

ชีวติ จงึต้องอาศัยพระเจ้าเท่านั้นจงึกลบัสู่ภาวะที่สามารถบรรลุถึงพระองค์

นกับุญออกสัตินอธิบายปัญหาเร่ืองความชัว่ร้ายในชีวิตมนุษย์

ว่ามาจากการใชเ้สรีภาพแบบผดิธรรมชาติ มนุษยต์อ้งข้ึนอยู่กบัพระเจา้ แต่มนุษยก์ลบัใชเ้สรีภาพเลือกท่ี

ตดัความสมัพนัธก์บัพระเจา้ แทนท่ีมนุษยจ์ะใชเ้สรีภาพเลือกพระเจา้ (การมีอยูซ่ึ่งเป็นความดี) มนุษยก์ลบั

เลือกตนเอง (การไม่มีอยู่ซ่ึงเป็นความชัว่ร้าย) เม่ือชีวิตมนุษยป์ราศจากพระเจา้แลว้ มนุษยจึ์งตอ้งเขา้สู่

ภาวะของบาปและความชัว่ร้าย มนุษยใ์ชเ้สรีภาพในทางท่ีผิดทาํให้ธรรมชาติดั้ งเดิมของมนุษยบ์กพร่อง

ไป ต้องอาศยัพระเจ้าเท่านั้ นท่ีทาํให้มนุษยก์ลบัสู่ภาวะท่ีสามารถบรรลุถึงความสมบูรณ์ในพระองค ์

(Augustine, n.d.)

3.3.3 มนุษย์สามารถบรรลถุึงชีวติที่สมบูรณ์ด้วยการตอบรับพระเจ้า

พระเจา้ทรงช่วยเหลือมนุษยใ์ห้กลบัสู่ภาวะท่ีมีความสามารถ

บรรลุถึงพระองคท์างพระเยซู แต่มนุษยย์งัคงมีเสรีภาพอยู่ พระเจา้ไม่ไดม้ากาํหนดการใชเ้สรีภาพของ

มนุษย ์“มนุษยย์งัคงมีเสรีภาพท่ีจะตอบรับหรือปฏิเสธพระเจา้ก็ได”้ (Mourant, 1964: 27) “มนุษยบ์รรลุถึง

พระเจา้ไดด้ว้ยการใชเ้สรีภาพตอบรับพระเจา้ดว้ยความรัก” (กีรติ บุญเจือ, 2527: 94) หลกัการแห่งความ

รักถือเป็นจริยศาสตร์ของออกสัติน ท่านคิดว่าความรักน้ี “เป็นพระพรท่ีพระเจา้ประทานแก่มนุษยใ์น

ฐานะท่ีพระองค์ทรงรักเราก่อน” (Mourant, 1964: 27) พระองค์จึงประทานพระพรพิเศษเพ่ือให้มนุษย์

บรรลุถึงพระองค์ได ้อาศยัหลกัแห่งความรักน้ีเองทาํให้ออกสัตินแบ่งมนุษยเ์ป็นสองพวก พวกแรกคือ

ประชากรในเมืองของพระเจา้ (The City of God) กบัอีกพวกหน่ึงคือประชากรในเมืองของโลก (The

City of the World) ประชากรในเมืองของพระเจา้ คือ มนุษยท่ี์ใชเ้สรีภาพตอบรับความรักของพระเจา้โดย

ยดึแนวทางของพระเจา้เป็นหลกั ดาํเนินชีวิตอยา่งสอดคลอ้งกลมกลืนกบัคนอ่ืนและส่ิงต่าง ๆ โดยปฏิบติั

ตามกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ดว้ยความรักพระเจา้ “โดยสาํนึกว่ากฎเหล่าน้ีเป็นส่ิงท่ีพระเจา้ประทานให้มนุษย์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

77

ปฏิบติัเพ่ือบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระองค์” (Stumpf, 1989: 147) ประชากรในเมืองของพระเจา้จะ

บรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ ในขณะท่ีประชากรในเมืองของโลก จะใชเ้สรีภาพเลือกตนเอง รักตนเองจน

ปฏิเสธพระเจา้และกฎเกณฑ์ของพระองค์ สนใจชีวิตตนเองแค่ระดบัวตัถุ ตามความพึงพอใจของตน

ประชากรในเมืองของโลกน้ีไม่อาจบรรลุถึงพระเจา้ได ้และ “ตอ้งประสบกบัภาวะแห่งการถูกตดัขาดจาก

พระเจา้อยา่งสิ้นเชิง” (Mourant, 1964: 29)

แมน้กับุญออกสัตินจะพยายามประยกุตป์รัชญาของเพลโตแ้ละโพลตีนุสมา

อธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนา แต่เม่ือตอ้งอธิบายในรายละเอียด ท่านก็ยกเหตุผลโดยอา้งว่า “เป็นธรรมลํ้ า

ลึกของพระเจา้ ซ่ึงมนุษยไ์ม่อาจรู้ไดท้ั้ งหมด” (กีรติ บุญเจือ 2527 : 97) ความคิดของออกสัตินจึงยงัไม่

เป็นระบบปรัชญาคริสตอ์ยา่งแทจ้ริง แต่ไดช้ี้ใหเ้ห็นปัญหาสาํคญั ๆ ไวม้ากและไดเ้สนอแนะแนวคาํตอบ

ใหน้กัปรัชญาคริสตรุ่์นหลงัไดพ้ฒันาความคิดต่อไป โดยเฉพาะการอธิบายว่าพระเจา้สร้างมนุษยใ์ห้เป็น

ภาพลักษณ์ของพระองค์โดยทรงใส่แบบของมนุษย์ เพ่ือให้มนุษยส์ร้างตัวเองต่อไป และอธิบาย

องคป์ระกอบของมนุษยว์่าเป็นกายและจิตวิญญาณท่ีพระเจา้ผสานให้เป็นหน่ึงเดียวกนั และมนุษยไ์ดรั้บ

พลงัชีวิตจากพระเจา้ ทาํใหส้ามารถเขา้ใจและบรรลุถึงพระเจา้อาศยัความเช่ือศรัทธาและการใชเ้สรีภาพท่ี

“ตอบรับ” ท่ีจะดาํเนินชีวิตตามแนวทางของพระเจา้ เพ่ือบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระองค ์

1.2.3 มนุษย์ตามแนวคดิของนกับุญโทมสั อาไควนัส (St. Thomas Aquinas)

สภาพสงัคมสมยัท่ีโทมสั อาไควนสั (ค.ศ. 1225–1274) ยงัมีชีวิตอยู ่เป็นช่วง

ท่ีคริสตศ์าสนาเจริญรุ่งเรืองในยโุรป มีการศึกษาเทววิทยาแบบคริสตศ์าสนาอยา่งกวา้งขวาง ในขณะ

เดียวกบัปรัชญาของอริสโตเติ้ลก็ไดรั้บความนิยมในขณะท่ีศาสนาอิสลามทาํการเผยแพร่อยู ่ โทมสั อาไค

วนสัไดมี้โอกาสศึกษาตน้ฉบบังานเขียนของอริสโตเติ้ล จึงเห็นว่าน่าจะนาํปรัชญาของอริสโตเติ้ลมาช่วย

อธิบายคริสตศ์าสนาได ้โดยใชแ้นวคิดของเพลโตแ้ละลทัธิเพลโตใ้หม่มาช่วยเสริม ท่านคิดว่าเหตุผลและ

ความเช่ือในคริสตศ์าสนาไม่ขดัแยง้กนัเพราะมาจากแหล่งท่ีมาเดียวกนัคือพระเจา้ ส่ิงท่ีท่านสนใจคือการ

อธิบายเทววิทยาของคริสตศ์าสนาอาศยัปรัชญา ท่านคิดว่าปรัชญาเป็นเคร่ืองมือท่ีดีสาํหรับการช่วย

อธิบายเทววิทยา จนถึงกบัคิดว่าปรัชญามีอยูเ่พ่ือรับใชเ้ทววิทยา ส่ิงท่ีท่านสนใจมากท่ีสุดในความคิดของ

ท่านคือ “การพยายามอธิบายความสมัพนัธร์ะหว่างมนุษยก์บัพระเจา้ มนุษยใ์นฐานะชีวิตท่ีจะตอ้งปฏิบติั

ตนใหบ้รรลุถึงชีวิตพระเจา้” (กีรติ บุญเจือ, 2527: 240) โดยใชค้าํสอนคริสตศ์าสนาเป็นหลกัและนาํ

ปรัชญาของอริสโตเติ้ลมาช่วยอธิบายและจดัระบบความคิด นกับุญโทมสั อาไควนสั อธิบายมนุษย ์ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

78

1. มนุษย์เป็นกายและวญิญาณ : สองสภาวะท่ีเป็นหนึ่งเดยีว

นกับุญโทมสัดาํเนินตามคาํสอนคริสตศ์าสนา พระเจา้ทรงสร้างทุกส่ิง

จากความว่างเปล่า (Nothing) ทุกส่ิงจึงเป็นของพระเจา้และตอ้งข้ึนอยูก่บัพระเจา้ มนุษยเ์ป็นสุดยอดของ

ส่ิงสร้างท่ีเห็นได ้ ท่านเห็นดว้ยกบัอริสโตเติ้ลท่ีว่าทุกส่ิงยอ่มมีลกัษณะท่ีเหมือนกนัและต่างกนัโดยอธิบาย

ไดด้ว้ยความคิดเร่ืองสสารและรูปแบบ ส่ิงต่าง ๆ ประกอบดว้ยสสารและรูปแบบ “มนุษยป์ระกอบดว้ย

ลกัษณะท่ีเป็นสสาร คือร่างกาย และลกัษณะท่ีเป็นรูปแบบ คือวิญญาณ” (Stumpf, 1989: 188) ทั้งสอง

ลกัษณะแมมี้ความแตกต่างกนั แต่ก็เป็นหน่ึงเดียวกนัในมนุษย ์ กล่าวคือ มนุษยมี์ทั้งลกัษณะท่ีเป็นสสาร

เหมือนกบัส่ิงอ่ืน ๆ ทัว่ไปท่ีถกูจาํกดัในโลกแห่งผสัสะ แต่ในขณะเดียวกนัมนุษยมี์รูปแบบท่ีเป็นวิญญาณ

ซ่ึงมีศกัยภาพท่ีสามารถกา้วพน้ขอบเขตแห่งโลกผสัสะ เขา้ไปสู่การมีส่วนร่วมชีวิตท่ีสมบูรณ์ของพระเจา้

ได ้ อาศยัพระกรุณาของพระเจา้ท่ีโปรดใหม้นุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์และมีความเหมือนพระองค ์ แต่ใน

ขณะเดียวกนัในความเป็นมนุษยจ์ะตดัร่างกายออกไปไม่ได ้ “เพราะธรรมชาติมนุษยต์อ้งมีองคป์ระกอบท่ี

เป็นกายและวญิญาณ” (Gratsch, 1985: 53) “กายและวญิญาณน้ีเป็นหน่ึงเดียวกนัโดยไม่ตอ้งมีอะไรมา

เป็นส่ือกลาง” (Clark, 1972: 214) โดย “วิญญาณมีอยูใ่นทุกส่วนของร่างกาย” (Gratsch, 1985: 53) ตอ้ง

พ่ึงพาแก่กนัและกนั ถา้ไม่มีวิญญาณ ร่างกายกจ็ะไม่มีรูปแบบ ไม่มีชีวิตและไม่เขา้ใจส่ิงต่าง ๆ ถา้ไม่มี

ร่างกาย วิญญาณก็จะไม่มีอวยัวะท่ีช่วยนาํสู่ความรู้ มนุษยจึ์งเป็นวิญญาณและกายท่ีเป็นหน่ึงเดียวอยา่ง

แทจ้ริง

เม่ือกล่าวถึงธรรมชาติมนุษย ์นักบุญโทมสัให้ความสําคญัแก่ลกัษณะ

พิเศษของวิญญาณมนุษยท่ี์พระเจา้ทรงสร้างให้แตกต่างและสูงส่งกว่าส่ิงต่าง ๆ ทัว่ไป ท่านเห็นดว้ยกบั

อริสโตเติ้ลว่าส่ิงมีชีวิตทุกอยา่งมีวิญญาณแต่มีความสามารถต่างระดบักนั วิญญาณมนุษยมี์ทั้ งส่วนท่ีเป็น

ลกัษณะวิญญาณของพืชและสัตว ์แต่ในขณะเดียวกนัก็มีลกัษณะพิเศษสูงส่งกว่าวิญญาณของส่ิงมีชีวิต

ทั ่วไป กล่าวคือวิญญาณมนุษย์มีลักษณะเป็นพุทธิปัญญา (Intellect) และเจตจํานง (Will) ซ่ึงเป็น

เหมือนกบั “พลงัของวิญญาณ” (Clark, 1972 : 290) ซ่ึงพระเจา้ประทานใหแ้ก่มนุษยเ์ท่านั้นในฐานะเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระองค ์ทาํใหม้นุษยเ์ป็นสตัวท่ี์มีเหตุผลและมีเสรีภาพ สามารถรู้ความจริงและเลือกการ

ดาํเนินชีวิตของตน ยิง่กว่านั้น วิญญาณมนุษยมี์ความเป็นอมตะ คงอยูแ่มร่้างกายจะสูญสลายไปก็ตาม ซ่ึง

อธิบายในรายละเอียดดงัต่อไปน้ี

1.1 มนุษย์เป็นสัตว์ที่มเีหตผุล สามารถรู้ถึงความจริงได้

นกับุญโทมสัอธิบายว่าวญิญาณมนุษยมี์ลกัษณะเป็นพุทธิปัญญา ทาํ

ใหม้นุษยเ์ป็น “สตัวท่ี์มีเหตุผล” (Stumpf, 1989: 195) ท่านเห็นดว้ยกบัทฤษฏีความรู้ของอริสโตเติ้ลท่ี

อธิบายว่ามนุษยรู้์และเขา้ใจส่ิงต่าง ๆ ท่ีมีอยูร่อบตวัไดอ้ยา่งเป็นระบบ เพราะมนุษยมี์วิญญาณท่ีมีลกัษณะ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

79

เป็นพุทธิปัญญาท่ีสามารถรู้ส่ิงสากล (รูปแบบของส่ิงนั้น) ท่ีมีอยูใ่นส่ิงเฉพาะ อาศยัขอ้มลูท่ีไดรั้บจาก

ประสาทสมัผสั ทาํใหม้นุษยรู้์และบอกไดว้่าส่ิงนั้นเป็นอะไร มนุษยส์ามารถรู้ความจริงทัว่ไปท่ีมีอยูต่าม

ธรรมชาติอาศยัศกัยภาพท่ีมนุษยมี์ และยิง่กว่านั้น “มนุษยย์งัสามารถรู้ถึงความจริงสูงสุดหรือพระเจา้”

(กีรติ บุญเจือ, 2527: 261) อาศยัศกัยภาพท่ีมนุษยมี์และความช่วยเหลือของพระเจา้ท่ีทรงเปิดเผยพระองค์

เองใหม้นุษยรู้์ตามพระประสงคข์องพระองค ์

1.2 มนุษย์เป็นภวนัต์แห่งเสรีภาพ

1.2.1 มนุษย์มเีจตจาํนงเสรี: มนุษย์เป็นผู้ตดัสินใจเลอืกการกระทํา

นกับุญโทมสัคิดว่าวิญญาณมนุษย ์ นอกจากมีพุทธิปัญญาทาํ

ใหรู้้ความจริงแลว้ ยงัมี “เจตจาํนงในการเลือกอิสระ” (Free choice) (กีรติ บุญเจือ, 2527: 259) ท่ีจะเลือก

ทาํตามส่ิงท่ีตนเห็นควร โทมสัเห็นดว้ยกบัอริสโตเติ้ลว่ามนุษยมี์สญัชาตญาณแบบสตัว ์“แต่มนุษยอ์าจขดั

ขืนไม่กระทาํตามสญัชาตญาณก็ได”้ (กีรติ บุญเจือ, 2527: 263) ถา้เห็นว่าไม่ควรทาํ “การดาํเนินชีวิตของ

มนุษยจึ์งไม่ใช่เป็นแค่ดาํเนินไปตามสญัชาตญาณ” (Clark, 1972: 291) เหมือนส่ิงมีชีวิตทัว่ไปท่ีมีการ

กระทาํแบบไม่รู้ตวัและมีพฤติกรรมตอบสนองต่อส่ิงเร้าแบบอตัโนมติั โดยไม่สามารถเลือกเป็นอยา่งอ่ืน

ได ้แต่มนุษยมี์เจตจาํนงเสรีท่ีสามารถตดัสินใจเลือกการกระทาํตามส่ิงท่ีตนเห็นควร

1.2.2 เสรีภาพคอืความสามารถในการเลอืกดําเนินชีวติสู่เป้าหมาย

นกับุญโทมสัเห็นดว้ยกบัอริสโตเติ้ลว่า “การกระทาํทุกอยา่ง

ยอ่มมีเป้าหมาย และความสุขเป็นเป้าหมายสูงสุด” (Aquinas, 1969: 207) มนุษยมี์เจตจาํนงแต่เจตจาํนงน้ีมี

ไวเ้พ่ือเลือกเป้าหมายท่ีเป็นความสุขเท่ียงแทอ้นัเป็นความดีสูงสุดเท่านั้น ไม่สามารถเลือกเป้าหมายท่ีเป็น

ความทุกขไ์ด ้ เพราะจะขดัแยง้กบัธรรมชาติมนุษยท่ี์ดาํเนินชีวิตเพ่ือมุ่งสู่ความสุขอนัเป็นเป้าหมายสูงสุด

เสรีภาพตามความคิดของโทมสัจึงไม่ใช่การเลือกเป้าหมาย แต่เสรีภาพหมายถึง “ความสามารถท่ีจะเลือก

วิธีการสู่เป้าหมาย” (Gratsch, 1985: 56) เสรีภาพตามความคิดของโทมสัจึงมีความหมายพิเศษ เป็นการ

ตดัสินใจเลือกการกระทาํ ไม่ใช่การเลือกเป้าหมาย การใชเ้สรีภาพท่ีถกูตอ้งจึงหมายถึงการตดัสินใจเลือก

กระทาํในส่ิงท่ีสอดคลอ้งกบัเป้าหมายของชีวติ

1.3 มนุษย์มจีติวญิญาณท่ีเป็นอมตะ จติวญิญาณคงอยู่แม้แยกจากกาย

นกับุญโทมสัเห็นดว้ยกบัอริสโตเติ้ลว่าวิญญาณสามารถรู้ถึงส่ิง

สากลและเป็นนิรันดร์ ดงันั้น “วิญญาณมนุษยมี์ลกัษณะท่ีเป็นสากลและนิรันดร์ดว้ย จึงสามารถรับรู้ถึงส่ิง

ท่ีมีลกัษณะเช่นเดียวกนั” (Clark, 1972: 310) มนุษยจึ์งมีวิญญาณท่ีเป็นอมตะ คงอยูไ่ดแ้มร่้างกายจะสูญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

80

สลายไป แต่ท่านไม่เห็นดว้ยกบัอริสโตเติ้ลท่ีว่า “เม่ือวิญญาณแยกจากร่างกาย วิญญาณจะหมดความเป็น

ลกัษณะเฉพาะบุคคล แต่จะรวมกนัเป็นวิญญาณสากล” (กีรติ บุญเจือ, 2527: 257) โทมสัคิดว่า “มนุษยมี์

วิญญาณเฉพาะของแต่ละบุคคล” (Clark, 1972: 219) เม่ือวิญญาณออกจากร่างกายแลว้ วิญญาณกย็งัคง

ลกัษณะเฉพาะบุคคลไวต้ามคาํสอนคริสตศ์าสนาท่ีสอนว่ามนุษยแ์ต่ละคนตอ้งรับผดิชอบการกระทาํของ

ตน โดยพระเจา้จะพิพากษาตดัสินมนุษยต์ามความประพฤติของแต่ละบุคคลหลงัจากความตาย

2. มนุษย์เป็นภวนัต์/ภาวะทางสังคม (Social being)

นักบุญโทมสัเห็นด้วยกับอริสโตเติ้ลว่ามนุษยเ์ป็นภวนัต์ทางสังคม

จาํเป็นตอ้งอยูร่่วมกบัคนอ่ืนในสงัคมจึงจะบรรลุถึงเป้าหมายชีวิตได ้เน่ืองจากมนุษยแ์ต่ละคนมีขอบเขต

จาํกัด มีความสันทัดไม่เหมือนกันจึงจาํเป็นต้องแบ่งภาระหน้าท่ีรับผิดชอบให้แต่ละคนตามความ

เหมาะสม แต่มนุษยแ์ต่ละคนตอ้งเป็นตวัของตวัเอง ใชเ้หตุผลของตนเองในการตดัสินใจเลือกการกระทาํ

ท่านจึงคิดว่าสงัคมเป็นเคร่ืองมือช่วยมนุษยต์ดัสินใจเลือกการกระทาํเพ่ือบรรลุเป้าหมาย การอยูร่่วมกนัใน

สงัคมจึงมีความจาํเป็นในฐานะเป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยใหแ้ต่ละคนบรรลุเป้าหมายแห่งชีวิตของตน “สงัคมจึง

มีไวเ้พ่ือมนุษย ์ไม่ใช่มนุษยมี์ไวเ้พ่ือสงัคม” (กีรติ บุญเจือ, 2527: 270)

แมน้ักบุญโทมสั จะเล่ือมใสและประยุกต์แนวปรัชญาของอริสโตเติ้ลมา

อธิบายคริสตศ์าสนา แต่เป้าหมายของความคิดของทั้งสองท่านไม่ตรงกนั อริสโตเติล้ถือว่ามนุษยแ์ต่ละ

คนมีอยูเ่พ่ือมนุษยชาติและมนุษยชาติเป็นส่วนหน่ึงของจกัรวาล เป้าหมายของอริสโตเติ้ลจึงมุ่งสู่ความ

เขา้ใจและใหม้นุษยด์าํเนินชีวิตอยา่งกลมกลืนกบัจกัรวาล ในขณะท่ีนกับุญโทมสั อาไควนสัถือว่า “มนุษย์

แต่ละคนมีอยูเ่พ่ือพระเจา้และทุกส่ิงในจกัรวาลมีอยูเ่พ่ือช่วยใหม้นุษยบ์รรลุถึงพระเจา้” (กีรติ บุญเจือ 2527

: 271) โทมสัจึงไม่ค่อยสนใจท่ีจะใหม้นุษยมี์อยูเ่พ่ือสร้างความกลมกลืนกบัจกัรวาล ท่านจึงสนใจมนุษย์

ในฐานะเป็นผูมี้ความสมัพนัธก์บัพระเจา้มากกว่าท่ีจะสนใจสร้างความสัมพนัธ์กบัจกัรวาล ลกัษณะเด่น

ของความคิดเร่ืองมนุษยข์องนกับุญโทมสั อาไควนสั คือ การอธิบายพ้ืนฐานมนุษยใ์นฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นภ

วนัต์ท่ีมีสติปัญญา มีเสรีภาพและมีความสัมพนัธ์กับผูอ่ื้น ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของแนวคิดเร่ืองมนุษยข์อง

ปรัชญาบุคคลนิยมท่ีพระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 นาํมาใชอ้ธิบายความหมายของชีวิตมนุษย ์

1.3 มนุษย์ตามคาํสอนทางการของคริสต์ศาสนจกัร (Magisterium)

พระคมัภีร์คริสตศ์าสนาใหพ้ื้นฐานว่ามนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ โดยมีการ

ถ่ายทอด ตีความและอธิบายเพิ่มเติมจากผูน้าํ/นกัวิชาการของคริสตศ์าสนา โดยเฉพาะผูน้าํคริสตศ์าสนาใน

แต่ละสมยั ต่างสํานึกถึงภาระหน้าท่ีและอาํนาจในการถ่ายทอดคาํสอนคริสต์ศาสนาแก่มนุษยชาติ

โดยเฉพาะอย่างยิ ่งเม่ือมนุษยชาติตอ้งเผชิญหน้ากบัแนวคิดหรือลทัธิท่ีทาํให้มีการปฏิเสธหรือลดคุณค่า

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

81

มนุษย ์รวมทั้งแนวคิดท่ีต่อตา้นความหมายท่ีแทจ้ริงของมนุษยใ์นฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ตามคาํ

สอนของคริสตศ์าสนา ดว้ยเหตุน้ี จึงมีการรวบรวมการตีความและอธิบายพระคมัภีร์และธรรมประเพณี

ของคริสต์ศาสนา ในรูปแบบการสอนทางการของผูน้าํคริสต์ศาสนา มีการจดัทาํเอกสารรวบรวมและ

นาํเสนอ ฉบบัล่าสุดคือเอกสารท่ีมีช่ือว่า “คาํสอนทางการของศาสนจกัรคาทอลิก” (Catechism of the

Catholic Church) อนัเป็นผลการประชุมสภาสังคายนาวาติกนัคร้ังท่ี 2 (ค.ศ. 1962–1965) ทาํให้คริสต์

ศาสนาคาทอลิกมีแนวคิดท่ีจะปรับปรุงพระศาสนจกัรให้ทนัสมยัเหมาะกบัสถานการณ์สังคม มีการ

ดาํเนินการท่ีจะนําผลการประชุมสภาสังคายนาฯ ไปประยุกต์ใช้อย่างเป็นรูปธรรมทั้ งดา้นพิธีกรรม

กฎหมาย และคาํสอน เพ่ือทาํใหพ้ระศาสนจกัรทนัสมยั สอดคลอ้งเหมาะสมกบัมนุษยใ์นสังคม รวบรวม

โดย Apostolic Constitution Fidei Depositum ภายใตก้ารรับรองของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ใน

ค.ศ. 1992 จึงสรุปแนวคิดเร่ืองมนุษยจ์ากการสอนทางการของคริสตศ์าสนจกัร ดงัน้ี

1. ศักดิ์ศรีขั้นพืน้ฐานของมนุษย์ คอื การมอียู่ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า

แมว้่ามนุษยมี์ลกัษณะธรรมชาติท่ีเหมือนส่ิงมีชีวิตทัว่ไปในฐานะเป็นส่ิงสร้าง

ของพระเจา้ แต่คริสตศ์าสนาคาทอลิกยนืยนัศกัด์ิศรีขั้นพ้ืนฐานของมนุษยท่ี์ต่างจากส่ิงอ่ืน ๆ คือการมีอยู่

ตามภาพลกัษณ์พระเจา้ ทาํใหม้นุษยมี์ลกัษณะพิเศษต่างจากส่ิงมีชีวิตทัว่ไป กล่าวคือ “มนุษยเ์ท่านั้นท่ี

สามารถรู้และตอบรับความรักของพระเจา้ได ้ มนุษยเ์ท่านั้นท่ีมีส่วนร่วมในชีวิตของพระเจา้จนสามารถ

บรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้” (Apostolic Constitution Fidei Depositum, 1992: 356) มนุษยแ์ต่ละ

คนจึงมีศกัด์ิศรีในฐานะเป็นบุคคลตามภาพลกัษณ์ของพระเจา้ อยา่งไรก็ตาม แมว้่าคริสตศ์าสนาจะเนน้

ความสาํคญัของมนุษยเ์ป็นอยา่งยิง่ แต่คริสตศ์าสนาก็ยงัเนน้ว่ามนุษยส์ามารถปกครองส่ิงต่าง ๆ ตามแบบ

พระเจา้ คือ การคงไวซ่ึ้งความสมดุลและระเบียบของธรรมชาติโดยรวม

2. มนุษย์เป็นกายและวญิญาณท่ีเป็นธรรมชาตเิดยีว

พระเจา้ทรงสร้างมนุษยเ์ป็นบุคคลตามภาพลกัษณ์ของพระองค ์ใหมี้ธรรมชาติ

เป็นทั้งร่างกาย (Corporeal) และจิตวิญญาณ (Spiritual) ร่างกายมนุษยเ์ป็นสสารซ่ึงรวมเอาคุณลกัษณะทั้ง

ปวงของสสารไว ้ ในขณะท่ีวิญญาณเป็นจิตอมตะ ทาํใหร่้างกายมีชีวิตและสามารถดาํรงอยูไ่ดแ้มเ้ม่ือแยก

ออกจากร่างกายแลว้ วิญญาณมนุษยน่ี์เองท่ีพระเจา้ใหมี้ความสามารถท่ีจะบรรลุสู่การเป็นหน่ึงเดียวกบั

พระเจา้ โดยกายและวิญญาณของมนุษยป์ระกอบกนัข้ึนเป็นหน่ึงเดียว (A single nature) (Apostolic

Constitution Fidei Depositum, 1992: 36 -382)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

82

3. มนุษย์ในฐานะที่เป็นชายและหญิง มคีวามแตกต่างและความเสมอภาคกนั

พระเจา้ทรงตั้งพระทยัสร้างมนุษยใ์หเ้ป็นชายและหญิง ซ่ึงมีความแตกต่างทาง

เพศแต่มีศกัด์ิศรีเสมอภาคกนัในการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ทั้งสองดาํรงอยูเ่พ่ือกนัและกนัในลกัษณะ

คนหน่ึงเพ่ืออีกคนหน่ึง แต่ละคนเป็นผูช่้วยของอีกฝ่ายหน่ึง เพ่ือสานต่อการสร้างของพระเจา้ในการให้

กาํเนิดชีวิต ทั้งชายและหญิงในฐานะภาพลกัษณ์ของพระเจา้ต่างไดรั้บมอบหมายใหมี้ส่วนร่วมในการ

ปกครองดูแลแผน่ดินในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ (Apostolic Constitution Fidei Depositum,

1992: 369-373)

4. มนุษย์เป็นผู้มคีวามสัมพนัธ์กบัพระเจ้าอย่างใกล้ชิด

4.1 มนุษย์ในสภาวะดั้งเดิมสามารถบรรลุถงึพระเจ้าได้

มนุษยใ์นสภาวะดั้งเดิมท่ีพระเจา้ทรงสร้าง นอกจากจะเป็นความดีร่วมกบั

ส่ิงต่าง ๆ ท่ีพระเจา้ทรงสร้างแลว้ (ทุกส่ิงท่ีพระเจา้สร้างลว้นดีทั้งสิ้น) มนุษยย์งัไดรั้บสภาวะพิเศษท่ีต่าง

จากส่ิงอ่ืน ๆ เน่ืองจากมนุษยมี์ความศกัด์ิสิทธ์ิและความชอบธรรม (Holiness and justice) กล่าวคือ

(Apostolic Constitution Fidei Depositum, 1992: 374-387) โดย

4.1.1 พระเจา้โปรดใหม้นุษยมี์ชีวิตท่ีศกัด์ิสิทธ์ิ โดยประทานพระพรแห่ง

การมีส่วนร่วมชีวิตของพระเจา้ (To share in divine life) ทาํใหม้นุษยมี์ความสมัพนัธท่ี์ใกลชิ้ดกบัพระเจา้

4.1.2 พระเจา้โปรดให้มนุษยมี์ความชอบธรรม กล่าวคือ มนุษยมี์ความ

กลมกลืนภายในตวัเอง มีความกลมกลืนระหว่างชายและหญิง และมีความกลมกลืนกบัส่ิงทั้ งปวงท่ีพระ

เจา้ทรงสร้างข้ึน มนุษยส์ามารถเป็นนายเหนือตัวเอง ควบคุมตนเองและอยู่กบัคนอ่ืน ส่ิงอ่ืนไดอ้ย่าง

ประสานกลมกลืน

ในฐานะท่ีพระเจา้ทรงสร้างมนุษยใ์หเ้ป็นไปตามภาพลกัษณ์ของพระองค ์

มนุษยจึ์งไม่สามารถมีอยูไ่ดด้ว้ยตวัเอง แต่ตอ้งข้ึนอยูก่บัพระเจา้และดาํเนินชีวติมุ่งสู่พระเจา้เพ่ือความ

สมบูรณ์ของชีวิต การมุ่งสู่พระเจา้จึงเป็นเป้าหมายและการกาํหนดวิถีชีวิต พระเจา้ทรงสร้างมนุษยใ์หมี้

ศกัด์ิศรีโดยประทานสติปัญญา ความสาํนึกทางศีลธรรมและเสรีภาพเพ่ือใหม้นุษยใ์ชเ้ป็นเคร่ืองมือบรรลุ

ถึงพระองค ์ ซ่ึงอธิบายรายละเอียดดงัต่อไปน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

83

1. มนุษย์มสีตปัิญญา

มนุษยมี์สติปัญญา สามารถรู้ เขา้ใจความจริงและระเบียบของส่ิงต่าง ๆ

ท่ีพระเจ้าทรงกําหนดไว้ “สติปัญญาน่ีเองท่ีทําให้มนุษย์มีเหตุผลเข้าใจความจริงได้” (Apostolic

Constitution Fidei Depositum, 1992 : 1704)

2. มนุษย์มคีวามสํานึกทางศีลธรรม

มนุษยมี์เสียงเตือนภายในจิตใจมนุษยท่ี์คอยพรํ่ าเตือนใหม้นุษยมุ่์งสู่

ความดี หลีกเล่ียงความชัว่ เพ่ือช่วยวนิิจฉยัใหม้นุษยท์าํในส่ิงท่ีถกูตอ้งตามหลกัเหตุผลสอดคลอ้งกบั

ธรรมชาติมนุษยท่ี์มุ่งสู่ความดีสูงสุด (พระเจา้) (Apostolic Constitution Fidei Depositum, 1992: 1776-

1777)

3. มนุษย์มเีสรีภาพ

พระเจา้ทรงสร้างมนุษยใ์หมี้เหตุผล โดยประทานศกัด์ิศรีแก่มนุษยใ์หมี้

ความคิดริเร่ิมและทาํส่ิงต่าง ๆ ไดอ้ยา่งอิสระ เพ่ือใหม้นุษยแ์สวงหาและบรรลุถึงพระเจา้ดว้ยความสมคัร

ใจ จากหนงัสือคาํสอนทางการของศาสนจกัรคาทอลิก (Apostolic Constitution Fidei Depositum, 1992:

1730-1734) จึงสรุปความหมายของเสรีภาพไดว้่า เสรีภาพหมายถึง พลงัท่ีมนุษยต์อ้งรับผดิชอบต่อการ

เลือกดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้งกบัธรรมชาติมนุษย ์ โดยตดัสินใจดาํเนินชีวิตมุ่งสู่พระเจา้ ในฐานะท่ีมนุษย์

ตอ้งข้ึนอยูก่บัพระเจา้และมีพระเจา้เป็นเป้าหมายของชีวิตท่ีสมบูรณ์ แต่เน่ืองจากมนุษยมี์ขอบเขตจาํกดั

และยงัไม่สมบูรณ์ มนุษยจึ์งอาจใชเ้สรีภาพในทางท่ีผดิธรรมชาติของตน โดยการปฏิเสธพระเจา้ก็ได ้

5. มนุษย์ใช้เสรีภาพในทางท่ีผดิ ทําให้ธรรมชาตมินุษย์บกพร่อง

5.1 มนุษย์ใช้เสรีภาพในทางท่ีผดิ ทําให้ธรรมชาตมินุษย์บกพร่อง

เม่ือเร่ิมสร้างโลกและมนุษย ์ ๆ ข้ึนอยูก่บัพระเจา้และมีพระเจา้เป็นความ

สมบูรณ์ของชีวิต “แต่มนุษยก์ลบัใชเ้สรีภาพท่ีจะดาํรงอยูแ่ละบรรลุถึงความสมบูรณ์ดว้ยตวัมนุษยเ์อง

มนุษยต์อ้งการเป็นเหมือนพระเจา้โดยตดัพระเจา้ออกไปจากชีวิต” (Apostolic Constitution Fidei

Depositum, 1992: 398) มนุษยต์อ้งการมีอยูด่ว้ยตวัเองโดยไม่ข้ึนอยูก่บัพระเจา้ มนุษยเ์ลือกท่ีจะตดั

ความสมัพนัธก์บัพระเจา้ แต่มนุษยไ์ม่สามารถอยูไ่ดด้ว้ยตนเอง เพราะมนุษยไ์ม่ใช่ผูส้ร้าง (Creator) จึงไม่

สามารถบรรลุถึงความสมบูรณ์ของชีวิตได ้ เพราะการบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ตอ้งอาศยัพระพรของพระ

เจา้เท่านั้น ดงันั้น มนุษยจึ์งสูญเสียความศกัด์ิสิทธ์ิท่ีมีมาแต่แรกเร่ิมและไม่อาจมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้

ไดอี้ก มนุษยก์ลายเป็นผูเ้กรงกลวัพระเจา้ เขา้ใจพระเจา้ผดิ ๆ โดย “เขา้ใจว่าพระเจา้หวงแหนสิทธิอาํนาจ

ของพระองคแ์ละไม่อยากใหม้นุษยบ์รรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์แบบพระองค”์ (Apostolic Constitution Fidei

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

84

Depositum, 1992: 399) นอกจากนั้น มนุษยย์งัสูญเสียความชอบธรรมท่ีจะมีชีวิตอยา่งกลมกลืนกบัตนเอง

และธรรมชาติรอบตวั ดงัใน Catechism of the Catholic Church (1992: 400) กล่าวว่า

มนุษยไ์ม่สามารถควบคุมตนเองไดต้ามพระประสงคเ์ดิม ความเป็น

หน่ึงเดียวระหวา่งชายหญงิไม่กลมกลืนเหมือนเดิม รวมทั้งความกลมกลืนระหวา่งมนุษยก์บัส่ิงอื่น ๆ

ก็หมดไปดว้ย ส่ิงต่าง ๆ กลายเป็นส่ิงแปลกหนา้และดูเหมือนเป็นศตัรูกบัมนุษย ์ จึงทาํใหม้นุษย์

พยายามท่ีจะเอาชนะโลก และทา้ยท่ีสุด ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นกายและวญิญาณท่ีประกอบกนัข้ึนเป็น

หน่ึงเดียว และผลของบาปทาํใหม้นุษยไ์ม่มีความกลมกลืนภายในชีวติเหมือนเดิม กายและวญิญาณ

จึงไม่อาจเป็นหน่ึงเดียวกนัไดอ้ย่างเดิม วญิญาณตอ้งแยกจากร่างกายในวนัใดวนัหน่ึง ร่างกายตอ้ง

กลบัไปสู่สภาวะเดิม คือกลบัเป็นเป็นผงคลีดิน เพราะพระเจา้ทรงสร้างจากดิน (Genesis/ ปฐก 3: 19)

ผลของบาปทาํใหม้นุษยต์อ้งตาย

5.2 ความหมายของบาปกาํเนดิ

ในการท่ีพระเจา้สร้างอาดมั ในฐานะท่ีอาดมัเป็นตวัแทนของมนุษยชาติ

ไดรั้บพระพร คือ ความศกัด์ิสิทธ์ิและความชอบธรรมจากพระเจา้ เม่ือพระเจา้เร่ิมสร้างมนุษยข้ึ์นมาฉนัใด

เม่ืออาดมัทาํบาป ๆ นั้นก็ยอ่มเป็นบาปของมนุษยชาติดว้ยเช่นกนั บาปของอาดมัจึงเรียกว่าบาปกาํเนิดของ

มนุษยชาติ (Apostolic Constitution Fidei Depositum, 1992: 417)

5.3 ธรรมชาตมินุษย์ที่บกพร่องเพราะบาปกาํเนิด ได้รับการกอบกู้โดยทาง

พระเยซูคริสตเจ้า

แม้ธรรมชาติมนุษย์บกพร่องเพราะบาปกําเนิด แต่มนุษย์ย ังคงเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ และ “พระองคท์รงช่วยเหลือมนุษยใ์หก้ลบัมาสู่สภาวะเดิมโดยทางองคพ์ระเยซูคริ

สตเจา้ท่ีทรงยอมสิ้นพระชนมเ์พ่ือมนุษยชาติ” (Apostolic Constitution Fidei Depositum, 1992: 421) ทาํ

ใหม้นุษยส์ามารถกลบัสู่ภาวะเดิม คือ การมีชีวิตท่ีสามารถบรรลุถึงชีวิตสมบูรณ์ในพระเจา้อีกคร้ัง

6. มนุษย์พฒันาศักยภาพสู่ชีวติที่สมบูรณ์ในพระเจ้าโดยการสร้างความสัมพนัธ์

กบัผู้อืน่ซ่ึงเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า

แมม้นุษยมี์ศกัยภาพท่ีบรรลุถึงความสมบูรณ์ได ้แต่ศกัยภาพน้ีตอ้งไดรั้บการ

พัฒนาอาศัยความสัมพันธ์กับคนอ่ืน “มนุษย์มีธรรมชาติท่ีต้องดําเนินชีวิตในสังคม” (Apostolic

Constitution Fidei Depositum, 1992: 1879) กล่าวคือ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

85

6.1 มนุษย์มคีวามเท่าเทียมกนัและมคีวามแตกต่างระหว่างบุคคล

มนุษยเ์ท่าเทียมกันในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า ทุกคนได้รับ

ศกัยภาพท่ีสามารถบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ มนุษยทุ์กคนจึงมีศกัด์ิศรีเท่าเทียมกนั แต่มนุษยมี์

ความสามารถท่ีแตกต่างกนั และความแตกต่างดา้นความสามารถน้ีเองท่ีเรียกร้องให้มนุษยแ์บ่งปัน พ่ึงพา

อาศยักนัและกนั เพ่ือพฒันาชีวิตสู่ความสมบูรณ์ในพระเจา้ (Apostolic Constitution Fidei Depositum,

1992: 1934-1936 )

6.2 มนุษย์เป็นพืน้ฐานสําคญัของสังคม

มนุษยแ์ต่ละคนเป็นส่วนหน่ึงของสงัคม การอยูร่วมกนัในสังคมจึงตอ้งมี

มนุษยเ์ป็นทั้งหลกัการ หวัใจ และจุดมุ่งหมายของสงัคม ดงัใน Catechism of the Catholic Church (1992)

ขอ้ 1879 - 1924 ท่ีสรุปไดว้่า

6.2.1 มนุษย์แต่ละคนเป็นทายาท (Heir) และยอมรับความสามารถ

(Talent) ของสงัคม โดยสงัคมตอ้งช่วยใหม้นุษยพ์บเอกลกัษณ์และแนวทางการพฒันาชีวิตของตน

6.2.2 สังคมต้องส่งเสริมและอาํนวยความสะดวกให้สมาชิกแต่ละคน

สามารถบรรลุถึงเป้าหมายชีวิตอยา่งสมบูรณ์และง่ายมากยิง่ขั้น

จากการทบทวนเอกสารท่ีเก่ียวขอ้งการอธิบายมนุษยต์ามคาํสอนคริสตศ์าสนา ทั้ง

การศึกษาพระคมัภีร์ และการตีความ/อธิบายความพระคมัภีร์ภายใตก้รอบของธรรมประเพณีและการสอน

ทางการของคริสตศ์าสนาคาทอลิก จึงสรุปความว่าคาํสอนคริสตศ์าสนา สอนว่ามนุษยเ์ป็นผูมี้ศกัด์ิศรีใน

ฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ มนุษยมี์ศกัยภาพบรรลุถึงพระเจา้ได ้ โดยร่วมมือกบัพระเจา้ในการ

พฒันาคุณค่าชีวติ อาศยัสติปัญญา ความสาํนึกทางมโนธรรมและเสรีภาพ โดยดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน

ในสงัคม แมม้นุษยจ์ะบกพร่อง พระเจา้ก็ยงัทรงเมตตาประทานความช่วยเหลือใหม้นุษยก์ลบัสู่สภาวะท่ี

สามารถบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระองค ์

2. แนวคดิเร่ืองมนุษย์ของปรัชญาบุคคล

2.1 พืน้ฐานและภาพรวมของปรัชญาบุคคลนยิม

บุคคลนิยม (Personalism) ไม่ใช่แนวคิดใหม่ แต่มีการกล่าวถึงบา้งแลว้ในปรัชญา

ของนักบุญโทมสั อาไควนัส (ค.ศ. 1225–1274) และผูเ้ล่ือมใสแนวคิดของท่านในสมยัต่อมา (The

Thomist) ท่ีมีแนวคิดว่ามนุษยเ์ป็นบุคคล โดยมีส่วนร่วมในความเป็นบุคคลของพระเจา้ แต่ก็ยงัไม่ไดรั้บ

การพฒันาอยา่งจริงจงัและเป็นระบบมากนัก จนกระทัง่ราวปลายศตวรรษท่ี 19 – ตน้ศตวรรษท่ี 20 ซ่ึง

เป็นช่วงท่ีความคิดของคาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) ได้รับการยอมรับในฐานะท่ีเสนอแนวทาง “เพ่ือ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

86

แกปั้ญหาความอยติุธรรมและความไม่เท่าเทียมกนัของประชาชนในสงัคม” (Dantonel , 2001: 44) มีการ

ประยกุตแ์นวคิดของมาร์กซไ์ปใชอ้ยา่งกวา้งขวางในหลายประเทศแถบยโุรปและอเมริกา แมป้รัชญาของ

มาร์กซจ์ะไดรั้บความนิยมในสมยันั้น แต่ก็มีนกัปรัชญาหลาย ๆ ท่านไม่เห็นดว้ยกบัแนวคิดของมาร์กซ์ท่ี

ใชเ้ศรษฐกิจมาอธิบายพ้ืนฐานของสงัคม เอ็มมานูเอล มูเนียร์ (Emmanuel Mounier ค.ศ. 1905–1950)

เป็นนกัปรัชญาท่านหน่ึงท่ีไม่เห็นดว้ยกบัวิธีการของมาร์กซ ์ มเูนียร์คิดว่าวิธีเดียวเท่านั้นท่ีจะเขา้ใจสังคม

ไดคื้อ “การเขา้ใจมนุษยผ์ูเ้ป็นบุคคล (The person) โครงสร้างของสังคมมีไวเ้พ่ืออาํนวยความสะดวกให้

มนุษยบ์รรลุเป้าหมายในฐานะเป็นบุคคล” (Dantonel, 2002: 26)

นอกจากมเูนียร์ ยงัมีนกัปรัชญาหลาย ๆ ท่านท่ีนาํเสนอแนวคิดในทาํนองเดียวกนั

น้ี เช่น มาร์ติน บูเบอร์ (Martin Buber ค.ศ. 1878-1965) กาเบรียล มาแซล (Gabriel Marcel ค.ศ. 1889-

1973) เอ็มมานูเอล เลวีนัส (Emmanuel Levinas ค.ศ. 1905 - 1995) ปอล ริเคอร์ (Paul Ricoeur ค.ศ.

1913-2005) เป็นตน้ แต่เป็นท่ีน่าสงัเกตว่าปรัชญาบุคคลนิยม ไม่ใช่สาํนักปรัชญาท่ีสืบทอดเจตนารมณ์

ของนกัปรัชญาคนใดคนหน่ึง แต่เป็นแนวความคิดท่ีมีลกัษณะร่วมกนัของนกัปรัชญากลุ่มหน่ึงท่ีพยายาม

ศึกษาความจริงเก่ียวกับมนุษยใ์นสังคม “โดยคิดว่าสามารถเขา้ใจความหมายของชีวิต ดว้ยการศึกษา

วิเคราะห์มนุษยใ์นฐานะเป็นบุคคล” (Ricoeur, 1965: 136) ความหมายของชีวิตจึงไม่ไดอ้ยู่ท่ีส่ิงแวดลอ้ม

รอบตวัมนุษย ์ แต่อยู่ภายในตวัเขาเอง ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นบุคคล ท่ีนอกจากจะมีร่างกายเป็นสสาร

เหมือนส่ิงต่าง ๆ แลว้ มนุษยย์งัมีวิญญาณท่ีทาํใหม้นุษยเ์ป็นส่ิงท่ีเป็นจิต (Spiritual being) ทาํให้มนุษยมี์

คุณค่าและศกัด์ิศรีพิเศษกว่าส่ิงอ่ืน ๆ โดยลกัษณะของบุคคลท่ีเป็นจิตน้ีตอ้ง “ไดรั้บความเคารพก่อนและ

เหนือทุกส่ิง” (Dantonel, 2001: 44) หรือกล่าวไดว้่า “ทุกส่ิงท่ีมนุษยคิ์ดและสร้าง ไม่ว่าจะเป็นสังคม

การเมือง รวมทั้งรูปแบบต่าง ๆ ของการพฒันาใด ๆ ตอ้งมีพ้ืนฐานอยู่ท่ีการส่งเสริมมนุษยใ์นฐานะเป็น

บุคคล (Human person) ซ่ึงเป็นผูมี้ความรู้สาํนึก มีใจอนัเป็นอิสระและมีความสัมพนัธ์ใกลชิ้ดกบัผูอ่ื้น”

(Dantonel, 2002: 26) ซ่ึงอธิบายความหมายของมนุษยต์ามแนวปรัชญาบุคคลนิยมไดว้่า

2.2 การอธิบายความหมายของชีวติมนุษย์ (Human being)

แนวคิดสาํคญัของปรัชญาบุคคลนิยม ไดแ้ก่การอธิบายเก่ียวกบัภาวะของมนุษย ์วา่มี

ลกัษณะพิเศษ ท่ีมีความแตกต่างจากส่ิงอ่ืนๆ ให้ความสาํคัญต่อการอธิบายความหมายและธรรมชาติ

มนุษย ์ โดยอธิบายว่า ความหมายมนุษย/์ภาวะของมนุษย ์คือ การเป็นบุคคล ธรรมชาติมนุษย ์คือ การ

เป็นจิตท่ีอยูใ่นร่างกาย โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

87

2.2.1 ความหมาย/ภาวะของมนุษย์ คอื การเป็นบุคคล

ดงัโตแนล (2551) วิเคราะห์ว่า นกัปรัชญากลุ่มบุคคลนิยม โดยเฉพาะ มาร์

ติน บูเบอร์ และกาเบรียล มาแซล ใหค้วามสาํคญักบัการดาํเนินชีวิตของมนุษยใ์นสังคม มนุษยต์อ้งอยู่ใน

สงัคมเพ่ือการอยูร่อดและการพฒันาชีวิตของตน สงัคมจึงมีอิทธิพลต่อการดาํเนินชีวิตของมนุษย ์ อย่างไร

ก็ตาม มนุษยไ์ม่ใช่เป็นเพียง “ผูต้าม” อยา่งเดียว โดยไม่เป็นตวัของตวัเอง แมม้นุษยอ์ยูใ่นสงัคม และอยูใ่ต้

อิทธิพลของสภาพแวดลอ้มทางสงัคม แต่มนุษยย์งัคงมีความเป็นตวัของตวัเองในการอยูใ่นสงัคม อนัเป็น

คุณลกัษณะท่ีทาํให้แต่ละบุคคลมีความแตกต่างกันในการอยู่ร่วมกันในสังคม ดังนั้ น จึงกล่าวได้ว่า

ลกัษณะสาํคญัของภาวะของมนุษย ์คือ การเป็นตวัของตวัเอง และการพฒันาชีวิตของตนร่วมกบั/อาศยั

ผูอ่ื้นในสงัคม

1. บุคคล คอื ผู้เป็นตวัของตวัเอง

กาเบรียล มาแซล (Gabriel Marcel ค.ศ.1889-1973) ให้ความสาํคญัต่อ

การอธิบายมนุษยท่ี์มีลกัษณะเป็นรูปธรรม โดยเสนอว่าแนวคิดในการอธิบายความหมายของชีวิตมนุษย ์

ควรเร่ิมตน้ดว้ยประสบการณ์ส่วนบุคคล ดว้ยการสงัเกต ไตร่ตรองเก่ียวกบัชีวิต เป็นส่ิงท่ีไม่ถูกตอ้งท่ีจะ

อธิบายความจริงเก่ียวกบัมนุษย ์โดยเร่ิมจากการพิจารณาส่ิงรอบตวัมนุษย ์ การอธิบายมนุษยโ์ดยเร่ิมจาก

การพิจารณาความหมายของส่ิงต่างๆ จะทาํใหเ้กิดความเขา้ใจท่ีคลาดเคล่ือนกบัคุณค่าและความหมายของ

ชีวิตมนุษย ์(Marcel, 1995: 9) เน่ืองจากมนุษยมี์ลกัษณะเฉพาะของตน (Marcel, 1973: 34) แมม้นุษยมี์

ลกัษณะท่ีเหมือนส่ิงต่างๆ ท่ีมีอยู่ทัว่ไป แต่มนุษยก์็มีลกัษณะเฉพาะท่ีเป็นตวัของตวัเอง ไม่ซํ้ าแบบกัน

เน่ืองจากมนุษยมี์ภาวะดา้นจิตวิญญาณท่ีขบัเคล่ือน ในการดาํเนินชีวิตและพฒันาตนเองท่ีแยกไม่ไดจ้าก

ภาวะของมนุษย ์

อยา่งไรก็ตาม แมว้่ามาแซลเสนอว่าภาวะของมนุษย ์คือ การเป็นตวัของ

ตวัเอง เน่ืองจากมนุษยมี์ภาวะดา้นจิตวิญญาณอนัเป็นลกัษณะเฉพาะของมนุษยแ์ลว้ แต่มาแซลก็ให้

ความสาํคญัต่อการอธิบายความหมายของร่างกายมนุษย ์ว่าเป็นส่วนท่ีสําคญัของภาวะของมนุษย ์ทั้ ง

ร่างกายและจิตวิญญาณตอ้งไม่แยกจากกนัในภาวะความเป็นมนุษย ์ในหนังสือ “Being and Having”

(1949) ท่านอธิบายโดยใชค้าํสาํคญัสองคาํ คือ คาํว่า “ภาวะท่ีเป็น” (Being) และ “การมี/การครอบครอง”

(Having) (Marcel, 1949) ท่ีมนุษยใ์ชท้ั้งภาวะท่ีเป็น (Being) และการมีส่ิงต่างๆ (Having) เป็นวิถีทางใน

การเผชิญหนา้ หรือเก่ียวขอ้งกบัส่ิงต่างๆ ในโลก เป็นเหมือนกบัสองรูปแบบท่ีจาํเป็นท่ีมนุษยใ์ชใ้นการ

ติดต่อสมัพนัธก์บัคนอ่ืน และส่ิงต่างๆ ในโลก โดยมาแซลอธิบายว่าภาวะของมนุษย ์ตอ้งประกอบดว้ย

ร่างกายและจิตวิญญาณ ร่างกายไม่ใช่เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ท่ีเราจะมีหรือไม่มีก็ได ้ร่างกายไม่ไดเ้ป็น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

88

เหมือนกบัอุปกรณ์หรือเคร่ืองมือในการดาํเนินชีวิต ท่ีจะละเลยหรือตดัทิ้งออกไปเมื่อไหร่ก็ได ้ แต่ถือว่า

ร่างกายนั้นเป็นตวัฉนัเอง (ดงัโตแนล, 2551) ดว้ยเหตุน้ีจึงไม่สามารถแยกร่างกายออกจากจิตวิญญาณใน

การอธิบายภาวะของมนุษยท่ี์เป็นตวัของตวัเองได ้ซ่ึงจะอธิบายในรายละเอียดในหัวขอ้บุคคลคือจิตท่ีอยู่

ในร่างกายในลาํดบัต่อไป

2. มนุษย์พฒันาชีวติของตนร่วมกบั/อาศัยผู้อืน่ในสังคม

มาร์ติน บูเบอร์ (Martin Buber ค.ศ. 1878-1965) อธิบายภาวะของ

มนุษย ์โดยใหค้วามสาํคญัต่อการดาํเนินชีวิตของมนุษยใ์นสังคม ท่านอธิบายว่ามนุษยทุ์กคนต่างมุ่งหน้า

ไปสู่ความครบครัน แต่มนุษยแ์ต่ละคนไม่สามารถบรรลุความสําเร็จไม่ได้เลย หากไม่ได้รับความ

ช่วยเหลือจากผูอ่ื้น (ดงัโตแนล, 2551) ทุกคนจาํเป็นตอ้งมีการติดต่อกบัผูอ่ื้นอยู่เสมอเพ่ือการดาํเนินชีวิต

และการพฒันาชีวิต ดว้ยเหตุน้ี สงัคมและสถาบนัในสงัคมจึงมีความสาํคญัในการส่งเสริมและการพฒันา

ชีวิตของแต่ละบุคคล อยา่งไรก็ตาม แมว้่าสงัคมและสถาบนัในสงัคมเป็นส่ิงสาํคญัต่อการดาํเนินชีวิตและ

การพฒันาชีวิต แต่สงัคมและสถาบนัในสงัคมจาํเป็นตอ้งใหค้วามเคารพต่อบุคคล สังคมตอ้งช่วยส่งเสริม

บุคคลในสงัคมในการแสวงหาความจริงและพฒันาชีวิตของบุคคล ดว้ยการให้แต่ละบุคคลตดัสินใจดว้ย

ตนเอง และมีความรับผิดชอบอย่างเต็มท่ี ไม่ใช่ให้ผูอ่ื้นหรือสังคม หรือสถาบนัมากาํหนดหรือครอบงาํ

รูปแบบการดาํเนินชีวิตของบุคคล

ในหนังสือ “I and Thou” (Ich and Du, 1923) บูเบอร์ อธิบายการ

พฒันาชีวิตร่วมกบั/อาศยัผูอ่ื้นในสงัคม โดยการสร้างความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคลในลกัษณะการเสวนา

(Dialogue) โดยใชค้าํว่า “ฉนั-คุณ” (I -Thou) และ “ฉนั-มนั” (I-It) (Buber, 1958) มาอธิบายลกัษณะของ

ความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคลต่อคนอ่ืนและส่ิงอ่ืน โดยเสนอว่าความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคลท่ีจะทาํให้ชีวิต

มีการพฒันาร่วมกบั/อาศยัคนอ่ืนในสงัคม ตอ้งเป็นความสมัพนัธใ์นลกัษณะท่ีต่างฝ่ายต่างสาํนึกว่าตนเป็น

บุคคลเช่นเดียวกนั (I-Thou) ในขณะท่ีความสมัพนัธก์บัส่ิงอ่ืน มีลกัษณะเป็นความสัมพนัธ์ในแบบ “ฉัน-

มนั” (I-It) อนัเป็นความสัมพันธ์ท่ียึดตนเองเป็นหลกั และมุ่งให้ส่ิงนั้ นเป็นในอย่างท่ีอยากให้เป็น

(Subject-to-Object) ดงันั้น จึงกล่าวไดว้่า การติดต่อสัมพนัธ์ท่ีถูกตอ้งระหว่างบุคคลตอ้งมีพ้ืนฐานท่ีต่าง

ฝ่ายต่างสาํนึกว่าตนเป็นตวัของตวัเอง (Subject-to-Subject) โดยไม่พยายามท่ีจะทาํให้คนอ่ืน เป็นในอย่าง

ท่ีอยากใหเ้ป็น ไม่ไดมุ่้งครอบครอง และทาํให้คนอ่ืนสูญเสียความเป็นตวัของตวัเอง แต่เคารพในความ

เป็นบุคคลของผูอ่ื้นท่ีมีทั้ งส่วนท่ีเหมือนและแตกต่างจากตวัเรา และเสริมสร้างการติดต่อสัมพนัธ์เพ่ือ

พฒันาชีวิตของกนัและกนั โดยปราศจากการครอบงาํหรือทาํใหอี้กฝ่ายหน่ึง หมดความเป็นตวัของตวัเอง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

89

2.2.2 ธรรมชาตมินุษย์ มลีกัษณะเป็นบุคคล ๆ คอื จติที่อยู่ในร่างกาย

ดงัท่ีนาํเสนอแลว้ว่า นักปรัชญากลุ่มบุคคลนิยม เสนอความคิดว่ามนุษย์

ไม่ใช่เป็นแค่กาย (วตัถุ) หรือเป็นเพียงวิญญาณ (จิต) อย่างใดอย่างหน่ึง แต่ “มนุษยเ์ป็นทั้ งกายและจิต”

(Totally body and totally spirit) (Dantonel, 2001: 45) ในความหมายท่ีว่า มนุษยใ์นฐานะท่ีเป็นบุคคลจะ

ตดัร่างกายหรือจิตวิญญาณส่วนใดส่วนหน่ึงออกไปไม่ได ้ ทั้งกายและจิตมีความสาํคญัและมีคุณค่า แต่อยู่

ในระดบัท่ีต่างกนั มนุษยมี์ร่างกายท่ีเป็นส่วนหน่ึงของโลกแห่งวตัถุ มนุษยจึ์งมีขอบเขตจาํกดั ตอ้งอยูใ่น

โลกและมีส่วนร่วมเป็นไปตามหลักธรรมชาติเหมือนส่ิงมีชีวิตทั ่วไป แต่ส่ิงท่ีบุคคลนิยมเน้นคือ

ความสาํคญัของจิตในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นจิตท่ีอยูใ่นร่างกาย ซ่ึงเป็นลกัษณะพิเศษท่ีมนุษยต่์างจากส่ิงมีชีวิต

ทัว่ไป ทาํใหม้นุษยส์ามารถกา้วพน้ขอบเขตแห่งโลกผสัสะไปสู่ภาวะความจริงสูงสุด (Transcendence)

1. ความหมายของร่างกาย

แมว้่าปรัชญาบุคคลนิยม จะมีความคิดว่า จิตเป็นคุณค่าแทจ้ริงของ

บุคคล แต่ในฐานะท่ีเป็นมนุษย ์จิตขาดร่างกายไม่ได ้ร่างกายมีบทบาทในฐานะเป็นส่ือหรือตวัแทนของจิต

จิตถ่ายทอดหรือแสดงตวัออกมาโดยอาศยัร่างกาย ซ่ึงอธิบายในรายละเอียดดงัต่อไปน้ี

1.1 ร่างกายไม่ใช่อุปกรณ์ของจิต แต่เป็น “ตัวฉันเอง” ที่จะตัด

ออกไปไม่ได้

แมร่้างกายจะเป็นการแสดงออกของจิต แต่ร่างกายไม่ใช่

เคร่ืองมือของจิต เหมือนกบัท่ีเราใชเ้คร่ืองมือชิ้นหน่ึงเพ่ือทาํงานให้สาํเร็จ เม่ือใชเ้สร็จแลว้เราอาจจะไม่

สนใจหรือทิ้งมนัก็ได ้ แต่ร่างกายไม่ใช่เคร่ืองมือท่ีเราจะใชห้รือไม่ใชก้็ได ้ เราทิ้งร่างกายไม่ไดเ้พราะ

ร่างกายเป็น “ตวัฉันเอง” (ดงัโตแนล, 2536: 35) ร่างกายไม่ใช่ส่ิงอ่ืนท่ีมาจากภายนอกและเขา้มาเพิ่ม

ใหก้บัมนุษย ์แต่ร่างกายเป็นส่วนประกอบจาํเป็นของมนุษย ์จนถึงกบัว่ามนุษยอ์ยูไ่ม่ไดถ้า้ไม่มีร่างกาย

1.2 ร่างกายเป็นส่ือความรู้และความสัมพนัธ์กบัผู้อืน่

ร่างกายเป็นส่วนประกอบจาํเป็นสาํหรับมนุษย ์ๆ ตอ้งดาํเนิน

ชีวิตและพฒันาตนเองท่ามกลางส่ิงต่าง ๆ รอบขา้งในสังคม มนุษยต์อ้งอาศยัร่างกายเพื่อแสวงหาความรู้

และเป็นหนทางติดต่อสัมพนัธ์กบัคนอ่ืน ทาํให้แต่ละบุคคลดาํเนินชีวิตในโลกได ้ ดงัท่ีมาแชล เสนอว่า

“ร่างกายเป็นส่ือระหว่างฉนักบัโลก .....อาศยัร่างกาย ฉนัจึงติดต่อกบัโลกรอบขา้ง และร่างกายนั้น คือตวั

ฉันเอง” (Marcel, n.d. cited in ดงัโตแนลม 2551) หรือท่ี ปอนตี (Ponty, 1962: 97) ไดอ้ธิบายไวว้่า

“ร่างกายเป็นวิถีทางเพ่ือเขา้สู่โลกรอบขา้งและกระทาํบางอย่างเพ่ือโลกรอบขา้งนั้น” ร่างกายเป็นบ่อเกิด

ของความรู้ เพราะทุกส่ิงท่ีเรารู้ตอ้งผา่นประสาทสมัผสัของเรา โดยมีร่างกายเป็นตวักาํหนดความรู้ท่ีเรามี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

90

ต่อโลกและส่ิงแวดล้อม ร่างกายจึงมีบทบาทสําคัญในฐานะท่ีเป็นส่ือหรือวิถีทางเพ่ือจะได้ความรู้

นอกจากนั้นร่างกายยงัเป็นหนทางท่ีทาํใหเ้ราติดต่อสมัพนัธก์บัคนอ่ืนและส่ิงอ่ืน ๆ ได ้เราสามารถติดต่อ

สมัพนัธก์บัคนอ่ืนและส่ิงอ่ืน ๆ ไดด้ว้ยการแสดงออกทางร่างกาย ทั้งจากตวัเราสู่คนอ่ืนและจากคนอ่ืนสู่

ตวัเรา อาศยัร่างกายทาํใหเ้ราสามารถแสวงหาและแสดงออกถึงความรู้และความคิดท่ีเรามีต่อคนอ่ืนได ้

ร่างกายจึงมีคุณค่าในฐานะเป็นวิถีทางของการแสดงออกถึงส่ิงท่ีมีอยู่ภายในตัวมนุษย ์ ดังท่ี ปอนตี

(Ponty, 1962: 97) สรุปไวว้่า “ร่างกายมีคุณค่า เพราะเป็นการแสดงออกของจิต”

ดงันั้น จึงสรุปความหมายของ “ร่างกาย” ว่าเป็นส่วนสาํคญัท่ีควบคู่

กบัจิตวิญญาณในภาวะความเป็นมนุษย ์ ร่างกายมีบทบาทสาํคญัในการติดต่อสัมพนัธ์กบัคนอ่ืนและส่ิง

ต่างๆ ทั้งดา้นความรู้และการทาํกิจกรรมต่างๆ ในชีวิต ร่างกายเป็นบ่อเกิดของความรู้ เน่ืองจากมนุษย์

รับรู้ส่ิงต่างๆ ผ่านทางร่างกาย (ประสาทสัมผสั) ร่างกายเป็น “ส่ือ” ในการติดต่อสัมพนัธ์กับคนอ่ืน

ความสมัพนัธท่ี์บุคคลมีกบัคนอ่ืน ตอ้งผา่นทางการแสดงออกทางร่างกายเสมอ นอกจากนั้น ร่างกายยงัทาํ

ใหแ้ต่ละบุคคลดาํเนินชีวิตในกาลเวลา ร่างกายทาํให้มนุษยเ์ป็นส่วนหน่ึงของสังคม และเป็นส่วนหน่ึง

ของประวตัศาสตร์ ทาํใหม้นุษยด์าํเนินชีวิตในบริบทของสภาพแวดลอ้มท่ีหล่อหลอมและส่งเสริมให้แต่

ละบุคคลพฒันาชีวิตของตน (ดงัโตแนล, 2551 )

2. จติเป็นคุณค่าที่แท้จริงของภาวะมนุษย์

แมชี้วิตมนุษยจ์ะขาดร่างกาย (วตัถุ) ไม่ได ้ แต่ร่างกายไม่ใช่คุณค่า

แทจ้ริงของมนุษย ์ “แก่นแท ้(Essence) ของบุคคลไม่ใช่วตัถุ (ร่างกาย) แต่เป็นจิต เพราะบุคคลเป็นภาวะท่ี

เป็นจิต” (Dantonel, 2001: 45) จิตน่ีเองท่ีทาํให้มนุษยมี์ความพิเศษแตกต่างจากส่ิงมีชีวิตทั ่วไป จน

สามารถกา้วพน้ขอบเขตแห่งโลกผสัสะไปสู่ความจริงสูงสุด อาศยัความรู้ เสรีภาพ และความสัมพนัธ์กบั

ผูอ่ื้น ซ่ึงอธิบายในรายเอียดดงัน้ี

2.1 ความรู้ : ฉันรู้.. และรู้ว่าฉันรู้

มนุษยเ์ป็นทั้งกายและจิต ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นกาย มนุษยจึ์งมี

ทั้งความตอ้งการระดบัผสัสะท่ีเป็นไปตามสัญชาตญาณ ความรู้ของมนุษยจึ์งมีทั้ งระดบัสัญชาตญาณท่ี

เหมือนสัตว์ทั ่วไป ซ่ึงรับรู้ส่ิ งต่าง ๆ อาศัยประสาทสัมผสัและมุ่งตอบสนองความต้องการตาม

สญัชาตญาณ โดยยดึตนเองเป็นศูนยก์ลาง ความรู้ระดบัน้ีมีศูนยก์ลางอยู่ท่ีตวัผูรู้้ (The knowing subject)

มุ่งรู้เพียงส่ิงท่ีเก่ียวขอ้งกบัความตอ้งการทางกาย แต่เน่ืองจากมนุษยเ์ป็นจิตท่ีอยู่ในร่างกาย มนุษยเ์ป็น

บุคคลท่ีเป็นจิต มนุษยจึ์งมีความปรารถนา (Desire) ซ่ึงเป็นความรู้สาํนึก และความรู้สาํนึกน่ีเองท่ีเป็น

พ้ืนฐานของการรู้ตามแบบมนุษยท่ี์ทาํให้มนุษยแ์ตกต่างจากสัตวอ่ื์น “ความรู้ท่ีเป็นลกัษณะพิเศษของ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

91

มนุษยเ์ท่านั้ น จึงมีลกัษณะเป็นความรู้ตวั” (Weigel, 1961: 15) กล่าวคือ แทนท่ีจะยึดตัวเองเป็น

ศนูยก์ลาง มุ่งรู้แต่เพียงความตอ้งการของร่างกายเท่านั้น มนุษยย์งัมีความรู้สาํนึกซ่ึงเป็นการเปิดตวัเองสู่ส่ิง

อ่ืน เป็นการรู้และยอมรับความจริงอยา่งท่ีส่ิงนั้นเป็น แมส่ิ้งนั้นจะไม่เก่ียวขอ้งกบัความตอ้งการของเขาก็

ตาม แต่ลกัษณะสาํคัญของความรู้แบบมนุษยท่ี์มีความรู้สํานึก คือ การเปิดตนเองสู่ส่ิงอ่ืนเพ่ือ “รู้และ

ยอมรับความเป็นจริงอย่างท่ีส่ิงนั้ นเป็น แมว้่าส่ิงนั้ นจะไม่เก่ียวข้องกับความต้องการของเขาก็ตาม”

(Dantonel, 2002: 12) ซ่ึงเป็นความรู้ระดบัพุทธิปัญญา (The intellectual knowledge) ท่ีพยายามมุ่งสู่ส่ิง

อ่ืนอย่างท่ีมนัเป็นและตามความจริง ศูนยก์ลางความรู้คือส่ิงอ่ืน (Object) เป็นลกัษณะของการเปิดใจ

ตนเองยอมรับส่ิงอ่ืน ส่วนสาํคญัของความรู้จึงไม่ใช่ตนเอง (Subject) แต่เป็นสังคมภายนอกซ่ึงเป็นความ

เป็นจริงตามท่ีมนัเป็น ดงันั้น ความรู้ของมนุษยจึ์งเป็นการรู้ตวั

2.2 เสรีภาพ คอื การกาํหนดตวัเอง

เลวีนัส (Levinas, 1969: 84) หน่ึงในนักปรัชญากลุ่มบุคคล

นิยมเขียนไวใ้นหนงัสือ “Totallity and Infinity” มีใจความว่า “มนุษยไ์ม่ไดถ้กูบงัคบัใหมี้เสรีภาพ แต่ชีวิต

มนุษยไ์ดรั้บการเช้ือเชิญใหใ้ชเ้สรีภาพ” เสรีภาพเป็นส่ิงท่ีอยู่คู่กบับุคคลและแสดงออกอย่างชดัเจน เม่ือ

มนุษยต์อ้งตดัสินใจอะไรสกัอยา่งหน่ึงท่ีเก่ียวขอ้งกบัชีวิตของตน เสรีภาพไม่ใช่เป็นแค่การเลือกหรือการ

กระทาํตามใจตนเองในส่ิงท่ีตนชอบ แต่เสรีภาพคือการกาํหนดชีวิตของตนเอง (Self–determination)

“เสรีภาพหมายถึงการตดัสินใจเลือกกระทาํดว้ยตนเอง ดว้ยเหตุผลของตนเอง” (Dantonel 2002 : 14) แต่

เน่ืองจากมนุษยเ์ป็น “จิตท่ีอยูใ่นร่างกาย” การใชเ้สรีภาพของมนุษยคื์อ การตดัสินใจเลือกการกระทาํของ

มนุษย ์ การใชเ้สรีภาพของมนุษยมี์พ้ืนฐานอยู่ท่ีความเป็นไปไดต้ามความจริง มนุษยรู้์ว่ามีหลายส่ิงท่ีมี

อิทธิพลต่อชีวิตของตน เรายอมรับมนัดว้ยเหตุผลของเรา และตดัสินใจดว้ยตวัของเราเอง เสรีภาพของ

มนุษยจึ์งมีลกัษณะเป็นการตัดสินใจตามความจริงท่ีเรารู้และยอมรับ ดังนั้ นมนุษยจึ์งต้องมีความ

รับผดิชอบต่อการตดัสินใจและการกระทาํตามการเลือกของเรา

ยิง่กว่านั้น เสรีภาพของมนุษยย์งัไม่ใช่เม่ือตดัสินใจไปแลว้จะ

เปล่ียนแปลงไม่ได ้ แต่ชีวิตมนุษยใ์นฐานะท่ีเป็นจิต มนุษยส์ามารถท่ีจะกลบัใจจากส่ิงท่ีตนตดัสินใจไป

แลว้ไปสู่ส่ิงท่ีตนเห็นว่ามีคุณค่าและเขา้กบัตนมากกว่า โดย “สามารถท่ีจะเลือกใหม่และเปล่ียนวิถีชีวิต

ของตนดว้ยการรับผดิชอบเต็มท่ีสู่ส่ิงท่ีตนตดัสินใจเลือก” (Dantonel, 2001: 14)

2.3 ความสัมพันธ์กับผู้อื่นหมายถึง การยอมรับคนอื่นในฐานะท่ี

เขาแตกต่างจากฉัน

มนุษยเ์ป็นสัตวส์ังคม ดังนั้ น ความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืนจึงเป็น

ส่วนท่ีมีความสาํคญัต่อชีวิตมนุษย ์ แต่ความสมัพนัธน้ี์ไม่ใช่เป็นเพียงแค่ระดบัวตัถุหรือร่างกายเท่านั้น แต่

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

92

เป็นระดบัจิต ซ่ึงเป็นความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคล เป็นการท่ีเรายอมรับคนอ่ืนในฐานะท่ีเขาแตกต่างจากตวั

เรา “ดงัท่ีเอม็มานูเอล มเูนียร์ อธิบายไวว้่ามนุษยไ์ม่ใช่ผูมี้เสรีภาพท่ีเป็นปัจเจก (Individual) เท่านั้น แต่ยงั

เป็นผูท่ี้ตอ้งมีความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้นดว้ยความเคารพต่อเสรีภาพของคนอ่ืนดว้ย” (ดงัโตแนล, 2536: 92)

ในฐานะท่ีผูอ่ื้นแตกต่างจากเรา และไม่ใช่ในแบบยึดตวัเราเป็นศูนยก์ลาง แต่เป็นการเปิดตนเองสู่คนอ่ืน

เพ่ือสร้างความสัมพนัธ์ ซ่ึงในเร่ืองน้ี ลาวีนัส (Levinas, n.d., อา้งถึงใน ดงัโตแนล, 2536 : 94) ได้

อธิบายไวว้่า “การพบคนอ่ืนไม่ใช่ความรู้หรือความคิดอย่างเดียว แต่เป็นเร่ืองความสัมพนัธ์อย่างแทจ้ริง

คือ การยอมรับว่าคนอ่ืนเป็นคนเหมือนผม เป็นผูท่ี้มีความคิด ความรู้สึก นํ้ าใจเสรีเหมือนท่ีผมมี” แมค้น

อ่ืนอาจมีหลายส่ิงท่ีต่างจากตวัเรา แต่เราก็ยอมรับในความเป็นตวัเขา และมุ่งส่งเสริมให้เขาเป็นอย่างท่ีเขา

เป็น เป็นการเปิดตวัของเราสู่ความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน ในฐานะท่ีเขาเป็นเพ่ือนมนุษยด์ว้ยกนัซ่ึงมีลกัษณะ

พิเศษเฉพาะของเขาซ่ึงอาจไม่เหมือนตวัเรา แต่เราก็ยอมรับความเป็นตวัเขาท่ีแตกต่างจากเรา การอยู่

ร่วมกนัของมนุษยจึ์งมีลกัษณะเป็น “สงัคมของบุคคล” (Maritain, 1972: 47) และมุ่งส่งเสริมลกัษณะท่ีดี

ของแต่ละบุคคล

ดงันั้น จึงสรุปไดว้่าแนวคิดบุคคลนิยมมีลกัษณะต่อตา้นแนวคิดท่ีลดคุณค่าและ

ศกัด์ิศรีของมนุษยใ์หเ้ป็นเพียงหน่วยหน่ึงหรือเป็นเคร่ืองมือของสังคม โดยลดทอนมนุษยใ์ห้อยู่แค่ระดบั

กายภาพ มองขา้มมนุษยใ์นฐานะเป็นจิตวิญญาณ “มนุษยจึ์งไม่ใช่แค่ปัจเจกหรือสมาชิกคนหน่ึงของกลุ่ม

เท่านั้ น มนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีมีเสรีภาพและมีลกัษณะท่ีเป็นจิต” (Copleston, 1973: 109) ท่ีดาํเนินชีวิต

ร่วมกนัเป็นหมู่คณะ (Communion) ในฐานะท่ีเป็นบุคคลและมีความสัมพนัธ์กนัแบบบุคคลต่อบุคคล

สงัคมตอ้งมีลกัษณะเป็นหมู่คณะท่ีมุ่งส่งเสริมและพฒันามนุษยสู่์ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ยิง่ ๆ ข้ึนไป

มนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

กระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นปรัชญาบุคคลนิยมแบบ

คาทอลิก (Schall, 1997) กล่าวคือ การอธิบายคุณค่า ความหมายของชีวิตมนุษยด์ว้ยการนาํคาํสอนคริสต์

ศาสนามาอธิบายโดยใชป้รัชญาบุคคลนิยม ดว้ยการยนืยนัคุณค่าสูงสุดเร่ืองความเป็นบุคคลของมนุษย ์

(Schmiesing, 2003) โครงสร้างพ้ืนฐานของความเป็นบุคคลของมนุษยคื์อ การเป็นหน่ึงเดียวของกายและ

จิต และความเป็นบุคคลถกูรับรู้ไม่ใช่ในฐานะหน่วยยอ่ยแบบปัจเจกชน แต่ในฐานะของภาวะท่ีเป็น

ธรรมชาติของหมู่คณะท่ีเป็นหน่ึงเดียว มนุษยมี์คุณค่าและศกัด์ิศรีไม่ใช่จากส่ิงภายนอกหรือองคป์ระกอบ

ทางกายภาพ มนุษยมี์ศกัด์ิศรีจากคุณค่าภายใน ในฐานะเป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้างใหเ้ป็นภาพลกัษณ์ มี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

93

ศกัยภาพท่ีจะบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ อาศยัความรู้สาํนึก เสรีภาพ และความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้น ซ่ึงเป็น

ลกัษณะพิเศษท่ีทาํใหม้นุษยแ์ตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

1. การยนืยนัคาํสอนคริสต์ศาสนาว่า “มนุษย์เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า”

ในฐานะประมุขของคริสตศ์าสนาคาทอลิก พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 อธิบายคาํว่า

“มนุษย”์ โดยยนืยนัคาํสอนคริสตศ์าสนาว่า “มนุษยเ์ป็นส่ิงสร้างและเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้” (John

Paul II, 1987: 30) มนุษยเ์ป็นเช่นเดียวกบัส่ิงต่างๆ ท่ีพระเจา้เป็นตน้กาํเนิด แต่มนุษยย์งัมีลกัษณะพิเศษ

อนัเป็นศกัด์ิศรีขั้นพ้ืนฐาน คือ มนุษยมี์ความคลา้ยคลึงกบัพระเจา้ในฐานะท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระองค ์

“เน่ืองจากพระเจา้ทรงสร้างมนุษยต์ามภาพลกัษณ์และมีความคลา้ยคลึงพระเจา้” (John Paul II, 1979: 9)

1.1 การเป็นภาพลกัษณ์พระเจ้าเป็น “ของขวญัพเิศษ” ที่พระเจ้ามอบให้มนุษย์

แนวคิดในพระคมัภีร์เก่ียวกบัการสร้างโลกน้ี ไม่เพียงแต่อธิบายว่าพระเจา้ทรงสร้าง

สรรพส่ิงใหด้าํรงอยู ่ (Existence) เท่านั้น แต่ยงัรวมถึงการท่ีพระเจา้ทรงมอบพระองคแ์ก่มนุษย ์ ท่ีพระเจา้

ทรงสร้างอยา่งใส่พระทยัและทรงมอบ “ของขวญัพิเศษ” (Special Gift) (John Paul II, 1986: 34) แก่

มนุษย ์คือ การเป็นภาพลกัษณ์พระเจา้ ซ่ึงหมายถึง

1.1.1 การมส่ีวนร่วมชีวติของพระเจ้า

การเป็นภาพลกัษณ์และมีความคลา้ยคลึงพระเจา้นั้น “มนุษยไ์ดรั้บเรียกใหเ้ขา้มี

ส่วนร่วมในความจริงและความดี ซ่ึงเป็นองคพ์ระเจา้เอง” (John Paul II, 1987: 33) กล่าวคือ พระเจา้

โปรดใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมในชีวิตของพระองค ์ ดงัในเอกสาร Evangelium Vitae (1995) และ Dominum

et Vivificantem (1986) ท่ีว่า

พระเจา้โปรดใหม้นุษยส์ามารถมีชีวติท่ีสมบูรณ์เป็นชีวติท่ีเหนือกวา่ชีวติ

ทั้งหลายท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติในโลกน้ี เพราะมีส่วนร่วมในชีวติของพระเจา้ (John Paul II, 1995: 2)

ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ท่ีคลา้ยคลึงกบัพระผูส้ร้างตนข้ึนมา มนุษย์

ไดรั้บเรียกใหเ้ขา้มามีส่วนในความจริงและความรัก การเขา้มามีส่วนน้ีหมายถึง การมีชีวติสนิท

เป็นหน่ึงเดียวกบัพระเจา้ ผูท้รงเป็นชีวตินิรันดร (John Paul II, 1986: 37)

ดว้ยเหตุน้ี มนุษยจึ์งมีส่วนร่วมในชีวิตพระเจา้ซ่ึงเป็น “ชีวิตนิรันดร” ท่ีมนุษย์

ไดรั้บในฐานะเป็นของประทานจากพระเจา้ ท่ีโปรดใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมอยา่งเต็มเป่ียมในชีวติของพระ

เจา้ ผูท้รงเป็นนิรันดร” (John Paul II, 1995: 37) โดยชีวตินิรันดรน้ี “เร่ิมผลิ และเจริญเติบโตอยูบ่นโลก

มนุษยน้ี์” (John Paul II, 1995: 38)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

94

1.1.2 การมคีวามสัมพนัธ์อย่างใกล้ชิด “เป็นมติร” กบัพระเจ้า

การท่ีพระเจา้ทรงสร้างมนุษยใ์หเ้ป็นภาพลกัษณ์และมีความคลา้ยคลึงพระเจา้ ยงั

หมายถึงการท่ีพระเจา้เรียกมนุษยม์าเป็นมิตรกบัพระองค ์ ซ่ึงในมิตรภาพน้ีทาํใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมใน

“ความลํ้ าลึกของพระเจา้” (John Paul II, 1986: 34) ทาํใหม้นุษยมี์สถานะ “เป็นมิตร” กบัพระเจา้ เป็น

ความสมัพนัธใ์กลชิ้ดแบบบุคคลต่อบุคคล “พระองคท์รงสร้างมนุษยก์็เพ่ือใหม้นุษยมี์ชีวิตอยูใ่นความเป็น

มิตรกบัพระองคแ์ละร่วมจิตใจเป็นหน่ึงเดียวระหว่างมนุษยด์ว้ยกนั” (John Paul II, 1984: 10) กล่าวคือ

1.1.2.1 มนุษยมี์ความสมัพนัธแ์บบส่วนตวักบัพระเจา้ได ้ ซ่ึงหมายความว่ามนุษย์

ไม่ได้มีคุณลกัษณะพิเศษท่ีประกอบด้วยการมีเหตุผลและมีเสรีภาพเท่านั้ น แต่มนุษย์ยงัสามารถมี

ปฏิสมัพนัธก์บัพระเจา้อยา่งแนบแน่น ในแบบ “ฉนั” (I) กบั “คุณ” (You) (John Paul II, 1986: 34)

1.1.2.2 มนุษยรู้์จกัและเขา้ใจพระเจา้ได ้ ซ่ึงพระสันตะปาปาฯ อธิบายว่าการท่ี

มนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ไม่ใช่แค่การมีอาํนาจปกครองแผน่ดินเท่านั้น แต่มนุษยย์งัมีสมรรถภาพ

ทางจิตใจ ซ่ึงเป็นลกัษณะเฉพาะของมนุษย ์เช่น การมีเหตุผล การรู้จกัแยกแยะความดี ความชั ่วและ

เจตจาํนงเสรี ความสามารถท่ีจะบรรลุถึงความจริงและเสรีภาพเป็นลกัษณะพิเศษของมนุษยใ์นฐานะท่ีเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ในบรรดาส่ิงสร้างท่ีมองเห็นได ้มีแต่มนุษยเ์ท่านั้นท่ีความสามารถรู้จกั และเขา้ใจ

พระเจา้ ผูเ้ป็นพระผูส้ร้างของตน (John Paul II, 1995: 34)

ดว้ยเหตุน้ี ศกัด์ิศรีมนุษยจึ์งอยูท่ี่การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ไม่เพียงในฐานะท่ี

พระองคเ์ป็นจุดเร่ิมตน้ของชีวิต แต่ยงัมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้ในฐานะท่ีพระองคเ์ป็นจุดหมายปลายทาง

ของชีวิต คือ “การมุ่งท่ีจะมีความสนิทสมัพนัธก์บัพระเจา้อยา่งสมบูรณ์ในชีวิตนิรันดรของพระเจา้” (John

Paul II, 1995: 38) ดว้ยการใชศ้กัยภาพท่ีมนุษยมี์ในการสร้างความสมัพนัธก์บัพระเจา้

1.1.3 กระบวนการมุ่งสู่ชีวติที่สมบูรณ์

1.1.3.1 มนุษยบ์รรลุถึงชีวติท่ีสมบูรณ์ได ้

มนุษยมี์ธรรมชาติท่ีบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ไดจ้ากการเป็นภาพลกัษณ์ของ

พระเจา้ การท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ยงัรวมถึง “พนัธสญัญา” (John Paul II, 1986: 34) ท่ีพระ

เจา้ทรงมอบใหแ้ก่มนุษยต์ั้งแต่แรกทรงสร้างว่า “จะทรงมอบชีวิตท่ีสมบูรณ์ในภายหนา้” (John Paul II,

1995: 7)

1.1.3.2 ชีวิตมนุษยเ์ป็นกระบวนการสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์

ชีวิตมนุษยมี์ลกัษณะเป็นกระบวนการท่ีต่อเน่ืองและเป็นหน่ึงเดียวท่ี

สามารถบรรลุถึงชีวิตนิรันดร ซ่ึงเร่ิมตน้ตั้งแต่ชีวิตบนโลกน้ีและจะบรรลุถึงชีวิตนิรันดรกบัพระเจา้ในภาย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

95

หนา้ เน่ืองจาก “ชีวิตในโลกน้ีเป็นเง่ือนไขท่ีจาํเป็น ซ่ึงเป็นขั้นแรกและเป็นองคป์ระกอบสาํคญัของ

กระบวนการชีวิตทั้งหมด ท่ีจะบรรลุถึงชีวิตนิรันดรในภายหนา้” (John Paul II, 1995: 2)

ดงันั้น มนุษยจึ์งพึงใหค้วามสาํคญัต่อการดาํเนินชีวติท่ีดีในโลกน้ี

1.2 การเป็นภาพลกัษณ์พระเจ้า สะท้อนถึงความจริงที่ว่ามนุษย์ต้องพึง่พงิพระเจ้า

แมพ้ระเจา้จะทรงสร้างมนุษยใ์หเ้ป็นภาพลกัษณ์ของพระองค ์ แต่มนุษยไ์ม่ใช่พระเจา้

มนุษยย์งัคงเป็นเพียงส่ิงสร้างท่ีตอ้งข้ึนอยูก่บัพระเจา้และมีพระเจา้เป็นเจา้ของชีวติ ดงันั้น การท่ีมนุษยเ์ป็น

ส่ิงสร้างจึงจาํเป็นตอ้งพ่ึงพิงพระผูส้ร้างอยา่งท่ีสุด “ในการดาํรงอยูแ่ละในแก่นแทข้องมนุษยย์งัตอ้งพ่ึงพา

พระผูส้ร้าง” (John Paul II, 1986: 36) เน่ืองจาก “ชีวิตเป็นของประทานจากพระเจา้และเป็นภาพลกัษณ์ท่ี

พระเจา้ประทานลมปราณแห่งชีวิต (Breath) ของพระองค ์ พระเจา้จึงเป็นเจา้ของชีวิตมนุษยแ์ต่พระองค์

เดียว” (John Paul II, 1995: 39)

1.3 การเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า เป็นภารกจิและเป็นเคร่ืองมอืสู่ชีวติที่สมบูรณ์

การเป็นภาพลกัษณ์พระเจ้าเป็นภารกิจท่ีพระเจ้าทรงมอบให้มนุษยเ์ป็นตัวแทนของ

พระองคใ์นการปกครองดูแลส่ิงต่าง ๆ นอกจากนั้น ยงัหมายถึงเคร่ืองมือท่ีพระเจา้มอบใหม้นุษยใ์ชพ้ฒันา

ตนเองสู่การมีชีวิตท่ีสมบูรณ์ดว้ย ดงัในเอกสาร Sollicitudo Rei Socialis (1987) ท่ีกล่าวว่า

การท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้น้ี ยงัหมายถึงการท่ีพระเจา้ทรงมอบ

ภารกิจใหม้นุษยป์กครองส่ิงต่าง ๆ ท่ีพระเจา้ทรงสร้าง (ตามรูปแบบของพระองคท่ี์ใหแ้ต่ละ

ส่ิงท่ีพระองคท์รงสร้างคงความสมดุลตามธรรมชาติของมนั) ในกรอบของความนอบนอ้ม

เช่ือฟังพระบญัญติัของพระเจา้และการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้น้ี ยงัเป็นเสมือนเคร่ืองมือ

ท่ีพระเจา้มอบ “อาํนาจ” เพ่ือช่วยใหม้นุษยส์ามารถบรรลุถงึความสมบูรณ์ของชีวติ (John

Paul II, 1987: 30)

1.4 ศักดิ์ศรีมนุษย์ในฐานะภาพลกัษณ์ของพระเจ้า ทางพระเยซูคริสตเจ้า

แมธ้รรมชาติมนุษยจ์ะบกพร่องไปเพราะบาปกาํเนิดท่ีมนุษยค์นแรก (อาดมั) ใชเ้สรีภาพใน

การเลือกตนเองแทนท่ีจะเลือกพระเจา้ แต่มนุษยมี์ความตระหนกัว่าตวัเขามีศกัด์ิศรีในการกอบกูชี้วิตของ

ตนใหมี้ศกัด์ิศรี โดยผา่นทางพระเยซูคริสตเจา้และอาศยัพระเยซูคริสตเจา้ ซ่ึง “เป็นศกัด์ิศรีท่ีพระเจา้

ประทานพระพรใหเ้ราไดมี้ส่วนร่วมในสิริมงคลของพระองค ์ อนัเป็นศกัด์ิศรีของธรรมชาติภายในตวั

มนุษย”์ (John Paul II, 1979: 11) พระเยซูคริสตเจา้ทรงยนืยนัถึงการเสด็จมาเพ่ือกอบกูศ้กัด์ิศรีมนุษยแ์ละ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

96

ใชชี้วิตของพระองคเ์ป็นเคร่ืองมือช่วยมนุษยทุ์กคนใหร้อดพน้จากบาปและนาํไปสู่ชีวติท่ีสมบูรณ์ ในพระ

เจา้

1.4.1 พระเยซูคริสตเจ้ายนืยนัศักดิ์ศรีมนุษย์ด้วยการรับการบังเกดิและดําเนนิชีวติ “เป็น

มนุษย์”

ดงัท่ีพระสนัตะปาปาฯ ทรงอธิบายในเอกสาร Redemptor Hominis (1979) ว่า

เพราะเหตุวา่ พระเยซูคริสตเจา้ ทรงรับเอาธรรมชาติมนุษยม์าเป็นของ

พระองคใ์นโลก ดว้ยเหตุน้ี ธรรมชาติมนุษยจึ์งไดรั้บการยกยอ่งใหมี้ศกัด์ิศรีสูงสุดภายในตวั

เรา ดว้ยเหตุวา่เม่ือพระองคท์รงเกิดเป็นมนุษย ์ (Incarnation) พระองคก์็มีความสนิทสัมพนัธ์

อย่างแนบแน่นกบัมนุษย ์ โดยทรงทาํงานแบบมนุษย ์ ทรงคิดแบบมนุษย ์ ทรงปฏิบติังานดว้ย

กาํลงันํ้ าใจของมนุษย ์ทรงรักดว้ยหวัใจของมนุษย.์. เหมือนกบัเราทุกอย่างนอกจากพระองค์

ไม่มีบาปกาํเนิดเท่านั้น (John Paul II, 1979: 8)

1.4.2 พระเยซูคริสตเจ้าทรงกอบกู้ศักดิ์ศรีมนุษย์ด้วยการทรงยอมตายแทนมนุษย์

ซ่ึงพระสันตะปาปาฯ ทรงอธิบายในเอกสาร Redemptor Hominis (1979: 10) ว่า

“การท่ีพระเยซูคริสตเจา้สิ้นพระชนมบ์นไมก้างเขน เพ่ือนาํความรอดมาสู่มนุษย ์ทาํใหม้นุษยไ์ดมี้โอกาสกู้

ศกัด์ิศรีคืนมาหลงัจากท่ีมนุษยไ์ดสู้ญเสียศกัด์ิศรีนั้นไปเพราะบาปของอาดมัและเอวา” และในเอกสาร

Salvifici Doloris ว่า “โดยอาศยัความทรมานและการสิ้นพระชนมข์องพระเยซูคริสตเจา้น้ีเองท่ีทาํให้

มนุษยไ์ม่มีความพินาศ แต่มีชีวิตนิรันดรข้ึนมาอีกคร้ังหน่ึง” (John Paul II, 1984: 16)

1.4.3 มนุษย์บรรลุถงึชีวตินิรันดรได้ ทางพระเยซูคริสตเจ้า

จากกิจกรรมท่ีพระเยซูคริสตเจา้ทรงช่วยให้มนุษยร์อด มีผลทาํให้มนุษยมี์โอกาส

บรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ ดงัท่ีทรงอธิบายในเอกสาร Salvifici Doloris (1984: 15) ว่า “ขณะท่ี

มนุษยย์งัมีชีวิตอยูใ่นโลก มนุษยมี์โอกาสสร้างกุศลเพ่ือบรรลุถึงชีวิตนิรันดรในพระเจา้” และในเอกสาร

Evangelium Vitae (1995: 29) ท่ีกล่าวว่า “โดยการอาศยัพระวาจา การปฏิบติัตน และการดาํเนินชีวิตของ

พระเยซูเจา้ มนุษยส์ามารถซึมซบัรับความจริงท่ีสมบูรณ์ เก่ียวกบัคุณค่าของชีวิต พระเยซูคริสตเจา้ทรง

สอนมนุษยถึ์งแนวทางปฏิบติัเพ่ือความสมบูรณ์ของชีวิต ให้มนุษยรู้์จกัรับผิดชอบ รัก ดูแล ปกป้องชีวิต”

และในเอกสาร Redemptor Hominis (1979: 11) ท่ีว่า “พระเยซูคริสตเจา้ทรงเป็นหลกัมัน่คง (The stable

principle) และเป็นศนูยก์ลางถาวร (Fixed center) ในภารกิจการมุ่งสู่ชีวิตนิรันดร ซ่ึงพระเจา้ทรงมอบให้

มนุษย ์ เราทุกคนตอ้งมีส่วนร่วมในภารกิจน้ี ตอ้งอุทิศแรงกายใจของเราทั้งหมดใหแ้ก่ภารกิจดงักล่าว”

ดงันั้น พระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงยนืยนัคาํสอนคริสตศ์าสนาว่าศกัด์ิศรีพ้ืนฐานของ

มนุษย ์ คือ การเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ศกัด์ิศรีของบุคคลในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้เป็น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

97

สิทธิพ้ืนฐานท่ีมนุษยมี์ เป็นสิทธิพิเศษท่ีไดรั้บจากพระเจา้และทาํใหม้นุษยมี์คุณค่าสูงกว่าสรรพส่ิงทั้งมวล

ในโลกวตัถุทั้งหมด เน่ืองจากมนุษยส์ามารถบรรลุถึงชีวิตนิรันดรในพระเจา้ ดงัท่ีทรงอธิบายในเอกสาร

Laborem Exercens (John Paul II, 1981: 37) ว่า “คุณค่าของมนุษยจึ์งไม่ใช่อยูท่ี่การครอบครองวตัถุ

ส่ิงของ (Having) แต่คุณค่าท่ีแทจ้ริงเป็นคุณค่าภายใน (Being) ในฐานะท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้”

และในเอกสาร Christifideles Laici (1988) ท่ีอธิบายว่า

มนุษยมี์คุณค่าไม่ใช่เพราะส่ิงท่ีเขามี แมแ้ต่จะมีโลกทั้งโลกเป็นกรรมสิทธ์ิก็ตาม แต่

เพราะส่ิงท่ีเขาเป็นต่างหาก ทรัพยส์มบติัฝ่ายโลกทั้งหมดไม่มีคุณค่าเทียบเท่ากบัการเป็นมนุษย์

ของบุคคลหน่ึงไดเ้ลย เม่ือพิจารณาถึงตน้กาํเนิดและจุดหมายปลายทางของมนุษย์คนหน่ึงแลว้

ก็จะเห็นชดัเจนถึงศกัด์ิศรีของเขาในฐานะเป็นบุคคลได ้ กล่าวคือ พระเจา้ไดท้รงสร้างมนุษย์

ข้ึนมาตามภาพลกัษณ์ของพระองคแ์ละพระเยซูคริสตเจา้ไดท้รงไถ่บาปเขาดว้ยพระโลหิตอนั

ประเสริฐของพระองค ์ บุคคลคนหน่ึงจึงไดรั้บเรียกใหเ้ป็นบุตรของพระเจา้.... และพระเจา้ได้

ทรงกาํหนดใหไ้ดรั้บชีวตินิรันดรและเป็นหน่ึงเดียวกบัพระองค ์ (John Paul II, 1988: 37)

2. ธรรมชาตมินุษย์ในฐานะเป็น “ภาพลกัษณ์ของพระเจ้า”

2.1 มนุษย์มธีรรมชาตทิี่เป็นกายและวญิญาณท่ีเป็นหนึง่เดียวกนั

พระสันตะปาปาฯ ทรงอธิบายมนุษยด์งัเช่นนักปรัชญาคริสต์ (นักบุญออกัสตินและ

นักบุญโทมสั อาไควนัส) ท่ีอธิบายองค์ประกอบมนุษยว์่าเป็น “วิญญาณและร่างกายรวมเป็นหน่ึง

เดียวกนั” (John Paul II, 1993: 50) “คุณลกัษณะของมนุษยใ์นฐานะท่ีเป็นบุคคล ซ่ึงมีมิติทั้งฝ่ายจิตใจและ

ร่างกาย” (John Paul II, 1994: 8) กายและวิญญาณมีความสัมพนัธ์ต่อกนัโดย “จิตให้ชีวิตแก่ร่างกาย”

(John Paul II, 1994: 19) มนุษยจึ์งไม่ใช่กายหรือจิตอย่างใดอย่างหน่ึง แต่ “เป็นการรวมกนัของร่างกาย

และวิญญาณในฐานะบุคคล” (John Paul II, 1994: 20) พระองค์ไม่ทรงเห็นด้วยกบัแนวคิดท่ีมีการ

พิจารณามนุษยใ์นแบบแยกส่วน (แยกกายและวิญญาณออกจากกนั) เพ่ือจะบอกว่าอะไรสาํคญักว่ากนั

เพราะทาํใหมี้การลดคุณค่าของอีกส่วนหน่ึง ดงัในเอกสาร Letter to Families (1994) ท่ีอธิบายไวว้่า

เป็นธรรมดาของลทัธินิยมเหตุผล (Rationalism) ท่ีจะทาํให้เห็นข้อแตกต่าง

ระหวา่งจิต (วญิญาณ) และวตัถุ (ร่างกาย) แต่มนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีเป็นหน่ึงเดียวกนัของร่างกาย

และจิต ร่างกายมนุษย์จะไม่มีวนัถูกลิดรอนให้เป็นแค่วตัถุทัว่ไปได้ เพราะมนุษย์เป็นจิตท่ี

สัมพนัธ์แบบเป็นหน่ึงเดียวกบัร่างกาย มนุษย์เป็นจิตท่ีมีร่างกาย...การแยกวิญญาณออกจาก

ร่างกายทาํใหเ้กิดความคิดวา่ร่างกายมนุษยไ์ม่มีลกัษณะพิเศษ (ความคลา้ยคลึงกบัพระเจา้) โดย

คิดวา่เป็นเหมือนกบัร่างกายของส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยู่ในส่ิงต่าง ๆ ทัว่ไป ซ่ึงมนุษยใ์ชเ้ป็นวตัถุดิบใน

การผลิตสินค้าเพ่ือการใช้จ่าย.... เม่ือร่างกายของมนุษย์ ถูกพิจารณาแบบแยกออกจากจิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

98

วญิญาณและความคิด ร่างกายจะถูกลดคุณค่าโดยเป็นเพียงวตัถุดิบ แบบเดียวกบัร่างกายของ

สัตว ์(John Paul II, 1994: 19)

2.2 ธรรมชาตมินุษย์ “ด”ี และ “ศักดิ์สิทธิ์”

ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์และมีความคลา้ยคลึงพระเจา้ ชีวิตมนุษยจึ์งมีพระเจา้เป็น

พ้ืนฐาน มีส่วนร่วมในชีวิตและสะทอ้นถึงคุณลกัษณะของพระองค ์ ทุกชีวิตจึงตอ้งไดรั้บความเคารพและ

หา้มล่วงละเมิด เพราะสะทอ้นถึงพระผูส้ร้างท่ีล่วงละเมิดไม่ได ้ซ่ึงหมายความว่า

2.2.1 ชีวติเป็นส่ิงทีด่ีเสมอ

พระสนัตะปาปาฯ ทรงอธิบายว่าทุกชีวิต เป็นส่ิงดีเสมอ เน่ืองจากความดี เป็น

คุณลกัษณะของพระเจา้ ดงัท่ีอธิบายว่า

2.2.1.1 ความดีในฐานะเป็นคุณลกัษณะของพระเจา้ “ผูท่ี้ดีแทแ้ต่ผูเ้ดียว”

พระสนัตะปาปาฯ ทรงยนืยนัคาํสอนคริสตศ์าสนา โดยเฉพาะแนวคิดของ

นกับุญออกสัตินท่ีว่า พระเจา้เป็น “ผูท่ี้ดีแต่ผูเ้ดียว” (John Paul II, 1993: 11) ความดีเป็นคุณลกัษณะ

พ้ืนฐานของพระเจา้ ในฐานะท่ีพระองคมี์อยู ่ และส่ิงท่ีมีอยูเ่ป็นส่ิงท่ีดี พระเจา้เป็นเป้าหมายท่ีทาํใหชี้วิต

มนุษยบ์รรลุถึงความสมบูรณ์ ดงัท่ีทรงอธิบายว่า “พระเจา้ผูท้รงเป็นองคค์วามดีสูงสุดเพียงพระองคเ์ดียว

เป็นความบริบูรณ์ของชีวติ ทรงเป็นจุดหมายของการกระทาํต่าง ๆ ของมนุษยแ์ละทรงเป็นองคค์วามสุขท่ี

ไม่มีวนัสิ้นสูญ” (John Paul II, 1993: 9)

2.2.1.2 มนุษยมี์ส่วนในความดีในฐานะเป็นเคร่ืองหมายของพระเจา้บนโลก

มนุษยไ์ดรั้บชีวิตจากพระเจา้ มนุษยจึ์งมีส่วนร่วมในคุณลกัษณะ “ความดี”

ของพระเจา้ ในฐานะท่ีมีแต่มนุษยเ์ท่านั้นท่ีเป็นเคร่ืองหมายของพระเจา้บนโลก ดงัในเอกสาร Evangelium

Vitae (1995) ท่ีอธิบายว่า

ชีวติจึงเป็นส่ิงดีงาม...ชีวติท่ีพระเจา้ประทานแก่มนุษยแ์ตกต่าง

จากชีวติของส่ิงสร้างอืน่ ๆ ท่ีมีชีวติ เพราะชีวติมนุษยบ่์งบอกใหเ้ห็นรูปลกัษณ์ของพระเจา้ในโลก

บอกใหท้ราบถึงการประทบัอยู่ของพระองค ์ เห็นพระสิริรุ่งโรจน์ของพระองคอ์ย่างแจง้ชดั

(Genesis/ ปฐก 1: 26-27) ... มนุษยไ์ดรั้บศกัด์ิศรีอนัสูงส่ง ซ่ึงมีความสัมพนัธ์อนัแน่นแฟ้นกบัพระ

เจา้ (พระผูส้ร้าง) เป็นพ้ืนฐานภาพลกัษณ์ของพระเจา้ทาํใหเ้ห็นพระสิริมงคลของพระเจา้ (John

Paul II, 1995: 34)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

99

2.2.1.3 ทุกชีวิต เป็นส่ิงท่ีดีเสมอ

พระสนัตะปาปปาฯ ทรงยนืยนัว่าคาํสอนคริสตศ์าสนาท่ีกล่าวถึงการมี

ชีวิตเป็นส่ิงท่ีดีเสมอ เน่ืองจากมนุษยมี์ส่วนร่วมในคุณความดีของพระเจา้ แมใ้นสภาพชีวิตท่ีทนทุกข์

ทรมาน คริสตศ์าสนากย็งัคงยนืยนัว่าชีวิตเป็นส่ิงท่ีดี เพราะชีวิตมนุษยเ์ป็นการสะทอ้นถึงพระเจา้ “ผูท้รง

เป็นความดี” ดงัในเอกสาร Salvifici Doloris (1984) ท่ีกล่าวว่า

การมีชีวติเป็นส่ิงดีโดยพ้ืนฐาน ...เพราะเป็นการยนืยนัความ

ทรงมีพระทยัดีของพระผูส้ร้าง... ความเลวร้ายหรือความทุกขท์รมานใด ๆ ตามแนวคิดแบบ

คริสต ์มกัสรุปลงตรงเป็นความดีงาม เป็นกศุลนาํสู่ความสมบูรณ์ในภายหนา้ทั้งสิ้น (John Paul

II, 1984: 11)

2.2.2 ชีวติมนุษย์ “ศักดิ์สิทธิ์” จงึล่วงละเมดิเบียดเบียนไม่ได้

ในฐานะท่ีมนุษยไ์ดรั้บชีวติมาจากพระเจา้ และมีส่วนร่วมในชีวิตของพระองค ์

ชีวิตมนุษยจึ์งเป็นความจริงท่ีศกัด์ิสิทธ์ิ ดงันั้น จึงตอ้งดาํเนินชีวิตดว้ยความรับผดิชอบ เพ่ือทาํใหชี้วิตน้ี

บรรลุความสมบูรณ์ ทุกชีวติจึงตอ้งไดรั้บความเคารพและล่วงละเมิดเบียดเบียนไม่ได ้ (Inviolable) ดงัใน

เอกสาร Evangelium Vitae (1995) และ Christifideles Laici (1988) ท่ีว่า

ชีวติทั้งของตนเองและของผูอ้ื่น เป็นส่ิงท่ีล่วงละเมิดมิได ้เพราะชีวิตเป็น

ของพระเจา้ ชีวิตเป็นทั้งกรรมสิทธ์ิ และพระพรของพระผูส้ร้าง ...ความศกัด์ิสิทธ์ิของชีวิต

ก่อให้เกิดจิตสํานึกในมโนธรรมของมนุษย์ว่า ชีวิตมนุษย์เป็นส่ิงท่ีล่วงละเมิดไม่ไดเ้ลย (John

Paul II, 1995: 40)

ความศักด์ิสิทธ์ิของมนุษย์ไม่ถูกทาํลายล้างให้หมดสิ้ นไป ไม่ว่าจะถูก

ละเมิดหรือถูกทาํให้ตกตํ่าลงสักเพียงใด เพราะพระเจา้เป็นเจา้ของชีวิตมนุษย์ (John Paul II,

1988: 5)

ยืนยนัอย่างชดัเจนหนกัแน่นถึงคุณค่าของชีวิตมนุษย์อนัมิอาจละเมิดและ

ทาํร้ายได.้.. จงเคารพ ปกป้อง รักษา และดูแลชีวิตมนุษย์ ชีวิตของทุกคน การกระทาํเช่นน้ี

เท่านั้นจะทาํให้ท่านไดพ้บความยุติธรรมและการพฒันา อิสรภาพอย่างแทจ้ริง สันติภาพและ

ความสุขจะเกิดภายในผูป้ฏิบติันั้น (John Paul II, 1995: 5)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

100

2.3 ปัญหาเร่ืองความตายและธรรมชาตมินุษย์ที่ตกตํา่ 2.3.1 มนุษย์มธีรรมชาตดิั้งเดิมที่ “ไม่ต้องตาย”

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงอธิบายว่ามนุษยมี์ธรรมชาติดั้งเดิมท่ีไม่ตอ้งตาย

เน่ืองจากพระเจา้ทรงสร้างมนุษยใ์หมี้ธรรมชาติท่ีเป็นอมตะตามภาพลกัษณ์ของพระองค ์ ดงัท่ีพระองค์

กล่าวว่า “พระเจา้ทรงสร้างส่ิงต่าง ๆใหด้าํรงอยูต่ลอดไป แต่เดิมพระองคส์ร้างมนุษยใ์หเ้ป็นส่ิงท่ีไม่ตอ้ง

ตาย โดยทรงสร้างเขาตามภาพลกัษณ์นิรันดรภาพของพระองค ์ คือ จิตวิญญาณไม่ตาย” (John Paul II,

1995: 7)

2.3.2 ความตายในฐานะเป็นผลจากการแยกตวัออกจากพระเจ้าและทําให้ชีวติตกตํา่ พระสนัตะปาปาฯ ทรงอธิบายความตายตามคาํสอนคริสตศ์าสนาว่ามนุษยต์อ้งตาย

เพราะบาปใชเ้สรีภาพท่ีตนเลือกเอง มนุษยไ์ม่ยอมรับสถานะของตนในฐานะเป็น “ส่ิงท่ีพระเจา้ทรง

สร้าง” อนัสะทอ้นถึงความจริงท่ีว่ามนุษยมี์ขอบเขตจาํกดัท่ีตอ้งพ่ึงพิงพระเจา้ มนุษยป์ฏิเสธดว้ยการไม่

เช่ือฟังพระเจา้และพยายามตดัพระเจา้ออกไปจากชีวิตและตั้งตนเองเป็น “ผูส้ร้าง” เสียเอง “มนุษยไ์ด้

แยกตวัออกมาจากการมีส่วนร่วมชีวิตพระเจา้” (John Paul II, 1986: 37) อนัเป็นท่ีมาของความตกตํ่าใน

ชีวิต ซ่ึงอธิบายในเอกสาร Reconciliatio et Paenitentia (1984) และ Dominum et Vivificantem (1986)

ความว่า

การไม่ยอมนอบนอ้มต่อพระเจา้ ปฏิเสธกฎเกณฑข์องพระองค ์ ไม่เอาใส่

ใจต่อกฎเกณฑท์างจริยธรรมซ่ึงพระองคไ์ดป้ระทานแก่มนุษยแ์ละจารึกไวใ้นจิตวญิญาณของเขา

... มนุษยพ์ยายามตดัพระเจา้ออกไป ...ไม่นอบนอ้มต่อพระองค ์ น่ีแหละ คือความหมายของบาป

ทั้งในอดีตและในปัจจุบนัตลอดประวติัการณ์แห่งมนุษยชาติ ยโสต่อพระเจา้ในรูปแบบต่าง ๆ

ซ่ึงอาจไปไกลถึงการปฏิเสธพระเจา้และปฏิเสธการมีพระเจา้ อนัเป็นปรากฏการณ์ของลทัธิอ

เทวนิยมในปัจจุบนั (John Paul II, 1984: 53–54)

การไม่เช่ือฟัง.. หมายถึงการปฏิเสธพระเจา้ผูเ้ป็นบ่อเกิดแห่งชีวติ ซ่ึงไดรั้บ

การกระตุน้จากความทรนงของมนุษยบ์างคน บางกลุ่มท่ีตอ้งการเป็นตน้กาํเนิดของตวัเองและไม่

ข้ึนกบัใคร (John Paul II, 1986: 36)

2.3.3 มนุษย์ในกระแสของการทําลายชีวติ

เม่ือมนุษยเ์ลือกท่ีอยูแ่ละมุ่งสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ดว้ยตนเอง โดยตดัความสมัพนัธก์บัพระ

เจา้ ทาํใหชี้วิตมนุษยไ์ม่กลมกลืนกบัตนเอง คนอ่ืนและส่ิงอ่ืน อนัเป็นท่ีมาของความตกตํ่าและความมวั

หมองของชีวิต การขยายตวัของบาป ซ่ึงก็คือ การเลือกตนเองมาแทนท่ีพระเจา้เป็นส่วนใหญ่ นาํมนุษยสู่์

“กระแสการทาํลายชีวิต” ซ่ึงเป็นผลมาจากการท่ีมนุษยใ์ห้ความสําคัญแต่เพียงการตอบสนองความ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

101

ตอ้งการดา้นร่างกาย (Having) และปฏิเสธคุณค่าภายในจิตใจ (Being) ดงัในเอกสาร Evangelium Vitae

(1995) และ Christifideles Laici (1988) ท่ีอธิบายว่า

เม่ือพระเจา้ไม่มีความหมายในชีวิต ก็มีแนวโน้มท่ีมนุษย์จะหมดความรู้สึก

กบัเร่ืองความหมายของศกัด์ิศรีและชีวติของเขาดว้ย.. มนุษยไ์ม่สามารถมองตนว่าแตกต่างอย่าง

น่าพิศวงกบัส่ิงสร้างอื่น ๆ อีกต่อไป มนุษยจ์ะมองตนเองวา่เป็นเพียงอินทรียภาพ (Organism) ท่ี

อย่างมากแค่บรรลุถึงขั้นท่ีสมบูรณ์ในระดบัวตัถุทางกายภาพ มนุษยม์องวา่ตนเองเป็นเพียง “วตัถุ

ส่ิงของ” เหมือนสรรพส่ิงทั้งหลายในธรรมชาติ มนุษยไ์ม่สามารถเขา้ใจลกัษณะท่ีอยู่เหนือระดบั

กายภาพของชีวติมนุษย ์ มนุษยเ์ลิกมองชีวติตนเองวา่... เป็นส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิท่ีพระเจา้ทรงมอบใหเ้ขา

ดูแลรับผิดชอบ และเป็นส่ิงท่ีเขาจะตอ้งดูแลดว้ยความรักและเคารพ ชีวิตกลายเป็นเพียงวตัถุ

ส่ิงของซ่ึงมนุษย์อา้งว่าเป็นกรรมสิทธ์ิ ของตนเองแต่เพียงผู ้เดียว ทั้งยงัเป็นส่ิงท่ีเขาสามารถ

ควบคุมและใชไ้ดต้ามใจชอบ...เม่ือมนุษยด์าํเนินชีวติเหมือนกบัวา่พระเจา้ไม่มีอยู่ จึงทาํใหม้นุษย์

ไม่แต่เพียงมองขา้มธรรมลํ้ าลึกของพระเจา้ (Mystery of God) เท่านั้น แต่ยงัมองขา้มธรรมลํ้ าลึก

ของโลกและชีวติของตนอีกดว้ย (John Paul II, 1995: 22)

เม่ือมนุษย์ไม่ใส่ใจต่อศกัด์ิศรีของตนในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า

เขาก็ถูกเหยียบย ํ่าใหต้ ํ่าสุดและไร้ค่า ทาํใหเ้ขากลายเป็นทาสของผูท่ี้แขง็แรงกว่า ผูแ้ข็งแรงกว่า

เหล่านั้นอาจมีนามต่าง ๆ กัน เช่น ลทัธิอุดมการณ์ อาํนาจทางเศรษฐกิจ ระบบการเมืองท่ีไร้

มนุษยธรรม ผู ้มีอาํนาจทางวิทยาศาสตร์ การคุกคามทางด้านส่ือมวลชนท่ีก้าวร้าว .. หรือ

แมก้ระทัง่จากความอยุติธรรมท่ีเห็นไดช้ดัจากกฎหมายบา้นเมือง (John Paul II, 1988: 5)

ดว้ยเหตุน้ี “มนุษยจึ์งกลายเป็นปฏิปักษต่์อความจริงสูงสุด ความจริงเก่ียวกบัมนุษย์

จึงผดิเพ้ียนหมด” (Falsified) (John Paul II, 1986: 37) มนุษยป์ระเมินค่าสภาวะพระเจา้และสภาวะมนุษย์

ต ํ่าไปหมด ซ่ึงหมายความว่า

2.3.3.1 ความเขา้ใจของมนุษยท่ี์ไม่ถกูตอ้งเก่ียวกบั “พระเจา้”

มนุษยมี์ความเขา้ใจว่าพระเจา้คือศตัรูของส่ิงท่ีพระองคไ์ดท้รงสร้างข้ึนมา

พระองค์เป็น “ศตัรูของมนุษย ์เป็นบ่อเกิดแห่งอนัตรายและการคุกคามสาํหรับมนุษย”์ (John Paul II,

1986: 38) มนุษยมี์ความโน้มเอียงท่ีจะเขา้ใจว่าพระเจา้กลายเป็นความจาํกดัต่อเสรีภาพท่ีเขามี มนุษย์

เขา้ใจว่าพระเจา้เป็นเผด็จการ ตั้งกฎเกณฑท์างศีลธรรมเพื่อกดข่ีมนุษย ์ๆ เขา้ใจว่าพระเจา้เป็นผูค้อยจบัผิด

และตดัสินลงโทษตามกฎเกณฑ์ทางศีลธรรม “มนุษยเ์ขา้ใจว่ากฎของพระเจา้เป็นภาระ เป็นการกีดกนั

หรืออยา่งนอ้ยเป็นการจาํกดัเสรีภาพของมนุษย”์ (John Paul II, 1993: 18) จนท่ีสุดมนุษยถึ์งกบัปฏิเสธ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

102

พระเจา้ ประกาศว่าพระเจา้ตายแลว้ เม่ือมนุษยเ์ขา้ใจพระเจ้าผิดไปดงัน้ี มนุษยจึ์งปฏิเสธพระเจา้ ทาํให้

มนุษยเ์ขา้ใจตนเองและส่ิงแวดลอ้มผดิไปดว้ย ดงัในเอกสาร Veritatis Splendor (1993) ท่ีอธิบายว่า

มนุษยจึ์งหนัเหไปจากพระเจา้ผูท้รงเป็นชีวติและความจริง.. แทนท่ีจะเช่ือ

พระเจา้ซ่ึงเป็นความจริง เขากลบัเลือกเอาขา้งเช่ือคาํโกหก ทาํให้ความสามารถของมนุษย์ท่ีจะ

รับรู้ความจริงมืดมวัไป John Paul II, 1993: 1)

2.3.3.2 ความเขา้ใจท่ีไม่ถกูตอ้งเก่ียวกบั “ตนเอง” โดยเฉพาะเร่ือง “เสรีภาพ

การยกยอ่งและให้ความสาํคญัอย่างผิดๆ ต่อตนเองว่าอยู่เหนือทุกส่ิง (John

Paul II, 1995: 19) และการมีความคิดท่ีไม่ถกูตอ้งเก่ียวกบัเสรีภาพท่ีคิดว่าตนเองมีอิสระอย่างสมบูรณ์

ไม่ตอ้งข้ึนกบัส่ิงอ่ืน ไม่ตอ้งคาํนึงถึงคนอ่ืน ยดึแต่แนวทางของตนเป็นหลกั จนทาํให้มนุษยคิ์ดว่าชีวิตเป็น

ของตนเองอย่างสมบูรณ์ จนนําสู่การตัดสินใจท่ีจะทาํลายชีวิตของตนเองในท่ีสุด ดังในเอกสาร

Evangelium Vitae (1995) ท่ีอธิบายว่า

แนวความคิดเร่ืองเสรีภาพท่ียกย่องปัจเจกบุคคลท่ีเป็นเอกเทศ (Isolated

individual) และไม่คาํนึงถึงความสมานฉนัทแ์ละการอุทิศตนเองรับใช้ผูอ้ื่น... เป็นการส่งเสริม

เสรีภาพอย่างผิด ๆ ของ “ผูท่ี้มีพลงั” ส่วนผูอ้่อนแอไม่มีทางเลือกนอกจากสยบต่อผูมี้พลงัเท่านั้น

...ถา้เสรีภาพไม่ยึดธรรมประเพณีและอาํนาจการปกครองทุกรูปแบบ (All forms of tradition and

authority) ทั้งยงัปิดกั้นตวัเองจากความจริงของสังคม อนัเป็นพ้ืนฐานของชีวิตทั้งส่วนตวัและ

ส่วนรวม ผลท่ีตามมาก็คือ มนุษยจ์ะไม่ยึดความจริงเก่ียวกบัความดีและความชัว่... แต่จะยึดความ

คิดเห็นส่วนตวั (Subjective) ท่ีเปลี่ยนแปลงเร่ือยไปหรือประโยชน์ส่วนตวัหรือความพอใจตนเอง

เป็นมาตรฐานหลกั…เม่ือมนุษยคิ์ดวา่เสรีภาพเป็นแบบท่ีไม่ตอ้งเก่ียวขอ้งสัมพนัธ์กบัผูอ้ื่น เพราะ

ยึดแต่ “ตวัเรา ของเรา” เป็นหลกั เสรีภาพท่ีแทจ้ริงก็หมดความหมายไปเลยจนทาํให้เกิดความ

ขดัแยง้กบัความหมายและศกัด์ิศรีของเสรีภาพตามแนวคิดของคริสตศ์าสนา (John Paul II, 1995:

19)

จากความคิดท่ีได้กล่าวมาขา้งตน้น้ี นาํสู่แนวความคิดแบบลทัธิปัจเจกนิยม

(Individualism) ซ่ึงเป็นแนวความคิดท่ียึด “ตนเอง” เป็นหลกัในการดาํเนินชีวิต แนวคิดน้ีมีเข้าใจว่า

เสรีภาพหมายถึงความสามารถท่ีจะทาํอะไรก็ไดต้ามใจชอบ โดย “ตวัเขาเองเป็นผูก้าํหนดความจริงของ

อะไรก็ไดท่ี้เขาเห็นว่าชอบใจหรือเป็นประโยชน์” (John Paul II, 1994: 14) โดยยึดตวัเองเป็นศูนยก์ลาง

ของความจริง และยดึผลประโยชน์ของตนเองเป็นส่ิงสาํคญั พวกเขามีความเขา้ใจเก่ียวกบัเสรีภาพว่า “เป็น

เสรีภาพท่ีไม่ตอ้งรับผิดชอบ” (John Paul II, 1994: 14) ทั้ งต่อชีวิตของตนเองและคนอ่ืน ในท่ีสุด

เสรีภาพท่ีกล่าวมาน้ีจะขดัแยง้ตวัเองและทาํลายตนเอง ทั้งกลบัเป็นปัจจยัท่ีจะทาํลายผูอ่ื้นท่ีคิดตรงกนัขา้ม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

103

ตราบใดท่ีมนุษยมี์ความเขา้ใจความหมายของเสรีภาพว่า “มีลกัษณะท่ีปราศจากกฎเกณฑ ์ก็จะทาํใหม้นุษย์

เกิดความรู้สึกหวาดระแวงเสรีภาพของตนไป” (John Paul II, 1995: 22)

2.3.3.3 ความไม่กลมกลืนกบัคนอ่ืน

กระแสของการทาํลายชีวิตน้ี มีผลทาํให้เกิดความไม่กลมกลืนกบัคนอ่ืน

เป็นการมองคนอ่ืนว่าเป็นภาระและเป็นศตัรู ปฏิเสธความรับผิดชอบท่ีจะสร้างความสัมพนัธ์ระหว่าง

บุคคล โดยมองคนอ่ืนเพ่ือหวงัประโยชน์ และในท่ีสุด “มนุษยก์็เร่ิมมีการต่อสู้ฆ่าฟันระหว่างมนุษย์

ดว้ยกนั” (John Paul II, 1995: 8) “รวมทั้งการคิดหาวิธีการทาํร้ายชีวิตกนั ดว้ยวิธีการหรือรูปแบบท่ีอา้ง

ว่าเป็นเคร่ืองหมายของความเจริญก้าวหน้าและเป็นชยัชนะของเสรีภาพ” (John Paul II, 1995: 17)

สงัคมมนุษยจึ์งกลายเป็นชุมชนท่ีมีแนวโนม้ท่ีจะใช ้“พละกาํลงัเป็นเหตุผล” (Reasons of force) มากกว่าท่ี

จะใช ้ “เหตุผลเป็นพละกาํลงั” (Force of reason) (John Paul II, 1995: 19) ดงัในเอกสาร Evangelium

Vitae (1995) และ Letter to Families (1994) ท่ีอธิบายว่า

ถา้การส่งเสริมอตัตา หมายถึงการมีชีวติอย่างเป็นเอกเทศโดยสิ้นเชิง ...

มนุษยจ์ะปฏิเสธไม่ยอมรับซ่ึงกนัและกนัอย่างแน่นอน ผูอ้ื่นเป็นศตัรูของตนท่ีจะตอ้งมุ่งทาํลาย

ดงันั้นสังคมจึงกลายเป็นสังคมท่ีปัจเจกบุคคลมาอยู่ร่วมกนั (Mass of individuals) แบบตวัใครตวั

มนั (Side by side)โดยไม่มีความผูกพนั เพราะแต่ละคนตอ้งการเป็นตวัของตวัเองโดยไม่ข้ึนกบั

ผูอ้ื่นและไม่สัมพนัธ์กบัผูอ้ื่น และมุ่งผลประโยชน์ส่วนตวัมากกวา่ผลประโยชน์ส่วนรวม (John

Paul II, 1995: 20)

การใชเ้สรีภาพตามใจชอบ ซ่ึงตวัเขาเองเป็นผูก้ะเกณฑค์วามจริงของ

อะไรกไ็ดท่ี้เขาเห็นวา่ชอบใจหรือมีประโยชน์ ทั้งยงัไม่ยอมรับความจริงท่ีวา่คนอื่นก็ตอ้งการ

หรือเรียกร้องอะไรจากเขาดว้ย ทาํใหเ้ขาไม่ยอมเป็นผูเ้สียสละ และการเสียสละอย่างจริงใจก็จะ

หมดไปจากโลกน้ี คนก็ยิ ่งกลายเป็นคนเห็นแก่ตวัอยา่งเห็นไดช้ดั (John Paul II, 1994: 14)

ส่งผลใหผู้ท่ี้มีอาํนาจแทนท่ีจะมีความคิดว่าทุกชีวิต เป็นชีวิตท่ีตอ้งไดรั้บความ

เคารพ การยอมรับ ความรักและการเอาใจใส่ กลบักลายเป็นชีวิตท่ีไร้ประโยชน์และเป็นชีวิตท่ีตอ้งขจดัให้

หมดไปโดยวิธีใดวิธีหน่ึง ผูมี้อาํนาจท่ีมีความคิดเช่นนั้นก็จะทาํสงครามกบัผูอ่้อนแอ ดงัในเอกสาร

Evangelium Vitae (1995) ท่ีอธิบายว่า

การอา้งสิทธิในการทาํแทง้ การฆ่าทารก การทาํการุณยฆาต (Mercy

killing) รวมทั้ งการยอมรับในส่ิงเหล่าน้ีใหเ้ป็นสิทธิตามกฎหมายนั้นเป็นส่ิงเลวร้าย เพราะ

เสรีภาพท่ีแปรความหมายไปเป็นอาํนาจสูงสุดเพ่ือกดขี่ผูอ้ื่นและต่อตา้นผูอ้ื่นนั้น ถือวา่เป็นความ

ตายของเสรีภาพอย่างแทจ้ริง (John Paul II, 1995: 20)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

104

2.3.3.4 ความไม่กลมกลืนกบัส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติ

ความไม่กลมกลืนกบัส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติเป็นผลต่อเน่ืองท่ีสาํคญัอีกอยา่ง

หน่ึงในกระแสการทาํลายชีวิต กล่าวคือ เม่ือมนุษยย์ดึตนเองเป็นศนูยก์ลางของโลกและชีวิต มนุษยจึ์งมอง

ส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติโดยคาํนึงถึงผลประโยชน์ของตนเองเป็นหลกั ทาํใหม้องขา้มคุณค่าของส่ิงอ่ืน

นอกจากน้ีมนุษยย์งัใชเ้ทคโนโลยทุีกชนิดในการทาํงานและทุ่มเทความสนใจในการควบคุมส่ิงต่าง ๆ ใน

ธรรมชาติจนถึงขั้นทาํลายความสมดุลของระบบนิเวศวิทยาอยา่งไร้ความคิด ดงัในเอกสาร Evangelium

Vitae (1995) และ Redemptor Hominis (1979) ท่ีอธิบายว่า

เม่ือมนุษย์คิดว่าพระเจ้าไดต้ายไปเสียแล้ว ก็ไม่แปลกท่ีมนุษย์จะให้

ความสําคญัแก่ตวัเองมากกวา่ส่ิงอื่นหรือพวกพอ้งของตน ธรรมชาติซ่ึงเคยเป็นส่ิงท่ีมีความสาํคญั

ของมนุษย ์ในเวลาน้ีกลบัเป็นเพียงวตัถุ ซ่ึงมนุษยจ์ะใชต้ามใจชอบ (John Paul II, 1995: 22)

จากการท่ีมนุษย์สร้างผลผลิต แต่ในเวลาเดียวกันเป็นการทาํลาย

ธรรมชาติ แสดงใหเ้ห็นวา่มนุษยมี์ความห่างเหินในความสัมพนัธ์กบัธรรมชาติและแยกตนเอง

ออกไปจากธรรมชาติ หลายคร้ังท่ีมนุษยเ์ห็นวา่ธรรมชาติไม่มีความหมายอะไร นอกจากนาํมาใช้

อย่างสิ้นเปลือง... จนลืมบทบาทหนา้ท่ีของตนในฐานะนายและผูรั้กษาธรรมชาติท่ีฉลาดและมี

จิตใจสูง ไม่ใช่อย่างผูก้อบโกยเอาผลประโยชน์และผูล้า้งทาํลายแบบไม่ปรานีปราศรัย (John

Paul II, 1979: 15)

2.3.4 กระแสการทําลายชีวติ นํามนุษย์สู่การเปลีย่นเป้าหมายและวถิีชีวติ

เม่ือมนุษยด์าํเนินตามกระแสการทาํลายชีวิต ท่ีตดัความคิดเร่ืองพระเจา้ออกไปจาก

ชีวิตโดยมุ่งสู่ค่านิยมทางวตัถุ (Having) แทนท่ีจะเน้นคุณค่าทางจิตใจ (Being) ชีวิตมนุษยจึ์งเปล่ียน

เป้าหมายจากการพฒันาไปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์แห่งจิตใจ อนัเป็นชีวิตนิรันดรในพระเจ้า ไปสู่การมุ่ง

ตอบสนองความตอ้งการของกิเลสตณัหาทางร่างกายหรือทางดา้นวตัถุ ส่งผลใหมี้แนวทางการดาํเนินชีวิต

ท่ียดึเฉพาะผลประโยชน์และความพึงพอใจแต่เพียงความสุข ตอบสนองความพึงพอใจในระดบักายภาพ

ของตนเองเท่านั้น เป็นเป้าหมายชีวิต ดงัท่ีเสนอว่า “การลดศกัด์ิศรีของมนุษยล์งไป ก่อให้เกิดลทัธิวตัถุ

นิยมข้ึนอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ และเกิดแนวคิดแบบปัจเจกชนนิยม (Individualism) ประโยชน์นิยม

(Utilitarianism) และสุขนิยม (Hedonism) เป็นลกูโซ่ตามมา” (John Paul II, 1995: 23) กล่าวคือ

ซ่ึงอธิบายในรายละเอียด ในเอกสาร Evangelium Vitae (1995) ว่าหมายถึง

2.3.4.1 ชีวิตท่ีมุ่ง “คุณภาพทางดา้นวตัถุ” จนละเลยความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคล

ดงัท่ีอธิบายว่า

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

105

จุดมุ่งหมายเดียวซ่ึงถือกนัวา่มีคุณค่าสําหรับคนท่ีอยู่ในกระแสการทาํลาย

ชีวิต คือ ความพยายามท่ีจะบรรลุถึงความเจริญก้าวหน้าและการกินดีอยู่ดีด้านวตัถุเท่านั้น

คุณภาพชีวติสําหรับคนเหล่าน้ีคือ ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ การบริโภคอย่างปราศจากขอบเขต

ความสวยงามและความพึงพอใจทางกายโดยละเลยมิติชีวิตท่ีลึกซ้ึงกว่านั้ น ซ่ึงได้แก่

ความสัมพนัธ์ระหวา่งบุคคลกบับุคคล ความสัมพนัธ์ระหวา่งบุคคลกบัธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ม

ละเลยความสําคญัของชีวติฝ่ายจิตและศาสนา (John Paul II, 1995: 23)

2.3.4.2 ศกัด์ิศรีมนุษยอ์ยูท่ี่ ผลประโยชน์ท่ี “เขามีต่อฉนั” ในดา้นวตัถุ กล่าวคือ

ศกัด์ิศรีของมนุษยถ์ูกแทนท่ีดว้ยมาตรการแห่งประสิทธิภาพ และการ

มีผลประโยชน์ในส่ิงต่าง ๆ... คุณค่ามนุษย์ไม่ไดอ้ยู่ในส่ิงท่ีเป็นสารัตถะ (Essence) ของคนนั้น

จริง ๆ แต่อยู่ท่ีประโยชน์ท่ีเขาพึงจะก่อให้เกิดกบัฉัน มาตรการแห่งศกัด์ิศรีของมนุษย์ ...คุณค่า

มนุษยไ์ม่ใช่อยู่ท่ีส่ิงท่ีเป็นความเป็นตวัของเขา (Are) แต่อยู่ท่ีเขาจะทาํประโยชน์อะไรให้ฉันได้

บา้ง (Have - Do and Produce) และน่ีคือวธีิการของผูท่ี้มีพลงัมากกวา่ท่ีใชผู้อ้่อนแอเป็นเคร่ืองมือ

ในการแสวงหาผลประโยชน์ (John Paul II, 1995: 23)

2.3.4.3 ถือว่าชีวิตท่ีอ่อนแอ ทุกข์ทรมานและตอ้งการความช่วยเหลือ “เป็นภาระ”

ดงัท่ีอธิบายว่า

ความจริงของชีวิตก็คือ ชีวิตเป็นทุกข์และความทุกข์ทรมานเป็นภาระ

หนกัท่ีมนุษยไ์ม่สามารถหลีกเลี่ยงได ้ อย่างไรก็ตามมนุษย์ผูมี้พลงัมากกว่าจะไม่คาํนึงถึงความ

ทนทุกขท์รมานของผูอ้่อนแอกวา่ เพราะคิดถึงประโยชน์เป็นสําคญั จึงทาํใหมี้การกดขี่ข่มเหงผู ้

อ่อนแอกวา่ ดงันั้น ผูท่ี้มุ่งสู่ชีวติท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ตอ้งต่อตา้นพฤติกรรมเอาเปรียบดงักล่าวทุก

วถิีทาง พร้อมทั้งเรียกร้องสิทธิและศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษยท่ี์แทจ้ริงคืน (John Paul II, 1995:

23)

ดงันั้น พระสนัตะปาปาฯ จึงทรงคิดว่าชีวิตมนุษยเ์ป็นการเผชิญหนา้ท่ีจะตอ้งมีการเลือกระหว่าง

กระแสการทาํลายคุณค่าของชีวิตกบัวฒันธรรมแห่งการส่งเสริมคุณค่าและศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษย ์ ท่ี

มุ่งสู่ชีวิตนิรันดรในพระเจา้ จึงเป็นส่ิงท่ีมนุษยใ์นปัจจุบนัจะตอ้งเลือกดาํเนินชีวิตอยา่งมีสติ รอบคอบและ

ระมดัระวงั แมม้นุษยจ์ะมีธรรมชาติท่ีบกพร่องเพราะบาปกาํเนิด แต่ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของ

พระเจา้มาตั้งแต่เร่ิมตน้และไดรั้บการยนืยนัและกอบกูศ้กัด์ิศรีจากพระเยซูคริสตเจา้ พระองคท์รงช้ีแนะ

การดาํเนินตามทางไปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ ทาํใหชี้วิตมนุษยทุ์กคนตอ้งเลือกทางเดินชีวติว่าจะไปขวาหรือ

ซา้ย จะเลือกวฒันธรรมแห่งชีวติ (ดี) หรือจะเลือกกระแสการทาํลายชีวิต (ชัว่) โดยมนุษยต์อ้งรับผดิชอบ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

106

ในการตดัสินใจเลือกว่าจะดาํเนินตามกระแสแบบไหน (John Paul II, 1995: 28) ดว้ยความสาํนึก

เสรีภาพและความรับผดิชอบของมนุษยเ์องอยา่งสมศกัด์ิศรี

3. มนุษย์เป็นบุคคลที่เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า “ความหมายของบุคคล” ตามแนวความคดิ

ของพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2

นอกจากพระสันตะปาปาฯ ทรงยืนยนัและอธิบายธรรมชาติมนุษยใ์นฐานะเป็นภาพลกัษณ์

ของพระเจา้ ตามแนวคาํสอนคริสต์ศาสนาแลว้ พระองค์ยงัเน้นความสาํคญัและอธิบายมนุษยใ์นฐานะ

เป็น “บุคคล” มนุษยเ์ป็น “สตัวท่ี์มีสติปัญญาและมีเสรีภาพ” (John Paul II, 1994 : 8) ทรงเห็นว่ามนุษย์

เป็น “บุคคลท่ีมีเสรีภาพในสังคมท่ีเป็นอิสระ” (Dulles, 2003: 186) โดย “ทรงย ํ้ าเร่ืองเสรีภาพ เพราะ

เสรีภาพเป็นลกัษณะสาํคญัของมนุษย”์ (Dulles, 1995: 4) ดงัในเอกสาร Christifideles Laici (1988) ท่ี

อธิบายว่า

บุคคลแต่ละคนจึงไม่ใช่วตัถส่ิุงของท่ีจะนาํไปใชไ้ดต้ามอาํเภอใจ แต่เป็น “คน” ท่ีมีความรู้

สํานึกและมีเสรีภาพ มีสิทธิดาํเนินชีวติตามปกติในสังคม และประวติัศาสตร์จะจารึกไวท้ั้งความ

ดีหรือไม่ดีจากการประพฤติปฏิบติัของเขาเอง (John Paul II, 1988: 5)

บุคคลน้ีเป็นตวัของตวัเองและมีศกัยภาพท่ีจะควบคุมตนเองได ้โดยมีลกัษณะพื้นฐานอย่าง

หน่ึง คือ ตอ้งมีความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน เพ่ือจะไดรู้้จกัตนเองและพฒันาตนสู่การเป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์

ยิง่ ๆ ข้ึน (Schall, 1997) ดงันั้น ส่ิงท่ีพระสนัตะปาปาฯ ทรงอธิบาย “ความหมายของบุคคล” คือ การเนน้

ศกัยภาพของมนุษยท่ี์สามารถกา้วพน้ขอบเขตแห่งโลกผสัสะ ไปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้โดยไดอ้าศยั

ความรู้สาํนึก เสรีภาพ และความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้น ความคิดน้ีสามารถอธิบายไดใ้นรายละเอียดดงัต่อไปน้ี

3.1 บุคคล คอื ผู้มคีวามรู้สํานกึ

คูป์ซเซค (Kupczak, 1999: 96) คิดว่าพระสนัตะปาปาฯ ทรงเร่ิมตน้อธิบายแนวคิด

เก่ียวกบัมนุษย ์ ตามแนวปรัชญาบุคคลนิยม ดว้ย “ทฤษฏีเก่ียวกบัความรู้สาํนึก” (A theory of

consciousness) ดว้ยการวิเคราะห์ความคิดเก่ียวกบับุคคลตามแนวคิดของนกับุญโทมสั อไควนสั ท่ีคิดว่า

ลกัษณะสาํคญัท่ีทาํใหม้นุษยแ์ตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ คือ มนุษยมี์ความรู้สาํนึก ดงัในเอกสาร Letter to

Families (1994) และ Christifideles Laici (1988) ท่ีอธิบายว่า

ความรู้สํานึก เป็นต้นกําเนิดของประสบการณ์ภายในของมนุษย์ จากการคิด

ใคร่ครวญ ในขณะท่ีร่างกาย ก็เหมือนกบัสรรพส่ิงทั้งหลายท่ีเป็นวตัถุสสาร (John Paul II, 1994:

19)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

107

ในบรรดาส่ิงมีชีวิตทั้ งปวงท่ีมีอยู่ในโลก แต่เพียงบุคคลชายและหญิงเท่านั้นท่ีมี

ความรู้สึกสํานึกตนและเป็นอิสระ ดงันั้น บุคคลจึงส่ิงสุดยอดของบรรดาสรรพส่ิงท่ีมีอยู่ในโลก

(John Paul II, 1988: 37)

พระสนัตะปาปาฯ ทรงเห็นดว้ยกบันกับุญโทมสัท่ีคิดว่าความรู้สาํนึกเป็นส่วนประกอบ

ของธรรมชาติท่ีมีเหตุผลของมนุษย ์และได้ทรงอธิบายเพิ่มเติมดว้ยการนาํเสนอทฤษฏีความรู้สํานึกท่ี

พระองคไ์ดข้ยายความคิดมาจากความคิดของนกับุญโทมสั อาไควนสั มาอธิบายว่า “ความรู้สาํนึกเป็นทั้ ง

การคิดใคร่ครวญเก่ียวกบัการรับรู้ส่ิงต่าง ๆ รอบตวั (Mirroring) และการคิดใคร่ครวญเก่ียวกับตวัเอง

(Inflexive)” (Kupczak, 1999: 98) ทฤษฏีความรู้สาํนึกน้ีสามารถอธิบายไดด้งัรายละเอียดต่อไปน้ี

3.1.1 ความรู้สํานึกในฐานะเป็น “ความเข้าใจในส่ิงที่เราเข้าใจ”

พระสนัตะปาปาฯ ทรงอธิบายบทบาทของความรู้สาํนึกในดา้นการคิดใคร่ครวญ

เก่ียวกบัการรับรู้ส่ิงต่าง ๆ รอบตวั ในฐานะเป็น “ส่ิงท่ีเกิดข้ึนในตวัเรา” อนัเป็นความสามารถท่ีจะ “เขา้ใจ

ความคิดพ้ืนฐานท่ีเขา้ใจกนัมาแต่เดิม” (Kupczak, 1999: 96) อนัมีลกัษณะเป็นความตั้งใจ เจตนา หรือจง

ใจ และความมีสติรับรู้เก่ียวกบัตวัเอง กล่าวคือ

3.1.1.1 ความรู้สาํนึกเป็นความตั้งใจ/เจตนา/จงใจท่ีตอ้งการจะรู้เก่ียวกบัส่ิงอ่ืน

ความรู้สาํนึกเช่นน้ีเป็นความสามารถทางดา้นความรู้ ท่ีช่วยใหม้นุษย์

สามารถเขา้ใจส่ิงท่ีตนเองอยากจะรู้ และทาํใหค้วามรู้ของมนุษยไ์ม่ไดเ้ป็นไปตามสญัชาตญาณแบบสตัว ์

แต่มีลกัษณะเป็น “ความตั้งใจ/เจตนา/จงใจ” ท่ีจะรู้ส่ิงอ่ืน ๆ รอบตวัตามสภาพจริงของส่ิงนั้น ๆ

3.1.1.2 ความรู้สาํนึกเป็น “ความรู้ตวัเก่ียวกบัตวัเอง”

ความสาํนึกรู้ของมนุษยย์งัมีลกัษณะเป็น “ความรู้ตวัเก่ียวกบัตวัเอง”

กล่าวคือ รู้จกัรับผดิชอบต่อส่ิงท่ีตนเองกระทาํ ดงันั้น ความรู้และการกระทาํของมนุษยจึ์งไม่ไดเ้ป็นแค่

ระดบัสญัชาตญาณแบบสตัว ์ ท่ีไม่มีความรู้เก่ียวกบัตวัเอง แต่เป็นไปตามส่ิงเร้าภายนอกท่ีเขา้มากระทบต่อ

ชีวิตของมนั แต่มนุษยมี์ความรู้ในแบบท่ี “รู้ตวั” ว่าตนเองกาํลงัรู้อะไรและกาํลงั (จะ) ทาํอะไร ทาํให้

มนุษยมี์ลกัษณะเป็นตวัของตวัเอง มีความรู้และมีการกระทาํ “ดว้ยตวัของมนุษยเ์อง” (I am for myself)

ดงัในเอกสาร Letter to Families (1994) ท่ีอธิบายว่า

มนุษยเ์ป็นเพียงส่ิงสร้างบนโลกซ่ึงพระเจา้มีพระประสงคใ์หม้นุษย์

เป็นตวัของตวัเอง... ชีวิตมนุษย์ไม่ได้ข้ึนกับกฎของชีววิทยาเท่านั้น แต่ข้ึนกับนํ้ าพระทัย

สร้างสรรคข์องพระเจา้....พระเจา้ทรงมีพระประสงคใ์หม้นุษยค์ลา้ยคลึงกบัพระองคใ์นฐานะเป็น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

108

บุคคล ท่ีเป็นตวัของตวัเอง.... พระเจา้ทรงประสงค์ให้บุคคลน้ีเป็นตวัของตวัเอง... ดาํเนินชีวิต

เพ่ือตวัเขาเองและบรรลุถึงความสมบูรณ์ดว้ยการมีส่วนร่วมในชีวิตของพระเจา้ (John Paul II,

1994: 9)

3.1.2 ความรู้สํานึกในฐานะท่ีทําให้มนุษย์เป็นเจ้าของการกระทําของตน

นอกจากบทบาทของความรู้สาํนึกท่ีทาํใหม้นุษยมี์ความรู้เก่ียวกบัตวัเองและเขา้ใจ

ส่ิงท่ีตนรู้แลว้ พระสนัตะปาปาฯ ยงัทรงเนน้บทบาทของมนุษยท่ี์ทาํใหม้นุษย ์ “เป็นตวัของตวัเองและเป็น

เจา้ของการกระทาํของตวัเอง” (Kupczak, 1999: 98) อนัเป็นลกัษณะท่ีเป็น “ภาพสะทอ้น” บอกใหเ้รารู้

ว่า “ตวัเรา” มีความหมายมากกว่าการคิดเขา้ใจแบบผวิเผนิเท่านั้น แต่ความหมายของ “ตวัเรา” นั้น ยงั

รวมความถึงว่าเราตอ้งมีความรับผดิชอบต่อการดาํเนินชีวิตของตวัเราในทุกกรณี ดงัอธิบายไดโ้ดย

รายละเอียดต่อไปน้ี

3.1.2.1 มนุษยไ์ม่ไดเ้ป็นเพียงแค่ “การคิด” แต่มนุษยย์งัมีชีวติร่วมกนักบัผูอ่ื้นดว้ย

พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่ามนุษยไ์ม่ไดเ้พียงเป็นแค่ “การคิด” ตามแบบท่ี

เดสการ์ตส์ (Rene Descartes, ค.ศ. 1596-1650) นกัปรัชญาชาวฝรั่งเศส ท่ีไดริ้เร่ิมแนวคิดเหตุผลนิยม โดย

ใหค้วามสาํคญัต่อสติปัญญาของมนุษยใ์นฐานะท่ีเป็นสตัวท่ี์มีเหตุผล เนน้มนุษยใ์นฐานะเป็นผูคิ้ด

(Thinker) (ฉนัคิด ฉนัจึงมีอยู/่ I think, therefore, I am) ตามท่ีเดสการ์ตเสนอไวเ้ท่านั้น แต่พระองคท์รง

เห็นว่ามนุษยเ์ป็น “ส่ิงสร้างท่ีมีความรู้สึกนึกคิด” (A feeling creature) (Kupczak, 1999: 99) เช่นเดียวกบั

ส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ การกระทาํของมนุษยจึ์งไม่ใช่เป็นเพียงแค่การทาํตามส่ิงท่ีคิดเท่านั้น แต่มนุษยย์งัตอ้ง

คาํนึงถึงความรู้สึกนึกคิดของคนอ่ืน ๆ รอบตวัแบบเอาใจเขามาใส่ใจเรา

3.1.2.2 “ความรู้สาํนึก”เป็นคุณภาพภายในท่ีควบคุมอารมณ์ความรู้สึก

แมก้ารดาํเนินชีวิตของมนุษยจ์ะมีอารมณ์ความรู้สึกมาเก่ียวขอ้งดว้ย แต่

ส่ิงท่ีพระสนัตะปาปาฯ ทรงเนน้คือบทบาทของความรู้ตวัท่ีสามารถ “ควบคุมอารมณ์ความรู้สึกเหล่านั้น

ได”้ (Kupczak, 1999: 100) แมม้นุษยจ์ะมีอารมณ์ความรู้สึกต่อส่ิงต่าง ๆ ท่ีเขา้มากระทบกบัชีวิต แต่

มนุษยก์็มีความรู้สาํนึก ท่ีคอยควบคุมความรู้สึกและมีสถานภาพอยูเ่หนือความรู้สึก ความรู้สาํนึกของ

มนุษยน่ี์เองท่ีทาํใหก้ารกระทาํของมนุษยต่์างจากสตัว ์ เพราะมนุษยมี์ความรู้สาํนึกท่ีเป็น “ความรู้ตวั” อนั

เป็นลกัษณะธรรมชาติภายในตวัมนุษย ์ ซ่ึงทาํใหม้นุษยมี์การคิด ไตร่ตรองหาเหตุผลและตดัสินใจถึงความ

เหมาะสมว่าจะกระทาํอะไรและทาํแบบไหน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

109

3.1.2.3 สาเหตุสาํคญัท่ีทาํใหม้นุษยค์วบคุมอารมณ์ความรู้สึกของตนเองไม่ได ้

ตามปกติมนุษยมี์ความรู้สาํนึกท่ีคอยควบคุมอารมณ์ความรู้สึกของตน

แต่หลายคร้ังเราพบว่ามนุษยมี์การดาํเนินชีวิตท่ีขดัแยง้กบัความรู้สาํนึก ซ่ึงดูเหมือนว่าความรู้สาํนึกน้ีไม่

อาจควบคุมอารมณ์ความรู้สึกของตนได ้ซ่ึงพระสันตะปาปาฯ อธิบายกระบวนการท่ีทาํให้ความรู้สาํนึก

ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ความรู้สึกของมนุษยไ์ด ้โดยใชค้าํว่า “The emotionalization of consciousness”

(Kupczak, 1999: 100) พระสนัตะปาปาฯ ไดท้รงวิเคราะห์ปัจจยัท่ีทาํใหม้นุษยไ์ม่สามารถใชค้วามรู้สาํนึก

มาควบคุมอารมณ์ความรู้สึกของตนเองไดใ้นบางคร้ัง โดยแยกเป็นสองปัจจยั คือ (Kupczak, 1999)

1. ปัจจยัภายนอก ไดแ้ก่ ภาวะท่ีทาํใหเ้กิดความยากลาํบากท่ีจะควบคุม

อารมณ์ความรู้สึกของตนเอง เน่ืองจากมนุษยไ์ดรั้บการกระตุน้ใหมี้อารมณ์เพิ่มมากข้ึน (Intensity) จากส่ิง

เร้าภายนอก ทาํใหเ้กิดอารมณ์ท่ีแปรปรวนมาก (Changeability) จนไม่เขา้ใจวา่ตนเองมีอารมณ์อยา่งไรแน่

ทาํใหม้นุษยอ์ยูใ่นภาวะท่ียากต่อการควบคุมอารมณ์ของตนเอง

2. ปัจจยัภายใน ไดแ้ก่ ภาวะความอ่อนแอของ “ความรู้จกัตวัเอง” ภายใน

ตวัมนุษยอ์นัเป็นผลมาจากกระแสนิยมของ “ลทัธิการทาํลายชีวิต” ท่ีพยายามตดัพระเจา้ออกไปจากชีวิต

โดยมุ่งเนน้แต่กระแสนิยมในวตัถุภายนอก (Having) มากกว่าท่ีจะใหคุ้ณค่าของจิตใจ (Being) ซ่ึงเนน้ใน

ความสงบระงบัของกิเลสตณัหาในวตัถุภายนอก ดว้ยเหตุน้ีเองทาํใหค้วามรู้สาํนึกของมนุษยท่ี์เป็นความ

รู้ตวัเก่ียวกบัตวัเองบกพร่องไปจนยากต่อการควบคุมอารมณ์ความรู้สึกของตนเองได ้

ดังนั้ น ความรู้สํานึกท่ีแท้จริงจึงเป็นการมุ่งสู่ความดี ดังท่ี ดูลเลส (Dulles, 2003)

บาทหลวงชาวอเมริกันซ่ึงเป็นนักวิชาการของคริสต์ศาสนาท่ีมีช่ือเสียงในปัจจุบัน มีความคิดว่าพระ

สันตะปาปาฯ ทรงนาํแนวคิดของนักบุญเปาโล (The Letter to the Romans/ รม 2: 14-16) และแนวคิด

ของนักบุญโทมสั อาไควนัส ตลอดจนคาํสอนของเอกสารสภาสังคายนาวาติกนัคร้ังท่ี 2 (Gaudium et

Spes, 1965: 16) เก่ียวกบัเร่ืองความรู้สาํนึกทางศีลธรรม ซ่ึงมีแนวคิดว่ามนุษยทุ์กคนมี “มโนธรรม” เป็น

กฎภายในใจท่ีเรียกร้องใหค้นทาํดีและหลีกเล่ียงความชัว่มาใชใ้นการอธิบายความคิดของพระองค์ พระ

สนัตะปาปาฯ ทรงอธิบายเพิ่มเติมจากความคิดเดิมลงในเอกสาร Veritatis Splendor (John Paul II, 1993 :

54 - 57) ว่าความรู้สาํนึกเป็นหลกัของสติปัญญาท่ีช่วยให้เรารู้ถึงหลกัความดีเท่ียงแทซ่ึ้ง “เป็นกฎท่ีไม่ได้

บนัทึกเป็นลายลกัษณ์อกัษร แต่เป็นส่ิงท่ีพระเจา้ไดท้รงจารึกไวใ้นใจมนุษย”์ เพ่ือให้รู้ว่าควรทาํส่ิงไหน

และไม่ควรทาํส่ิงไหน อนัเป็นการกระตุน้ใหเ้รามุ่งสู่ความดีท่ีแทจ้ริง อยา่งไรก็ตาม เน่ืองจากปัจจยัภายใน

และปัจจยัภายนอกบางประการทาํใหใ้นบางคร้ังไม่อาจควบคุมอารมณ์ความรู้สึกของตนเองได ้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

110

3.2 บุคคล คอื ผู้มเีสรีภาพ

องคป์ระกอบท่ีสาํคญัอีกประการหน่ึงของความคิดเร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ คือ

การอธิบายความหมายของเสรีภาพ ซ่ึงพระองค์ไดผ้สานแนวคิดเร่ืองเสรีภาพกบัสถานะของมนุษยใ์น

ฐานะท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ เสรีภาพจึงมีความหมายในฐานะเป็น “ลกัษณะพิเศษของมนุษยท่ี์ต่าง

จากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ” โดยท่ีพระเจา้ทรงมอบให้มนุษยใ์นฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระองค์ และพระ

สนัตะปาปาฯ ทรงเนน้ความสมัพนัธร์ะหว่าง “เสรีภาพและธรรมชาติของมนุษย”์ โดยท่ีพระองค์ไม่เห็น

ดว้ยกบัแนวคิดเร่ืองเสรีภาพแบบเกินเลย ปฏิเสธความเป็นจริงของมนุษย ์โดยคริสต์ศาสนาเน้นว่ามนุษย์

เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ท่ีตอ้งข้ึนกบัพระเจา้และมีจุดมุ่งหมายท่ีสมบูรณ์ของชีวิตในพระเจา้เท่านั้น

และพระองคไ์ม่เห็นดว้ยกบัแนวคิดว่ามนุษยมี์เสรีภาพแบบสมบูรณ์ สามารถเลือกท่ีจะทาํอะไรก็ได ้ โดย

ท่ีพระสนัตะปาปาฯ เห็นว่า “เสรีภาพไม่ไดห้มายถึงใบอนุญาตท่ีจะทาํอะไรก็ไดอ้ยา่งไม่มีขอบเขตจาํกดั”

(John Paul II, 1994 : 14) หรือการอธิบายเสรีภาพแต่เพียงผิวเผิน ท่ีหมายถึงเป็นเพียงการเลือกส่ิงท่ีเรา

อยากจะทาํหรือไม่อยากทาํอย่างใดอย่างหน่ึงเท่านั้ น พระองค์ทรงคิดว่า “เสรีภาพเป็นสิทธิตาม

ธรรมชาติท่ีมีเหตุผลของความเป็นมนุษย ์ท่ีทาํให้มนุษยส์ามารถตัดสินใจเก่ียวกบัตวัเขาเองตามความ

เขา้ใจและความรู้สาํนึก” (Wojtyla [John Paul II], 1981: 21-24 cited in Dulies, 2003: 194) ในเร่ืองน้ีมี

การอธิบายในรายละเอียดดงัต่อไปน้ี

3.2.1 การเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้าเป็นพืน้ฐานของเสรีภาพมนุษย์

พระสนัตะปาปาฯ ทรงอธิบายเสรีภาพในฐานะ เป็นศกัด์ิศรีพ้ืนฐานของมนุษยท่ี์มี

พ้ืนฐานอยูบ่นความเป็นจริงเก่ียวกบัชีวติ ทรงอธิบายว่าเสรีภาพเป็น “ของขวญัพิเศษ” ท่ีพระเจา้ประทาน

เฉพาะมนุษยม์าตั้งแต่สร้างโลกและมนุษย ์ เสรีภาพของมนุษยจึ์งเป็น “เง่ือนไข และรากฐานแห่งศกัด์ิศรี

ของมนุษย”์ (John Paul II, 1979: 12) โดยพระองคท์รงอธิบายเพิ่มในเอกสาร Veritatis Splendor (1993)

ความว่า “มนุษยมี์เสรีภาพในฐานะเป็นส่ิงสร้างของพระเจา้.. เสรีภาพเป็นของขวญัท่ีพระเจา้ประทานแก่

มนุษย.์. เป็นลกัษณะสาํคญัท่ีแสดงถึงการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้อนัเป็นพ้ืนฐานของศกัด์ิศรีมนุษย”์

(John Paul II, 1993: 86) และ “เสรีภาพท่ีแทจ้ริง ...เป็นการแสดงออกอยา่งเด่นชดัถึงการเป็นภาพลกัษณ์

ของพระเจา้ในตวัมนุษย”์ (John Paul II, 1993: 38)

3.2.2 เสรีภาพ คอื การกาํหนดตนเอง ให้มุ่งสู่ความดีสูงสุด

ดูลเลส (Dulles, 2003) อธิบายว่าพระสันตะปาปาฯ ทรงมีความคิดเร่ืองเสรีภาพ

โดยทัว่ไปว่าเสรีภาพหมายถึง ความสามารถท่ีจะกาํหนดชีวิตของตนเองให้สอดคลอ้งหรือไม่สอดคลอ้ง

ต่อความดีอนัเป็นจุดมุ่งหมายของชีวิตก็ได ้ ดงัท่ีพระสนัตะปาปาฯ ทรงอธิบายเสรีภาพว่าหมายถึง “การ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

111

ตดัสินใจและการจดัการชีวิตเก่ียวกบัตวัเองใหส้อดคลอ้งหรือไม่สอดคลอ้งกบัความดี หรือกบัความจริง ”

(John Paul II, 1993: 65) ซ่ึงเป็นจุดหมายของชีวิต อย่างไรก็ตามพระสันตะปาปาฯ ทรงขยายความว่า

เสรีภาพของมนุษยด์าํเนินไปอย่างมีเป้าหมายเพ่ือมุ่งสู่ความดีหรือความจริงสูงสุดตามหลกัของเหตุผล

โดยมีพระเจา้เป็นเป้าหมายสูงสุดของเสรีภาพ ดงัท่ีพระองค์กล่าวว่า “เป้าหมายของการกระทาํท่ีเจตนา

คือ การเลือกท่ีจะประพฤติอยา่งใดอย่างหน่ึงโดยเสรี... ท่ีสอดคลอ้งกบัระเบียบของเหตุผลของพระเจา้”

(John Paul II, 1993: 78) และ “การมีเจตนาในการจดัการการกระทาํของมนุษยใ์ห้มุ่งไปหาพระเจา้นั้น

เป็นความดีสูงสุดและเป็นเป้าหมายสุดทา้ยของมนุษย”์ (John Paul II, 1993: 73)

ท่ีสุด พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่า “เสรีภาพตอ้งคู่กบัศีลธรรม และเสรีภาพตอ้ง

ไม่เป็นการจาํกดัเสรีภาพของคนอ่ืนดว้ย” (John Paul II, 1979: 16) อนัแสดงถึงความเป็นจริงของชีวติ

มนุษยท่ี์มีความรู้สาํนึกและมีสติปัญญาในการดาํเนินชีวิตตามหลกัเหตุผล ตลอดจนมีความรับผดิชอบและ

มีความสมัพนัธก์บัสงัคม

3.2.3 ลกัษณะของเสรีภาพ

พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่าเสรีภาพเป็นพลงัสาํคญัท่ีมนุษยใ์ชเ้ป็นเคร่ืองมือใน

การพฒันาชีวิตสู่ความสมบูรณ์ในพระเจา้ โดยอาศยัความสมัพนัธก์บัสรรพส่ิงในรูปแบบของความ

รับผดิชอบและความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้นและส่ิงอ่ืน ดงัคาํปราศรัยของพระสนัตะปาปาฯ ท่ีมีต่อ อดีต

ประธานาธิบดีเรแกน แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา เม่ือวนัท่ี 10 กนัยายน ค.ศ. 1987 ความว่า

เสรีภาพเป็นการมุ่งสู่ส่ิงท่ีเราควรทาํในฐานะท่ีเป็นส่ิงสร้างของพระเจา้ตาม

แผนการของพระองค ์เป็นเสรีภาพท่ีจะดาํเนินชีวติตามความจริงท่ีเราเป็น (ภาพลกัษณ์ของพระ

เจา้) ... ในฐานะท่ีเรามีบุคลิกภาพเฉพาะบุคคล.. และในฐานะท่ีเราเป็นส่วนหน่ึงของมนุษยชาติ

(John Paul II, 1987: 238 cited in Dulles, 2003: 196)

3.2.3.1 เสรีภาพข้ึนอยูก่บัความจริง พระสันตะปาปาฯ ทรงให้ความสาํคญัแก่เสรีภาพในฐานะเป็นลกัษณะ

พิเศษ “เฉพาะ” มนุษย ์ โดยทรงย ํ้ าถึงความสอดคลอ้งระหว่างเสรีภาพกบัความจริงว่า “ไม่มีเสรีภาพท่ี

ปราศจากความจริง” (Dulles, 2003: 188) นัน่ก็คือ “เสรีภาพจะตอ้งข้ึนตรงกบัความจริง” (John Paul II,

1993: 34) อนัเป็น “สายสมัพนัธท่ี์ไม่มีวนัสิ้นสุดระหว่างเสรีภาพกบัความจริง” (John Paul II, 1993: 87)

นอกจากนั้นพระองคท์รงเตือนใหม้นุษยมี์ความซ่ือสัตยต่์อความจริงและให้ระวงัการเขา้ใจเสรีภาพแบบ

ผิด ๆ โดยเฉพาะกับแนวคิดท่ีให้ความสําคัญแต่เสรีภาพของฝ่ายเดียว ซ่ึงจะปฏิเสธความจริงสากล

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

112

พระองคท์รงอธิบายเร่ืองน้ีโดยอา้งอิงพระวรสารนกับุญยอห์นท่ีว่า “ท่านตอ้งรู้ความจริง และความจริงจะ

ทาํใหท่้านเป็นอิสระ” (The Gospel according to John/ ยน 8: 32) ดงัท่ีทรงอธิบายว่า

จงซ่ือสัตย์ต่อความจริง ซ่ึงเป็นเง่ือนไขของเสรีภาพท่ีแท้จริง

และจงหลีกเลี่ยงเสรีภาพจอมปลอม เสรีภาพแบบผิวเผินและเสรีภาพท่ียึดตนเองแต่ฝ่ายเดียว

ตลอดจนเสรีภาพใด ๆ ท่ีเขา้ไม่ถึงแก่นความจริงท่ีเก่ียวขอ้งกับมนุษย์และโลกตามพระคมัภีร์”

(John Paul II, 1979 : 12)

ความคิดท่ีว่าเสรีภาพจะตอ้งควบคู่กบัความจริงน้ี พระสนัตะปาปาฯ ได้

ทรงอธิบายไวก่้อนท่ีพระองคจ์ะทรงดาํรงตาํแหน่งประมุขแห่งศาสนจกัรโรมนั คาทอลิก โดยพระองคไ์ด้

ทรงเคยนาํเสนอความคิดว่าเสรีภาพจะตอ้งสอดคลอ้งกบัความจริงของชีวิตมนุษย ์ ในฐานะเป็นส่ิงสร้างท่ี

เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ดงันั้น ทุกคนจึงมีส่วนสมัพนัธก์บัชีวิตพระเจา้ เพราะทุกคนไดรั้บเสรีภาพมา

ในฐานะเป็น “ของขวญัพิเศษ” ท่ีพระเจา้ประทานให ้ (Wojtyla, 1993: 187 cited in Dulles, 2003: 190)

ดงัในเอกสาร Evangelium Vitae (1995) ไดอ้ธิบายว่า

ชีวิตมีความจริงเฉพาะของตวัมนัเองท่ีมิอาจลบล้างได้ เม่ือ

มนุษยย์อมรับชีวติวา่เป็นส่ิงท่ีพระเจา้ประทานให ้ เขาจึงตอ้งรักษาชีวตินั้นตามสภาพความจริงของ

ชีวิต ผู ้ท่ีแยกตวัออกจากความจริงน้ีก็จะดาํเนินชีวิตอย่างไร้ความหมายและปราศจากความสุข

รวมถึงอาจจะเป็นอนัตรายคุกคามต่อชีวติผูอ้ื่น เพราะดาํเนินชีวติออกนอกลู่นอกทางหลกัประกนั

ของความเคารพชีวติและการปกป้องชีวติท่ีพระเจา้ประทานใหใ้นทุกกรณี (John Paul II, 1995: 48)

1. ความจาํกดัของเสรีภาพ

พระสนัตะปาปาฯ ทรงยนืยนัคาํสอนคริสตศ์าสนาและเห็นดว้ยกบั

การอธิบายของนกัปรัชญาคริสตโ์ดยเฉพาะแนวคิดของนกับุญออกสัตินและนกับุญโทมสั อาไควนสั ท่ี

อธิบายว่ามีแต่พระเจา้เท่านั้นท่ีทรงดาํรงอยู ่ (Existence) ดว้ยพระองคเ์อง ทุกส่ิงท่ีมีอยูล่ว้นสืบเน่ืองจาก

พระองคแ์ละอยูใ่นอาณัติของพระองคท์ั้งสิ้น อยา่งไรกต็ามถึงแมว้่ามนุษยจ์ะมีความพิเศษจากส่ิงมีชีวติ

อ่ืน ๆ ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ แต่มนุษยไ์ม่ใช่พระเจา้ ดงันั้นการดาํรงอยูข่องมนุษยย์งัตอ้ง

ข้ึนอยูก่บัพระเจา้ โดยมีพระเจา้เป็นเจา้ของชีวิต ซ่ึงแสดงใหเ้ห็นว่ามนุษยย์งัไม่สมบูรณ์และมีขอ้จาํกดัใน

อีกหลาย ๆ ดา้น ในฐานะท่ีเป็นส่ิงท่ีพระเจา้สร้างข้ึน รวมทั้งการใชเ้สรีภาพของมนุษย ์ ท่ีมนุษยม์กัมี

ประสบการณ์ว่าแมม้นุษยจ์ะรู้ว่าส่ิงใดดีและเหมาะสมกบัตวัเรามากท่ีสุด แต่บางคร้ังเราก็จะไม่เลือกท่ีจะ

ทาํตามส่ิงท่ีเราเห็นว่าควรทาํ และยิง่กว่านั้น มนุษยก์ลบัใชเ้สรีภาพท่ีพระเจา้ประทานใหเ้ลือกส่ิงท่ีขดัแยง้

กบัธรรมชาติท่ีแทจ้ริงของชีวิตอยูเ่ป็นประจาํโดยท่ี “บางคร้ังมนุษยท์าํในส่ิงท่ีไม่ควรทาํและกลบัไม่ทาํใน

ส่ิงท่ีควรทาํ” (John Paul II, 1979: 14 ) ดงัในเอกสาร Veritatis Splendor (1993) ท่ีกล่าวว่า

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

113

เหตุผลและประสบการณ์ไม่เพียงแต่จะยืนยนัถึงความอ่อนแอ

ของเสรีภาพเท่านั้น แต่ยงัยืนยนัถึงแง่มุมท่ีเศร้าสลดของมนุษย์อีก ด้วย ด้วยเหตุว่ามนุษย์

ตระหนกัวา่เสรีภาพของเขาช่างเป็นส่ิงลึกลบัมากเสียจนกระทัง่มนุษยม์กัจะโอนเอียงไปในทาง

ทรยศต่อการมุ่งสู่ความจริงและความดี... และเดินนอกกรอบเสรีภาพท่ีแทจ้ริงโดย ปฏิบติัตามใจ

ชอบไปเลย (John Paul II, 1993: 86 )

2. เสรีภาพกบักฎศีลธรรมซ่ึงเป็นกฎของพระเจา้

เน่ืองจากเสรีภาพของมนุษยย์งัไม่สมบูรณ์ เพราะมนุษยเ์ป็นส่ิงท่ีพระ

เจา้สร้างดงัคาํอธิบายในขา้งตน้แลว้ เราจะเห็นไดว้่ามนุษยม์กัใชเ้สรีภาพในการเลือกในส่ิงท่ีขดัแยง้กบั

ธรรมชาติท่ีแทจ้ริงของตนเองอยูเ่สมอ ในเร่ืองน้ีพระสันตะปาปาฯ ทรงเห็นดว้ยกบัความคิดของนักบุญ

ออกสัตินท่ีอธิบายถึงความจาํเป็นของกฎศีลธรรมในฐานะท่ีเป็น “คู่มือ” ท่ีพระเจา้ไดท้รงประทานให้

มนุษย ์เพ่ือเป็นแนวทางใหม้นุษยไ์ดใ้ชเ้สรีภาพท่ีถกูตอ้ง กฎศีลธรรมจะทาํให้มนุษยเ์ขา้ใจความจริงมาก

ข้ึน พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่า “เสรีภาพของมนุษยแ์ละกฎศีลธรรมของพระเจา้ไม่ไดข้ดัแยง้กนั แต่กลบั

สนับสนุนกนั” (John Paul II, 1993: 17) “กฎศีลธรรมของพระเจา้มิไดลิ้ดรอนหรือทาํให้เสรีภาพของ

มนุษยล์ดน้อยลง ตรงกนัขา้มกลบัส่งเสริมและปกป้องเสรีภาพนั้น” (John Paul II, 1993: 35) ดงัใน

เอกสาร Veritatis Splendor (1993) ท่ีอธิบายว่า

มนุษยมี์เสรีภาพอย่างแทจ้ริงเม่ือเขาเขา้ใจและยอมรับคาํสัง่สอน

ของพระเจา้.. เน่ืองจากเสรีภาพของมนุษยย์งัมีขอบเขตจาํกดั จึงตอ้งอาศยักฎศีลธรรมท่ีพระเจา้

ประทาน มนุษยจ์ะครบถว้นสมบูรณ์ไม่ได ้ถา้ไม่อยู่ในกรอบกฎแห่งเสรีภาพ พระเจา้เป็นองค์

ความดีแต่พระองคเ์ดียวท่ีทรงรู้ชดัเจนวา่ อะไรดีสําหรับมนุษยแ์ละเพราะความรักมนุษย์น่ีเองท่ี

พระองคไ์ดท้รงความดีน้ีแก่มนุษยใ์นบทบญัญติัต่าง ๆ (John Paul II, 1993: 35)

กฎศีลธรรมเป็นคู่มือช่วยมนุษยใ์หเ้ลือกปฏิบติัในส่ิงท่ีถกูตอ้งตาม

ความจริงของชีวิตของตนอยา่งท่ีพระสนัตะปาปาฯ ทรงกล่าวว่า “กฎของโมเสส คือ รูปแบบของความ

จริง” (John Paul II, 1993: 15) เพ่ือบอกว่าอะไรควรทาํ อะไรไม่ควรทาํ กฎศีลธรรมจึงมีความจาํเป็นใน

ฐานะ “ เป็นหลกัพ้ืนฐานและเป็นความจาํเป็นของความรักท่ีจะทาํความดีอยา่งเสรีเพ่ือปฏิบติัความรัก

อยา่งเสรี” (John Paul II, 1993: 18) ดงันั้นกฎศีลธรรมจึงเป็นความจาํเป็นอยา่งยิง่ยวดในการเป็นพ้ืนฐานท่ี

จะช่วยใหม้นุษยไ์ดใ้ชเ้สรีภาพอยา่งถกูตอ้งสอดคลอ้งกบัธรรมชาติท่ีแทจ้ริงของตน ดงัในเอกสาร

Evangelium Vitae (1995) ท่ีว่า

มนุษยจ์ะเป็นผูส้มบูรณ์ไม่ได ้ถา้ไม่ปฏิบติัตามกฎศีลธรรม แต่

ความดีมีความสัมพนัธ์กบับทบญัญติัของพระเจา้ซ่ึงเป็นกฎแห่งชีวติ ดงันั้น การกระทาํทั้งหลาย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

114

จึงไม่เป็นส่ิงท่ีเกินความจาํเป็นสําหรับชีวิตและไม่เป็นภาระท่ีหนักหนาต่อชีวิต เน่ืองจาก

จุดมุ่งหมายของชีวติก็คือความดีและชีวติท่ีดี และชีวติจะเจริญก้าวหน้าก็ดว้ยการกระทาํความดี

เท่านั้น (John Paul II, 1995: 48)

3.2.3.2 เสรีภาพควบคู่ไปกบัความรับผดิชอบ

พระสนัตะปาปาฯ ทรงดาํเนินตามแนวคิดของนกัปรัชญาบุคคลนิยม ท่ีคิด

ว่าเสรีภาพจะตอ้งคู่กบัความรับผดิชอบ มนุษยต์อ้งรับผดิชอบต่อการเลือกวิถีชีวิตของตน พระองคท์รง

เรียกร้องใหม้นุษยใ์ชเ้สรีภาพดว้ยความรับผดิชอบโดยอาศยั “เหตุผลและการมีสติรู้ตวั และการเต็มใจ

ปฏิบติัอยา่งเสรี การใชเ้สรีภาพในลกัษณะเช่นน้ีจึงจะถือไดว้่ามนุษยมี์ความรับผดิชอบต่อการกระทาํใน

ชีวิตของเขา” (John Paul II, 1993: 73) โดยคาํนึงถึงภารกิจท่ีพระเจา้ทรงมอบใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมใน

ความเหมือนพระเจา้ ซ่ึงกคื็อการมีอาํนาจในการปกครองชีวิตของตนอยา่งถกูตอ้งตามแนวทางของพระ

เจา้ ดงัในเอกสาร Evangelium Vitae (1995: 42-43) ท่ีอธิบายว่า

การปกป้องชีวติและการส่งเสริมชีวติ ตลอดจนการแสดงความ

เคารพและความรักต่อชีวติ คือหนา้ท่ีท่ีพระเจา้ทรงมอบใหแ้ก่มนุษยแ์ต่ละคน และทรงเรียกร้อง

ให้เขาในฐานะท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้าท่ีมีชีวิต (Living image) ให้มีส่วนร่วมในการ

ปกครองโลกท่ีพระองคส์ร้างข้ึน ... การท่ีมนุษย์มีส่วนร่วมบางประการในอาํนาจปกครองของ

พระเจา้นั้น ก็ยงัมีการปรากฏชดัในการท่ีมนุษยมี์ความรับผิดชอบในชีวิตของตน โดยเฉพาะใน

ฐานะท่ีเป็นชีวติของมนุษยท่ี์พระเจา้ทรงสร้าง (John Paul II, 1995: 42–43)

3.2.3.3 ความสมัพนัธ์ของเสรีภาพกบัความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้นในรูปแบบของการ

เสียสละเพ่ือผูอ่ื้น

นอกจากการใช้เสรีภาพด้วยความรับผิดชอบต่อชีวิตของตนเองแล้ว

พระองค์ยงัทรงเรียกร้องให้ใชเ้สรีภาพโดยคาํนึงถึงผูอ่ื้นดว้ย นั ่นก็คือ “เสรีภาพตอ้งมีมิติท่ีเก่ียวขอ้ง

สัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น” (John Paul II, 1995: 19) “เราตอ้งรับผิดชอบต่อพ่ีน้องของเรา ดงัท่ีเรารับผิดชอบต่อ

ตนเอง” (John Paul II, 1995: 40) ดว้ยการยอมรับว่าผูอ่ื้นก็เป็นมนุษยท่ี์มีเสรีภาพเหมือนกบัตวัเรา และ

ยอมรับว่าผูอ่ื้นก็เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้เช่นเดียวกบัเรา ดงันั้น เสรีภาพจึงไม่ใช่การปิดตวัเอง หรือการ

ตดัสินใจเลือกเพ่ือตวัเองเท่านั้น แต่เสรีภาพตอ้งเป็นการเปิดตนเองสู่ผูอ่ื้น เป็นการมอง เห็นคุณค่าและ

ศกัด์ิศรีของผูอ่ื้น คนเราจึงมีหนา้ท่ีท่ีจะตอ้งปฏิบติัต่อผูอ่ื้นดว้ยความเคารพ ผูอ่ื้นไม่ใช่อุปสรรคต่อการใช้

เสรีภาพของเรา แต่กลบัช่วยให้เราเป็นตวัของตวัเอง และทาํให้เราเขา้ใจและใชเ้สรีภาพในทางท่ีถูกตอ้ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

115

สอดคลอ้งกบัความจริงของชีวิตมากข้ึน ดงัในเอกสาร Evangelium Vitae (1995) และ Letter to Families

(1994) ท่ีอธิบายว่า

พระเจา้ประทานชีวติแก่มนุษยใ์หอ้ยู่ในความรับผิดชอบของเขา

ใหเ้อาใจใส่ดูแลมิใหใ้ชชี้วติตามใจชอบ แต่ให้รักษาดูแลชีวิตดว้ยความเฉลียวฉลาด (Wisdom)

และเอาใจใส่ดูแลดว้ยความรักอย่างซ่ือสัตย์ภกัดี เพ่ือให้เพ่ือนมนุษย์ดูแลซ่ึงกนัและกนัฉันท์พ่ี

นอ้งตามกฎการใหแ้ละการรับ กฎแห่งการอุทิศตนและยอมรับผูอ้ื่น (John Paul II, 1995 : 76)

เสรีภาพจึงเป็นการเสียสละตนเองใหผู้อ้ื่นหรือเป็นการใหต้วัเอง

แก่ผูอ้ื่น ยิ ่งกวา่นั้น การเสียสละตนเองเช่นน้ีจะตอ้งเกิดจากจิตสํานึกท่ีจะใหส่ิ้งดีแก่ผูอ้ื่นอย่างไม่

มีท่ีสิ้นสุด เพราะการให้มีคุณค่ามากกว่าการรับ และสร้างความสนิทสัมพนัธ์กบัทุกคน (John

Paul II, 1994: 14)

จากเร่ืองเสรีภาพท่ีกล่าวมาสามารถท่ีจะสรุปไดว้่า ถึงแมว้า่พระสนัตะปาปาฯ จะ

ใหค้วามสาํคญัแก่เสรีภาพ แต่พระองคก์็ไม่ใช่นกัคิดแนวเสรีนิยมท่ีเนน้ความสาํคญัของเสรีภาพในฐานะ

เป็นจุดหมายสูงสุดของชีวิตแต่เพียงจุดหมายเดียวเท่านั้น แต่ พระองคท์รงคิดว่า “เสรีภาพไม่ไดเ้ป็นจุดจบ

ในตวัเอง” แต่เป็นหนทางหรือเคร่ืองมือไปสู่การบรรลุจุดหมาย ดงันั้น “เสรีภาพเป็นเคร่ืองมือ (Means)

เพ่ือบรรลุความดีเท่ียงแท”้ และ “เสรีภาพจะทาํลายตวัของมนัเอง ถา้มนัเป็นไปในทิศทางตรงกนัขา้มกบั

ความจริงและความดี” (Dulles, 2003: 188)

3.3 บุคคลคอืผู้ที่มคีวามสัมพนัธ์กบัผู้อืน่ในการดําเนินชีวติในสังคม

พระสันตะปาปาฯ ทรงมีความคิดว่านอกเหนือจากการท่ีมนุษยมี์ความรู้สํานึกและมี

เสรีภาพแลว้ “มนุษยย์งัมีโครงสร้างตามธรรมชาติท่ีตอ้งอยู่ร่วมกนัในสังคม” (John Paul II, 1988: 40)

เน่ืองจากมนุษยเ์ป็นภวนัตท์างสงัคม ซ่ึงตอ้งอยู่ร่วมกนักบัผูอ่ื้นเพ่ือความอยู่รอดและเพื่อการพฒันาชีวิต

บุคคลจะพฒันาชีวิตของตนสู่ความสมบูรณ์ไดก้็ตอ้งอาศยัการอยูร่่วมกนัในสังคม การร่วมมือกนัในการ

พฒันาชีวิตของกนัและกนัสู่ความสมบูรณ์ท่ีแทจ้ริงของชีวิต พระสันตะปาปาฯ ทรงคิดว่าบุคคลพฒันา

ชีวิตของตน โดยอาศยัการเป็นส่วนหน่ึงของสงัคม ไม่ใช่ดว้ยการใชก้าํลงัหรือความรุนแรง แต่ดว้ยการ

เสวนา อยา่งจริงใจและดว้ยความเคารพซ่ึงกนัและกนั ดงัในเอกสาร Familiaris Consortio (1981) ของ

พระสนัตะปาปาฯ ท่ีกล่าวว่า

ในการเป็นบุคคลน้ีจะตอ้งมีการติดต่อกบัผูอ้ื่น อุทิศตวัใหผู้อ้ื่นและในเวลาเดียวกนั

ก็ต้องรับการติดต่อสมาคมกับผู ้อื่นท่ีหยิบยื่นไมตรีจิตให้กับเรา เราจะเห็นได้ว่า ยิ ่งเรามี

ความสัมพนัธ์กบัผูอ้ื่นมากเพียงใด ชีวติของเราก็ยิ ่งมีคุณค่าเพิ่มมากข้ึนแค่นั้น แต่ถา้เรายิ ่งเก็บตวั

ไม่สัมพนัธ์กบัผูอ้ื่นมากเพียงใด ชีวติเราก็ดอ้ยคุณค่ามากเพียงนั้น (John Paul II, 1981: 10–11)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

116

การอธิบายเก่ียวกบัหวัขอ้บุคคลคือผูท่ี้มีความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้นในการดาํเนินชีวิตใน

สงัคม มีรายละเอียดดงัน้ี

3.3.1 ความหมายของ “ร่างกาย”

ในฐานะท่ีมนุษยมี์ธรรมชาติเป็นกายและจิตท่ีเป็นหน่ึงเดียวกนั ความสัมพนัธ์

ระหว่างบุคคลจึงตอ้งมีองคป์ระกอบทั้งสองมาเก่ียวขอ้งดว้ย ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีมีร่างกาย จึงมี

การติดต่อส่ือสารกบัผูอ่ื้นท่ีมีร่างกายเช่นเดียวกนั ดงันั้นการติดต่อสร้างสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้นจึงเป็นการอาศยั

ร่างกายทั้ งของตัวเองและผูอ่ื้น ในฐานะเป็นตัวแทนหรือเป็นเคร่ืองมือท่ีจาํเป็นในการติดต่อสร้าง

ความสมัพนัธ ์ ดงัในเอกสาร Familiaris Consortio (1981) ท่ีอธิบายว่า

ความสัมพนัธ์ท่ีฉันมีกบัสรรพส่ิงในจกัรวาลและกับคนอื่น ๆ ตอ้งอาศัย

ร่างกายซ่ึงอยู่ในเวลาและสถานท่ี ร่างกายเป็นตวัแทนของความเป็นบุคคลท่ีคนอื่นสังเกตเห็นได ้

กายพูดได ้กระทาํได ้มองได ้เดินไปหาคนอื่นหรือเดินจากไปได ้(John Paul II, 1981: 10)

3.3.2 ความสัมพนัธ์กบัคนอืน่เป็นคุณค่าทางจติใจ

พระสันตะปาปาฯ ทรงมีแนวคิดเช่นเดียวกับนักปรัชญาบุคคลนิยมท่ีให้

ความสําคัญกับการสร้างความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น ดังท่ีพระองค์ทรงกล่าวไวว้่า “ความเป็นบุคคลอยู่ท่ี

ความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้น” (John Paul II, 1981: 10) นอกจากน้ีพระองคท์รงอา้งพระบญัญติัประการท่ีห้าท่ีว่า

“อย่าฆ่าคน” (Exodus/ อพย 20: 13) มาเป็นตวัอย่าง เพ่ืออธิบายความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคลว่าไม่ไดมี้

ความหมายเพียงแค่การไม่ฆ่า หรือทาํลายหรือเบียดเบียนชีวิตตนเองและคนอ่ืนเท่านั้ น แต่ยงัทรง

เรียกร้องให้เรา “ไดป้กป้องชีวิตและส่งเสริมศกัด์ิศรีของผูอ่ื้นดว้ย” (John Paul II, 1995: 48) และ “ทรง

เรียกร้องใหเ้ราใชชี้วิตร่วมกบัผูอ่ื้นและเสียสละเพ่ือผูอ่ื้น” (John Paul II, 1988: 40) ดงันั้น ความสัมพนัธ์

ระหว่างบุคคลจึงไม่ไดจ้บเพียงแค่ระดบัร่างกายเท่านั้น แต่ยงัรวมไปถึงระดบัของจิตใจอีกดว้ย ดงัท่ีทรง

อธิบายว่า “ระดบัความสมัพนัธใ์นการติดต่อกบัคนอ่ืนไม่ไดอ้ยูแ่ค่ระดบัร่างกายเท่านั้น... ร่างกายแมเ้ป็น

เคร่ืองมือท่ีจาํเป็นในการติดต่อกบัคนอ่ืน แต่ไม่ไดเ้ป็นครบทุกอยา่ง” (John Paul II, 1981: 10)

ดงันั้น ความหมายท่ีแทจ้ริงของความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคลก็คือ ความสัมพนัธ์

ดา้นจิตใจ ในฐานะท่ีทุกคนเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ดว้ยการอธิบายดงัต่อไปน้ี

3.3.2.1 บุคคลมีความเท่าเทียมกนัในการมีชีวติและไดรั้บการพฒันาชีวิต

ในเอกสาร Letter to Families (1994) พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่าตั้ งแต่

แรกเร่ิม พระเจา้ทรงสร้างมนุษยใ์ห้เป็นชายและหญิง ทั้งคู่เป็นบุคคลเท่าเทียมกนั ทุกคนมีสิทธิท่ีจะมี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

117

ชีวิต ความเท่าเทียมกนัของบุคคลน้ี เรียกร้องใหม้นุษยมี์ความเคารพต่อบุคคลตั้งแต่เร่ิมตน้ปฏิสนธิ ดงัใน

เอกสาร Evangelium Vitae (1995) ท่ีว่า

มนุษยจ์ะตอ้งไดรั้บความเคารพและปฏิบติัต่อเขาในฐานะท่ีเป็น

บุคคลนบัตั้งแต่วนิาทีแรกของการปฏิสนธิ เพราะฉะนั้น นบัตั้งแต่เวลานั้นเองผูอ้ื่นจะตอ้ง

ยอมรับสิทธิของเขาในฐานะท่ีเป็นบุคคล สิทธิแรกท่ีจะตอ้งยอมรับนั้นคือ สิทธิท่ีไม่อาจล่วง

ละเมิดชีวติท่ีบริสุทธ์ิของมนุษยทุ์กคน (John Paul II, 1995: 60)

นอกจากนั้ นมนุษย์ย ังมีศัก ด์ิศรี พ้ืนฐานเท่าเทียมกันในฐานะเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ท่ีตอ้งไดรั้บความเคารพ ปกป้อง ส่งเสริมให้พฒันาชีวิตสู่ความสมบูรณ์ ดงัใน

เอกสาร Evangelium Vitae (1995) ท่ีอธิบายว่า

มนุษยทุ์กคนมีสิทธิเท่าเทียมกบัผูอ้ื่นในเร่ืองสิทธิท่ีจะมีชีวิต

ความเสมอภาคน้ีเป็นพ้ืนฐานของความสัมพนัธ์แทจ้ริงทุกประการในสังคม ซ่ึงความสัมพนัธ์น้ี

ตอ้งอยู่บนพ้ืนฐานของความจริงและความชอบธรรม ซ่ึงทุกคนจะตอ้งรับรู้และปกป้องมนุษย์

ทุกคนทั้งชายและหญิงในฐานะท่ีเป็นบุคคล ไม่ใช่วตัถุท่ีใครจะจดัการอย่างไรก็ไดต้ามความ

พอใจ... โดยไม่มีขอ้ยกเวน้หรืออนุญาตใหผู้ห้น่ึงผูใ้ดมีอภิสิทธ์ิ (ท่ีจะจดัการชีวิตของผูอ้ื่นตาม

ความพอใจของตนเอง) ไม่วา่ผูน้ ั้นจะเป็นผูมี้อาํนาจในโลกหรือเป็นผูย้ากจนท่ีสุด เพราะคนเรา

ทุกคนเท่าเทียมกนั (John Paul II, 1995: 57)

เราทุกคนมีหนา้ท่ีในการรักเพ่ือนมนุษยด์ว้ยกนัดว้ยการรับรอง

วา่ ชีวติของเพ่ือนมนุษยต์อ้งไดรั้บการปกป้องและส่งเสริมอยู่เสมอ โดยเฉพาะเวลาท่ีชีวิตของ

เขาอ่อนแอหรือถูกคุกคาม หนา้ท่ีน้ีไม่เป็นเพียงการกระทาํส่วนตวัเท่านั้น แต่ยงัเป็นการกระทาํ

ส่วนรวมท่ีทุกคนตอ้งร่วมมือช่วยเหลือกนั ทุกคนจะตอ้งสนใจอย่างไม่มีเง่ือนไขท่ีจะให้ความ

เคารพต่อชีวิตมนุษย์ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของสังคมปัจจุบนัท่ีปฏิรูปใหม่ (Renewed society) (John

Paul II, 1995: 77)

3.3.2.2 บุคคลเป็นผูมี้บุคลิกภาพของแต่ละบุคคล

นอกจากจะอธิบายพ้ืนฐานของบุคคลว่ามีความเท่าเทียมกนั ในฐานะเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้แลว้ พระสนัตะปาปาฯ ยงัทรงใหค้วามสาํคญัแก่บุคลิกภาพซ่ึงเป็นลกัษณะเฉพาะ

ของบุคคลอีกดว้ย “มนุษยท่ี์มีอยูจ่ริงอยา่งเป็นรูปธรรมในประวติัศาสตร์นั้นจะมี ลกัษณะเฉพาะท่ีเป็น

“เอกลกัษณ์” ของแต่ละบุคคลท่ีไม่ซํ้ ากนัสกัคน” (John Paul II, 1979: 13) ดงัในเอกสาร Redemptor

Hominis (1979) ท่ีอธิบายว่า

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

118

ในการดาํรงชีวติอยู่นั้น มนุษย์ผูป้ระกอบกิจการ ใช้สติปัญญา

เจตจาํนง มโนธรรมและจิตใจย่อมไม่มีใครทาํเหมือนกันเลยเพราะมนุษย์แต่ละคนย่อมมี

ประวติัศาสตร์ส่วนตวัเก่ียวกบัชีวติของตน (John Paul II, 1979: 14)

3.3.2.3 บุคคลตอ้งมีความสมัพนัธก์นัและกนัระหว่างบุคคล

นอกจากการท่ีบุคคลจะมีสิทธิท่ีจะมีชีวิตและไดรั้บการพฒันาชีวิตเท่า

เทียมกนั ซ่ึงไม่เพียงการไม่ทาํลายกนัเท่านั้น แต่ยงัตอ้งส่งเสริมชีวิตของกนัและกนัอีกดว้ย และการท่ี

บุคคลมีรูปแบบชีวิตอนัเป็นเอกลกัษณ์เฉพาะของตนเองแลว้ พระสนัตะปาปาฯ ยงัทางเนน้ความจาํเป็น

ของการท่ีบุคคลตอ้งมีความสมัพนัธซ่ึ์งกนัและกนัเป็นอยา่งดี พระองคท์รงอธิบายเร่ืองน้ีอยา่งละเอียด

โดยยกพระบญัญติั “อยา่ฆ่าคน” ในพนัธสญัญาเดิมมาเช่ือมโยงเขา้กบัคาํสอนของพระเยซูเจา้ในพนัธ

สญัญาใหม่ไดอ้ยา่งลงตวัว่า “ไม่เพียงท่ีมนุษยจ์ะตอ้งปฏิบติัตามบทพระบญัญติัอยา่ฆ่าชีวิตมนุษยเ์ท่านั้น

แต่มนุษยจ์ะตอ้งเคารพ รักและสนบัสนุน ชีวติโดยส่วนรวมดว้ย” (John Paul II, 1995: 51) ดงันั้น

“บทบญัญติั “อยา่ฆ่าคน” ... และบทบญัญติัอ่ืน ๆ รวมกนัเป็นขอ้ความท่ีว่า จงรักเพ่ือนมนุษยเ์หมือนรัก

ตนเอง” (John Paul II, 1995: 54) ดงัท่ีพระองคท์รงอธิบายใน Evangelium Vitae (1995) ว่า

องค์ประกอบท่ีลึกซ้ึงท่ีสุดของบทบญัญติัของพระเจา้เก่ียวกับ

การปกป้องชีวติมนุษย ์คือ การเรียกร้องใหแ้สดงความเคารพและความรักต่อมนุษยแ์ต่ละคน...

ชีวิตของเราเองและผู ้อื่น เป็นส่ิงท่ีล่วงละเมิดไม่ได้ เพราะชีวิตเป็นของพระเจ้า เป็นทั้ ง

กรรมสิทธ์ิและของประทานของพระเจา้... จงให้ความเคารพต่อชีวิตท่ีจะละเมิดไม่ไดท้ั้งกาย

และใจ เพ่ือดาํรงศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษยอ์ย่างหนกัแน่น (John Paul II, 1995: 40-40)

ดงันั้น พ้ืนฐานของความสัมพนัธ์ของบุคคลในสังคม จึงไม่ใช่แค่ “การ

หา้ม” (ไม่ใหเ้บียดเบียน ไม่ทาํให้คนอ่ืนเดือดร้อน) แต่ตอ้งมี “การกระทาํ” ท่ีมีพ้ืนฐานของการเคารพ

บุคคลในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้อีกดว้ย ดงันั้น นอกจากหา้มเบียดเบียนชีวิตมนุษยทุ์กรูปแบบ

แลว้ ความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคลในสงัคมยงัเรียกร้องใหค้นเรามีการกระทาํอนัแสดงออกถึงการเอาใจใส่

ในชีวิตของผูอ่ื้นรวมทั้งศตัรูของตนเองดว้ย และการดาํรงชีวิตท่ีพร้อมท่ีจะใหแ้ละรับซ่ึงกนัและกนัเพ่ือให้

เป็นประโยชน์ต่อการพฒันาชีวิตของกนัและกนัสู่ความสมบูรณ์ ดงัท่ีพระองคว์่า

คุณลกัษณะเฉพาะของความสัมพนัธ์กบัผูอ้ืน่ตามแนวคิดบุคคลนิยม

คือการหวงัวา่ตนเองจะมีประโยชน์ต่อชีวติผูอ้ืน่ ทาํใหต้นเองเป็นของขวญัสําหรับคนอื่นและจะ

ไดพ้บความสุขในการเสียสละตนเองเพ่ือผูอ้ืน่ (John Paul II, 1994: 14)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

119

มนุษยไ์ม่ใช่เป็นเพียงปัจเจกบุคคลท่ีอยู่ในหมู่บุคคลอื่น ๆ เหมือน

เป็นเพียงเมลด็ขา้วเมด็หน่ึงในกองขา้วทั้งกองเท่านั้น แต่เป็นบุคคลผูท้รงพลงัท่ีเป่ียมดว้ยเกียรติ

และความรับผิดชอบท่ีไม่เหมือนใคร มนุษยมี์ความสํานึกในการอุทิศตวัใหแ้ก่ผูอ้ื่นและยงัเป็น

อิสระท่ีจะรับการอุทิศตวัจากผูอ้ื่นดว้ย (John Paul II, 1981: 11)

3.3.3 ความสําคญัของครอบครัวต่อการดํารงชีวติและการพฒันาชีวติมนุษย์

พระสนัตะปาปาฯ ทรงอธิบายความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น โดยให้ความสาํคญัต่อการ

ปลกูฝังและเสริมสร้างท่าทีของความสัมพนัธ์ต่อผูอ่ื้นบนพ้ืนฐานของครอบครัว ทรงอธิบายในเอกสาร

Familiaris Consortio ในปี 1981 ดว้ยการย ํ้ าถึงความสาํคญัของครอบครัวในฐานะเป็นการปลกูฝังคุณค่าท่ี

ถกูตอ้งแก่บุคคล ทรงย ํ้ าว่าการดาํเนินชีวิตและการพฒันาชีวิตตอ้งมีเร่ิมตน้จากครอบครัว ซ่ึงมีพ้ืนฐาน

จากความรักและการมอบชีวิตให้แก่กนัและกนั ดงัท่ีพระองค์กล่าวว่า “ความรักฉันสามีภรรยาเป็นการ

อุทิศตวัท่ีบุคคล 2 บุคคลมอบให้แก่กนัและกนั” (John Paul II, 1981: 20) ครอบครัวช่วยปลูกฝังและ

เสริมท่าทีของการมีความสมัพนัธ์กบับุคคลอ่ืนอย่างถูกตอ้ง (John Paul II, 1981: 15) โดยเฉพาะในเร่ือง

เก่ียวข้องกับทัศนะหรือเจตคติเ ก่ียวกับคุณค่า ศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ อันเป็นพ้ืนฐานของ

ความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคล ดว้ยเหตุน้ี ครอบครัวจึงเป็นพ้ืนฐานของการดาํรงชีวิตและการพฒันาชีวิต

ในฐานะท่ีครอบครัวเป็นการเร่ิมตน้ของการสร้างชุมชนมนุษย ์ การอบรมปลูกฝังการดาํเนินชีวิต การ

พฒันาชีวิตและสงัคม

3.3.3.1 ครอบครัวเป็นจุดเร่ิมตน้ของการดาํรงชีวิตและการพฒันาชีวิต

พระสันตะปาปาฯ ทรงให้ความสําคัญต่อภารกิจและบทบาทของ

ครอบครัวในฐานะเป็นสถาบนัอนัเป็นพ้ืนฐานของชุมชน/สงัคม ครอบครัวจึงมีความสาํคญัต่อการเร่ิมตน้

“ชีวิตหมู่คณะ” ทรงใหนิ้ยามว่าครอบครัว หมายถึง “กลุ่มท่ีรวมของชีวิตและความรักอนัลึกซ้ึง” (John

Paul II, 1981: 17) ดว้ยเหตุน้ี ครอบครัวตอ้งมีความรักและการอุทิศตนแก่กนัและกนัเป็นรากฐาน ดงัท่ี

ทรงอธิบายว่า

สถาบนัครอบครัวไดรั้บการก่อตั้งดว้ยความรักและดาํรงชีวติอยู่

ไดด้ว้ยความรัก เป็นกลุ่มบุคคลท่ีประกอบดว้ยสามีภรรยา พ่อแม่และลูก ญาติพ่ีน้อง หน้าท่ี

อนัดบัแรกของครอบครัวคือการดาํเนินชีวติตามความสัมพนัธ์อย่างถ่องแท ้โดยพยายามเสมอ

วา่จะส่งเสริมความสนิทสนมอนัแทจ้ริงระหวา่งบุคคล บทบาทน้ีมีความรักเป็นหลกัการ เป็น

พลงัถาวร และเป็นเป้าหมาย ถา้ปราศจากความรัก ครอบครัวก็จะไม่เป็นกลุ่มบุคคล และใน

ทาํนองเดียวกนั ถา้ปราศจากความรักครอบครัวก็จะไม่สามารถดาํเนินชีวิตให้เจริญก้าวหน้า

และบรรลุถึงความสมบูรณ์ในฐานะท่ีเป็นกลุ่มบุคคลได ้ (John Paul II, 1981: 18)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

120

ดงันั้น ครอบครัวจึงเป็น “หมู่คณะแรก” ท่ีช่วยปลูกฝังความเป็นมนุษย ์

ใหส้มาชิกในครองครัวไดบ้รรลุถึงความเป็นอิสรเสรีควบคู่ไปกบัจิตสาํนึกรับผดิชอบในตวัเอง ดว้ยเหตุน้ี

พระสันตะปาปาฯ จึงเรียกร้องให้ครอบครัวทาํหน้าท่ีสมกบับทบาทและภารกิจ ทาํให้เขามี ครอบครัว

นอกจากจะพบเอกลกัษณ์ของตน คือ ส่ิงท่ี “เป็น” แลว้ ยงัพบภารกิจคือ ส่ิงท่ีครอบครัวสามารถ “ทาํ” และ

“ควรทาํ” (John Paul II, 1981: 17) สมาชิกแต่ละคนจึงตอ้งมีบทบาทและทาํหน้าท่ีของตนอย่างอุทิศตน

ในการเสริมสร้างชีวิตของกนัและกนั โดยเฉพาะอยา่งยิง่ “การยอมรับรองเด็กท่ีเพิ่งเกิดมา การให้ความ

รักต่อเขา การเทิดเกียรติเขา การดูแลเขาในหลายๆ รูปแบบ ซ่ึงรวมเป็นเป้าหมายอนัเดียวกนั เช่น ในดา้น

ปัจจยั จิตใจ การศึกษาอบรม และดา้นจิตวิญญาณ” (John Paul II, 1981: 26) สังคม/รัฐ ตอ้งร่วมส่งเสริม

และสนบัสนุนใหค้รอบครัวไดป้ฏิบติัหนา้ท่ีใหบ้รรลุผลสาํเร็จ โดยเฉพาะในเร่ืองท่ีครอบครัวไม่สามารถ

ดาํเนินการไดเ้อง เป็นตน้ในเร่ืองท่ีเก่ียวขอ้งกบัการศึกษาของบุตร (John Paul II, 1981: 40) เพ่ือใหทุ้กคน

ไดมี้ทศันะ/เจตคติท่ีถกูตอ้งต่อคุณค่าพ้ืนฐานและศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

3.3.3.2 ครอบครัว เป็นพ้ืนฐานของการพฒันาชีวิตและสงัคม

พระสันตะปาปาฯ ทรงอธิบายว่าการพฒันาชีวิตมนุษย ์ต้องเร่ิมต้นท่ี

ครอบครัว ๆ เป็นหน่วยแรกและเป็นหน่วยสาํคญัท่ีส่งเสริมชีวิตสงัคม ดงัท่ีทรงสอนว่า

ครอบครัวและสังคมเช่ือมโยงกนัตามระบบของโครงสร้างท่ีทรง

ชีวติ เน่ืองจากครอบครัวเป็นรากฐานของสังคมและเป็นผูบ้าํรุงเลี้ยงสังคมมิหยุดย ั้ง อาศยัภารกิจ

การอุทิศตวัรับใชชี้วติ ครอบครัวเป็นรังเกิดของพลเมืองและเป็นโรงเรียนแห่งแรกท่ีสอนให้เขา

เรียนรู้ค่านิยมต่างๆ ซ่ึงเปรียบเสมือน “วิญญาณ” ของชีวิตและการพฒันาสังคม (John Paul II,

1981: 42)

ดว้ยเหตุน้ี ครอบครัวจึงไม่ควรปิดขงัตวัเองไวเ้ฉพาะแต่ในขอบเขตของ

ตน แต่ตอ้งขยายวงใหไ้ปถึงครอบครัวอ่ืนและสงัคมทัว่ไป เม่ือนั้นครอบครัวจึงจะนบัไดว้่าปฏิบติับทบาท

ของตนต่อสงัคม อยา่งไรก็ตาม ส่ิงท่ีพระสนัตะปาปาฯ ทรงใหค้วามสาํคญัเป็นพิเศษ คือ คุณค่าทางจิตใจ

อนัเป็นเร่ืองของจิตตารมยแ์ห่งความสมัพนัธแ์ละการมีส่วนร่วมชีวิตกบัคนอ่ืน ซ่ึงครอบครัวตอ้งมีบทบาท

ในการเสริมสร้างจิตตารมยด์งักล่าว ดงัท่ีทรงสอนว่า

การฝึกจิตตารมย์แห่งความสัมพนัธ์และการมีส่วนร่วมกบัคน

อื่นนั้น ควรจะเป็นลกัษณะเฉพาะของการดาํเนินชีวติประจาํวนัในครอบครัว การฝึกแบบน้ีเป็น

ผลประโยชน์สําคญัขั้นพ้ืนฐานซ่ึงในครอบครัวจะสามารถสร้างให้แก่สังคมไดค้วามสัมพนัธ์

ระหวา่งสมาชิกผูด้าํเนินชีวติร่วมกนัในครอบครัว มีแรงจูงใจและบรรทดัฐานคือ “ความยินดีให”้

หรือพูดอีกนยัหน่ึงคือการเคารพและส่งเสริมศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของทุกคนและของแต่ละ

คน ซ่ึงศกัด์ิศรีน้ีเป็นพ้ืนฐานเดียวแห่งคุณค่าของคน บรรทดัฐานดงักล่าวค่อยๆ ส่งเสริมคุณค่าอกี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

121

หลายประการ เช่น การยอมรับกนัดว้ยจิตใจท่ีอบอุ่น การพบปะเสวนากนั การชอบพอกนัโดย

ปราศจากความเห็นแก่ตวั การรับใช้ซ่ึงกนัและกนัดว้ยใจเอื้อเฟ้ือ ตลอดจนความปรองดองกนั

(John Paul II, 1981: 43)

ครอบครัวจึงมีความสําคญัอย่างยิ ่งต่อการดาํรงอยู่และการพฒันาชีวิต

การพฒันาชีวิตตอ้งเร่ิมต้นจากการปลูกฝังและเสริมสร้างคุณค่าของความเป็นมนุษยแ์ก่สมาชิก บน

พ้ืนฐานของความรักและการอุทิศตนแก่กนัและกนัอย่างลึกซ้ึง เพ่ือเสริมสร้างให้สมาชิกในครอบครัวมี

วุฒิภาวะในการมีความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคล ครอบครัวจึงเป็นทั้ งและเคร่ืองกระตุน้ให้เกิดความสนิท

กนัอยา่งกวา้งขวางในชุมชมดว้ย โดยมีการใหเ้กียรติแก่กนั การมีใจเท่ียงธรรม การเสวนาและความรักกนั

และกนั เป็นลกัษณะเด่นของความสนิทสนมเหล่านั้น

ดงันั้น ครอบครัวจึงมีความสาํคญัอยา่งยิง่ต่อการพฒันาชีวิต ทั้งการให้กาํเนิดชีวิต

การอบรมปลกูฝังใหส้มาชิกในครอบครัวมีท่าทีหรือเจตคติท่ีถกูตอ้งต่อคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ซ่ึง

เป็นพ้ืนฐานท่ีจาํเป็นสาํหรับการดาํเนินชีวิตในสังคม เพ่ือให้สมาชิกมีในครอบครัวมีวุฒิภาวะในการมี

ความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคลในสังคม รวมทั้ งการอุทิศตนแก่สังคมในรูปแบบของกิจกรรมสาธารณะ

ประโยชน์ในหลายๆ รูปแบบโดยเฉพาะอย่างยิ ่งกิจกรรมเพื่อคนยากจนและกิจกรรมเพ่ือประชาชน

ตลอดจนกรณีอ่ืนๆ มากมายท่ีองค์การสังคมสงเคราะห์หรือองค์การป้องกนัภยัสังคมยื่นมือเขา้ไปไม่ถึง

การท่ีครอบครัวมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสงัคมนั้น มีคุณค่าเป็นพิเศษซ่ึงควรเผยแพร่ให้เป็นท่ีรู้จกัมาก

ข้ึนและส่งเสริมกนัอย่างจริงจงัข้ึน เป็นตน้ว่า ในระยะเวลาท่ีลูกๆ กาํลงัเจริญเติบโตเพ่ือให้สมาชิกใน

ครอบครัวทุกคนมีโอกาสร่วมมือในการช่วยเหลือสงัคมเท่าท่ีจะทาํได ้ (John Paul II, 1981: 44)

3.3.4 บุคคลกบัวฒันธรรม

บุคคลมีการพฒันาบุคลิกของตนทีละเลก็ทีละนอ้ยโดยอาศยัประสบการณ์และการ

ตดัสินใจ และยิง่กวา่นั้น ในฐานะท่ีมนุษยมี์ลกัษณะตามธรรมชาติท่ีตอ้งอยูร่่วมกบัคนอ่ืนในสงัคม จึง

จาํเป็นตอ้งใชเ้วลาและสถาบนัทางสงัคมเพ่ือพฒันาตนเอง ดงันั้น บุคคลตอ้งไดรั้บการอบรมและการขดั

เกลาจากหมู่คณะ สงัคมจึงมีส่วนร่วมใหมี้ความรู้และมีแนวทางเพ่ือการพฒันาบุคลิกภาพของตนเอง

พระองคท์รงนาํคาํสอนจากสภาสงัคายนาวาติกนัคร้ังท่ี 2 โดยเฉพาะเอกสาร Gaudium et Spes (1965) ท่ี

พระสนัตะปาปาปอลท่ี 6 (Pope Paul XI, ดาํรงตาํแหน่ง 1963–1978) ไดท้รงประกาศรับรองใน ค.ศ.

1965 มาผสานกบัแนวคิดบุคคลนิยมท่ีพระองคท์รงยดึ โดยใหค้วามสาํคญัเป็นพิเศษแก่ส่วนประกอบ

ชีวิตของความเป็นบุคคลอยา่งหน่ึงซ่ึงขาดไม่ได ้นัน่คือ ประวติัศาสตร์ “อนัหมายถึงสภาพท่ีเป็นมรดกตก

ทอดมาจากอดีต สภาพปัจจุบนัและศกัยภาพในอนาคตของบุคคลนั้น” (John Paul II, 1981: 13) ในฐานะ

ท่ีมนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีมีชีวติในสงัคมท่ีมีประวติัศาสตร์และมีวฒันธรรมท่ีหล่อหลอมและขดัเกลาชีวิตของ

เขา คาํสอนน้ีอธิบายในรายละเอียด ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

122

3.3.4.1 วฒันธรรมเป็นส่ิงท่ีทาํใหม้นุษยต่์างจากสตัวอ่ื์น

ส่ิงหน่ึงท่ีทาํใหม้นุษยแ์ตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ คือ “วฒันธรรม” มีแต่

มนุษยเ์ท่านั้นท่ีมีวฒันธรรม ส่วนพืชและสตัวมี์แต่ชีวิตเท่านั้นแต่ไม่มีวฒันธรรม ดงันั้น “วฒันธรรมจึง

เป็นวิถีชีวิตแบบเฉพาะในสงัคมนั้น ๆ เพ่ือบุคคลจะไดมี้การดาํรงชีวิตอยูอ่ยา่งเขา้อกเขา้ใจซ่ึงกนัและกนั”

(John Paul II, n.d.: 189 cited in Dulles, 2003: 155)

3.3.4.2 วฒันธรรมเป็นส่ิงท่ีมนุษยส์ร้างข้ึน เพ่ือพฒันาบุคคล

พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่าวฒันธรรมเป็น “ส่ิงท่ีมนุษยส์ร้างข้ึนเพ่ือตวั

มนุษยเ์อง เพ่ือช่วยพฒันามนุษยใ์นฐานะท่ีช่วยใหม้นุษยมี์ความเจริญกา้วหนา้ในทางท่ีดี” (John Paul II,

1982: 28 cited Dulles, 2003: 155 ) วฒันธรรมเป็นวิถีชีวิตอนัเป็นมรดกตกทอดจากชนรุ่นหน่ึงสู่อีกรุ่น

หน่ึง เพ่ือหล่อหลอมบุคคลในสงัคมสู่การมีชีวิตท่ีดีและสมบูรณ์ยิง่ข้ึน พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่า

“วฒันธรรมตอ้งมีพ้ืนฐานมาจากความเป็นจริงท่ีเก่ียวขอ้งกบัชีวิตมนุษย”์ (John Paul II, 1993: 267 cited in

Dulles, 2003: 156) และวฒันธรรมท่ีไม่คาํนึงถึงมิติของชีวิตใหค้รบทั้งดา้นท่ีเป็นวตัถุและจิตใจเป็น

“วฒันธรรมจอมปลอม” (John Paul II, 1991: 24) ดงันั้น พระองคจึ์งทรงมีความคิดว่า

ธรรมชาติมนุษยท่ี์แทจ้ริงตามหลกัการของศาสนาเป็นหลกัการ

และเป็นเง่ือนไขของวฒันธรรม มนุษย์ไม่ใช่ทาสของวฒันธรรม แต่วฒันธรรมจะต้อง

สอดคลอ้งกบัศกัด์ิศรีของความเป็นบุคคลท่ีดาํเนินชีวติไปตามความจริงสูงสุดของมนุษย์ (John

Paul II, 1993: 53)

อยา่งไรก็ตามพระสนัตะปาปาฯ ไม่ไดท้รงปฏิเสธหรือต่อตา้นวฒันธรรม

ใหม่ ๆ ท่ีแสดงถึงความเจริญกา้วหนา้ทางดา้นวตัถุของมนุษย ์ เพราะพระองคช่ื์นชมกบัความกา้วหนา้ของ

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี แต่ในขณะเดียวกนั พระองคก์็ไม่ทรงเห็นดว้ยกบัความเจริญของเทคโนโลยี

ท่ีทาํใหม้นุษยต์กเป็นทาสของระบบสสารนิยมและลดคุณค่าฝ่ายจิตใจลง พระองคท์รงเตือนใหม้นุษย์

พิจารณามิติของชีวิตใหค้รบทุกดา้น เพราะวฒันธรรมมีไวเ้พ่ือบุคคล บุคคลไม่ไดมี้ไวเ้พ่ือวฒันธรรม

ดงันั้น จึงสรุปไดว้่า พระสนัตะปาปาฯ ทรงเห็นดว้ยกบัแนวคิดเร่ืองความสมัพนัธก์บั

ผูอ่ื้นตามแนวปรัชญาบุคคลนิยมท่ีใหค้วามสาํคญัต่อการดาํเนินชีวิตร่วมกนัเป็นหมู่คณะในฐานะท่ีเป็น

บุคคลและมีความสมัพนัธก์นัแบบบุคคลต่อบุคคล การพฒันาชีวติตอ้งใหค้วามสาํคญัต่อการมีความ

สมัพนัธก์บัผูอ่ื้น เร่ิมตน้จากครอบครัว ชุมชน/สงัคม การดาํเนินชีวิตของมนุษยร่์วมกบัผูอ่ื้น ตอ้งมีลกัษณะ

เป็นการดาํเนินชีวิตแบบหมูค่ณะท่ีมุ่งส่งเสริมและพฒันามนุษยสู่์ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ยิง่ ๆ ข้ึน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

123

การพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

เอกสารทางการของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีเสนอแนวคิดเร่ืองการพฒันามนุษย์

ประกอบดว้ยเอกสารสาํคญัหา้เล่ม ไดแ้ก่ เอกสารพระผูไ้ถ่มนุษย ์ (Redemptor Hominis, 1979) พระ

เมตตาของพระเจา้ (Dives in Misericordia, 1980) การทาํงาน (Laborem Exercens, 1981) ความห่วงใย

เร่ืองสงัคม (Sollicitudo Rei Socialis, 1987) การเฉลิมฉลองปีท่ีหน่ึงร้อย (Centesimus Annus, 1991)

(Michael Miller J., 1996; สีลม ไชยเผอืก, 2002) ส่วนเอกสารอ่ืนๆ เป็นการขยายความ หรืออธิบาย

เพิ่มเติมในสาระ/ประเด็นท่ีพระองคท์รงนาํเสนอในเอกสารสาํคญัดงักล่าว สรุปสาระสาํคญัจากเอกสาร

ต่างๆ แบ่งเป็น 4 ประเด็นสาํคญั ไดแ้ก่ ความเป็นมา วิธีอธิบายและการวิเคราะห์ปรากฏการณ์การพฒันา

มนุษย ์ ความหมายการพฒันามนุษย ์ หลกัในการพิจารณาการพฒันามนุษย ์ และประเด็นสาํคญัในการ

ดาํเนินการพฒันามนุษย ์ โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

1. ความเป็นมา วธิอีธิบายโดยใช้การวเิคราะห์ปรากฏการณ์การพฒันามนุษย์

พระสนัตะปาปาฯ ทรงใหค้วามสาํคญัใน การอธิบายคุณค่า และความหมายของชีวิตมนุษย ์

เอกสารทางการของพระองค ์ เป็นการเสนอแนวคิดและคาํสอนท่ีเก่ียวขอ้งกบัปรากฏการณ์ชีวิตของมนุษย์

ร่วมสมยั ทรงยนืยนัคาํสอนคริสตศ์าสนาท่ีว่ามนุษยเ์ป็นส่ิงประเสริฐ มีศกัยภาพท่ีจะบรรลุถึงความจริง

เน่ืองจากพระเจา้ทรงสร้างใหเ้ป็นภาพลกัษณ์ของพระองค ์ (John Paul II, 1987: 29, 33) พระเจา้เอาใจ

ใส่มนุษยเ์ป็นพิเศษ เพ่ือใหม้นุษยมี์ชีวิตอยูใ่นโลกและมีความเป็นอยูเ่หมาะสมกบัศกัด์ิศรีน้ี (John Paul II,

1987: 47) ส่งผลใหพ้ระสนัตะปาปาฯ จึงใหค้วามสาํคญัต่อการอธิบาย “ความพิเศษ” ของมนุษย ์ การท่ี

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงใหค้วามสนใจต่อการอธิบายคุณค่า ความหมายของชีวิตมนุษยแ์ละ

การพฒันาชีวิตมนุษยโ์ดยการวิเคราะห์ปรากฏการณ์

1.1 ความเป็นมาและวธิีการอธิบายการพฒันามนุษย์

พระสนัตะปาปาฯทรงใหค้วามสนใจต่อการอธิบายคุณค่า ความหมายของชีวิตมนุษย์

และการพฒันามนุษย ์เน่ืองจาก

1.1.1 ความสนใจส่วนบุคคลของพระสันตะปาปาฯในการอธิบายมนุษยแ์นวมนุษย

นิยม ตามปรัชญาบุคคลนิยม ดว้ยการวิเคราะห์ปรากฏการณ์

1. การอธิบายคุณค่า ความหมายชีวิตเป็นความสนใจส่วนบุคคลของพระ

สนัตะปาปาฯ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

124

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงสนใจเป็นการส่วนบุคคลตั้งแต่ยงั

ไม่ไดด้าํรงตาํแหน่งพระสนัตะปาปา พระองคส์นใจแนวคิดมนุษยนิยม ซ่ึงเป็นแนวคิดท่ีเนน้มนุษยเ์ป็น

ศนูยก์ลางของความคิด มนุษยมี์ศกัยภาพท่ีจะรู้และมุ่งสู่ความจริงได ้ (Angeles, 1981: 116) ดงัท่ี

Schmiesing Kevin (2003) ไดศึ้กษาแนวคิดของพระองค ์ตั้งแต่ท่ียงัไม่ไดด้าํรงตาํแหน่งพระสนัตะปาปาฯ

โดยเสนอว่า คาโรล โจเซฟ วอยติวา (พระนามเดิมของพระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2) จดัเป็นหน่ึงใน

นกัปรัชญาบุคคลนิยม ซ่ึงมีพ้ืนฐานมาจากแนวคิดมนุษยนิยม โดยลกัษณะร่วมกนัของปรัชญาบุคคลนิยม

คือ ถือความเป็นบุคคลของมนุษยเ์ป็นจุดเร่ิมตน้ของปรัชญา ดงัท่ีพระองคท์รงกล่าวถึงอยา่งชดัเจน ใน

เอกสาร Redemptor Hominis (1979) ซ่ึงเป็นเอกสารฉบบัแรกแสดงจุดยนืของพระองค ์หลงัทรงไดรั้บ

การสถาปนาเป็นประมุขพระศาสนจกัรฯ พระองคต์รัสชดัเจนถึงการเสนอความคิดตามแนวมนุษยนิยม

ดว้ยวิธีการวิเคราะห์มนุษยเ์ชิงปรากฏการณ์ของพระองคว์่า “ขา้พเจา้ไม่พดูถึงมนุษยท่ี์เป็นนามธรรม แต่

พดูถึงมนุษยจ์ริง ๆ ท่ีเป็นรูปธรรมและมีอยูจ่ริงในประวติัศาสตร์ ขา้พเจา้พดูถึงมนุษยแ์ต่ละคน” (John

Paul II, 1979: 13)

เอกสารทางการต่างๆ ของพระองค ์ทรงเร่ิมตน้ดว้ยการตั้ งประเด็นคาํถามท่ี

เก่ียวขอ้งกับเหตุการณ์ในชีวิตจริง และหาคาํตอบโดยอาศยัเทววิทยา ปรัชญาและระเบียบต่าง ๆ ท่ี

เก่ียวขอ้งในประเด็นนั้น ๆ ทรงเน้นความพิเศษของมนุษยเ์หนือสรรพส่ิง มนุษยมี์ศกัยภาพท่ีจะรู้และ

บรรลุถึงความจริง เน่ืองจากเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ พระเจา้โปรดให้มนุษยมี์ศกัยภาพภายใน ไดแ้ก่

ความรู้สาํนึกและเสรีภาพ ท่ีจะพฒันาตนเอง ดว้ยการดาํเนินชีวิตร่วมกบัผูอ่ื้น ในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม

เพ่ือพฒันาชีวิตสู่ความบูรณ์ มนุษยมี์เสรีภาพในการตดัสินใจท่ีถูกตอ้งท่ีจะยืนอยู่ขา้งพระเจา้ คุณค่าและ

ความหมายแทจ้ริงของชีวิตอยู่ภายในตวัมนุษยเ์อง (Being) ไม่ใช่ส่ิงของภายนอกท่ีเขามี (Having) แต่

ไม่ไดเ้ป็นการปฏิเสธคุณค่าของส่ิงภายนอกท่ีมนุษยมี์ เน่ืองจากพระองค์ทรงคิดว่าการมีกรรมสิทธ์ิใน

ส่ิงของต่าง ๆ เป็นส่ิงท่ีจาํเป็นและถกูตอ้งในระดบัหน่ึง แต่คุณค่าของการเป็นมนุษยมี์ความสาํคญัยิ ่งกว่า

ส่ิงต่าง ๆ ท่ีมนุษยค์รอบครอง (John Paul II, 1991: 22, 30; 1987: 29, 33, 47; 1981: 13)

2. การอธิบายมนุษยด์ว้ยวิธีการเชิงปรากฏการณ์

เอกสารต่างๆ ท่ีพระองคน์าํเสนอ แสดงถึงการวิเคราะห์มนุษยด์ว้ยวิธีการเชิง

ปรากฏการณ์ (John Paul II, 1991: 22; 1981: 13; 1979: 12, 13) ซ่ึงเป็นวิธีการท่ีนักปรัชญาบุคคลนิยม

นาํมาใชใ้นการอธิบายมนุษย ์ตามแนวทางท่ี ฮุสเซิร์ล (Edmund Husserl, ค.ศ. 1859-1938) นักปรัชญา

ชาวเยอรมนั ไดเ้สนอวิธีการทางปรัชญาดว้ยการการศึกษาวิเคราะห์รูปแบบทั้งหมดของความรู้สาํนึกและ

ประสบการณ์โดยตรงของผูศึ้กษา ทั้งดา้นศาสนา ศีลธรรม สุนทรียศาสตร์ มโนภาพ ประสาทสัมผสั

เพราะจุดศูนยก์ลางของปรัชญาคือ การศึกษาความจริงของโลกและชีวิตมนุษย ์(Angeles, 1981: 210)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

125

โดยเฉพาะการวิเคราะห์มนุษยท่ี์ทรงนาํเสนอผ่านทางเอกสารของพระองค์ แสดงให้เห็นถึงความใส่ใจ

ส่วนบุคคลของพระองค์ ต่อการอธิบายมนุษยต์ามปรากฏการณ์/วิกฤติการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสังคมในสมณ

สมยัของพระองค์ แมจ้ะมีหลายปรากฏการณ์ท่ีแสดงให้เห็นถึงพฒันาการท่ีดีในการพฒันาชีวิตมนุษย ์

โดยเฉพาะความพยายามท่ีปรากฏใหเ้ห็นในสงัคม ผา่นทางกลุ่มบุคคลและองค์กรระดบัต่างๆ ท่ีพยายาม

ปลุกจิตสาํนึกและหาแนวปฏิบติัร่วมกนัในการพฒันาชีวิต บนพ้ืนฐานของหลกัสิทธิบุคคล รวมถึงความ

พยายามในการแกไ้ขปัญหาความรุนแรง ปัญหาความยากจน ปัญหาความขาดแคลนต่างๆ ในสังคม

รวมถึงการรณรงค์ในการบาํรุงรักษาความสมดุลของส่ิงแวดลอ้มตามระบบนิเวศวิทยา (John Paul II,

1991: 21, 27; 1987: 20, 26)

อย่างไรก็ตาม ปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสังคม ได้สะท้อนถึงปัญหาการ

พฒันามนุษยใ์นสงัคมท่ีขาดความสมดุล ละเลยคุณค่าความเป็นมนุษย ์ละเลยความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคล

และส่ิงแวดลอ้ม คาํสาํคญัท่ีพบเสมอในเอกสารของพระองค์ คือ ศกัด์ิศรีมนุษยก์บัสิทธิส่วนบุคคล ถือ

เป็นพ้ืนฐานของการอธิบายความหมายและแนวทางการพฒันาชีวิตมนุษย ์ให้การดาํรงชีวิตในโลกน้ีสม

กบัศกัด์ิศรีอนัล ํ้ าเลิศของมนุษยย์ิ ่งข้ึน ในทุกมิติเพ่ือทาํให้มนุษยด์าํเนินชีวิตสมกบัการเป็นมนุษยย์ิง่ข้ึน

(John Paul II, 1995: 23; 1987: 13, 14; 1979: 13)

พระสันตะปาปาฯ วิเคราะห์ว่าสภาพสังคมปัจจุบันท่ีมนุษยชาติก ําลัง

เผชิญหนา้กบัยคุโลกาภิวตัน์ ตามกระแสบริโภคนิยม วตัถุนิยม ประโยชน์นิยม รวมถึงระบบเศรษฐกิจ

แบบทุนนิยมและสงัคมนิยม ท่ีพระสนัตะปาปาฯ ทรงเรียกกระแส/ค่านิยมเหล่าน้ีว่า “กระแส/ค่านิยมแห่ง

การทาํลายชีวิต” ซ่ึงเป็นค่านิยมท่ีลดทอนความเป็นมนุษยล์งเป็นเพียงวตัถุส่ิงของ มุ่งตอบสนองแต่เพียง

ความตอ้งการของร่างกายเท่านั้น ส่งผลใหส้งัคมประสบกบัภาวะวิกฤติทางดา้นจิตใจ โดยเฉพาะปัญหา

เร่ืองความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคลในสังคม ปัญหาชีวิตครอบครัว และปัญหาการทาํลายธรรมชาติ

ส่ิงแวดลอ้มอยา่งมากมาย โดยพระสนัตะปาปาฯ ทรงเชิญชวนใหร่้วมกนัเสริมสร้างวฒันธรรมท่ีปกป้อง

ชีวิตมนุษย ์ในฐานะท่ีชีวิตมนุษยเ์ป็นศูนยก์ลางของทุกกิจกรรมบนโลก (John Paul II, 1995: 23; 1987:

13, 14)

จึงกล่าวไดว้่า การท่ีพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงใหค้วามสาํคญัต่อ

การอธิบายมนุษยแ์ละการพฒันามนุษย ์ เป็นความสนใจส่วนบุคคลของพระองค ์ ท่ีสนบัสนุนและ

ดาํเนินการตามแนวทางของปรัชญาบุคคลนิยม (Personalism) กล่าวคือ ทรงใหค้วามสาํคญัต่อการอธิบาย

มนุษยว์า่มีศกัยภาพท่ีเขา้ใจและบรรลุถึงความจริงได ้ คุณลกัษณะท่ีสาํคญัของมนุษย ์ คือ การเป็นบุคคล ท่ี

สามารถพฒันาตนเองดว้ยการดาํเนินชีวติร่วมกบัผูอ่ื้น สอดคลอ้งกบั Schall James V. (1997) Conley

John J. (1993) Dulles Avery (1993) และ Michael Miller J. (1996) ไดว้ิเคราะห์เอกสารทางการของ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

126

พระสนัตะปาปาฯ และเสนอว่าแนวคิดของพระองค ์ มีลกัษณะเป็นแนวคิดมนุษยนิยม ตามแบบคาทอลิก

ทรงยนืยนัการวิเคราะห์มนุษยต์ามคาํสอนคริสตศาสนาโดยใชป้รัชญาบุคคลนิยม กล่าวคือ ทรงอธิบายว่า

มนุษยเ์ป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้างใหเ้ป็น “ภาพลกัษณ์” การท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ทาํให้

มนุษยมี์ลกัษณะพิเศษแตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ พระสนัตะปาปาฯ มีแนวคิดท่ีมองมนุษยใ์นฐานะท่ีเป็น

บุคคล เพราะมนุษยเ์ป็นตวัของตวัเองและมีศกัยภาพท่ีจะควบคุมตนเองได ้ และลกัษณะพื้นฐานอยา่ง

หน่ึงของมนุษยคื์อ การท่ีมนุษยส์ามารถมี (และตอ้งมี) ความสมัพนัธก์บัคนอ่ืนในแบบอุทิศตนเพ่ือผูอ่ื้น

เพ่ือจะไดรู้้จกัตนเองและพฒันาตนสู่การเป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ยิง่ ๆ ข้ึน สอดคลอ้งกบั Wills Susan E.

(1998) ท่ี เสนอความคิดว่าแนวคิดของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นแนวบุคคลนิยมแบบคริสต

ชน ซ่ึงเรียกร้องใหม้นุษยช่์วยกนัสร้างสงัคมในแบบท่ีใหค้วามเคารพและปกป้องศกัด์ิศรีและเสรีภาพของ

มนุษย ์ และช่วยกนัต่อสูก้บักระแสของการทาํลายชีวิต โดยมุ่งเสริมสร้างวฒันธรรมท่ีปกป้องชีวิตมนุษย ์

ในฐานะท่ีชีวิตมนุษยเ์ป็นศนูยก์ลางของทุกกิจกรรมบนโลก

1.1.2 การสืบต่อภารกิจของผูน้ ําพระศาสนจักรคาทอลิกในการอธิบายคุณค่า

ความหมายชีวิต ตามคาํสอนคริสตศ์าสนา

1. การสืบต่อภารกิจผูน้าํพระศาสนจักรคาทอลิกในการปกป้อง รักษาและ

ถ่ายทอด “ข่าวดีเร่ืองมนุษย”์

ในฐานะผู ้สืบตําแหน่งประมุขของพระศาสนจักรโรมันคาทอลิก พระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงตระหนกัถึงบทบาทหนา้ท่ีของพระศาสนจกัร ในการรักษาและถ่ายทอด

“ข่าวดี” เก่ียวกบัชีวิตมนุษย ์ทรงยนืยนัท่ีจะสานต่อภารกิจดงัเช่นพระสนัตะปาปาท่ีทรงดาํรงตาํแหน่งก่อน

หนา้ในพระองค ์ ทรงอา้งอิงและขยายความคิดท่ีอดีตพระสันตะปาปาฯ ท่ีดาํรงตาํแหน่งก่อนสมณสมยั

ของพระองคท์รงเคยสอนไว ้(John Paul II, 1979: 2) พระองคท์รงน้อมรับ เห็นดว้ยและพฒันาแนวคิด

ตามแนวทางของอดีตพระสันตะปาปาต่างๆ ทรงยืนยนัจุดยืนท่ีชดัเจนของพระศาสนจกัรคาทอลิกใน

ฐานะผูพิ้ทกัษแ์ละถ่ายทอดความหมายแทจ้ริงของชีวิตตามคาํสอนคริสตศาสนาแก่สงัคม ทรงย ํ้ าถึงคุณค่า

แท้จริงของชีวิตมนุษย์ว่าไม่ได้เป็นแค่วตัถุ แต่มนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีมีจิตวิญญาณด้วย มนุษย์จึงต้อง

ตระหนกัถึงภารกิจท่ีไดรั้บมอบหมายจากพระเจา้ใหพ้ฒันาตนเองสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์โดยอาศยัความรู้สาํนึก

เสรีภาพและความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้นอยา่งถกูตอ้ง ซ่ึงเป็นศกัด์ิศรีของมนุษยใ์นฐานะภาพลกัษณ์ของพระเจา้

(John Paul II, 1988: 37)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

127

2. การยนืยนัและอธิบายมนุษย ์ตามคาํสอนคริสตศ์าสนาในสงัคมร่วมสมยั

พระสนัตะปาปาฯ ทรงตระหนกัถึงภารกิจของพระศาสนจกัรท่ีจะตอ้ง

ถ่ายทอดและใหแ้นวทางการดาํเนินชีวิตตามคุณค่าคาํสอนของคริสตศาสนา พระศาสนจกัรตอ้งมีบทบาท

ท่ีจะนาํเสนอ “ข่าวดีของชีวติมนุษย”์ พระสนัตะปาปาฯ ทรงแสดงบทบาทในฐานะประมุขพระศาสนจกัร

คาทอลิก ท่ียนืยนัหลกัการและคาํสอนคริสตศาสนาท่ีใหค้วามสาํคญัแก่มนุษย ์ พระองคย์นืยนัภารกิจของ

พระศาสนจกัรท่ีมุ่งสู่มนุษย ์ (John Paul II, 1991: 61; 1987: 14; 1981: 1) ทรงตระหนกัถึงภารกิจในการ

ป้องกนัและส่งเสริมศกัด์ิศรีของมนุษย ์ไม่ใช่แค่อุดมการณ์ แต่ตอ้งเป็นการอุทิศตน (John Paul II, 1979)

พระองคท์รงเตือนใหร้ะมดัระวงัการตีความคาํสอนคริสตศ์าสนาแบบผดิๆ เพ่ือประโยชน์ของบางกลุ่ม

บางชนชาติ เช่น การตีความการดาํเนินชีวติของพระเยซูเจา้ว่าเป็นผูน้าํการต่อสูด้ว้ยวิธีการรุนแรงต่อชาว

โรมนั หรือสอนว่าพระเยซูทรงพวัพนักบัการต่อสูข้องชนชั้น รวมถึงการสอนว่าการทาํใหม้นุษยมี์

อิสรภาพเป็นเพียงเร่ืองของเศรษฐกิจและการเมืองเท่านั้น เป็นตน้ (John Paul II, 1979) พระองคท์รงคิด

ว่าในสมยัของพระองค ์ อารยธรรมมนุษยชาติกาํลงัเผชิญกบัภาวะวกิฤติทางดา้นจิตใจ เพราะมีแต่การเนน้

การพฒันาดา้นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ีจนละเลยคุณค่าความเป็นมนุษย ์ (John Paul II, 1979: 2, 12)

มนุษยชาติกาํลงัเผชิญหนา้กบักระแสบริโภคนิยม วตัถุนิยม ประโยชน์นิยม

ซ่ึงลดทอนความเป็นมนุษยล์งเป็นเพียงวตัถุส่ิงของ พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่าผลจากงานหลายรูปแบบ

ท่ีมนุษยท์าํข้ึน ส่งผลกลบัมาสู่มนุษยเ์อง โดยมนุษยรู้์สึกวา่ตนเองไม่สามารถควบคุมผลงานท่ีตนเองผลิต

ข้ึนมาได ้ จึงเกิดภาวะความกลวัข้ึนในจิตใจ ดงัท่ีพระองคต์รัสว่า “มนุษยย์ิง่วนัยิง่มีความกลวั คือ กลวัว่า

ผลิตผลของตน จะหนัไปทาํร้ายเขา ผลิตผลเหล่านั้นกลายเป็นเคร่ืองมือและอาวุธสาํหรับทาํลายตนเอง

หนักลบัมาเล่นงานมนุษยเ์อง” (John Paul II, 1979: 15)

3. การยนืยนัและอธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนา สู่สหสัวรรษท่ีสาม

แมว้่าพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงให้ความสําคัญต่อการอธิบาย

คุณค่า ความหมายของชีวิตมนุษย ์ในฐานะประมุขของพระศาสนจกัรคาทอลิก อนัเป็นแนวปฏิบติัท่ีพระ

สนัตะปาปาก่อนสมณสมยัของพระองคป์ฏิบติั แต่พระองคท์รงมีลกัษณะท่ีต่างจากพระสันตะปาปาต่างๆ

ดงัท่ีMichael Miller J. (1996) บรรณาธิการท่ีรวบรวมเอกสารทางการของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี

2 ได้วิเคราะห์ว่าลักษณะเด่นท่ีพระสันตะปาปายอห์น ปอลท่ี 2 ทรงกระทําแตกต่างไปจากพระ

สนัตะปาปาท่ีดาํรงตาํแหน่งก่อนสมณสมยัของพระองค ์คือ การท่ีพระองค์ทรงมีจุดมุ่งหมายชดัเจน ท่ีจะ

นาํพระศาสนจกัรสู่ยุคสหัสวรรษท่ีสาม (The third millennium) อนัเป็นยุคแห่งการเปล่ียนแปลงอย่าง

รวดเร็วตามกระแสโลภาภิวฒัน์ แมม้นุษยชาติจะมีความเจริญกา้วหน้าทางวิทยาการต่างๆ โดยเฉพาะ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

128

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยต่ีางๆ ส่งผลใหม้นุษยด์าํเนินชีวิตอยา่งสะดวก สบายมากข้ึน พระองค์ทรงช่ืน

ชมความเจริญกา้วหนา้ดงักล่าว แต่พระองคท์รงเตือนใหร้ะมดัระวงัค่านิยมท่ีลดทอนคุณค่าของชีวิตเป็น

เพียงวตัถุส่ิงของ มุ่งตอบสนองแต่เพียงความตอ้งการของร่างกายเท่านั้น ส่งผลใหส้งัคมประสบกบัภาวะ

วิกฤติทางดา้นจิตใจ โดยเฉพาะปัญหาเร่ืองความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคลในสังคม ปัญหาชีวิตครอบครัว

และปัญหาการทาํลายธรรมชาติส่ิงแวดลอ้มอยา่งมากมาย (John Paul II, 1980: 11)

ดงันั้น จึงกล่าวไดว้่า แนวคิดของพระสนัตะปาปาฯ มีลกัษณะเป็น “คาํสอนเดิม

ในรูปแบบใหม่” (John Paul II, 1981: 10) กล่าวคือ ทรงใชห้ลกัคาํสอนของคริสต์ศาสนามาอธิบาย

มนุษยใ์นสถานการณ์ของสงัคมปัจจุบนั โดยใชป้รัชญาสมยัปัจจุบนั คือ บุคคลนิยม ซ่ึงพระองค์ทรงเห็น

ว่าสามารถนาํมาอธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนาไดอ้ยา่งเหมาะสมในช่วงท่ีพระองคด์าํรงตาํแหน่งประมุขของ

พระศาสนจกัร แมพ้ระองคท์รงเคร่งครัดประเพณีปฏิบติัท่ีประมุขพระศาสนจกัรฯ ไดเ้คยกระทาํสืบต่อ

กนัมาในการอธิบายคาํสอนคริสต์ศาสนา แต่พระองค์ก็ทรงนาํเสนอในรูปแบบใหม่ กล่าวคือ “ทรง

เขียนในฐานะพระประมุขพระศาสนจกัรฯ ดว้ยวิธีการของปรากฏการณ์วิทยา” (Miller, 1996: 29) ซ่ึง

เป็นวิธีการท่ีทนัสมยัและสร้างสรรค ์เหมาะกบัยคุสมยั ทาํใหแ้นวคิดของพระองคเ์ขา้ใจง่ายและ “ตรงใจ”

แก่ผูเ้ล่ือมใสคาํสอนคริสตศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ ่งปัญหาด้านสังคม และชีวิตครอบครัว ซ่ึงเป็น

ประเด็นปัญหาของชีวิตมนุษยใ์นสมยัของพระองค ์

พระสนัตะปาปาฯ ทรงมุ่งประเด็นท่ีจะแสดงให้เห็นถึงวิกฤติของชีวิตมนุษยใ์น

สถานการณ์สังคมช่วงสมยัของพระองค์และพระองค์ทรงยืนยนัในการใชค้าํสอนคริสตศาสนาโดยมี

จุดมุ่งหมายเพ่ือให้แนวทางแก่มนุษยใ์นการแกว้ิกฤติของชีวิตสู่สหัสวรรษท่ี 3 ดงัท่ี Michael Miller J.

(1996 : 29) เสนอความคิดว่าพระสันตะปาปาฯ ทรงนาํเสนอความคิดโดยใชว้ิธีการเชิงปรากฏการณ์

“พระองคท์รงเร่ิมตน้ดว้ยประเด็นปัญหาท่ีเกิดข้ึนจริงในชีวิตมนุษย”์ และท่ี Conley (1993) วิเคราะห์ว่า

พระสันตะปาปาฯ “ทรงนาํสถานการณ์เฉพาะเร่ืองของมนุษยม์าวิเคราะห์” (Conley, 1993: 25 cited

Miller, 1996: 30) หรือท่ี Dulles (1993: 7) เสนอว่าพระสนัตะปาปาฯ “ทรงเร่ิมความคิดดว้ยการกระทาํ

ต่าง ๆ ของมนุษยใ์นชีวิตประจาํวนั” จากนั้นทรงนาํหลกัทางปรัชญาและเทววิทยามาคิด อธิบายและ

ตัดสิน ทาํให้ผูอ่้านรู้สึกว่าความคิดท่ีถ่ายทอดในสมณสาสน์ต่าง ๆ ไม่ใช่เป็นการประกาศคาํสอน

กฎเกณฑห์รือนโยบายของพระองค ์ แต่เป็นเหมือนกบั “จดหมาย” ท่ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ผูอ่้านทราบถึง

ใจความสาํคญัเก่ียวกบัคาํสอนและแนวปฏิบติัของพระศาสนจกัรในเร่ืองนั้น ๆ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

129

1.2 การวเิคราะห์ปรากฏการณ์การพฒันามนุษย์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

พระสันตะปาปาฯ ทรงเร่ิมตน้การเสนอแนวคิดการพฒันา ตามแนวปรัชญาบุคคล

นิยม ท่ีเร่ิมตน้ดว้ยการนาํเสนอปรากฏการณ์ของการพฒันาชีวิตมนุษยแ์ละสังคม ทรงวิเคราะห์ทั้ งผลดี

และผลเสียของการพฒันา ตามแนวทางการพฒันาท่ีใช ้“เศรษฐกิจ” เป็นหลกั โดยเฉพาะอย่างยิ ่ง การ

พฒันาตามแนวคิดของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสงัคมนิยมแบบมาร์กซ ์ท่ีมีการนาํไปประยุกต์ใช้

ในการจดัการพฒันาในภาคส่วนต่างๆ ของโลก โดยเฉพาะในช่วงเร่ิมตน้การดาํรงตาํแหน่งประมุขพระศา

สนจักรคาทอลิกของพระองค์ ทรงวิเคราะห์ปรากฏการณ์ด้านการพฒันามนุษยใ์นสังคมร่วมสมยัท่ี

พระองค์ดาํรงตาํแหน่งประมุขพระศาสนจักรฯ ทรงนําเสนอทั้ งผลดี (นิมิตหมายท่ีดีของการพฒันา)

ผลเสีย (ปัญหา/ผลกระทบ) ของการพฒันา รวมถึงการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ดงัน้ี

1.2.1 ปรากฏการณ์การพฒันา

1. ผลดี/นิมิตหมายท่ีดีของการพฒันา

พระสนัตะปาปาฯ ทรงยอมรับว่าการพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ ส่งผลให้

มนุษยชาติมีความเจริญกา้วหนา้ทางวิทยาการต่างๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยต่ีางๆ ส่งผลให้

มนุษย์ด ําเนินชีวิตอย่างสะดวก สบายมากข้ึน พระองค์ทรงช่ืนชมความเจริญก้าวหน้าดังกล่าว

นอกจากนั้น พระองคท์รงช่ืนชมต่อนิมิตหมายท่ีดีของการพฒันา ท่ีมนุษยชาติในปัจจุบนัต่ืนตวัต่อการ

แก้ปัญหาท่ีไม่ได้จาํกัดแต่เพียงปัญหาด้านเศรษฐกิจ แต่ยงัใส่ใจต่อการแก้ปัญหาด้านศีลธรรมและ

โครงสร้างของสงัคม โดยเฉพาะการดาํเนินการดว้ยความเพียรพยายามของกลุ่มบุคคลในรูปแบบต่างๆ ท่ี

อุทิศตนในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน การแก้ไขปัญหาความรุนแรง โดยเฉพาะการก่อตั้ งและการ

ดาํเนินการขององคก์ารสหประชาชาติ (UN) ท่ีกาํหนดแนวทางการพฒันาท่ีเน้น “มิติมนุษยแ์ละสังคม”

บนหลกัการของความเสมอภาค ขจดัความยากจน การกระจายผลของการพฒันาให้เสมอภาค คุณภาพ

ชีวิตดา้นต่างๆ ตลอดจนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพฒันา (John Paul II, 1987) อนัเป็น “ความ

พยายามเชิงสร้างสรรคท่ี์จะลดความเส่ียงของสงคราม” (John Paul II, 1987: 20) “ความสาํนึกและความ

เคารพในศกัด์ิศรีและสิทธิของมนุษยทุ์กคน” (John Paul II, 1987: 26) “ความเอาใจใส่ต่อสันติภาพและ

ความมัง่คัง่ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีดี” (John Paul II, 1991: 27) “เอกลกัษณ์ทางวฒันธรรมไดรั้บการส่งเสริมการ

ปฏิบติัอยา่งเสรีและการสนบัสนุน” (John Paul II, 1987: 26) “ความห่วงใยต่อนิเวศวิทยา” (John Paul

II, 1987: 26) พระองค์ทรงช่ืนชมต่อจิตสาํนึกและการอุทิศตนในความพยายามของการส่งเสริมสิทธิ

มนุษยชน รวมทั้งความสาํนึกต่อเอกภาพของสงัคมมนุษย ์ (John Paul II, 1991: 21; 1987: 26)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

130

2. ปัญหา/ผลกระทบจากการพฒันาในกระแสโลกาภิวฒัน ์

พระสันตะปาปาฯ ทรงวิเคราะห์ปรากฏการณ์ของชีวิตมนุษยแ์ละสังคม

ภายใตก้ระบวนทศัน์การพฒันาในยคุโลกาภิวฒัน์ ท่ีใชเ้ศรษฐกิจเป็นตวัช้ีวดัและเป้าหมายของการพฒันา

ส่งผลใหเ้กิดปัญหาและผลกระทบ กล่าวคือ มนุษยชาติยงัคงประสบกบัภาวะดอ้ยพฒันาในหลายภูมิภาค

ปัญหาความยากจน ช่องว่างในสงัคม การขาดโอกาส ความไม่เสมอภาค ความเหล่ือมลํ้ าในสังคม ส่งผล

ให้เกิดการแบ่งชนชั้นของมนุษยชาติ อนัเป็นปัญหา/ผลกระทบของการพฒันาท่ียึดเศรษฐกิจเป็นหลกั

(John Paul II, 1991: 33, 61; 1987: 13, 14)

นอกจากนั้น ปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตมนุษยแ์ละสงัคม ภายใตก้ระบวน

ทศัน์การพฒันาท่ีใชเ้ศรษฐกิจเป็นหลกั ไดป้รากฏร่องรอยท่ีแสดงถึงความลม้เหลวของการพฒันาตาม

กระบวนทศัน์ดงักล่าว ไดแ้ก่ ปัญหาเร่ืองการไม่รู้หนงัสือ การขาดการมีส่วนร่วม การถูกกดข่ีในรูปแบบ

ต่างๆ การถกูลิดรอนสิทธิขั้นพ้ืนฐาน การว่างงาน ปัญหาหน้ีสิน และปัญหาดา้นความไม่เสมอภาค การ

ขาดโอกาส ปัญหายาเสพติดและปัญหาความไม่ยุติธรรมซ่ึงยงัคงปรากฏให้เห็นในสังคมอย่างต่อเน่ือง

(John Paul II, 1991: 33, 36; 1987: 15, 18, 19, 28) รวมถึงปัญหาการเบียดเบียนและทาํลายส่ิงแวดลอ้ม

โดยขาดความรับผดิชอบ (John Paul II, 1991: 37)

1.2.2 สาเหตุและผลท่ีตามมาของปัญหาการพฒันามนุษยใ์นสงัคมร่วมสมยั

พระสนัตะปาปาฯ ทรงวิเคราะห์สาเหตุปัญหาการพฒันามนุษยใ์นสังคมร่วม

สมยัของพระองค ์ ว่ามีสาเหตุสาํคญัท่ีเช่ือมโยงกนั ไดแ้ก่ สาเหตุทางเศรษฐกิจ สาเหตุทางการเมืองและ

สาเหตุทางศีลธรรม (John Paul II, 1987: 15–37) จนก่อให้เกิดปัญหาการพฒันาชีวิตในสังคม ซ่ึง

พระองคใ์ชค้าํว่า “บาป/โครงสร้างของบาปทางสงัคม” ทรงวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ดงัน้ี

1.2.2.1 สาเหตุของปัญหาการพฒันา

1. สาเหตุทางเศรษฐกิจ

สาเหตุสําคัญของปัญหาหรือผลกระทบท่ีเกิดข้ึนในการพัฒนา

มนุษยใ์นสังคมร่วมสมยั เป็นผลมาจากความเข้าใจท่ีไม่ถูกต้อง ไม่ครบถว้นในการพิจารณาคุณค่า

ความหมายชีวิตมนุษย ์แต่เพียงมิติดา้นเศรษฐกิจ ทาํให้มีแนวคิดว่าการแกไ้ขหรือการพฒันามนุษยเ์ป็น

เพียงแค่การตอบสนองความจาํเป็นดา้นเศรษฐกิจ ว่าจะสามารถทาํใหเ้กิดการพฒันาในชีวิตมนุษยไ์ด ้ จึง

ส่งผลใหเ้กิด “ช่องว่าง” หรือความเหล่ือมลํ้ าในภาคส่วนต่างๆ ของสงัคม (John Paul II, 1987: 15–16)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

131

2. สาเหตุทางการเมือง

อุดมการณ์ทางการเมือง นาํสู่ระบบการปกครอง อนัทาํให้เกิดการ

แข่งขนั การเผชิญหนา้ในลกัษณะ “สงครามเยน็” หลงัสงครามโลกคร้ังท่ีสอง ท่ีนาํแนวคิดการพฒันาโดย

ใชเ้ศรษฐกิจเป็นหลกั ในรูปแบบท่ีต่างกนัระหว่างอุดมการณ์ทางการเมืองแบบทุนนิยมเสรี และสังคม

นิยมแบบมาร์กซ์ ส่งผลให้เกิดความตึงเครียด การทาํลายลา้ง สงครามตัวแทน ทาํให้ยิ ่งส่งผลให้เกิด

ช่องว่างและความแบ่งแยกระหว่างประเทศ ตามอุดมการณ์ทางการเมืองของประเทศนั้นๆ (John Paul II,

1987: 20, 21 )

3. สาเหตุทางศีลธรรม

สาเหตุสําคญัอีกประการหน่ึงของปัญหาการพฒันาในสังคมร่วม

สมยั คือ การดาํเนินการพฒันาท่ีขาดความสาํนึกดีชัว่ ขาดความรับผดิชอบ บนพ้ืนฐานการดาํเนินชีวิตตาม

หลกัศีลธรรม “เน่ืองจากการพฒันาโดยแก่นแทเ้ป็นเร่ืองเก่ียวขอ้งกบัศีลธรรม จึงเป็นท่ีแน่ชดัว่าอุปสรรค

ของการพฒันาก็เป็นเร่ืองเก่ียวกบัศีลธรรมเช่นกนั” (John Paul II, 1987: 35) ท่ีพระองคย์ ํ้ าว่า “จาํเป็นตอ้ง

กล่าวถึงสาเหตุทางศีลธรรม เพราะเก่ียวขอ้งกบัการปฏิบติัของมนุษยแ์ต่ละคน พิจารณาในฐานะบุคคลผู้

รู้จกัรับผิดชอบ (รู้จกัชัว่ดี) สาเหตุทางศีลธรรมเป็นอุปสรรคทาํให้การพฒันาชา้ลง และมิให้บรรลุผล

(John Paul II, 1987: 35) ยึดแต่ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ละเลยศีลธรรม ขาดความสาํนึก ขาดความ

รับผดิชอบ หรือละเลยบทบาทหนา้ท่ีในการพฒันาชีวิตและสังคม ทั้งในกลุ่มประเทศท่ีกาํลงัพฒันา และ

ประเทศท่ีพฒันาแลว้ (John Paul II, 1987: 16, 17)

1.2.2.2 ผลท่ีตามมาคือ บาปส่วนบุคคลและโครงสร้างของบาป (บาปสงัคม)

ผลท่ีตามมาของการพฒันาท่ีไม่ไดมี้พ้ืนฐานบนความสาํนึกดีชัว่และ

ความรับผดิชอบตามหลกัทางศีลธรรม ยดึแต่เพียงผลประโยชนท์างเศรษฐกิจ ละเลยบทบาทหนา้ท่ีในการ

ส่งเสริม ช่วยเหลือกนัในการพฒันา นาํไปสู่การแข่งขนัในแบบเอารัดเอาเปรียบกนัตามผลประโยชน์ท่ี

ไดรั้บในดา้นเศรษฐกิจ มีการแบ่งแยกโลกออกเป็นสองค่าย ตามอุดมการณ์ของระบบเศรษฐกิจแบบทุน

นิยมและสงัคมนิยมแบบมาร์กซ ์ ทาํใหเ้กิดบรรยากาศของความตึงเครียดในการแข่งขนัเพ่ือเอาชนะ หรือ

มีอาํนาจเหนือกันและกัน ในลกัษณะสงครามตัวแทน ด้วยการแบ่งมนุษยชาติเป็นสองฝ่าย นําสู่การ

แตกแยกของมนุษยชาติ ท่ีพระสันตะปาปาฯ ทรงใช้คาํว่า “บาป” (Sin) และ “โครงสร้างของบาป”

(Structures of sin) กล่าวคือ แทนท่ีมนุษยชาติจะช่วยเหลือเก้ือกูลกนัในการพฒันาชีวิต กลบัแก่งแย่ง

แข่งขนั เอาเปรียบกนัและกนัเพ่ือการไดม้าซ่ึงประโยชน์ส่วนตน การกดข่ี เอารัดเอาเปรียบท่ีประเทศท่ีมี

ความเข้มแข็งในดา้นเศรษฐกิจ เอาเปรียบประเทศท่ีอ่อนแอและยากจนกว่า จนเป็นความเคยชิน และ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

132

ค่อยๆ แทรกซึมเขา้ไปในสงัคม ทาํใหส้งัคมอยูใ่นบรรยากาศท่ีซบัซอ้นยิ ่งข้ึนต่อการพฒันาชีวิตมนุษยใ์ห้

สอดคลอ้งกบัความเป็นมนุษย ์ (John Paul II, 1987: 36, 37)

กลไก/โครงสร้างของบาป (บาปสงัคม) เป็นผลมาจากท่าทีของมนุษย์

ท่ีขดักบัคุณลกัษณะของมนุษย ์กล่าวคือ มนุษยมี์ลกัษณะเป็น “ภาวะทางสงัคม” อนัเป็นพระประสงค์ของ

พระเจา้ ท่ีกาํหนดใหม้นุษยด์าํเนินชีวิตเก้ือกูลกนัในสังคม แต่มนุษยก์ลบั “ทาํขดัพระประสงค์ของพระ

เจา้” โดยปฏิเสธหรือละเลยการช่วยเหลือเก้ือกูล เพ่ือ “ความดีของเพ่ือนมนุษย”์ (John Paul II, 1987: 37)

ดว้ยการเมินเฉย ละเลยต่อการช่วยเหลือเก้ือกลูคนอ่ืน เพ่ือความดีของคนอ่ืนในการพฒันาชีวิต จนสะสม

แทรกซึมในการดาํเนินชีวิตร่วมกนัในสังคม จนเป็นส่วนหน่ึงของสังคม และมีอิทธิพลต่อการดาํเนิน

ชีวิตของแต่ละคนในชีวิตประจาํวนั (John Paul II, 1987: 36)

1.2.2.3 ปัญหาการพฒันาในสังคมร่วมสมยั เป็นผลมาจากการพฒันาท่ียึด

เศรษฐกิจเป็นหลกั: การวิจารณ์การพฒันาตามอุดมการณ์ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสังคมนิยม

แบบมาร์กซ ์

พระสนัตะปาปาฯ ทรงช่ืนชมความเจริญกา้วหน้าของสังคม ทั้งดา้น

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยท่ีีมีการประดิษฐ์คิดคน้ส่ิงใหม่ๆ มาอาํนวยความสะดวกและนาํผลประโยชน์สู่

ชีวิตมนุษย์ พระองค์ทรงยอมรับว่าความเจริญก้าวหน้าในสังคม เป็นผลมาจากการพัฒนาตาม

แนวความคิดของการพฒันาท่ียดึเศรษฐกิจเป็นหลกั ตามระบบเศรษฐกิจท่ีสาํคญัสองระบบ คือ ลทัธิทุน

นิยมและลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์ ซ่ึงใชเ้ศรษฐกิจเป็นตัวกาํหนดแนวทางการพฒันาสังคม พระ

สนัตะปาปาฯ ไม่ไดท้รงตั้งตนเป็นศตัรูต่อแนวคิดของระบบเศรษฐกิจทั้ งสองน้ี แต่พระองค์ทรงเห็นว่า

อุดมการณ์ทางระบบเศรษฐกิจทั้งสองน้ีมีความคิดพ้ืนฐานเก่ียวกบัมนุษยไ์ม่สมบูรณ์ เพราะสนใจมนุษย์

แต่เพียงดา้นวตัถุหรือดา้นความตอ้งการของร่างกายมากเกินไป จนทาํใหล้ะเลยความสาํคญัและคุณค่าของ

จิตใจท่ีเป็นลกัษณะพิเศษของมนุษย ์ พระองคท์รงนาํแนวคิดของของกาเบรียล มาแซล (Gabriel Marcel,

ค.ศ. 1889-1973) นกัปรัชญาบุคคลนิยมท่ีอธิบายเร่ือง “Being and Having” (1949) มาใชด้ว้ยการเสนอ

ว่า “การอยากมีชีวิตท่ีดีข้ึน ไม่ผิดอะไร ส่ิงท่ีผิดคือ วิถีชีวิต ซ่ึงเข้าใจว่าดีข้ึนเม่ือมนัมุ่งไปสู่ “การมี”

มากกว่า “การเป็น” (John Paul II, 1991: 36)

จากการไดพิ้จารณาวิเคราะห์แนวคิดทุนนิยมซ่ึงเน้นปัจเจกนิยม และ

แนวคิดของมาร์กซ์ซ่ึงเน้นสังคมนิยม พระสันตะปาปาฯ ทรงคิดว่าแนวความคิดของทั้ งสองระบบมี

ขอ้บกพร่องทั้งคู่ เพราะมองชีวิตมนุษยแ์ต่เพียงแง่เศรษฐกิจ ในฐานะเป็นร่างกายวตัถุและมุ่งส่งเสริมการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

133

พฒันามนุษยเ์พียงแค่ระดบัวตัถุสสารเท่านั้น “ระบบเศรษฐกิจท่ีใชอ้ยูใ่นปัจจุบนั (ทุนนิยมและสังคมนิยม

แบบมาร์กซ)์ ส่งผลเสียต่อการพฒันา” (John Paul II, 1987: 43) เน่ืองจาก

1. แนวคิดทุนนิยมและสงัคมนิยมของมาร์กซเ์นน้เพียงวตัถุสสาร

แมว้่าลทัธิทุนนิยมและลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์ จะมุ่งส่งเสริม

มนุษยแ์ละมีมนุษยเ์ป็นศนูยก์ลางการพฒันา แต่ในการปฏิบติัจริงแลว้ทั้ งสองลทัธิต่างเน้นในการพฒันา

มนุษยแ์ต่เพียงในแง่ของร่างกายวตัถุสสารเท่านั้น โดยส่งเสริมเศรษฐกิจดว้ยกรรมสิทธ์ิส่วนบุคคลระบบ

ทุนนิยม และส่งเสริมความเสมอภาคในการครอบครองกรรมสิทธ์ิในระบบสงัคมนิยมของมาร์กซ์ ดงันั้น

คุณค่ามนุษยจึ์งอยูท่ี่ “ความสามารถในการตอบสนองความตอ้งการดา้นร่างกาย ชีวิตมนุษยมี์พ้ืนฐานอยู่

บนการวดัคุณค่าของสินคา้” (John Paul II, 1981: 13) ซ่ึงเป็นการเน้นความสาํคญัของการครอบครอง

วตัถุส่ิงของเพ่ือตอบสนองความตอ้งการของร่างกายมากกว่าการเน้นความสาํคญัของคุณค่าภายในจิตใจ

ของมนุษย ์ ความคิดเช่นน้ีเป็นการพิจารณามนุษยใ์นฐานะเป็นร่างกายวตัถุ มนุษยเ์ป็นเพียงผูบ้ริโภคท่ีมี

ความตอ้งการเฉพาะส่ิงท่ีตอบสนองความตอ้งการของร่างกายเท่านั้น ดงันั้น แนวคิดลทัธิทุนนิยมและ

ลทัธิสงัคมนิยมของมาร์กซจึ์ง “ใหค้วามสาํคญัสูงสุดแก่วตัถุทั้งทางตรงและทางออ้ม และให้ความสาํคญั

แก่จิตใจและบุคคลอยูภ่ายใตอิ้ทธิพลของวตัถุ” (John Paul II, 1981: 13)

2. แนวคิดลทัธิทุนนิยมและลทัธิสงัคมนิยมของมาร์กซต่์างลดคุณค่า

มนุษยใ์หเ้ป็นเพียงส่วนประกอบของสงัคม

พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่าความผดิพลาดท่ีสาํคญัอีกประการหน่ึง

ของลทัธิทุนนิยมและลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์ คือ การพิจารณามนุษยใ์นฐานะเป็นเพียง “ผูท้าํงาน”

หรือ “ผูผ้ลิตสินค้า” ซ่ึงเป็นการเน้นบทบาทของมนุษยใ์นฐานะเป็นผูท้าํประโยชน์แก่สังคมเท่านั้ น

มนุษยเ์ป็นเพียงปัจจยัอยา่งหน่ึงในการผลิตสินคา้และบริการ “บุคคลเป็นเพียงส่วนประกอบอนัหน่ึง เป็น

โมเลกุลของสงัคม” (John Paul II, 1991: 13) มนุษยต์ามความคิดของทั้งสองระบบน้ีจึงกลายเป็นทาสของ

ระบบเศรษฐกิจ มนุษยมี์ไวเ้พ่ือการทาํงาน คุณค่าและศกัด์ิศรีของมนุษยอ์ยู่ท่ีการทาํงาน ไม่ใช่อยู่ท่ีการ

เป็นมนุษย ์ มนุษยจึ์งไม่มีคุณค่าในตัวเอง แต่มีคุณค่าเพราะเขาเป็นส่วนหน่ึงของสังคมและทาํตัวเป็น

ประโยชน์ต่อสงัคมในแง่เศรษฐกิจ มนุษยจึ์งหมดโอกาสท่ีจะตดัสินใจเลือกกระทาํอยา่งเสรีตามความคิด

ริเร่ิมของตวัเอง เพราะมีกลไกทางสงัคมเป็นตวักาํหนดวิถีชีวิตและตดัสินใจแทนมนุษยแ์ต่ละคน

3. แนวคิดทุนนิยมและลทัธิของมาร์กซเ์ปล่ียนวิถีและเป้าหมายชีวิต

แนวคิดทุนนิยมและลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์ไม่ยอมรับคุณค่า

และความยิง่ใหญ่แห่งการเป็นบุคคลของมนุษยต์ามหลกัของคริสตศาสนา แต่ตีกรอบคุณค่ามนุษยเ์พียงแค่

“การทาํงาน” หรือ “การมีผลประโยชน์ใหค้นอ่ืน” ดงันั้น แทนท่ีการทาํงานจะเป็นเคร่ืองมือพฒันาชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

134

แต่ตวัมนุษยเ์องกลบักลายเป็นเคร่ืองมือเพ่ือการพฒันาและผลิตวตัถุส่ิงของและความกา้วหน้าของสังคม

การทาํงานหรือการมีผลประโยชน์แก่คนอ่ืนกลบักลายเป็นเป้าหมายของชีวิต เป้าหมายของชีวิตแทนท่ีจะ

เป็นการพฒันาตนสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ (End) ตามหลกัของคริสตศาสนา “กลบัถกูเปล่ียนเป็นการทาํงานเพื่อ

ความกา้วหนา้ของสงัคม (Means) เพียงดา้นเดียว” (John Pual II, 1991: 36)

4. แนวคิดทุนนิยมส่งเสริมการพฒันาท่ีเกินความจาํเป็น

แนวคิดลัทธิทุนนิยมส่งเสริมให้มีการพัฒนาท่ีเกินความจําเป็น

กล่าวคือ “การพฒันาให้มีทรัพยสิ์นทุกอย่างเกินความตอ้งการ” (John Paul II, 1987: 28) ทาํให้เอ้ือ

ประโยชน์เฉพาะกลุ่มชนบางกลุ่ม “ทาํใหป้ระชาชนตกเป็นทาสของการเป็นเจา้ของทรัพยส์มบติั” (John

Paul II, 1987: 28) พยายามทาํทุกวิถีทางเพ่ือจะไดมี้ทรัพยส์มบติัมากข้ึนหรือหาส่ิงอ่ืนท่ีดีกว่ามาทดแทน

ส่ิงท่ีตนมีอยูแ่ลว้ “ความผดิพลาดของทุนนิยมอยูท่ี่ว่า มนุษยอ์ยูใ่นฐานะเดียวกบัปัจจยัการผลิตท่ีเป็นวตัถุ

อ่ืนๆ มนุษยถ์กูมองว่าเป็นเพียงเคร่ืองมือ” (John Paul II, 1981: 13) พยายามส่งเสริมให้มนุษยไ์ดรั้บการ

ตอบสนองดา้นสัญชาตญาณ “พยายามเฟ้นหาความตอ้งการใหม่ ๆ และวิธีการใหม่ ๆ เพ่ือตอบสนอง

ความตอ้งการเหล่านั้น” (John Paul II, 1991: 36) อนันาํสู่ไปการทิ้งขวา้งส่ิงของหรือบุคคลท่ีตนคิดว่าไม่

มีประโยชน์สาํหรับตนเองอีกต่อไป

5. แนวคิดลทัธิสงัคมนิยมของมาร์กซป์ฏิเสธเจตจาํนงเสรีอนัเป็น

ลกัษณะท่ีสาํคญัของมนุษย ์ในการเลือกวิถีชีวิต

แนวคิดลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์นั้ น มองมนุษยเ์ป็นเพียงวตัถุ

ละเลยคุณค่าภายในจิตใจโดยปฏิเสธความเป็นอิสระของบุคคล เพราะมีความคิดว่ามนุษยเ์ป็นเพียงสัตว์

เศรษฐกิจท่ีมุ่งตอบสนองความตอ้งการทางร่างกายเท่านั้น ดงันั้นลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์จึงเน้นการ

พฒันาโดยการใชเ้ศรษฐกิจเป็นตวับ่งช้ีและละเลยหรือมองขา้มลกัษณะเฉพาะพิเศษของมนุษย ์อนัไดแ้ก่

คุณค่าทางจิตใจท่ีทาํใหม้นุษยแ์ตกต่างจากส่ิงทั้งหลาย ตามความคิดของลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์น้ีคิด

ว่าชีวิตมนุษยต์อ้งปรับตนเองตามแผนเศรษฐกิจและตามผลประโยชน์ของสังคม และคิดว่าส่ิงท่ีดีท่ีสุด

เพียงอย่างเดียวสาํหรับมนุษยคื์อ การกินดีอยู่ดี ดงันั้นลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์จึงเน้นการมีเคร่ืองมือ

เคร่ืองใชต่้าง ๆ เพ่ือตอบสนองความตอ้งการทางร่างกาย จนกระทัง่ “มองขา้มหรือยอมแลกศกัด์ิศรีของ

ชีวิตจิตวิญญาณเพ่ือวตัถุ” (John Paul II, 1991: 36) รวมถึงการลดทอนสิทธิอนัชอบธรรมต่อการ

ครอบครองกรรมสิทธ์ิของบุคคล (John Paul II, 1991: 12)

พระสันตะปาปาฯ ทรงวิเคราะห์สาเหตุท่ีลัทธิสังคมนิยมแบบ

มาร์กซล์ดทอนแต่ละคนเป็นส่วนประกอบของสงัคม เน่ืองจากการปฏิเสธพระเจา้ บนพ้ืนฐานของแนวคิด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

135

ลทัธิอเทวนิยม ท่ีปฏิเสธพระเจา้ทาํให้บุคคลขาดพ้ืนฐานทางจิตใจ จึงเป็นผลทาํให้เกิดการจดัระเบียบ

ใหม่ในระบบสงัคมโดยไม่คาํนึงถึงศกัด์ิศรีและความรับผดิชอบของบุคคล (John Paul II, 1991: 13)

ดงันั้น พระสันตะปาปาฯ จึงทรงคิดว่าอุดมการณ์ทางเศรษฐกิจของ

ลทัธิทุนนิยมและสงัคมนิยมของมาร์กซ ์ วิเคราะห์มนุษยว์่าเป็นเพียงวตัถุสสาร ละเลยคุณค่าของจิตใจอนั

เป็น “ลกัษณะพิเศษเฉพาะมนุษย”์ คุณค่าของมนุษยเ์ป็นไปตามกรอบของวตัถุ ดาํเนินชีวิตเพ่ือการกินดี

อยูดี่ดา้นร่างกาย “ทั้งสองลทัธิต่างก็ละเลยคุณค่าฝ่ายจิต” (John Paul II, 1991: 36; 1979: 15) ไม่ใส่ใจชีวิต

ฝ่ายจิตวิญญาณท่ีจะพฒันาบุคคลในฐานะเป็นผูมี้ความรู้สาํนึก มีเสรีภาพและความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น อนั

เป็นวิถีทางสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ของมนุษย ์ แต่กลบัลดคุณค่าของมนุษยเ์ป็นเพียงระดับสัญชาตญาณ มุ่ง

ตอบสนองความตอ้งการของร่างกายโดยยดึตนเองเป็นศนูยก์ลาง และส่งเสริมค่านิยมท่ีเน้นผลประโยชน์

เป็นหลกัในการดาํเนินชีวิต แทนท่ีจะส่งเสริมคุณค่าของมนุษยใ์นฐานะท่ีเขาเป็นบุคคล แต่กลบัส่งเสริม

ใหม้นุษยอ์ยูเ่พ่ือตนเอง เพ่ือความสุขเพลิดเพลินและความสะดวกสบายดา้นร่างกาย มองคนอ่ืนและส่ิงอ่ืน

เพ่ือยึดมาเป็นประโยชน์ส่วนตวัเป็นหลกั ส่งผลให้มนุษยเ์กิดภาวะสับสนในจิตใจ เกิดความกลวัภัย

คุกคามจากผลงานท่ีมนุษยส์ร้างข้ึน ปัญหา “ช่องว่าง” ในสังคม และการใชเ้สรีภาพในทางท่ีไม่ถูกตอ้ง

แมม้นุษยแ์ละสงัคมจะมีความกา้วหนา้ดา้นกายภาพ ประชาชนจาํนวนมากขาดแคลนแมแ้ต่ส่ิงท่ีเป็นความ

จาํเป็นพ้ืนฐานเพ่ือการดาํเนินชีวิต รวมถึงการถกูคุมคามและตกตํ่าในดา้นคุณค่าความเป็นมนุษย ์ ส่งผล

ใหม้นุษยแ์ทนท่ีจะร่วมมือกนัในการพฒันาชีวิต มนุษยก์ลบัเบียดเบียน แข่งขนัเพ่ือแย่งชิงผลประโยชน์

จนทาํใหภ้าวะเศรษฐกิจย ํา่แยใ่นภาพรวม และส่ิงแวดลอ้มถกูทาํลาย (John Paul II, 1991: 20; 1987: 14)

ทาํใหม้นุษยป์ระสบภาวะแห่งความทุกขย์าก “และยงัไม่หยดุความทุกขย์ากท่ีขยายกวา้งออกไป พร้อมกบั

ความทุกขร้์อน ความผดิหวงัและความขมข่ืน” (John Paul II, 1979: 16) มนุษยถ์กูลดทอนคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษย ์และรู้สึกว่าตนเองไม่มีเสรีภาพในการดาํเนินชีวิต (John Paul II, 1980: 11)

ท่ีสุด พระสนัตะปาปาฯ ทรงสรุปความผดิพลาดของปรากฏการณ์การ

พฒันาท่ีส่งผลใหเ้กิดปัญหาทั้งดา้นชีวิตของมนุษย ์สงัคมและส่ิงแวดลอ้มว่าเป็นผลจากการลดทอนคุณค่า

มนุษยเ์ป็นเพียงวตัถุ โดยใชเ้ศรษฐกิจเป็นหลกัในการพิจารณาคุณค่าความเป็นมนุษย ์อนัเป็น “ความ

ผดิพลาดขั้นพ้ืนฐาน กลไกท่ีผดิพลาดคือ รากเหงา้ของความเจริญในดา้นเศรษฐกิจและความเจริญดา้น

วตัถุในปัจจุบนัซ่ึงมนุษยไ์ม่อาจหลุดพน้จากสถานการณ์ท่ีไร้ความยติุธรรมน้ีได”้ (John Paul II, 1980: 11)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

136

2. ความหมายการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2 : การ

ทําให้มนุษย์เป็นมนุษย์มากขึน้ ด้วยวธิีทีเ่หมาะสม สอดคล้องและสมดุลกบัความเป็นบุคคล

การอธิบายการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีทรง

นาํเสนอผา่นทางเอกสารทางการของพระองค ์ มีจุดประสงคเ์พ่ืออธิบายคาํสอนคริสต์ศาสนาในเร่ืองการ

พฒันามนุษยใ์นสถานการณ์ร่วมสมยั ผ่านทางการศึกษา ไตร่ตรองของพระองค์ โดยใชแ้นวทางมนุษย

นิยม ตามแนวปรัชญาบุคคลนิยมท่ีใชก้ารวิเคราะห์ปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตมนุษย ์ ทรงเร่ิมตน้ดว้ย

วิเคราะห์ปรากฏการณ์ดา้นการพฒันามนุษยใ์นสงัคม อนัเป็นผลจากการพฒันาตามแนวคิดและอุดมการณ์

ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสังคมนิยมแบบมาร์กซ จากนั้นพระองค์ไดท้รงเสนอแนวคิด เพ่ือ

อธิบายความหมายและหลกัการพฒันามนุษย ์ หลกัจากท่ีทรงวิเคราะห์แนวคิด /แนวทางการพฒันาใน

สงัคมร่วมสมยั ดงัท่ีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสงัคมนิยมแบบมาร์กซ์นาํเสนอ ซ่ึงพระองค์วิจารณ์

ว่าเป็นการพฒันาท่ีไม่เหมาะสม ไม่สอดคลอ้งกบัความเป็นมนุษย ์เน่ืองจากเป็นการพฒันาแต่เพียงมิติ

เศรษฐกิจ ละเลยคุณค่าความมนุษย ์ แมจ้ะทาํใหเ้กิดความเจริญดา้นกายภาพ แต่ไม่ไดแ้กปั้ญหาท่ีแทจ้ริง

ของมนุษย ์ยิ ่งกว่านั้ น ยงัก่อให้เกิดปัญหาท่ีตามมาทั้ งด้านปัญหาภายในจิตใจของมนุษย ์ปัญหาด้าน

ความสมัพนัธร์ะหว่างมนุษย ์และปัญหาดา้นส่ิงแวดลอ้ม

พระสนัตะปาปาฯ ทรงเสนอใหมี้ “ความสมดุล” ระหว่างวิทยาการและศีลธรรม นิยามท่ี

พระสนัตะปาปาฯ ทรงนาํเสนอ คือ การพฒันาท่ีทาํใหม้นุษยเ์ป็นมนุษยม์ากข้ึน พระสนัตะปาปาฯ ทรง

เรียกร้องใหมี้การพฒันาอยา่งรอบคอบสอดคลอ้งกบัคุณค่า ความหมายชีวิตท่ีแทจ้ริงของมนุษย ์ พระองค์

ไดท้รงนาํเสนอหลกัการพฒันาชีวิตสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในสงัคมโดยมีแนวคิดหลกัว่า “จงเป็นใน

ส่ิงท่ีท่านเป็นเถิด” (John Paul II, 1981: 17) ซ่ึงหมายถึงการเป็นตวัแทนท่ีดีของพระเจา้บนโลก พระองค์

ทรงตั้งคาํถามว่าการพฒันาน้ี “มีลกัษณะสมกบัมนุษยม์ากข้ึนในทุกๆ ดา้นหรือไม่?... ทาํใหคู้ค่วรกบั

มนุษย ์มากข้ึนหรือไม่?” (John Paul II, 1979: 15) และแนวทางการพฒันาเช่นน้ี “เป็นความเจริญกา้วหนา้

หรือเป็นการคุกคามชีวิตมนุษยก์นัแน่?” (John Paul II, 1979: 15, 16)

หลงัจากท่ีทรงวิเคราะห์การพฒันามนุษยใ์นสงัคมร่วมสมยั ทรงไตร่ตรองดว้ยการตั้ง

คาํถาม แลว้จึงหาคาํตอบ ดว้ยการอธิบายความหมายการพฒันามนุษย ์หมายถึง การพฒันาท่ีทาํใหม้นุษย์

เป็นมนุษยม์ากข้ึน ดว้ยวิธีท่ีเหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลกบัความเป็นมนุษย ์ พระสนัตะปาปาฯ ทรง

เห็นว่าการพฒันาชีวติมนุษยใ์นสงัคมร่วมสมยั เป็นการพฒันาท่ีใชก้ารพฒันาและความเจริญเติบโตทาง

เศรษฐกิจเป็นหลกั ตามทรรศนะน้ีความดอ้ยพฒันามีสาเหตุจากการขาดแคลนทุน ทางออกของการแกไ้ข

ปัญหา คือ การอดัฉีดทุนเพ่ือส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยการพฒันาอุตสาหกรรมซ่ึงจะ

นาํไปสู่ความเจริญในท่ีสุด ซ่ึงพระสนัตะปาปาฯ เห็นว่าการพฒันาตามทรรศนะและแนวทางดงักล่าว ท่ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

137

ใหค้วามสาํคญักบัการพฒันาเศรษฐกิจเพียงดา้นเดียวไม่สามารถแกปั้ญหาความยากจนลงได ้ พระองคจึ์ง

นิยามความหมายของการพฒันาเสียใหม่ ทรงย ํ้ าว่า “การพฒันาท่ีจะก่อใหเ้กิดผลตอ้งมุ่งไปท่ีการพฒันา

บุคคลและประชาชน ในทุกส่วนของโลกเป็นสาํคญั” (John Paul II, 1987: 38) กล่าวคือ “การพฒันาท่ีทาํ

ใหเ้ป็นมนุษยม์ากข้ึน” (John Paul II, 1981: 9) โดยมีท่าทีทางจิตใจบนพ้ืนฐานของการมีความสมัพนัธท่ี์

ถกูตอ้งต่อตนเอง เพ่ือนบา้น และสงัคมมนุษยชาติ เป็นการพฒันาท่ีสอดคลอ้งกบัความเป็นมนุษย ์การยก

ยอ่งใหคุ้ณค่าของชีวติเป็นคุณค่าสูงสุดในฐานะเป็น “ความดีส่วนรวม” ทั้งน้ี ทรงอธิบายลกัษณะสาํคญั

ของการพฒันามนุษย ์ ท่ีทาํใหม้นุษยเ์ป็นมนุษยม์ากข้ึน ดว้ยวิธีท่ีเหมาะสม สอดคลอ้งกบัความเป็นมนุษย ์

ในลกัษณะบูรณการ การหลุดพน้จากบาป การพฒันามีลกัษณะเป็นกระบวนการ การพฒันาตอ้งส่งเสริม

สิทธิบุคคล และการดาํเนินชีวิตอยา่งสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

2.1 การพฒันา คอื การทําให้หลุดพ้นจากบาปส่วนบุคคลและโครงสร้างของบาปสังคม

2.1.1 ความหมายและความเป็นมาของ “บาป”

พระสนัตะปาปาฯ อธิบายความเป็นมาของ “บาป” ว่าเป็นผลจากการท่ีมนุษยใ์ช้

เสรีภาพท่ีไม่สอดคลอ้งกบัธรรมชาติมนุษย ์ทรงอธิบายว่าแมพ้ระเจา้ทรงโปรดให้มนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ตั้งแต่เร่ิมตน้ของชีวิต แต่มนุษยย์งัไม่ใช่บุคคลท่ีสมบูรณ์ ยงัมีขอบเขตจาํกดั แม้

มนุษยมี์ศกัยภาพภายใน ได้แก่ ความรู้สาํนึกและเสรีภาพ ท่ีพระเจ้าประทานให้เพ่ือให้มนุษยใ์ช้เป็น

เคร่ืองมือในการพฒันาชีวิตดว้ยการสร้างความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน แต่ความรู้สาํนึกและเสรีภาพของมนุษย์

ยงัมีความจาํกดั แทนท่ีมนุษยจ์ะใชเ้สรีภาพท่ีสอดคลอ้งกบัธรรมชาติมนุษย ์ในการตอบรับการเช้ือเชิญ

ดว้ยการปฏิบติัตามแนวทางของพระเจา้ มนุษยก์ลบัใชเ้สรีภาพ เลือกท่ีอยู่และมุ่งสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ดว้ย

ตนเอง โดยตดัความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ทาํใหชี้วิตมนุษยไ์ม่กลมกลืนกบัตนเอง คนอ่ืนและส่ิงอ่ืน อนัเป็น

ท่ีมาของความตกตํ่าและความมวัหมองของชีวิต การขยายตวัของบาป ซ่ึงก็คือ การเลือกตนเองมาแทนท่ี

พระเจา้เป็นส่วนใหญ่ นาํมนุษยสู่์ “กระแสการทาํลายชีวิต” ซ่ึงเป็นผลมาจากการท่ีมนุษยใ์ห้ความสาํคญั

แต่เพียงการตอบสนองความตอ้งการดา้นร่างกาย และปฏิเสธคุณค่าภายในจิตใจ (John Paul II 1993 : 86,

1987 : 15, 36 – 37, 1979 : 14) ทาํให้สังคมอยู่ในสภาพของบาป ทาํให้มนุษยย์ิ ่งทียิ ่งดาํเนินชีวิตและ

พฒันาชีวิตท่ีไม่เหมาะสม ไม่สอดคลอ้งและเหินห่างจากการมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

2.1.2 บาปเป็นผลจากการดําเนินชีวติที่ไม่สอดคล้องกบัความเป็นมนุษย์

ผลท่ีตามมาของการพัฒนาท่ีไม่ได้มีพ้ืนฐานบนความสํานึกดีชั ่วและความ

รับผิดชอบตามหลกัทางศีลธรรม ยึดแต่เพียงผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ละเลยบทบาทหน้าท่ีในการ

ส่งเสริม ช่วยเหลือกนัในการพฒันา นาํไปสู่การแข่งขนัในแบบเอารัดเอาเปรียบกนัตามผลประโยชน์ท่ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

138

ไดรั้บในดา้นเศรษฐกิจ มีการแบ่งแยกโลกออกเป็นสองค่าย ตามอุดมการณ์ของระบบเศรษฐกิจแบบทุน

นิยมและสงัคมนิยมแบบมาร์กซ ์ ทาํใหเ้กิดบรรยากาศของความตึงเครียดในการแข่งขนัเพ่ือเอาชนะ หรือ

มีอาํนาจเหนือกันและกัน ในลกัษณะสงครามตัวแทน ด้วยการแบ่งมนุษยชาติเป็นสองฝ่าย นําสู่การ

แตกแยกของมนุษยชาติ ท่ีพระสันตะปาปาฯ ทรงใช้คาํว่า “บาป” (Sin) และ “โครงสร้างของบาป”

(Structures of sin) (John Paul II, 1987: 36) กล่าวคือ แทนท่ีมนุษยชาติจะช่วยเหลือเก้ือกูลกนัในการ

พฒันาชีวิต กลบัแก่งแยง่แข่งขนั เอาเปรียบกนัและกนัเพ่ือการไดม้าซ่ึงประโยชน์ส่วนตน การกดข่ี เอารัด

เอาเปรียบท่ีประเทศท่ีมีความเขม้แข็งในดา้นเศรษฐกิจ เอาเปรียบประเทศท่ีอ่อนแอกและยากจนกว่า จน

เป็นความเคยชิน และค่อยๆ แทรกซึมเขา้ไปในสงัคม ทาํใหส้งัคมอยูใ่นบรรยากาศท่ีซบัซอ้นยิง่ข้ึนต่อการ

พฒันาชีวิตมนุษยใ์หส้อดคลอ้งกบัความเป็นมนุษย ์(John Paul II, 1987 : 37)

2.1.3 บาป ทําให้มนุษย์อยู่ในกระแสการทําลายชีวติ

พระสนัตะปาปาฯ ทรงวิเคราะห์ปรากฏการณ์ในสงัคม อนัเป็นผลจากการพฒันา

ตามกระแสโลกาภิวตัน์ ท่ียดึความทนัสมยั ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหลกั ว่าเป็นสภาพสังคมท่ี

อยูใ่นกระแสการทาํลายชีวิต (John Paul II, 1995: 23; 1991: 48) มากกว่าส่งเสริมการพฒันาชีวิต

เน่ืองจากเป็นสภาพสังคมท่ีดําเนินตามกระแสท่ีนําสู่การส่งเสริมการแข่งขัน ในบรรยากาศและ

สภาพแวดลอ้มท่ีมุ่งสู่การส่งเสริมค่านิยมทางวตัถุแทนท่ีจะเน้นคุณค่าทางจิตใจ ชีวิตมนุษยจึ์งเปล่ียน

เป้าหมายจากการพฒันาไปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์แห่งจิตใจ อนัเป็นชีวิตนิรันดรในพระเจ้า ไปสู่การมุ่ง

ตอบสนองความตอ้งการของกิเลสตณัหาทางร่างกายหรือทางดา้นวตัถุ ส่งผลใหมี้แนวทางการดาํเนินชีวิต

ท่ียดึเฉพาะผลประโยชน์และความพึงพอใจแต่เพียงความสุข ตอบสนองความพึงพอใจในระดบักายภาพ

ของตนเองเท่านั้น เป็นเป้าหมายชีวิต นาํสู่การเบียดเบียนคนอ่ืน จาํกดัเสรีภาพคนอ่ืน ทาํให้คนอ่ืนและ

ส่ิงแวดลอ้มตกเป็นเหยื่อของการพฒันาตามปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสังคม (John Paul II, 1991: 36)

ส่งผลให้เกิดบาปส่วนบุคคลและบาปทางสังคม (John Paul II, 1987: 36, 37) อนัเป็นอุปสรรคหรือภยั

คุกคามท่ีทาํให้มนุษยไ์ม่สามารถพฒันาชีวิตได้อย่างเหมาะสมกบัความเป็นบุคคล ดังนั้น จาํเป็นตอ้ง

เปล่ียนแปลงสังคมไปสู่สังคมของบุคคล (John Paul II, 1987: 46; 1979 : 16) อนัเป็นสังคมท่ีเป็นอิสระ

จากบาป เป็นสังคมท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศและสภาพแวดลอ้มท่ีเอ้ืออาํนวยให้ให้สมาชิกในสังคมพฒันา

ชีวิตของตนไดอ้ยา่งเหมาะสม ดว้ยการใชเ้สรีภาพอย่างถูกตอ้งและใชไ้ดอ้ย่างเต็มท่ี ในการพฒันาชีวิตสู่

การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

139

2.1.4 การหลุดพ้นจากบาป ด้วย “การกลบัใจ”

กลไก /โครงสร้างของบาปสังคม เป็นผลมาจากท่าทีของมนุษย์ท่ีขัดกับ

คุณลกัษณะของมนุษย ์กล่าวคือ มนุษยมี์ลกัษณะเป็น “ภาวะทางสงัคม” อนัเป็นพระประสงค์ของพระเจา้

ท่ีกาํหนดใหม้นุษยด์าํเนินชีวิตเก้ือกูลกนัในสังคม แต่มนุษยก์ลบั “ทาํขดัพระประสงค์ของพระเจา้โดย

ปฏิเสธหรือละเลยการช่วยเหลือเก้ือกลู เพ่ือความดีของเพ่ือนมนุษย”์ (John Paul II, 1987: 36, 37) ดว้ยการ

เมินเฉย ละเลยต่อการช่วยเหลือเก้ือกลูคนอ่ืน เพ่ือพฒันาชีวิตของพวกเขาใหบ้รรลุถึงความดีส่วนรวม จน

กลายเป็นส่วนหน่ึงของการดาํเนินชีวิตร่วมกนัในสงัคม

เม่ือมนุษยอ์ยูใ่นบรรยากาศและสภาพแวดลอ้มแห่งบาป อนัเป็นอุปสรรคสาํคญั

ต่อการพฒันาชีวิตสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ จาํเป็นท่ีมนุษยต์อ้งรู้สาํนึก กลบัใจ หันกลบัไปสู่วิถีชีวิตท่ี

ถกูตอ้งต่อการพฒันาชีวิต โดยมีเจตคติต่อตนเอง คนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้มอยา่งถกูตอ้งสมกบัการเป็นมนุษย์

ท่ีใชเ้สรีภาพในการพฒันาชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนและส่ิงอ่ืนในสงัคม อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากสังคมท่ีมนุษย์

ดาํเนินชีวิตอยู ่ยงัไม่ไดเ้ป็นสงัคมของบุคคลอย่างแทจ้ริง ดงันั้น มนุษยจึ์งมีแนวโน้มท่ีจะหลงผิดไปตาม

กระแสการทาํลายชีวิต ท่ีเนน้แต่เพียงการตอบสนองความตอ้งการดา้นร่างกาย จนละเลยการพฒันาจิตใจ

จึงจาํเป็นท่ีมนุษยต์อ้งกลบัใจอย่างต่อเน่ือง เพ่ือกลบัมาสู่วิถีชีวิตท่ีมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์อย่าง

แท้จริง การเปล่ียนแปลงสังคมให้เป็นสังคมของบุคคล จะเป็นจริงได้ ต้องเร่ิมต้นท่ีแต่ละบุคคล

ปรับเปล่ียนเจตคติ ท่าทีและแนวทางการดาํเนินชีวิต ซ่ึงพระองค์ทรงใชค้าํว่า “การกลบัใจส่วนบุคคล”

หมายถึง การเปล่ียนแปลงการดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้งกบัธรรมชาติของมนุษย ์ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์

ของพระเจา้ ท่ีมนุษยมี์ส่วนและมุ่งสู่ความดี ความสมบูรณ์ในพระเจา้ (John Paul II, 1995 : 34; 1994: 8;

1984: 11, 37; 1981: 37) พระสันตะปาปาฯ เสนอว่าการเปล่ียนแปลงสังคมไปสู่สังคมของบุคคล ตอ้ง

เร่ิมตน้ดว้ยการปรับเปล่ียนเจตคติ ให้ถูกตอ้ง และนาํสู่การเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิต สู่การ

พฒันาชีวิตใหส้มดุลทั้งมิติดา้นร่างกายและจิตวิญญาณ เพ่ือให้สมาชิกในแต่ละบุคคลมีความสาํนึกและ

รับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิต ดว้ยการใช้เสรีภาพอย่างถูกตอ้ง สอดคลอ้งกบัความจริงของชีวิต และ

ร่วมกนัรับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตดว้ยการมีสมัพนัธก์นัแบบบุคคลต่อบุคคล ใหค้วามสาํคญัต่อการมี

ความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น เร่ิมตน้จากครอบครัว ชุมชน/สังคม การดาํเนินชีวิตของมนุษยร่์วมกบัผูอ่ื้น ใน

บริบทของส่ิงแวดลอ้มท่ีสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา อนัเป็นคุณลกัษณะของสังคมท่ีสมาชิกมีการดาํเนิน

ชีวิตร่วมกนัแบบหมู่คณะท่ีมุ่งส่งเสริมและพฒันามนุษยสู่์ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ยิง่ ๆ ข้ึน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

140

2.1.5 การพฒันามนุษย์จะเป็นจริงได้ จาํเป็นต้องช่วยให้มนุษย์เป็นอสิระจากบาป

ดว้ยเหตุน้ี พระสนัตะปาปาฯ ทรงเสนอไวใ้นเร่ืองการพฒันามนุษย ์เช่ือมโยงกบั

การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา อนัเน่ืองมาจากปัญหาทางเศรษฐกิจ การเมืองและศีลธรรม ดังท่ีทรง

วิเคราะห์ไวก่้อนหน้า การพฒันามนุษยจ์ะเป็นจริงได ้จาํเป็นตอ้งช่วยให้มนุษยเ์ป็นอิสระจากอุปสรรค

ขดัขวาง ทาํใหม้นุษยไ์ม่สามารถบรรลุถึงความสมบูรณ์ของการเป็นมนุษยอ์ย่างแทจ้ริง ไดแ้ก่ บาปและ

กลไก/โครงสร้างของสังคมท่ีละเลยคุณค่าความเป็นมนุษย ์ (John Paul II 1987 : 46) เพ่ือช่วยให้มนุษย์

ดาํเนินชีวิตอยูใ่นสภาวะท่ีเอ้ืออาํนวยต่อการพฒันาชีวิต ทั้งในระดบัส่วนบุคคลและสังคม ให้แต่ละคน

สามารถพฒันาตนเอง ในความเป็นตวัของตนเอง ตามสิทธิและหน้าท่ีของตนอย่างเต็มท่ี เพ่ือ “มุ่งสู่การ

ปลดปล่อยและการพฒันามนุษย”์ (John Paul II, 1991: 43, 46)

2.2 การพฒันา เป็นกระบวนการมุ่งสู่ภารกจิตามวถิีชีวติ (Vocation) มนุษย์

พระสนัตะปาปาฯ ทรงยนืยนัและอธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนา ท่ีสอนว่ามนุษยเ์ป็นส่ิง

ประเสริฐ เน่ืองจากพระเจา้ทรงสร้างใหเ้ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ (John Paul II, 1995: 34; 1987: 30;

1986: 34, 37; 1979: 9, 2) ทาํใหม้นุษยมี์ความสมัพนัธแ์บบพิเศษ และมีส่วนร่วมในชีวติของพระองค ์

(John Paul II, 1995: 2, 37; 1986: 34; 1984: 10) กล่าวคือ มนุษยไ์ดรั้บพระกรุณาและการเช้ือเชิญจากพระ

เจา้สู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระองค ์ (John Paul II, 1995: 34, 37, 38) ซ่ึงพระสนัตะปาปาฯ ทรงอธิบายภาวะ

ของพระเจา้ตามแนวปรัชญาบุคคลนิยม ดว้ยการเสนอว่าพระเจา้ทรงเป็น “บุคคลท่ีสมบูรณ์” พระเจา้ทรง

เป็นตน้กาํเนิดและเป้าหมายของการพฒันาชีวิต มนุษยไ์ดรั้บความเป็นบุคคลจากพระองค ์ ชีวิตมนุษยจึ์ง

เป็นกระบวนการพฒันาชีวิต ดว้ยศกัยภาพท่ีพระเจา้ประทานให ้ เพ่ือมุ่งสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ (John

Paul II, 1995: 7, 34, 1991: 29) ดว้ยเหตุน้ี การพฒันาชีวติมนุษย ์จึงเป็นการพฒันาท่ีมุ่งสู่การเสริมสร้าง

ความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ไม่เพียงในฐานะท่ีพระองคเ์ป็นจุดเร่ิมตน้ของชีวิต แต่มนุษยย์งัมีความสมัพนัธ์

กบัพระเจา้ในฐานะท่ีพระองคเ์ป็นจุดหมายปลายทางของชีวิต คือ “การมุ่งท่ีจะมีความสนิทสมัพนัธก์บั

พระเจา้อยา่งสมบูรณ์ในชีวิตนิรันดรของพระเจา้” (John Paul II, 1995: 38) ดว้ยการใชศ้กัยภาพท่ีมนุษยมี์

ในการสร้างความสมัพนัธก์บัพระองค ์

2.2.1 “บุคคลที่สมบูรณ์” : เป้าหมายสูงสุดของการพฒันาชีวติ

พระสนัตะปาปาฯ ทรงเสนอว่า แมม้นุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ แต่มนุษย์

เองยงัไม่ไดบ้รรลุถึงขีดขั้นความสมบูรณ์ของการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้อย่างแทจ้ริง มนุษยย์งัตอ้ง

พฒันาตวัเองอยา่งต่อเน่ือง เพ่ือมุ่งสู่ความสมบูรณ์แบบ ดว้ยเหตุน้ี ชีวิตมนุษยจึ์งมีชะตากรรมท่ีมุ่งสู่ชีวิตท่ี

สมบูรณ์ มนุษยมี์สิทธิและหน้าท่ีท่ีจะบรรลุถึงชีวิตนิรันดร/ชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจ้า การพฒันาชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

141

มนุษยจึ์งมีเป้าหมาย คือ การมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ดงันั้น จึงกล่าวไดว้่าการมุ่งสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ใน

พระเจา้ในฐานะท่ีพระองคเ์ป็น (พระ) บุคคลท่ีสมบูรณ์ จึงเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันาชีวิตมนุษย ์

(John Paul II, 1995: 2, 34; 1987: 29; 1986: 37)

เป้าหมายสูงสุดของการพฒันาชีวิตมนุษย ์คือ การมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

ชีวิตมนุษยเ์ป็นกระบวนท่ีมุ่งสู่การการเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ อาศยัศกัยภาพท่ีเป็นลกัษณะเฉพาะของมนุษย ์

ไดแ้ก่ ความรู้สาํนึก เสรีภาพ การดาํเนินชีวิตและพฒันาชีวิตดว้ยการสร้างความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้นในสงัคม

(John Paul II, 1998: 25; 1995: 40, 48; 1994: 41; 1993: 54 –57; 1988: 37, 40; 1981: 10–11; 1979: 12) การ

พฒันาชีวิตสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ เป็นกระบวนการท่ีสอดคลอ้งกบัภาวะมนุษยว์่าเป็นส่ิงท่ีพระเจา้

ทรงสร้าง และโปรดใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมในการดาํรงอยูแ่บบท่ีพระเจา้ทรงเป็น กล่าวคือ พระเจา้ทรงโปรด

ใหม้นุษยด์าํรงอยูใ่นฐานะบุคคล การเป็นบุคคลน้ีจึงเป็นทั้งสิทธิและหนา้ท่ีในการพฒันาชีวิตมุ่งสู่การเป็น

บุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ (John Paul II, 1993: 73; 1991: 29)

2.2.2 การมุ่งสู่บุคคลที่สมบูรณ์ เป็นการตอบรับพระกรุณาของพระเจ้า

การเป็นบุคคลของมนุษยไ์ม่ใช่ในแบบคงท่ี แต่เป็นการพฒันาความเป็นบุคคล

อยา่งต่อเน่ือง ไปสู่เป้าหมายของชีวิต นัน่ก็คือการบรรลุถึงความสมบูรณ์ของการเป็นมนุษย ์ ท่ีจะพบได้

ในพระเจา้ ผูเ้ป็นตน้กาํเนิดและจุดหมายปลายทางของชีวิตมนุษย ์ แมธ้รรมชาติมนุษยจ์ะบกพร่องไป

เพราะบาปกาํเนิดท่ีมนุษยค์นแรก (อาดมั) ใชเ้สรีภาพในการเลือกตนเองแทนท่ีจะเลือกพระเจา้ แต่มนุษยมี์

ความตระหนกัว่าตวัเขามีศกัด์ิศรีในการกอบกูชี้วิตของตนใหมี้ศกัด์ิศรี โดยผา่นทางพระเยซูคริสตเจา้และ

อาศยัพระเยซูคริสตเจา้ ท่ีช่วยกอบกูธ้รรมชาติมนุษยใ์หก้ลบัมาดงัเดิม (John Paul II, 1995: 29; 1984: 16;

1979: 8, 10, 11) ทาํใหก้ารบรรลุถึงความสมบูรณ์ดงักล่าวน้ีสามารถเป็นไปไดก้็โดยอาศยัพระเยซูคริสต

เจา้ ดว้ยการดาํเนินชีวิตตามแบบอย่างของพระองค์ (John Paul II, 1995: 41; 1987: 40; 1979: 10, 11)

ดว้ยการดาํเนินชีวิตตามหลกัคุณธรรมความรักตามคาํสอนคริสตศ์าสนา กล่าวคือ ความตั้ งใจแน่วแน่ท่ีจะ

อุทิศตนบาํเพญ็ประโยชน์เพ่ือส่วนรวมและประโยชน์ของแต่ละบุคคล ให้บุคคลมีความสาํนึกรับผิดชอบ

ต่อชีวิตของตนและคนอ่ืน ดว้ยการแบ่งปันโดยการรับใชก้นัและกนัดว้ยความรัก กล่าวคือ การมีนํ้ าใจ

เอ้ือเฟ้ือเผือ่แผ/่แบ่งปัน ความพร้อมท่ีจะเสียสละเพ่ือผูอ่ื้น แทนท่ีจะเอาเปรียบผูอ่ื้น และพร้อมท่ีจะรับใช้

ผูอ่ื้นแทนท่ีจะกดข่ีผูอ่ื้นเพ่ือผลประโยชน์ส่วนตน (John Paul II, 1987: 38, 39, 46)

2.2.3 การมุ่งสู่ชีวติที่สมบูรณ์ เป็นภารกจิท่ีพระเจ้ามอบให้มนุษย์

การท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์พระเจา้ นอกจากจะเป็นภารกิจท่ีพระเจา้ทรงมอบ

ใหม้นุษยเ์ป็นตวัแทนของพระองคใ์นการปกครองดูแลส่ิงต่าง ๆ ตามแบบอยา่งของพระเจา้ กล่าวคือ การ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

142

คงไวซ่ึ้งความสมดุลและระเบียบของธรรมชาติโดยรวม (John Paul II, 1991: 38; 1987: 26, 34; 1979: 15)

นอกจากนั้น การท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ยงัหมายถึง ภารกิจท่ีพระเจา้ทรงมอบหมายแก่มนุษย ์

ในวิถีชีวิตพระเจา้ทรงเช้ือเชิญใหม้นุษยต์อบรับไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ ซ่ึงเป็นเป้าหมาย

ของชีวิต ท่ีมนุษยไ์ม่ไดมี้ชะตากรรมแต่เพียงการดาํเนินชีวติในโลกน้ีเท่านั้น แต่มนุษยมี์จิตวิญญาณ อนั

เป็นคุณลกัษณะพิเศษท่ีพระเจา้ประทานให ้ เพ่ือใหม้นุษยบ์รรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ ตามพระประสงคข์อง

พระเจา้ (John Paul II, 1987: 30)

2.2.4 การมุ่งสู่ชีวติที่สมบูรณ์เป็นกระบวนการในสังคมที่เป็นสากลและต่อเนือ่ง

การพฒันาชีวิตของมนุษย ์แมจ้ะมีเป้าหมายสูงสุด คือ ชีวิตท่ีสมบูรณ์ หรือ การ

เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ แต่มนุษยต์อ้งพฒันาชีวิตของตนในสังคม ร่วมกบัคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้ม

เน่ืองจาก “ชีวิตในโลกน้ีเป็นเง่ือนไขท่ีจ ําเป็น ซ่ึงเป็นขั้ นแรก และเป็นองค์ประกอบสําคัญของ

กระบวนการชีวิตทั้งหมด ท่ีจะบรรลุถึงชีวิตนิรันดรในภายหนา้” (John Paul II, 1995: 2) มนุษยจึ์งพึงให้

ความสาํคญัต่อการดาํเนินชีวิตท่ีดีในโลกน้ี ดว้ยการสร้างสรรค์สังคมมนุษยชาติให้เต็มดว้ยบรรยากาศ/

สภาพแวดลอ้มท่ีเอ้ืออาํนวยต่อการพฒันาชีวิตของบุคคลอย่างแทจ้ริง นอกจากนั้น การพฒันาชีวิตสู่การ

เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ มีลกัษณะเป็น “กระบวนการสากล” ท่ีครอบคลุมทุกคน ทุกสภาพและตลอดชีวิต

ดว้ยความสํานึกและรับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิตของตนและคนอ่ืนในสังคม ในฐานะท่ีทุกคนเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ (John Paul II, 1981: 4) ดว้ยเหตุน้ี การมุ่งสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์จึงเป็นกระบวนการท่ี

ต่อเน่ืองและเป็นหน่ึงเดียวท่ีสามารถบรรลุถึงชีวิตนิรันดร ซ่ึงเร่ิมตน้ตั้ งแต่ชีวิตบนโลกน้ีและจะบรรลุถึง

ชีวิตนิรันดรกบัพระเจา้ในภายหนา้ (John Paul II, 1995: 2)

ดงันั้น จึงกล่าวไดว้่า การท่ีมนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้จึงเป็น

ทั้ งสิทธิพิเศษท่ีพระเจา้ประทานแก่มนุษยใ์ห้มนุษยมี์ร่วมส่วนและสามารถบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ใน

พระองค์ (John Paul II, 1995: 7, 38; 1987: 33; 1986: 34) ในขณะเดียวกนัมนุษยย์งัมีหน้าท่ีท่ีจะตอ้ง

พฒันาชีวิตของตน ดว้ยการตอบรับการเช้ือเชิญจากพระเจา้ มุ่งสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ ดว้ยศกัยภาพภายในท่ี

พระองคป์ระทานให ้ (John Paul II, 1981: 37) การพฒันามนุษยจึ์งเป็นกระบวนการมุ่งสู่ภารกิจท่ีพระ

เจา้ทรงมอบหมายแก่มนุษย ์ในวิถีชีวิตพระเจา้ทรงเช้ือเชิญใหม้นุษยต์อบรับไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

ในพระเจา้ ซ่ึงเป็นเป้าหมายของชีวิต ท่ีมนุษยไ์ม่ไดมี้ชะตากรรมแต่เพียงการดาํเนินชีวิตในโลกน้ีเท่านั้น

แต่มนุษยมี์จิตวิญญาณ อนัเป็นคุณลกัษณะพิเศษท่ีพระเจ้าประทานให้ เพ่ือให้มนุษยบ์รรลุถึงชีวิตท่ี

สมบูรณ์ ตามพระประสงค์ของพระเจา้ (John Paul II, 1987: 30; 1981: 4) นอกจากนั้น การพฒันามี

ลกัษณะเป็น “กระบวนการสากล” ท่ีครอบคลุมทุกคน ทุกสภาพและตลอดชีวิต ดว้ยความสาํนึกและ

รับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตของตนและคนอ่ืนในสงัคม ในฐานะท่ีทุกคนเป็น “ภาพลกัษณ์ของพระเจา้”

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

143

2.3 การพฒันา มลีกัษณะเป็นการบูรณการ

พระสนัตะปาปาฯ เสนอความหมายการพฒันาว่าเป็น “การพฒันามนุษยแ์บบบูรณ

การ” (John Paul II, 1987: 32) หมายถึงการพฒันาท่ีครอบคลุมทุกมิติของชีวติมนุษย ์ ทั้งดา้นเศรษฐกิจ

สงัคม วฒันธรรมและจิตใจ รวมถึงโอกาส คุณภาพและความเสมอภาคของทุกภาคส่วนในสงัคม ซ่ึงมี

ลกัษณะเป็น “การพฒันามนุษยทุ์กดา้นและมวลมนุษยชาติ” (John Paul II, 1987: 32, 33) ซ่ึงครอบคลุม

การพฒันาในสองระดบัท่ีควบคู่กนั ไดแ้ก่ การพฒันาบุคคล และการพฒันาสงัคม

2.3.1 การพฒันาแบบบูรณการทุกมติขิองบุคคลและสังคม

1. การพฒันาบุคคลแบบบูรณการ

การพฒันาบุคคลแบบบูรณการ หมายถึง การพฒันาท่ีทาํใหม้นุษยแ์ต่ละคน

เจริญมากข้ึนหรือดียิง่ข้ึนสมกบัความเป็นมนุษย ์ ไม่ใช่จาํกดัมนุษยเ์ป็นเพียงแค่วตัถุ ตอบสนองเฉพาะการ

เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ตอ้ง “เคารพทุกมิติของชีวติมนุษย”์ (John Paul II, 1991: 36) เน่ืองจาก “การ

เพิ่มพนูของวตัถุปัจจยัไม่สามารถทาํใหม้นุษยมี์ความสุขหรือพน้จากเป็นทาสทุกชนิด” (John Paul II,

1987: 46) แต่ทาํให ้ “มนุษยอ์าจตกเป็นทาสของทรัพย ์บริโภคนิยม ไม่พอใจกบัส่ิงท่ีตนมี หลงบูชาความ

มัง่มีเป็นคุณค่าสูงสุด” (John Paul II, 1987: 28) ดว้ยเหตุน้ี “การพฒันาเศรษฐกิจเพียงดา้นเดียวไม่สามารถ

ทาํใหม้นุษยมี์เสรีภาพอยา่งแทจ้ริง จุดมุ่งหมายของการพฒันาอยูท่ี่มนุษยมี์เสรีภาพอยา่งสมบูรณ์ คือ เป็น

ตวัของตวัเองอยา่งเต็มท่ี มีสิทธิและหนา้ท่ีของตนครบถว้น” (John Paul II, 1987: 46) แต่ตอ้งเป็นการ

พฒันาแบบบูรณการท่ีครอบคลุมทุกมิติของการดาํเนินชีวิตมนุษย ์ ทั้งมิติทางเศรษฐกิจ สงัคม วฒันธรรม

ศีลธรรม รวมถึงมิติทางศาสนาท่ีเช่ือมโยงกบัพระเจา้ ผูเ้ป็นความดีสูงสุดท่ีอยูเ่หนือขอบเขตและธรรมชาติ

ของมนุษย ์ เพ่ือทาํใหม้นุษยบ์รรลุถึงความสมบูรณ์แบบ (John Paul II, 1991 : 29, 39; 1987: 29, 46)

2. การพฒันาสงัคมแบบบูรณการ

การพฒันาสังคมแบบบูรณการ หมายถึง การพฒันาท่ีทาํให้ทุกสังคมมีความ

เสมอภาคในการพฒันา ทุกประเทศมีความเจริญกา้วหนา้ไปดว้ยกนั ไม่มีการแบ่งแยกสงัคม/ประเทศ และ

เป็นการพฒันาท่ีทุกภาคส่วนของโลกมีส่วนแบ่งในการพฒันาร่วมกนั เน่ืองจาก พระเจา้ประทานโลกเพ่ือ

มวลมนุษยเ์พ่ือการพฒันาชีวิตของบุคคลและทุกคน (John Paul II, 1987: 17) จึงตอ้งมีการจดัสรร ไม่ใช่

ในแบบแข่งขัน แย่งชิง แต่ตอ้งเป็นไปในลกัษณะการแบ่งปัน ด้วยความเคารพต่อสิทธิส่วนบุคคล บน

พ้ืนฐานของหลกัศีลธรรม เพ่ือประโยชน์ต่อการพฒันาชีวิตโดยรวม และครอบคลุมมนุษยทุ์กคน (John

Paul II, 1987: 33, 34)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

144

2.3.2 การบูรณการไปสู่ “บุคคลที่มเีสรีภาพ ในสังคมที่เป็นอสิระ”

พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่าการพฒันามนุษยใ์หเ้ป็นมนุษยย์ิ ่งข้ึนจะเป็นจริงได ้

ไม่ใช่ในลกัษณะต่างคนต่างทาํในแบบปัจเจก แต่ละบุคคลตอ้งร่วมกนัสรรสร้างสงัคม ใหเ้ป็นสังคมแบบ

หมู่คณะ อนัเป็นสังคมท่ีเต็มด้วยบรรยากาศและสภาพแวดลอ้มท่ีส่งเสริมให้มนุษยเ์ป็นตัวของตวัเอง

สาํนึกในสิทธิและหนา้ของตนอย่างครบถว้น เพ่ือมนุษยจ์ะไดพ้ฒันาตนเองไดอ้ย่างเต็มท่ี (John Paul II,

1987: 46, 47) เพ่ือมนุษยแ์ต่ละคนจะไดพ้ฒันาตนเองดว้ยศกัยภาพภายใน ดว้ยการใชเ้สรีภาพ บนพ้ืนฐาน

ของความรู้สาํนึก ดว้ยการสร้างความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้น เพ่ือมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ในพระเจา้) ถือ

เป็นเป้าหมายของการดาํเนินชีวิตในสังคม และเป็นวิถีทางสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ตามคาํสอนคริสต์

ศาสนา ท่ีพระสนัตะปาปาฯ ทรงนาํมาอธิบายตามแนวทางของพระองค ์หรือการเสนอคาํสอนเร่ืองสังคม

กล่าวคือ มีความจาํเป็นตอ้งเปล่ียนแปลงสังคมไปสู่สังคมของบุคคล (John Paul II, 1987: 46, 1979 :

16) อนัเป็นสงัคมท่ีเป็นอิสระจากบาป เป็นสงัคมท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศและสภาพแวดลอ้มท่ีเอ้ืออาํนวยให้

ใหส้มาชิกในสงัคมพฒันาชีวิตของตนไดอ้ยา่งเหมาะสม ดว้ยการใชเ้สรีภาพอย่างถูกตอ้งและใชไ้ดอ้ย่าง

เต็มท่ี ในการพฒันาชีวิตสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

1. สงัคมของบุคคล เป็นสงัคมแห่งความยติุธรรมและสนัติ

พระสนัตะปาปาฯ ทรงนาํแนวคิดของพระสันตะปาปอล ท่ี 6 ท่ีกล่าวไวใ้น

เอกสาร การพฒันาประชาชาติ (Populorum Progressio, 1967) เพ่ืออธิบายความหมายของสังคมของ

บุคคล ว่าเป็นสงัคมแห่งชีวิต ท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศของความยุติธรรมและสันติ (John Paul II, 1987: 26;

1981: 18) ซ่ึงเช่ือมโยงกบัคาํสอนคริสตศ์าสนาท่ีใหห้ลกัการท่ีแสดงถึง “อาณาจกัรพระเจา้” ตามท่ีนักบุญ

เปาโลสอนไวใ้นบทจดหมายถึงชาวโรม (รม 14: 17) ว่า “อาณาจกัรของพระเจา้ ไม่ใช่เร่ืองของการกิน

การด่ืม แต่เป็นความชอบธรรม (Righteousness) สนัติ (Peace) และความช่ืนชมยนิดี (Joy) ในพระจิตเจา้”

สงัคมของบุคคล (อาณาจกัรของพระเจา้) เร่ิมตน้แลว้ดว้ยพระเมตตาของพระเจา้ ทางพระเยซูคริสตเจา้

ค่อยๆ พฒันาอย่างต่อเน่ืองด้วยการตอบรับ ดว้ยความสํานึก รับผิดชอบของมนุษย ์ท่ีมีส่วนร่วมทาํให้

สังคมของบุคคล อนัเป็นสังคมแห่งความยุติธรรมและสันติ เป็นวิถีทางสู่อาณาจกัรพระเจา้ท่ีจะสําเร็จ

บริบูรณ์ในอนาคต

2. สงัคมของบุคคลมีพ้ืนฐานบน “วฒันธรรมแห่งชีวิต”

พระสันตะปาปาฯ ทรงเสนอให้การสร้างสรรค์ให้สังคม เป็นสังคมของ

บุคคล บนพ้ืนฐาน “วฒันธรรมแห่งชีวิต” (John Paul II 1995: 23) กล่าวคือ การเสริมสร้างบรรยากาศ/

สภาพแวดลอ้มของสงัคม บนพ้ืนฐานของการส่งเสริมคุณค่าและศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษย ์ท่ีมุ่งสู่การ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

145

เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์/ชีวิตนิรันดรในพระเจา้ ท่ีทุกคนและทุกภาคส่วนตอ้งมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อการ

สร้างสงัคม ให้เป็นสังคมท่ีดาํเนินชีวิตเป็นหมู่คณะ (John Paul II, 1995: 28; 1991: 36, 47; 1987: 29, 33,

47; 1981: 22; 1979: 13, 15)

วฒันธรรมแห่งชีวิต จึงเป็นรากฐานของการสร้างสังคมของบุคคล กล่าวคือ

การส่งเสริมคุณค่าของความเป็นบุคคล อนัเป็นคุณค่าทางจิตใจ/จิตวิญญาณ บนพ้ืนฐานของความเป็น

บุคคล ท่ีมีความรู้สาํนึก เสรีภาพ ท่ีควบคู่กนั เพ่ือพฒันาชีวิตดว้ยการสร้างความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น ดว้ยการ

เคารพในคุณค่า ศกัด์ิศรีของมนุษยส่์วนบุคคลท่ีตอ้งมีความสาํคญักว่าวตัถุส่ิงของ การเป็นบุคคลน้ีเร่ิมต้น

ตั้งแต่วินาทีแรกของการปฏิสนธิในครรภ์มารดาท่ีตอ้งไดรั้บความเคารพในแบบล่วงละเมิดไม่ได ้(John

Paul II 1995 : 60, 77) และการเป็นบุคคลน้ีมีพ้ืนฐานมาจากการเป็นพระบุคคลของพระเจา้ ซ่ึงเป็นความ

เป็นจริงสูงสุด ท่ีโปรดใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมในการเป็นพระบุคคลของพระองค์ (John Paul II 1995 : 3, 5,

6, 1993 : 38, 86, 1988 : 37, 1986 : 34, 37, 1981 : 37)

ดงันั้น การพฒันาท่ีแทจ้ริง ตอ้งเป็นการพฒันาแบบบูรณการ กล่าวคือ การ

พฒันาท่ีครอบคลุมทุกมิติของชีวิตมนุษย ์และการพฒันาชีวิตในสงัคม ดงัท่ีพระองคเ์สนอว่า “การพฒันา

ไม่ไดจ้าํกดัแต่เพียงการครอบครองในกรรมสิทธ์ิต่างๆ มิใช่เป็นเพียงการเพิ่มพูนทรัพยส์มบติัและการ

ไดม้าซ่ึงสินคา้และบริการต่างๆ มากยิง่ข้ึน” (John Paul II 1987 : 9.9) แต่ยงัตอ้งคาํนึงถึงการพฒันามนุษย์

ในทุกมิติ และทุกบุคคลโดยรวม การพฒันาท่ี “ปล่อยปละละเลยการพฒันาคนส่วนใหญ่ และไม่คาํนึงถึง

การพฒันามนุษยใ์นมิติสังคม วฒันธรรมและจิตใจ” (John Paul II 1987 : 9.9) ถือเป็นการพฒันาท่ีไม่

ถกูตอ้ง เน่ืองจากไม่สอดคลอ้งกบัความเป็นมนุษย ์

2.4 การพฒันา คอื การส่งเสริมสิทธบุิคคล

พระสนัตะปาปาฯ ทรงใหค้วามสาํคญัต่อการพฒันาท่ีมีพ้ืนฐานอยู่บน “สิทธิบุคคล”

ท่ีทุกคนมีเหมือนกนั “หากการพฒันาแบบใดๆ มิไดเ้คารพและส่งเสริมสิทธิของบุคคลและสังคม สิทธิ

ทางเศรษฐกิจและการเมือง รวมทั้งสิทธิของชาติและประชาชน การพฒันาเช่นน้ีไม่สมไดช่ื้อว่า การพฒันา

มนุษย”์ (John Paul II, 1987: 33.1) การพฒันามนุษยต์อ้ง “ตระหนักถึงคุณค่าของสิทธิของมนุษยทุ์กคน

และสิทธิของแต่ละคน” (John Paul II, 1987: 33)

2.4.1 พ้ืนฐานสิทธิบุคคล

การอธิบาย “สิทธิบุคคล” ของพระสันตะปาปาฯ เช่ือมโยงกบัการอธิบายการ

เป็นบุคคลของมนุษย ์โดยเนน้ว่ามนุษย ์เป็นจิตท่ีอยูใ่นร่างกาย ซ่ึงเป็นแนวคิดท่ีสอดคลอ้งระหว่างคาํสอน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

146

คริสตศ์าสนากบัปรัชญาบุคคลนิยม ท่ีพระสันตะปาปาฯ ทรงนาํมาประยุกต์ใชเ้พ่ืออธิบายเป้าหมายของ

การพฒันาชีวิตมนุษย ์(John Paul II, 1994: 8, 19, 20; 1993: 48, 50)

2.4.2 ความหมายของสิทธิบุคคล

จากแนวคิดท่ีอธิบายว่ามนุษย์เป็นจิตท่ีเป็นหน่ึงเดียวกับร่างกาย พระ

สนัตะปาปาฯ จึงอธิบายว่าสิทธิบุคคล หมายถึง สิทธิขั้นพ้ืนฐานของมนุษย ์ท่ีเร่ิมตั้ งแต่การเร่ิมปฏิสนธิ

สิทธิในการดาํเนินชีวิตในสภาพแวดลอ้มท่ีเหมาะสม สิทธิในการพฒันาสติปัญญาและเสรีภาพ สิทธิใน

การทาํงาน สิทธิในการสร้างครับครัวและการดาํเนินชีวิตตามความเช่ือ (John Paul II, 1991: 47)

นอกจากนั้น ยงัหมายถึง การมีความสาํนึกถึงความจาํเป็นท่ีจะตอ้งเคารพสิทธิ

ของคนแต่ละคน ท่ีจะไดรั้บผลประโยชน์อนัเกิดจากวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างเต็มท่ี โดยมีความ

สํานึกต่อการเคารพสิทธิท่ีจะมีชีวิตในทุกขั้ นตอนของชีวิต รวมถึงการเคารพใน เอกลักษณ์ทาง

ประวติัศาสตร์และวฒันธรรมของชนชาติ (John Paul II, 1987: 33)

2.4.3 การพฒันาชีวิตดว้ยจิตสาํนึกต่อสิทธิบุคคล

เน่ืองจากพระสันตะปาปาฯ ทรงให้ความสําคญัต่อการพฒันาบุคคลร่วมกับ

ผูอ่ื้นในสงัคม ดงันั้น การพฒันาชีวิตบนพ้ืนฐานของสิทธิมนุษย ์จึงตอ้งดาํเนินไปร่วมกบัคนอ่ืนในสังคม

สิทธิบุคคลจึงไม่ไดเ้ป็นแค่ “เกณฑข์ั้นตํ่า” หรือขอ้ตกลงเบ้ืองตน้ท่ีเป็นลายลกัษณ์อกัษร แต่ทรงย ํ้ าถึงการ

ปฏิบติัตามเจตนารมณ์ (John Paul II, 1979: 17) อนัเป็นจิตสาํนึกร่วมกนัของบุคคลในสังคม อนัเป็น

คุณค่าฝ่ายจิตท่ีเรียกร้องใหด้าํเนินชีวิตในหมู่คณะท่ีเป็นหน่ึงเดียว ไม่ใช่ต่างคนต่างอยู่แบบตวัใครตวัมนั

ในแบบปัจเจกชน สิทธิบุคคลจะเป็นจริงไดด้ว้ยความสาํนึกถึงการเป็นส่วนหน่ึงของสังคม โดยเร่ิมตน้

จากครอบครัว ชุมชน สงัคมในลกัษณะของการดาํเนินชีวิตเป็นหมู่คณะ ท่ีอุทิศตนเพ่ือการพฒันาชีวิตบน

พ้ืนฐานของการเคารพในคุณค่า ศกัด์ิศรีของการเป็นบุคคลท่ีทุกคนมีเท่าเทียมกนั ไม่ใช่ดว้ยการใชก้าํลงั

หรือความรุนแรง แต่ดว้ยการเสวนาอยา่งจริงใจและดว้ยความเคารพซ่ึงกนัและกนั

พระสนัตะปาปาฯ ทรงใหค้วามสาํคญัต่อครอบครัวเป็นพิเศษ ในฐานะเป็นหมู่

คณะแรก และเป็นพ้ืนฐานในการปลุกฝังคุณค่าของชีวติ ครอบครัวเป็นจุดเร่ิมตน้ของชีวิตและการพฒันา

ชีวิต ครอบครัวมีบทบาทสาํคญัต่อการปลกูฝังเจตคติ และการดาํเนินชีวิตอยา่งถกูตอ้งต่อคุณค่าพ้ืนฐาน

และศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของมนุษย ์ (John Paul II, 1991: 49; 1981: 17) สงัคม/รัฐ ตอ้งร่วมส่งเสริม

และสนบัสนุนใหค้รอบครัวไดป้ฏิบติัหนา้ท่ีใหบ้รรลุผลสาํเร็จ (John Paul II, 1981: 40)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

147

2.4.4 การพฒันาอตัลกัษณ์ส่วนบุคคล

การพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของสิทธิบุคคล ยงัรวมความถึงการท่ีบุคคลมี

สิทธิและตอ้งไดรั้บการส่ิงเสริมจากสงัคมในการพฒันาชีวิตตามอตัลกัษณ์ พระสันตะปาปาฯ ทรงย ํ้ าถึง

“อตัลกัษณ์ส่วนบุคคล” (John Paul II, 1979 : 13, 14) ท่ีไม่ซํ้ าแบบกนั ในฐานะท่ีมนุษยด์าํเนินชีวิตและ

พฒันาชีวิตของตนตามบริบทและประวติัศาสตร์ของแต่ละคน บนพ้ืนฐานของการเคารพตนเองและผูอ่ื้น

ในฐานะท่ีเป็นบุคคลท่ีดาํเนินชีวิตท่ามกลางส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการใหค้วามสาํคญัต่อวฒันธรรม อนัเป็น

คุณค่าและมรดกตกทอดจากรุ่นสู่รุ่น (John Paul II, 1991: 50) ท่ีหล่อหลอมมนุษยใ์ห้พฒันาชีวิตตามอตั

ลกัษณ์ของตน

2.5 การพฒันา คอื การดําเนินชีวติอย่างสมดุลในบริบทส่ิงแวดล้อม

การท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์พระเจา้ นอกจากจะเป็นสิทธิท่ีทาํให้มนุษยมี์ความพิเศษ

เหนือส่ิงอ่ืนๆ แลว้ มนุษยย์งัมีหนา้ท่ีท่ีจะพฒันาชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ นอกจากนั้น การเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ยงัหมายถึงการเป็นตวัแทนของพระเจา้ในการปกครองดูแลส่ิงต่างๆ ท่ีพระองค์

ทรงสร้างข้ึน (John Paul II, 1979: 15)

2.5.1 ความสัมพนัธ์ระหว่างมนุษย์กบัส่ิงแวดล้อม

พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่าบาปส่วนบุคคลและบาปสังคม ส่งผลให้มนุษยมี์

ความเขา้ใจผิดเร่ืองเสรีภาพในแบบเขา้ขา้งตนเอง ขาดความรับผิดชอบตามหลกัศีลธรรม ยึดแต่เพียง

ผลประโยชน์ของตนเองเป็นหลกั จนเบียดเบียนหรือละเลยคนอ่ืน และส่ิงแวดลอ้ม ดว้ยเหตุน้ี พระองค์

ทรงเสนอว่าการพฒันาชีวิตตอ้งคาํนึงถึงการมีความสมัพนัธท่ี์ถกูตอ้งกบัส่ิงแวดลอ้ม ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็น

ส่ิงสร้างท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ พระองค์ทรงมอบภารกิจให้มนุษยป์กครองดูแลส่ิงต่าง ๆ ในโลก

โดยรักษาความสมดุลและระเบียบของส่ิงต่าง ๆ ท่ีพระองคท์รงสร้างข้ึน ดงัท่ีทรงเสนอว่า “มนุษยไ์ดรั้บ

มอบหมายจากพระผูส้ร้างใหเ้ป็นผูดู้แลและปกครองโลกน้ีตามภารกิจท่ีไดรั้บมอบหมายจากพระเจา้ ซ่ึง

เป็นการสะทอ้นถึงกิจการของพระผูส้ร้าง” (John Paul II, 1981: 4) ดงันั้น มนุษยต์อ้งมีท่าทีท่ีถกูตอ้งใน

ความสมัพนัธก์บัส่ิงแวดลอ้มตามแบบอย่างของพระเจา้ กล่าวคือ การคงไวซ่ึ้งความสมดุลและระเบียบ

ของธรรมชาติโดยรวม (John Paul II, 1991: 38; 1987: 26, 34; 1979: 15)

2.5.2 การพฒันาบนความสัมพนัธ์ที่ถูกต้องระหว่างมนุษย์กบัส่ิงแวดล้อม

การพฒันามนุษย ์จึงจาํเป็นคาํนึงถึงความสัมพนัธ์ต่อส่ิงแวดลอ้ม ตามระบบ

นิเวศวิทยา ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นส่วนหน่ึงของส่ิงแวดลอ้ม มนุษยเ์ป็นส่วนหน่ึงของจกัรวาล ดว้ยเหตุน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

148

การพฒันามนุษย ์ตอ้งคาํนึงถึงความสอดคลอ้ง สมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม ตอ้งมีการรักษาสภาพแวดลอ้มให้

สมดุล “ทาํใหธ้รรมชาติสมดุล” การพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของความเคารพต่อบูรณภาพและวงจรของ

ธรรมชาติรอบตวัมนุษย ์ ถือเป็นความสาํนึกรับผิดชอบตามหลกัการทางศีลธรรม (John Paul II, 1991:

38; 1987: 26, 34) ตามท่ีพระเจา้ทรงมอบหมายให้มนุษยป์กครอง ดูแลส่ิงต่างตามแบบท่ีพระเจา้ทรง

กระทาํ กล่าวคือ การเป็น “นาย” และ “ผูรั้กษา” ท่ีฉลาดและมีจิตใจสูง ไม่ใช่อยา่ง “ผูสู้บเอาผลประโยชน”์

และ “ผูล้า้งทาํลาย” แบบไม่สนใจการดาํรงอยูข่องส่ิงแวดลอ้ม (John Paul II, 1979 : 15)

ดว้ยเหตุน้ี การพฒันาชีวิตจึงตอ้งคาํนึงถึงความสมดุลของส่ิงแวดลอ้มตามระบบ

นิเวศ ท่ีครอบคลุมทั้งการปกครองอยา่งเหมาะสม รวมถึงการปกป้อง รักษา และเสริมสร้างให้คงอยู่ตาม

ระบบนิเวศ และความตระหนักถึงบทบาทหน้าท่ีและความรับผิดชอบต่อชนรุ่นหลงัดว้ย (John Paul II,

1991: 37)

3. หลกัในการพจิารณาการพฒันามนุษย์

พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่าการพฒันาสู่ความเจริญท่ีแทจ้ริงของชีวิตตอ้งมีพ้ืนฐาน

อยูบ่นการพิจารณาความสอดคลอ้ง ความเหมาะสมกบัความเป็นจริงของชีวติท่ีว่า มนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ และพระเจา้ทรงเรียกร้องมนุษยใ์หเ้ขา้มามีส่วนในความจริงและความดีซ่ึงก็คือ

พระเจา้เอง มนุษยจึ์งตอ้งเคารพศกัด์ิศรีพิเศษของการเป็นภาพลกัษณ์น้ี” (John Paul II, 1993: 86; 1987:

29, 33) ดงันั้น การพฒันาจึงตอ้งคาํนึงทุกมิติของชีวิต ทั้งมิติทางกายภาพและ มิติภายใน หรือคุณค่าจิต

วิญญาณ อนัเป็นพลงัชีวิตท่ีสามารถเขา้ถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์

ดงันั้น จึงเสนอหลกัในการพิจารณาการพฒันามนุษย ์ ท่ีเหมาะสม สอดคลอ้งกบัการ

เป็นบุคคลของมนุษย ์ ท่ีเช่ือมโยงกบัความหมายของการทาํงาน ซ่ึงเป็นกิจกรรมสาํคญัของการพฒันาชีวิต

และสงัคม ดงัน้ี

3.1 หลกัในการพจิารณาการพฒันามนุษย์

พระสนัตะปาปาฯ ทรงเสนอว่า การพฒันามนุษย ์ตอ้งสอดคลอ้งกบัความเป็นจริง

ของชีวิต ทรงนาํเสนอหลกัในการพิจารณาการพฒันาชีวิตในสงัคม ดงัน้ี

3.1.1 การพฒันาต้องมุ่งไปสู่ “การกลบัใจ”

ตามท่ีพระสนัตะปาปาฯ ทรงวิเคราะห์ว่าสาเหตุของปัญหาการพฒันา

คือ การพฒันาบนพ้ืนฐานของแนวคิดวตัถุนิยม ท่ีมีความเขา้ใจว่ามนุษยเ์ป็นเพียงวตัถุสสาร ปฏิเสธหรือ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

149

ละเลยคุณค่าของจิตใจ/จิตวญิญาณ มีการพฒันามนุษยแ์ต่เพียงมิติเดียว คือ การตอบสนองความตอ้งการ

ทางกายภาพ โดยใชเ้ศรษฐกิจเป็นหลกั ส่งผลใหม้นุษยมี์แนวโนม้ท่ีจะดาํเนินชีวิตท่ียดึแต่ผลประโยชน์

และความสุขในระดบักายภาพ ปฏิเสธหรือละเลยการพฒันาชีวิตในสงัคมร่วมกบัคนอ่ืน มุ่งพฒันาชีวิตแต่

เพียงการส่งเสริมความมัง่คัง่ทางดา้นวตัถุ จนละเลยความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคล (John Paul II, 1995 : 23)

รวมถึงความเขา้ใจผดิเร่ืองเสรีภาพ ดว้ยการแยกเสรีภาพออกจากการยอมรับความจริง อนัส่งผลใหแ้ยก

เสรีภาพออกจากหนา้ท่ีท่ีจะตอ้งเคารพสิทธิของผูอ่ื้น นาํมาซ่ึงเสรีภาพในแบบหลงรักตนเอง จนกระทัง่ดู

หมิ่นและปฏิเสธคนอ่ืน รวมถึงการปฏิเสธพระเจา้ในชีวิตของตน (John Paul II, 1995: 21-22; 1991: 17;

1988: 5) การยกยอ่งและใหค้วามสาํคญัอยา่งผดิๆ ต่อตนเองว่าอยูเ่หนือทุกส่ิง (John Paul II, 1995: 19;

1994: 14) นาํสู่การเบียดเบียนคนอ่ืน จาํกดัเสรีภาพคนอ่ืน ทาํใหค้นอ่ืนและส่ิงแวดลอ้มตกเป็นเหยือ่ของ

การพฒันาตามปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสงัคม จึงมีความจาํเป็นตอ้งเปล่ียนแปลงโครงสร้างชีวิตเศรษฐกิจ

ซ่ึงไม่ใช่เร่ืองทาํไดง่้ายๆ เวน้แต่การเปล่ียนแปลงจิตใจของบุคคล (John Paul II, 1979: 16)

ดว้ยเหตุน้ี พระองค์ทรงเสนอว่า หลกัการพฒันา ต้องเร่ิมต้นท่ีแต่ละ

บุคคล ดว้ยการปรับเปล่ียนเจตคติ และท่าทีการดาํเนินชีวิต ซ่ึงพระองค์ทรงใชค้าํว่า “การกลบัใจส่วน

บุคคล” กล่าวคือ การเปล่ียนแปลงการดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้งกับธรรมชาติของมนุษย ์ในฐานะเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ท่ีมนุษยมี์ส่วนและมุ่งสู่ความดี ความสมบูรณ์ในพระเจา้ (John Paul II, 1995 : 34;

1994: 8; 1984: 11, 37; 1981: 37) เร่ิมตน้ดว้ยการปรับเปล่ียนเจตคติ ใหถ้กูตอ้ง และนาํสู่การเปล่ียนแปลง

รูปแบบการดาํเนินชีวิต สู่การพฒันาชีวิตให้สมดุลทั้ งมิติด้านร่างกายและจิตวิญญาณ เพ่ือนาํสู่การใช้

เสรีภาพท่ีถกูตอ้งในการพฒันาชีวิต การมีเสรีภาพท่ีถูกตอ้งน้ี ตอ้งมีพ้ืนฐานอยู่บนความจริงเก่ียวกบัชีวิต

ของตน ความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้นและส่ิงแวดลอ้มอยา่งถกูตอ้ง (John Paul II, 1987: 38)

3.1.2 การพฒันา ต้องจดัลาํดับคุณค่า ให้จติใจสําคญักว่าวตัถุส่ิงของ

หลักการพฒันาชีวิตในสังคมต้อง “สนใจในการเรียงลาํดับคุณค่าท่ี

ถกูตอ้ง” (John Paul II, 1987: 33) มีความสนใจวิเคราะห์และจดัลาํดบัคุณค่าความสาํคญัของคุณค่าต่าง ๆ

ของชีวิตให้ถูกต้องโดยให้ความสําคัญต่อส่ิงท่ีเป็นคุณค่าแท้ของชีวิต นั ่นก็คือให้ความสําคัญต่อจิต

วิญญาณว่าเป็นคุณค่าท่ีสาํคญัและอยูเ่หนือวตัถุร่างกาย “ตอ้งทาํให้มิติดา้นวตัถุส่ิงของและสัญชาตญาณ

เป็นรองมิติภายในและมิติฝ่ายจิตของมนุษย”์ (John Paul II, 1991: 36) การพฒันาชีวิตมนุษยใ์นสังคมจึง

ตอ้งคาํนึงถึงคุณค่าของการเป็นจิตท่ีเป็นลกัษณะเฉพาะของมนุษยท่ี์มีศกัยภาพในการบรรลุถึงชีวิตท่ี

สมบูรณ์ในพระเจา้ ดงัท่ีทรงเสนอว่า “ศีลธรรมตอ้งมาก่อนเทคโนโลย ี บุคคลตอ้งสาํคญักว่าส่ิงของและ

จิตมีค่ากว่าวตัถุ” (John Paul II, 1987: 28; 1979: 16)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

150

3.1.3 การพฒันาต้องทําให้มนุษย์เป็นบุคคลมากขึน้

พระสันตะปาปาฯ ทรงคิดว่าแม้ว่าการพัฒนาความเจริญทางด้าน

เศรษฐกิจเป็นส่ิงจาํเป็น แต่การท่ีจะมุ่งพฒันาเพียงมิติทางเศรษฐกิจอย่างเดียวนั้นไม่ได ้ “การพฒันาท่ี

สมบูรณ์จึงตอ้งมีการคาํนึงถึงและช่วยทาํใหม้นุษยเ์ป็นมนุษยม์ากข้ึน และตอ้งช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้

มนุษยไ์ดเ้ขา้สู่วิถีชีวิตท่ีแทจ้ริงของมนุษยด์ว้ย” (John Paul II, 1987: 28) การพฒันาบุคคลไม่ไดเ้พียง

จาํกดักรอบอยูแ่ค่การเพิ่มส่ิงของวตัถุท่ีบุคคลตอ้งการใช ้ “การมีทรัพยส์มบติัเพิ่มข้ึนนั้นเป็นเร่ืองสาํคญั

นอ้ยกว่าการเป็นผูมี้คุณธรรมมากยิ ่งข้ึน” (John Paul II, 1979: 16) ดงันั้น มนุษยต์อ้งไม่ให้ความสาํคญั

แก่เศรษฐกิจ จนลืมไปว่ามนุษยคื์อภาพลกัษณ์ของพระเจา้ การพฒันาบุคคลจึงตอ้งคาํนึงเสมอว่าการทาํ

ให้มนุษย ์ “เป็นคนดีข้ึน คือ เป็นคนท่ีสามารถควบคุมตนเองได้ มีความตระหนักและรับผิดชอบต่อ

ศกัด์ิศรีของตนเองและผูอ่ื้น” (John Paul II, 1979: 15) ตลอดจนตระหนักถึงคุณค่าและสิทธิต่าง ๆ ของ

บุคคล พระสันตะปาปาฯ “เรียกร้องให้มนุษยมี์ความสํานึกถึงการเคารพสิทธิของคนแต่ละคนและ

ส่วนรวม อนัเน่ืองมาจากผลกระทบจากวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” (John Paul II, 1987: 33; 1979: 15)

เพ่ือให้มนุษย์มีการพัฒนาชีวิตไปสู่การเป็น “คนดี” มีความรับผิดชอบต่อชีวิตของตน ผูอ่ื้นและ

ส่ิงแวดลอ้มอยา่งเหมาะสม

3.1.4 การพฒันาต้องช่วยให้บุคคลบรรลเุป้าหมายของชีวติ

ในฐานะท่ีบุคคลเป็นผูมี้ศกัยภาพในการบรรลุชีวิตท่ีสมบูรณ์ได ้ หลกัการ

พฒันาชีวิตตอ้งมีลกัษณะเอ้ืออาํนวยความสะดวกแก่บุคคลเพ่ือบรรลุเป้าหมายของชีวิตไดง่้ายข้ึน โดย

“สนบัสนุนความเจริญเติบโตและความสมบูรณ์ของความเป็นมนุษย ์นั ่นก็คือ การพฒันาตอ้งมีส่วนช่วย

ทาํใหม้นุษยไ์ปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ในนิรันดรภาพ ซ่ึงเป็นความเป็นจริงเหนือธรรมชาติของมนุษย”์ (John

Paul II, 1987: 28-29) กล่าวคือ ตอ้งไม่เขา้ใจการพฒันาในแง่เศรษฐกิจเท่านั้น แต่ตอ้งมุ่งสู่การพฒันาให้

มนุษยเ์จริญอยา่งเต็มท่ี การพฒันาไม่ใช่เป็นแค่เร่ืองของการยกระดบัคุณภาพชีวิตทางกายภาพเท่านั้น แต่

ตอ้งมุ่งเสริมสร้างคุณภาพชีวิตท่ีเหมาะสม บนพ้ืนฐานของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยอ์ย่าง

เป็นรูปธรรม รวมถึงการส่งเสริมศกัยภาพภายในของมนุษยใ์นการตอบสนองวิถีชีวิตส่วนบุคคลของเขา

อนัไดแ้ก่ วิถีทางของพระเจา้ เป้าหมายสูงสุดของการพฒันา คือ การใชสิ้ทธิและหน้าท่ีเพ่ือแสวงหาพระ

เจา้ เพ่ือรู้จกัพระองค ์และเพ่ือดาํเนินชีวิตใหส้อดคลอ้งกบัความรู้นั้น (John Paul II, 1987: 29)

3.1.5 การพฒันาต้องให้ความสําคญัต่อการมส่ีวนร่วม

การพฒันาความเจริญของบุคคลในสงัคม ไม่ใช่หนา้ท่ีของสมาชิกคนใด

คนหน่ึงในสงัคม แต่ตอ้งเน้นการมีส่วนร่วมของสมาชิกในสังคมตามบทบาทหน้าท่ีของแต่ละบุคคลท่ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

151

ตอ้งมีส่วนร่วม ซ่ึงพระองคเ์รียกร้องให ้“เคารพในศกัด์ิศรี และการมีส่วนร่วม” (John Paul II, 1991: 43)

ทุ่มเทและรับผดิชอบต่อความเจริญของสงัคมนั้น ๆ ดงันั้น จึงเป็นหน้าท่ีของทุกคนตลอดจนประชาชาติ

ทั้งมวลท่ีตอ้งมีส่วนร่วมในการพฒันามนุษยร่์วมกนั (John Paul II, 1987: 32 )

3.1.6 การพฒันาต้องดําเนินตามหลกัศีลธรรม

ในฐานะท่ีมนุษยมี์ความรู้สาํนึกทาํใหม้นุษยรู้์ถึงส่ิงท่ีผดิชอบชัว่ดี การ

พฒันาจึงตอ้งมีพ้ืนฐานอยูบ่นหลกัศีลธรรม ท่ีเรียกร้องใหเ้ราเคารพส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติโดย “คาํนึงถึง

ลาํดบัความจริงและความดีสมกบัท่ีเป็นมนุษย”์ (John Paul II, 1987: 33) ไม่ใช่ยดึแต่เพียงผลประโยชน์

ส่วนตน หรือใชค้นอ่ืน ส่ิงอ่ืนเพ่ือผลประโยชนต์ามใจชอบ แต่ตอ้งคาํนึงถึงธรรมชาติของแต่ละส่ิง

บาํรุงรักษาความเป็นระบบ ระเบียบและความสมดุลในจกัรวาล รู้จกัยบัย ั้งชัง่ใจโดยคาํนึงถึงหลกัคุณธรรม

ในการดาํเนินชีวิต รวมถึงจรรยาบรรณในการศึกษาคน้ควา้เพ่ือใหเ้กิดผลดีและถกูตอ้งตามครรลองของ

ชีวิต (John Paul II, 1987: 34; 1979: 15)

3.1.7 การพฒันาต้องเป็นกระบวนการ

การพฒันามนุษยเ์ป็นกระบวนการ มีการดาํเนินการเป็นลาํดบัขั้นตอน

ท่ีจาํเป็นตอ้งมีระบบ มีการวางแผนอย่างมีเหตุผลและสุจริต รวมถึงมีการติดตามและประเมินเพ่ือการ

บริหารจดัการใหเ้กิดการพฒันาใหมี้ความเหมาะสม สอดคลอ้งกบัคุณค่าท่ีแทจ้ริงของมนุษยย์ิ ่งๆ ข้ึน บน

พ้ืนฐานของความยติุธรรมและสนัติ (John Paul II, 1991: 18; 1979: 15) พระองค์ทรงตั้ งคาํถาม เพ่ือใช้

ในการไตร่ตรองการวางระบบ การวางแผน การติดตามและประเมินการพฒันา ตั้งอยูบ่นคาํถามท่ีว่า การ

พฒันาน้ี “มีลกัษณะสมกบัมนุษยม์ากข้ึนในทุกๆ ดา้นหรือไม่?... ทาํใหคู้่ควรกบัมนุษย ์มากข้ึนหรือไม่?”

(John Paul II, 1979: 15) และแนวทางการพฒันาเช่นน้ี “เป็นความเจริญกา้วหนา้หรือเป็นการคุกคามชีวิต

มนุษยก์นัแน่?” (John Paul II, 1979: 16) พระองค์ชวนเชิญให้แต่ละบุคคล สังคมและหน่วยงานท่ีมี

บทบาทในการพฒันามนุษยแ์ละสังคม หมัน่เตือนสติ ตรึกตรอง ไตร่ตรองสภาพชีวิตและแนวทางการ

พฒันาชีวิตของตนเอง และสงัคมอย่างต่อเน่ือง เพ่ือตอบคาํถามหรือหาตวัช้ีวดัท่ีเหมาะสมในการพฒันา

มนุษยไ์ปสู่การ “เป็นในส่ิงท่ีมนุษยเ์ป็น” (John Paul II, 1981: 17)

นอกจากนั้น พระสนัตะปาปาฯ ทรงนาํคาํสอนคริสตศ์าสนาเร่ืองการพิพากษา

คร้ังสุดทา้ย ท่ีสอนว่าในวาระสุดทา้ยของโลก มนุษยทุ์กคนจะไดรั้บการพิพากษาจากพระเจา้ตาม การ

ปฏิบติัของแต่ละคน โดยเฉพาะความเอาใจใส่ชีวิตของตนเองและเพื่อนพ่ีน้องดว้ยความรัก กล่าวคือ การ

ดาํเนินชีวิตและพฒันาชีวิตดว้ย ความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัเป็นการปฏิบติัตามหลกัคุณธรรมความรักตาม

คาํสอนคริสต์ศาสนา กล่าวคือ ความตั้ งใจแน่วแน่ท่ีจะอุทิศตนบาํเพ็ญประโยชน์เพ่ือส่วนรวมและ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

152

ประโยชน์ของแต่ละบุคคล ใหบุ้คคลมีความสาํนึกรับผดิชอบต่อชีวิตของตนและคนอ่ืน ดว้ยการแบ่งปัน

โดย “การรับใชก้นัและกนัดว้ยความรัก” กล่าวคือ การมีนํ้ าใจเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่/แบ่งปัน ความพร้อมท่ีจะ

เสียสละเพ่ือผูอ่ื้น แทนท่ีจะเอาเปรียบผูอ่ื้น และพร้อมท่ีจะรับใชผู้อ่ื้นแทนท่ีจะกดข่ีผูอ่ื้นเพ่ือผลประโยชน์

ส่วนตน (John Paul II, 1987: 38, 39, 46) ตามพระดาํรัสของพระเยซูเจา้ท่ีว่า “เราหิว พวกเจา้ก็ไม่ให้เรา

กิน เราไม่มีเส้ือผา้ใส่ พวกเจา้ก็ไม่ให้เราใส่ เราอยู่ในคุก พวกเจา้ก็ไม่มาเยี่ยมเรา” (มธ 25: 42 – 43) ให้

นาํมา “ประยกุต”์ ใชเ้ป็นแนวทางการวางแผน การติดตามและประเมินการพฒันามนุษย ์

ดงันั้น จึงกล่าวไดว้่า หลกัการพฒันาสู่ความเจริญของมนุษยใ์นสงัคมตาม

กระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปาฯไดว้่าพระองคท์รงคิดว่าในฐานะท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ มนุษย์

จึงตอ้งสนองพระประสงคพ์ระเจา้และดาํเนินชีวิตร่วมกบัเพ่ือนมนุษยอ่ื์น ๆ ในสงัคม หลกัการพฒันาท่ีดี

นั้นตอ้งมุ่งส่งเสริมใหม้นุษยมี์ความสมัพนัธท่ี์ดีกบัพระเจา้ และดาํเนินชีวิตร่วมกบัเพ่ือนสมาชิกในสงัคม

กล่าวคือ “การพฒันาท่ีแทจ้ริงจะตอ้งมีพ้ืนฐานอยูบ่นความรักในพระเจา้และในเพ่ือนมนุษย ์ และตอ้งช่วย

ส่งเสริมสมัพนัธภาพระหว่างบุคคลกบัสงัคมบนพ้ืนฐานของความจริงและการปฏิบติัต่อตนเอง คนอ่ืน

สงัคมและส่ิงแวดลอ้มดว้ยความเอาใจใส่ท่ีจะดาํเนินชีวิตร่วมกนั (John Paul II, 1995: 6; 1987: 33)

3.2 การพฒันากบัการทํางานของมนุษย์ : การทํางานเป็นการพฒันาชีวติในสังคม

พระสันตะปาปาฯ ทรงคิดว่าในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นบุคคล มนุษยบ์รรลุถึงชีวิตท่ี

สมบูรณ์อาศยัศกัยภาพภายใน ไดแ้ก่ ความรู้สาํนึก เสรีภาพและความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น ซ่ึงทราบไดด้ว้ย

กิจกรรมของมนุษย ์พระสนัตะปาปาฯ ทรงใหค้วามสาํคญัแก่การทาํงานในฐานะเป็นกิจกรรมทางร่างกาย

สู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ “การทาํงานเป็นมิติพ้ืนฐานในการดาํรงชีวิตของมนุษยบ์นโลกน้ี” (John Paul

II, 1981: 4) หมายความว่า มนุษยท์าํงานเพ่ือท่ีจะเล้ียงชีพตัวเองในฐานะท่ีมนุษยมี์ความต้องการดา้น

ร่างกายและยิ ่งกว่านั้น ในฐานะบุคคล มีจิตใจ อยู่ในสังคมร่วมกบัคนอ่ืน มนุษยจึ์งต้องร่วมกนัพฒันา

วิทยาการและเทคโนโลยอียา่งต่อเน่ือง ร่วมมือกบัคนอ่ืนเพ่ือยกระดบัคุณค่าทางวฒันธรรมและศีลธรรม

ในสงัคมสู่ความดีงาม ซ่ึงอธิบายในรายละเอียดดงัน้ี

3.2.1 ความหมายและคุณค่าของการทํางาน

พระสนัตะปาปาฯ ทรงอธิบายความหมายของการทาํงาน โดยสรุปความได้

ว่า การทาํงานหมายถึง กิจกรรมทุกชนิดท่ีกระทาํโดยมนุษย ์ ไม่ว่าจะเป็นการใช้แรงงานหรือการใช้

สติปัญญา และไม่ว่าจะมีลกัษณะใดหรืออยู่ในสภาพการณ์ใดก็ตาม การทาํงานหมายถึงกิจกรรมของ

มนุษยซ่ึ์งมนุษยอ์าจยอมรับหรือจาํตอ้งยอมรับว่าเป็นการทาํงาน กิจกรรมการทาํงานมากมายเหล่าน้ี เป็น

ธรรมชาติของมนุษยเ์ท่านั้นท่ีจะตอ้งทาํงาน อนัเป็นการทาํมาหากิน ซ่ึงทาํให้มนุษยแ์ตกต่างเด็ดขาดจาก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

153

ส่ิ งสร้างอ่ืน ๆ เพราะมนุษย์ต้องทํางานหาเล้ียงชีพ โดยสรรพส่ิงอ่ืน ๆ ไม่ต้องทําและไม่ต้องมี

ความสมัพนัธก์บัชุมชน (John Paul, 1981)

คุณค่าของการทาํงาน มีพ้ืนฐานอยูบ่นคาํสอนคริสต์ศาสนาท่ีสอนว่า มนุษย์

เป็นส่ิงสร้างท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ พระเจา้ทรงมอบภารกิจให้มนุษยป์กครองดูแลส่ิงต่าง ๆ ใน

โลกโดยรักษาความสมดุลและระเบียบของส่ิงต่าง ๆ ท่ีพระองค์ทรงสร้างข้ึน ดงันั้ น การทาํงานของ

มนุษย ์จึงเป็นการปฏิบติัภารกิจท่ีไดรั้บมอบหมายจากพระเจ้า ให้เป็นผูดู้แลและปกครองโลกน้ีตาม

ภารกิจท่ีไดรั้บมอบหมายจากพระเจา้ ซ่ึงเป็นการสะทอ้นถึงกิจการของพระเจา้ (John Paul II, 1981: 4)

การทาํงานจึงเป็นการสะท้อนถึงแผนการของพระเจ้าท่ีพระองค์ทรงมีพระประสงค์ให้มนุษยเ์ป็นนาย

เหนือโลกตามแผนการของพระองค์ “มนุษย์เป็นนายเหนือโลกยิ ่ง ๆ ข้ึนและปกครองโลกด้วย

กระบวนการทาํงานและโดยกระบวนการทาํงานน้ี ในทุก ๆ กรณีและทุกขั้นตอน ก็อยู่ในแผนการของ

พระผูส้ร้าง” (John Paul II, 1981: 4) ดงันั้น จึงกล่าวไดว้่าการทาํงานของมนุษยมี์คุณค่า เน่ืองจาก

1. การทาํงานทาํใหม้นุษยมี์ศกัด์ิศรีและพฒันาชีวิตของตนยิง่ข้ึน

การทาํงานเป็น “ส่ิงท่ีดี” สาํหรับมนุษย ์ เพราะเป็นการสะทอ้นบทบาท

ของมนุษยใ์นฐานะเป็น “ผูป้กครองโลก” การทาํงานเป็นวิธีการท่ีมนุษยป์กครองดูแลโลกอยา่งเหมาะสม

ตามระเบียบและความสมดุลของส่ิงต่าง ๆ การทาํงานจึงเป็นส่ิงท่ีดีเพราะเป็นการตอบสนองเกียรติและ

ศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษย ์และทาํใหศ้กัด์ิศรีนั้นเพิ่มข้ึน (John Paul II, 1981: 9) อยา่งไรกต็าม “มนุษย์

ตอ้งใหค้วามเคารพต่อระเบียบและความสมดุลของส่ิงต่าง ๆ ตามแบบท่ีพระเจา้ไดท้รงสร้างไว”้ (John

Paul II, 1987: 29)

2. การทาํงานเป็นพ้ืนฐานของครอบครัว

การทาํงานเป็นเง่ือนไขของการสร้างครอบครัว เพราะครอบครัวตอ้งการ

ปัจจยัเพ่ือใชด้าํรงชีพ ซ่ึงมนุษยแ์ลกเปล่ียนปัจจยันั้นดว้ยการทาํงาน การทาํงานจึงเป็นพ้ืนฐานของชีวิต

ครอบครัว ในฐานะท่ีช่วยเสริมสร้างและช่วยให้สมาชิกในครอบครัวไดรั้บส่ิงท่ีตอ้งการ การทาํงานเป็น

พ้ืนฐานของชีวิตในครอบครัว ก่อใหเ้กิดการเสริมสร้างครอบครัว และทาํใหบ้รรลุ เป้าหมายท่ีสมาชิกใน

ครอบครัวตอ้งการได ้ เน่ืองจากครอบครัวเป็นเป็นสถานศึกษา/โรงเรียนแห่งแรกของการทาํงานท่ีเร่ิมตน้

ในแต่ละครอบครัว (John Paul II, 1981: 10)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

154

3. การทาํงานเป็นการสร้างความสมัพนัธก์บัสงัคม

ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นสตัวส์งัคม มีธรรมชาติตอ้งอยูร่่วมกบัคนอ่ืน การ

ทาํงานจึงเป็นตวัเช่ือมความสมัพนัธข์องสมาชิกในสงัคม ส่งผลใหเ้กิดการพฒันาชุมชน/สงัคม การสืบ

สานวฒันธรรม การหล่อหลอมวิถีชีวิต การทาํงานช่วยทาํใหเ้อกลกัษณ์ของความเป็นคนผสมผสานกบั

การเป็นสมาชิกของประเทศชาติและการทาํงานเรียกร้องใหส้มาชิกในสงัคมร่วมมือกนั เพ่ือเสริมสร้าง

ความดีส่วนรวมสาํหรับทุกๆ คนและทุกครองครัวในโลก (John Paul II, 1981: 10)

3.2.2 พืน้ฐานของการทํางาน คอื คนท่ีทํางาน (subjective)

จากการวิเคราะห์คุณค่าการทาํงานตามแนวคิดของพระสนัตะปาปาฯ ทาํให้

ทราบว่าพระองค์ทรงเน้นความสาํคญัของ “ผูท้าํงานมากกว่าตวังาน” (John Paul II, 1981: 10) พระองค์

ทรงกล่าวว่า “พ้ืนฐานอนัดบัแรกของคุณค่าของการทาํงานนั้นอยู่ท่ีมนุษยเ์อง ผูเ้ป็นคนทาํงาน” (John

Paul II, 1981: 6)

หลกัศีลธรรมของการทาํงานคือ “พระเจา้ทรงสร้างมนุษยใ์หต้อ้งทาํงาน

และการทาํงานมีไวเ้พ่ือมนุษย ์ ไม่ใช่มนุษยมี์ไวเ้พ่ืองาน” (John Paul II 1981 : 6) ดงันั้น คุณค่าและ

ความหมายแทจ้ริงของการทาํงานคือ ผูท้าํงาน กล่าวคือ “มนุษยน์ัน่แหละเป็นเป้าหมายของการทาํงาน

ไม่ว่าจะเป็นการทาํงานชนิดใดก็ตาม แมง้านบริการท่ีกระทาํซํ้ าซากน่าเบ่ือหน่ายก็ตาม” (John Paul II

1981: 6)

3.2.3 การทํางานเป็นกระบวนการสากล

การทาํงานมีลกัษณะเป็นกระบวนการสากล (Universal) เน่ืองจากครอบคลุม

ถึงมนุษยทุ์กคน ทุกเพศ ทุกวยั รวมถึงพฒันาการทางดา้นเศรษฐกิจและวฒันธรรมทุกระยะ (John Paul II,

1981: 4) นัน่คือ ทุกคนตอ้งเขา้มามีส่วนร่วมในการทาํงานในสงัคมในบทบาทหนา้ท่ีท่ีแตกต่างกนั

ดงันั้น จึงกล่าวไดว้่า พระสนัตะปาปาฯ ทรงใหค้วามสาํคญัต่อการทาํงานในฐานะ

เป็นการพฒันาชีวิตในสังคมสู่ความเจริญกา้วหน้าของบุคคล การทาํงานจึงเป็นกิจกรรมท่ีมนุษยทุ์กคน

ตอ้งเขา้มามีส่วนร่วมตามบทบาทหน้าท่ีท่ีไดรั้บมอบหมายจากสังคม พระองค์ทรงเรียกร้องให้มีระบบ

ศีลธรรมการทาํงาน “เพ่ือใหม้นุษยท์าํงานอยา่งผูมี้คุณธรรม และช่วยให้มนุษยผ์ูท้าํงานมีความเป็นมนุษย์

สมบูรณ์มากยิง่ข้ึน” (John Paul II, 1981: 9) ดงัท่ีพระองคเ์สนอว่า การทาํงาน คือการท่ีมนุษยอุ์ทิศตนไม่

เพียงแต่เพ่ือตนเอง แต่มนุษยย์งัทาํเพ่ือผูอ่ื้นและทาํงานเพื่อเล้ียงดูครอบครัวของเขา ชุมชนของเขา ชาติ

ของเขา ท่ีสุด เพ่ือมนุษยชาติเองทั้ งหมด และเป็นการขยายความสัมพนัธ์แห่งความเป็นปึกแผ่นของ

มนุษยชาติ (John Paul II, 1991: 43)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

155

4. ประเด็นสําคญัในการดําเนินการพฒันามนุษย์

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ แบ่งออกเป็นส่ีประเด็น

สาํคญั ไดแ้ก่ พ้ืนฐาน จุดหมาย เจตคติ/ท่าที และแนวทางการพฒันา ดงัน้ี

4.1 พืน้ฐานการพฒันามนุษย์ : การเสริมสร้างการเป็นบุคคล

พระสนัตะปาปาฯ อธิบายมนุษยว์่าเป็น “บุคคล” โดยยืนยนัและอธิบายคาํสอน

คริสตศ์าสนา ดว้ยการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ชีวิตตามแนวปรัชญาบุคคลนิยม (John Paul II, 1995: 23;

1991: 22, 61; 1987: 14; 1981: 1, 13; 1979: 12, 13) พระองค์เสนอว่าหลกัการพ้ืนฐานของการพฒันา

มนุษย ์คือ การเคารพในคุณค่า ศกัด์ิศรีของบุคคลท่ีตอ้งมีความสาํคญักว่าวตัถุส่ิงของ การเป็นบุคคลน้ี

เร่ิมตน้ตั้งแต่วินาทีแรกของการปฏิสนธิในครรภม์ารดาท่ีตอ้งไดรั้บความเคารพในแบบล่วงละเมิดไม่ได ้

(John Paul II, 1995: 60, 61, 77) และการเป็นบุคคลน้ีมีพ้ืนฐานมาจากการเป็นบุคคลของพระเจา้ ซ่ึงเป็น

ความเป็นจริงสูงสุด ท่ีโปรดใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมในการเป็นบุคคลของพระองค ์(John Paul II, 1995: 3, 5,

6; 1993: 38, 86; 1988: 37; 1986: 34, 37; 1981: 37) พระสันตะปาปาฯ ทรงอธิบายลกัษณะพื้นฐานท่ี

แสดงถึงความเป็นบุคคลของมนุษย ์ว่าประกอบดว้ยความรู้สาํนึกและเสรีภาพ ท่ีควบคู่กนั เพ่ือพฒันาชีวิต

ดว้ยการสร้างความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้น

4.1.1 พืน้ฐานของบุคคล คอื ความรู้สํานกึและเสรีภาพ

พ้ืนฐานของบุคคล คือ ความรู้สาํนึกและเสรีภาพ อนัเป็น “ศกัยภาพภายใน”

ท่ีมนุษยไ์ดรั้บจากพระเจา้ ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระองค ์

ความรู้สาํนึกเป็นหลกัการของสติปัญญาท่ีช่วยใหเ้รารู้ถึงหลกัความดีเท่ียงแท ้

ส่ิงท่ีพระเจา้ได้ทรงจารึกไวใ้นใจมนุษย ์ เพ่ือให้รู้ว่าควรทาํส่ิงไหน และไม่ควรทาํส่ิงไหน อนัเป็นการ

กระตุน้ให้เรามุ่งสู่ความดีท่ีแทจ้ริง (John Paul II, 1994: 19; 1993: 54–57; 1988: 5, 37) ในขณะท่ี

เสรีภาพ เป็นศกัด์ิศรีพ้ืนฐานของมนุษยท่ี์มีพ้ืนฐานอยู่บนความเป็นจริงเก่ียวกบัชีวิต เสรีภาพเป็นส่ิงท่ี

พระเจา้ประทานเฉพาะมนุษยม์าตั้งแต่สร้างโลกและมนุษย ์ เสรีภาพของมนุษยเ์ป็นเง่ือนไข และรากฐาน

แห่งศกัด์ิศรีของมนุษย ์ เสรีภาพจึงเป็นลกัษณะสาํคญัท่ีแสดงถึงการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้อนัเป็น

พ้ืนฐานของศกัด์ิศรีมนุษย ์ เป็นการแสดงออกอยา่งเด่นชดัถึงการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ในตวัมนุษย ์

(John Paul II, 1993: 38, 86; 1979: 12) ในฐานะท่ีเสรีภาพเป็นหนทางหรือเคร่ืองมือไปสู่การบรรลุ

จุดหมายของการพฒันาชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

156

4.1.2 การพฒันาชีวติด้วยจติสํานึกของชีวติหมู่คณะ

การมีความรู้สาํนึกและเสรีภาพ เป็นหลกัการพ้ืนฐานของการเป็นบุคคล

ของมนุษย ์ในการพฒันาชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนในสังคม ในฐานะเป็นบุคคลท่ีตอ้งมีการติดต่อสัมพนัธ์กบั

ผูอ่ื้น ตอ้งมีการอุทิศตวัใหผู้อ่ื้นและในเวลาเดียวกนัก็ตอ้งรับการติดต่อสมาคมกบัผูอ่ื้นท่ีหยิบยื่นไมตรีจิต

ใหเ้ช่นกนั พระสนัตะปาปาฯ ทรงมีความคิดว่านอกเหนือจากการท่ีมนุษยมี์ความรู้สาํนึกและมีเสรีภาพ

แลว้ “มนุษยย์งัมีโครงสร้างตามธรรมชาติท่ีตอ้งอยูร่่วมกนัในสังคม” (John Paul II, 1988: 40) เน่ืองจาก

มนุษยต์อ้งอยูร่่วมกนัในสงัคม ตอ้งอยูร่่วมกนักบัผูอ่ื้นเพ่ือความอยู่รอดและเพื่อการพฒันาชีวิต บุคคลจะ

พฒันาชีวิตของตนสู่ความสมบูรณ์ไดก้็ตอ้งอาศยัการอยู่ร่วมกนัในสังคม การร่วมมือกนัในการพฒันา

ชีวิตของกนัและกนัสู่ความสมบูรณ์ท่ีแทจ้ริงของชีวิต พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่าบุคคลพฒันาชีวิตของ

ตน ดว้ยการอยูร่่วมกนัอยา่งมีความสาํนึกถึงการเป็นส่วนหน่ึงของสงัคมโดยเร่ิมตน้จากครอบครัว ชุมชน

สงัคมในลกัษณะของการดาํเนินชีวิตเป็นหมู่คณะ ท่ีอุทิศตนเพ่ือการพฒันาชีวิตบนพ้ืนฐานของการเคารพ

ในคุณค่า ศกัด์ิศรีของการเป็นบุคคลท่ีทุกคนมีเท่าเทียมกนั ไม่ใช่ดว้ยการใชก้าํลงัหรือความรุนแรง แต่

ดว้ยการเสวนาอยา่งจริงใจและดว้ยความเคารพซ่ึงกนัและกนั

4.1.3 ครอบครัว เป็นพืน้ฐานของการดําเนินและพฒันาชีวติ

พระสนัตะปาปาฯ ทรงใหค้วามสาํคญัต่อครอบครัวเป็นพิเศษ ในฐานะเป็น

หมู่คณะแรก และเป็นพ้ืนฐานในการปลกูฝังคุณค่าของชีวิต ครอบครัวเป็นจุดเร่ิมตน้ของชีวิตและการ

พฒันาชีวิต ครอบครัวมีบทบาทสาํคญัต่อการปลกูฝังเจตคติ และการดาํเนินชีวิตอยา่งถกูตอ้งต่อคุณค่า

พ้ืนฐานและศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของมนุษย ์ (John Paul II, 1991: 49; 1981: 17) สงัคม/รัฐ ตอ้งร่วม

ส่งเสริมและสนบัสนุนใหค้รอบครัวไดป้ฏิบติัหนา้ท่ีใหบ้รรลุผลสาํเร็จ (John Paul II, 1981: 40)

4.1.4 การพฒันาตามอตัลกัษณ์บุคคล

นอกจากนั้น พระสนัตะปาปาฯ ทรงย ํ้ าถึง “อตัลกัษณ์ส่วนบุคคล” (John

Paul II, 1979: 13, 14) ท่ีไม่ซํ้ าแบบกนั ในฐานะท่ีมนุษยด์าํเนินชีวิตและพฒันาชีวิตของตนตามบริบท

และประวติัศาสตร์ของแต่ละคน บนพ้ืนฐานของการเคารพตนเองและผูอ่ื้นในฐานะท่ีเป็นบุคคลท่ีดาํเนิน

ชีวิตท่ามกลางส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการใหค้วามสาํคญัต่อวฒันธรรม อนัเป็นคุณค่าและมรดกตกทอดจาก

รุ่นสู่รุ่น (John Paul II, 1991: 50) ท่ีหล่อหลอมมนุษยใ์หพ้ฒันาชีวิตตามอตัลกัษณ์ของตน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

157

4.1.5 การพฒันาต้องมพีืน้ฐานอยู่บน “การส่งเสริมการพฒันาการเป็นบุคคล”

การพฒันามนุษย ์ต้องมีพ้ืนฐานอยู่บนหลกัการเป็นบุคคลของมนุษย ์ท่ี

เช่ือมโยงกบัพระเจา้ ในฐานะบุคคลท่ีสมบูรณ์ และพระองคโ์ปรดใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมในความเป็นบุคคล

ของพระองค ์ทาํใหม้นุษยมี์ลกัษณะพิเศษแตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ กล่าวคือ พระเจา้โปรดให้มนุษยมี์

ส่วนร่วมในชีวิตนิรันดรของพระองค์ พระเจา้ประทานศกัยภาพให้มนุษยบ์รรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ใน

พระองคอ์าศยัความรู้สาํนึก เสรีภาพและความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้น (John Paul II, 1987: 30)

อยา่งไรก็ตามมนุษยไ์ม่ใช่พระเจา้ มนุษยจึ์งยงัไม่เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ มนุษยจึ์งยงั

มีความบกพร่องและหลงผดิในความรู้สาํนึก รวมถึงการใชเ้สรีภาพท่ีไม่ถูกตอ้ง (John Paul II, 1991: 17;

1987: 35) นาํสู่การสร้างความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืน และส่ิงแวดลอ้มในแบบยึดตนเองเป็นหลกั จนละเลย

และปฏิเสธคุณค่าของคนอ่ืนและส่ิงอ่ืน ดงัท่ีพระสันตะปาปาฯ ทรงอธิบายดว้ยคาํว่า “บาปบุคคล” และ

“บาปสงัคม” (John Paul II, 1987: 36, 37) นาํสู่กระแสการทาํลายชีวิตตามค่านิยมวตัถุนิยม บริโภคนิยม

และปัจเจกนิยม ซ่ึงเป็นอุปสรรค และภยัคุกคามชีวิตและการพฒันาชีวิต เน่ืองจากเป็นแนวคิดท่ีปฏิเสธ

คุณค่า/ศกัยภาพภายในของบุคคล ด้วยการให้ความสาํคญัแก่มนุษยว์่าเป็นเพียงวตัถุสสาร การพฒันา

มนุษยจึ์งเป็นการพฒันาท่ีมุ่งสู่การพฒันาวตัถุ โดยใชเ้ศรษฐกิจเป็นหลกัในการพฒันา (John Paul II,

1991: 19, 33, 61; 1987: 15, 18, 19, 28; 1979: 15, 16) ทาํให้มนุษยต์กอยู่ในสภาพแวดลอ้มแห่งบาป

กล่าวคือ แทนท่ีมนุษยจ์ะร่วมมือกนัในการพฒันาชีวิตและสงัคม มนุษยก์ลบัเบียดเบียน แข่งขนัเพ่ือแยง่ชิง

เอารัดเอาเปรียบกนัเพ่ือผลประโยชน์ส่วนตน ส่งผลให้เกิดความตกตํ่า และความกลวัในจิตใจอนัเป็นผล

จากผลของการพัฒนาท่ีควบคุมไม่ได้ ทั้ งเร่ืองความสัมพันธ์ส่วนบุคคลและส่ิงแวดลอ้ม อันเป็น

วิกฤติการณ์พฒันาในรูปแบบต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในสงัคม (John Paul II, 1991: 20; 1987: 13, 14; 1979: 16)

ดว้ยเหตุน้ี มนุษยจ์าํเป็น “กลบัใจ” สู่การปฏิบติัตนตามแนวทางการพฒันาชีวิต

อยา่งถกูตอ้ง ดว้ยการตอบรับความรัก ในพระเมตตาของพระเจา้ ดว้ยการดาํเนินชีวิตตามแนวทางท่ีพระ

เจา้ทรงกาํหนดไว ้ (John Paul II, 1987: 33) กล่าวคือ การพฒันาชีวิตบนพ้ืนฐานของความรู้สาํนึก และ

การใชเ้สรีภาพอย่างถูกตอ้ง เพ่ือนาํสู่การสร้างความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้มอย่างเหมาะสม

ดว้ยการเขา้สู่กระบวนการพฒันาชีวิตสู่การเป็นบุคคลยิ ่งๆ ข้ึน จนบรรลุถึงการเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ อนั

เป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันามนุษย ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

158

4.2 จุดหมายการพฒันา : มุ่งสู่ความดีส่วนบุคคล (บุคคลที่มเีสรีภาพ) และความ

ผาสุกของส่วนรวม (สังคมของบุคคล) เพือ่บรรลเุป้าหมายสูงสุด คอื “การเป็นบุคคลที่สมบูรณ์”

“ความดีส่วนบุคคลและความผาสุกของส่วนรวม” เป็นคุณลกัษณะท่ีจาํเป็นของ

การดาํเนินชีวิตท่ีเหมาะสมและสอดคลอ้งกบัความเป็นบุคคล เพ่ือมุ่งสู่เป้าหมายสูงสุดของการพฒันา คือ

ความดีสูงสุด/ความจริงสูงสุด (John Paul II, 1993: 73) ท่ีพระองค์ทรงใชค้าํว่า “บุคคลท่ีสมบูรณ์”

(John Paul II, 1995: 2, 34; 1987: 29; 1986 : 37)

4.2.1 “บุคคลที่สมบูรณ์” : เป้าหมายสูงสุดของการพฒันาชีวติ

แมม้นุษยเ์ป็นบุคคลผูเ้ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ แต่มนุษยย์งัไม่ไดบ้รรลุ

ถึงขีดขั้นความสมบูรณ์ของการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้อย่างแทจ้ริง มนุษยย์งัตอ้งพฒันาตวัเองอย่าง

ต่อเน่ือง เพ่ือมุ่งสู่ความสมบูรณ์แบบ ดว้ยเหตุน้ี ชีวิตมนุษยจึ์งมีชะตากรรมท่ีมุ่งสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ มนุษยมี์

สิทธิและหนา้ท่ีท่ีจะบรรลุถึงชีวิตนิรันดร/ชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ การพฒันาชีวิตมนุษยจึ์งมีเป้าหมาย

คือ การมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ อนัเป็นนิรันดรภาพ เป็นอุตรภาพ (Transcendence) ในพระเจา้ ซ่ึง

สาํนึกรู้และสามารถใชเ้สรีภาพไดอ้ยา่งสมบูรณ์ เต็มท่ี โดยไม่มีขอบเขตจาํกดัอยา่งสิ้นเชิง การมุ่งสู่ชีวิตท่ี

สมบูรณ์ในพระเจา้ผูเ้ป็น (พระ) บุคคลท่ีสมบูรณ์ จึงเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันาชีวิตมนุษย ์ (John

Paul II, 1995: 2, 34; 1987: 29; 1986: 37) ชีวิตมนุษยมี์ภารกิจท่ีมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ดว้ย

ศกัยภาพท่ีเป็นลกัษณะเฉพาะของมนุษย ์ ไดแ้ก่ ความรู้สาํนึก เสรีภาพ การดาํเนินชีวิตและพฒันาชีวิตดว้ย

การสร้างความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้นในสังคม (John Paul II, 1998: 25; 1995: 40, 48; 1994: 41; 1993: 38, 54–

57, 65, 73, 56; 1988: 37, 40; 1981: 10–11; 1979: 12) การพฒันาชีวิตสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ จึงมี

ลกัษณะเป็นกระบวนการดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้งกบัภาวะมนุษยซ่ึ์งเป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้าง และโปรด

ใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมในการดาํรงอยูแ่บบท่ีพระเจา้ทรงเป็น กล่าวคือ พระเจา้ทรงโปรดใหม้นุษยด์าํรงอยู่ใน

ฐานะบุคคล การเป็นบุคคลน้ีจึงเป็นทั้ งภารกิจและกระบวนการในการพฒันาชีวิตมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์ในพระเจา้ (John Paul II, 1993: 73; 1991: 29) ซ่ึงอธิบายในรายละเอียด ดงัน้ี

1. มนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีไม่สมบูรณ์ แต่สามารถเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

แมว้่ามนุษยจ์ะมีความพิเศษจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์

ของพระเจา้ แต่มนุษยไ์ม่ใช่พระเจา้ ดงันั้นการดาํรงอยูใ่นฐานะบุคคลของมนุษยย์งัตอ้งข้ึนอยู่กบัพระเจา้

โดยมีพระเจา้เป็นเจา้ของชีวิต (John Paul II, 1995: 46, 39; 1986: 36) แมม้นุษยจ์ะมีศกัยภาพภายใน

ไดแ้ก่ เสรีภาพและความรู้สาํนึก อนัเป็นพ้ืนฐานสู่การพฒันาชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนในสงัคม แต่ศกัยภาพของ

มนุษยย์งัมีจาํกดั ดงัท่ีประวติัศาสตร์มนุษยชาติ และประวติัศาสตร์ในชีวิตของแต่ละคน แสดงให้เห็นถึง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

159

การใชเ้สรีภาพแบบฝืนธรรมชาติ ท่ีมนุษยเ์ลือกตนเองแทนท่ีจะเลือกพระเจา้ แมม้นุษยจ์ะรู้ว่าส่ิงใดดีและ

เหมาะสมกบัแต่ละคนมากท่ีสุด แต่บางคร้ังมนุษยก์็ไม่เลือกท่ีจะทาํตามส่ิงท่ีเห็นว่าควรทาํ และยิ ่งกว่านั้น

มนุษยก์ลบัใชเ้สรีภาพท่ีพระเจา้ประทานให ้เลือกส่ิงท่ีขดัแยง้กบัธรรมชาติท่ีแทจ้ริงของชีวิตอยูเ่ป็นประจาํ

กล่าวคือ แทนท่ีมนุษยจ์ะใชเ้สรีภาพในการตดัสินใจในส่ิงท่ีเหมาะสม สอดคลอ้งกบัความเป็นมนุษย ์ใน

การพฒันาชีวิตไปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ มนุษยก์ลบัใชเ้สรีภาพท่ีขดัแยง้ ละเลยหรือการปฏิบติัตาม

ความพึงพอใจส่วนตวั (John Paul II, 1993: 86; 1979: 14) ดงัท่ีพระองค์ทรงอธิบายในเร่ืองบาปส่วน

บุคคลและบาปสงัคม (John Paul II, 1987: 15, 36–37)

2. ชีวิตมนุษยเ์ป็น “ภารกิจและกระบวนการ” มุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

การท่ีมนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ เป็นภารกิจ ท่ีพระ

เจา้ทรงมอบสิทธิพิเศษแก่มนุษยใ์หม้นุษยมี์ร่วมส่วนและสามารถบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ (John

Paul II, 1995: 7, 38; 1987: 33; 1986: 34) ในขณะเดียวกนัมนุษยย์งัมีหนา้ท่ีท่ีจะตอ้งพฒันาชีวิตของตน

ดว้ยการตอบรับการเช้ือเชิญจากพระเจา้ มุ่งสู่ชีวติท่ีสมบูรณ์ ดว้ยศกัยภาพภายในท่ีพระองคป์ระทานให ้

(John Paul II, 1981: 37)

ดงันั้น การพฒันาชีวิตจึงมีลกัษณะเป็น “กระบวนการ” ท่ีครอบคลุมทุกคน

ทุกสภาพและตลอดชีวิต ดว้ยความสาํนึกและรับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตของตนและคนอ่ืนในสงัคม ใน

ฐานะท่ีทุกคนเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ (John Paul II, 1981: 4) ดว้ยเหตุน้ี การมุ่งสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์จึง

เป็นกระบวนการท่ีต่อเน่ืองและเป็นหน่ึงเดียวท่ีสามารถบรรลุถึงชีวิตนิรันดร ซ่ึงเร่ิมตน้ตั้งแต่ชีวติบนโลก

น้ีและจะบรรลุถึงชีวิตนิรันดรกบัพระเจา้ในภายหนา้ (John Paul II, 1995: 2)

4.2.2 ความดีส่วนบุคคล (บุคคลที่มีเสรีภาพ) และ ความผาสุกของส่วนรวม

(สังคมของบุคคล) : จุดหมายการพฒันา

แมว้่าการพฒันาชีวิตของมนุษย ์มีเป้าหมายสูงสุด คือ การเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์ในพระเจา้ แต่มนุษยต์อ้งพฒันาชีวิตของตนในสังคม ร่วมกบัคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้ม เน่ืองจาก

“ชีวิตในโลกน้ีเป็นเง่ือนไขท่ีจาํเป็น ซ่ึงเป็นขั้นแรก และเป็นองค์ประกอบสาํคญัของกระบวนการชีวิต

ทั้งหมด ท่ีจะบรรลุถึงชีวิตนิรันดรในภายหน้า” (John Paul II, 1995: 2) มนุษยจึ์งพึงให้ความสาํคญัต่อ

การดาํเนินชีวิตท่ีดีในโลกน้ี ด้วยการเสริมสร้างการดาํเนินชีวิตของบุคคลและสังคม ให้เต็มด้วย

บรรยากาศ/สภาพแวดลอ้มท่ีเอ้ืออาํนวยต่อการพฒันาชีวิตของบุคคล กล่าวคือ การมุ่งสู่ “บุคคลท่ีมี

เสรีภาพ” และ “สงัคมของบุคคล” ท่ีตอ้งดาํเนินควบคู่และมีความสมัพนัธต่์อกนั ซ่ึงมีรายละเอียด ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

160

1. ความหมายและความสมัพนัธข์องความดีส่วนบุคคลและสงัคม

ความดีส่วนบุคคล คือ การเป็นบุคคลท่ีมีเสรีภาพอย่างเต็มท่ี เป็น

เสรีภาพท่ีถูกต้องบนพ้ืนฐานของความรู้สํานึกว่าการเป็นบุคคลของมนุษย ์จะไปสู่การเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์ในพระเจ้าได ้ต่อเม่ือบุคคล ใชเ้สรีภาพในการตัดสินเลือกวิถีชีวิตและรับผิดชอบท่ีจะพฒันา

ตวัเองมุ่งสู่ความสมบูรณ์ ดว้ยความสาํนึกว่า มนุษยจ์ะมีชีวิตสมบูรณ์ไดต้อ้งมีสมัพนัธอ์นัดีกบัพระเจา้ผูใ้ห้

กาํเนิดมนุษย ์โดยจะเป็นอย่างอ่ืนไม่ไดน้อกจากเป็นไปตามรูปแบบท่ีเขาไดรั้บ คือ เป็นภาพลกัษณ์ของ

พระเจา้นัน่เอง มนุษยต์อ้งใชเ้สรีภาพสอดคลอ้งกบัธรรมชาติความเป็นมนุษย ์เสรีภาพไม่ใช่หมายถึงทาํ

อะไรก็ได ้แต่เสรีภาพต้องสอดคลอ้งกบัความจริงตามธรรมชาติมนุษย ์ท่ีดาํรงอยู่และพฒันาชีวิตตาม

แนวทางของพระเจา้ (John Paul II, 1994: 14, 34; 1993: 87) แนวทางของพระเจา้น้ีไม่ไดเ้ป็นการจาํกดั

หรือลดทอนสิทธิเสรีภาพของมนุษย ์แต่เป็นพระเมตตาของพระเจา้ท่ีโปรดให้มนุษยบ์รรลุเป้าหมายท่ี

สอดคลอ้งกบัความเป็นมนุษย ์กล่าวคือ การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ ซ่ึงเป็นความสมบูรณ์ของชีวิต

ท่ีอยูเ่กินขอบเขตของประสบการณ์ของมนุษย ์(John Paul II, 1995: 48; 1993: 17, 35 ) จึงตอ้งอาศยัพระ

เมตตาของพระเจา้ โดยมนุษยต์อบรับด้วยการดาํเนินชีวิตตามแนวทางของพระเจา้ เพ่ือปกป้องและ

ส่งเสริมให้ดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสม (John Paul II, 1995: 48; 1993: 35) อนัเป็นแนวทางท่ีสอดคลอ้ง

กบัวิถีชีวิตมนุษยท่ี์มุ่งสู่เป้าหมายของการมีชีวิตท่ีสมบูรณ์

ความดีของบุคคล (บุคคลท่ีมีเสรีภาพ) มีความสมัพนัธก์บัความผาสุก

ของสังคม (สังคมของบุคคล) กล่าวคือ การท่ีบุคคลจะพฒันาชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ไดน้ั้น

ไม่ใช่ในลกัษณะต่างคนต่างทาํในแบบปัจเจก แต่ละบุคคลตอ้งร่วมกนัสรรสร้างสงัคม ใหเ้ป็นสังคมแบบ

หมู่คณะ อนัเป็นสังคมท่ีเต็มด้วยบรรยากาศและสภาพแวดลอ้มท่ีส่งเสริมให้มนุษยเ์ป็นตัวของตวัเอง

สาํนึกในสิทธิและหนา้ของตนอยา่งครบถว้น (John Paul II, 1987: 46) เป็นสังคมท่ีทุกคน ทุกภาคส่วนมี

ความมุ่งมัน่ในการสร้างสนัติภาพ มีระบบกฎหมายท่ีเป็นธรรม และมีสวสัดิการท่ีเหมาะสมมารองรับบน

พ้ืนฐานของสิทธิมนุษยชน เพ่ือมนุษยจ์ะไดพ้ฒันาตนเองไดอ้ยา่งเต็มท่ี ดว้ยการใชเ้สรีภาพ บนพ้ืนฐาน

ของความรู้สาํนึก ดว้ยการสร้างความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้น โดยมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ในพระเจา้) ซ่ึง

ถือเป็นเป้าหมายของการดาํเนินชีวิตในสงัคม และเป็นวิถีทางสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ตามคาํสอนคริสต์

ศาสนา ดงัท่ีพระสันตะปาปาฯ ทรงนาํมาอธิบายตามแนวทางของพระองค์ หรือการเสนอคาํสอนเร่ือง

สงัคม นัน่เอง

2. ความดีส่วนบุคคลและความผาสุกของส่วนรวมบนพ้ืนฐานของ

จิตสาํนึกในสิทธิท่ีจะดาํเนินชีวิตสมกบัความเป็นมนุษย ์ ตาม “วฒันธรรมแห่งชีวิต”

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

161

ความดีส่วนบุคคลและความผาสุกของส่วนรวมท่ีพระสันตะปาปาฯ

ทรงนาํเสนอ มีพ้ืนฐานมาจากการพฒันามนุษย ์โดยยดึสิทธิของบุคคลเป็นหลกั อนัเป็น “สิทธิของมนุษย์

ทุกคน และสิทธิของแต่ละคน” (John Paul II, 1987: 33; 1981: 16, 18) ครอบคลุมทุกมิติของชีวิต ทั้ง

ด้านร่างกายและจิตวิญญาณ สิทธิบุคคลน้ีเ ร่ิมตั้ งแต่การเร่ิมปฏิสนธิ สิทธิในการดําเนินชีวิตใน

สภาพแวดลอ้มท่ีเหมาะสม สิทธิในการพฒันาสติปัญญาและเสรีภาพ สิทธิในการทาํงาน สิทธิในการ

สร้างครับครัว สิทธิในการดาํเนินชีวิตตามความเช่ือ สิทธิทางเศรษฐกิจและการเมือง รวมทั้ งสิทธิของชาติ

และประชาชนทุกกลุ่ม ทุกบุคคล โดยเฉพาะคนดอ้ยโอกาส คนพิการ ท่ีตอ้งไดรั้บการเอาใจใส่เป็นพิเศษ

(John Paul II, 1981: 22) เพ่ือเสริมสร้างให้ เป็นสังคมของการส่ิงเสริมสิทธิและหน้าท่ีขั้นพ้ืนฐานท่ี

ส่งเสริมใหม้นุษยส์ามารถพฒันาชีวิตของตน ซ่ึงครอบคลุมทั้งสิทธิส่วนบุคคลและโครงสร้างทางสังคมท่ี

ส่งเสริมการพฒันาชีวิต เป็นเร่ืองเก่ียวขอ้งกบัคุณภาพชีวิตท่ีดี ให้ความสาํคญัต่อมิติมนุษยแ์ละสังคม บน

หลกัการของคุณภาพ ความเสมอภาคและโอกาสท่ีบุคคลควรไดรั้บความเอาใจใส่จากสังคมโดยรวม

ไดแ้ก่ สิทธิมนุษยชน สนัติภาพ ความมัน่คงของมนุษย ์เอกลกัษณ์ทางวฒันธรรม ความสมดุลตามระบบ

นิเวศวิทยา สิทธิของแต่ละคน เสรีภาพดา้นจิตใจรวมถึงสิทธิในการนับถือและดาํเนินชีวิตตามคาํสอน

ของศาสนา เป็นตน้ (John Paul II, 1991: 37, 38; 1987: 20, 21, 26, 27, 33)

พระสนัตะปาปาฯ ทรงเสนอให้มีการสร้างสรรค์ให้สังคม เป็นสังคม

ของบุคคล บนพ้ืนฐาน “วฒันธรรมแห่งชีวิต” (John Paul II, 1995: 23) กล่าวคือ การเสริมสร้าง

บรรยากาศ/สภาพแวดลอ้มของสงัคม บนพ้ืนฐานของการส่งเสริมคุณค่าและศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษย ์

ท่ีมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์/ชีวิตนิรันดรในพระเจ้า ท่ีทุกคนและทุกภาคส่วนต้องมีส่วนร่วม

รับผดิชอบต่อการสร้างสงัคม ให้เป็นสังคมท่ีดาํเนินชีวิตเป็นหมู่คณะ (John Paul II, 1995: 28; 1991: 29,

36, 47; 1987: 26, 29, 33, 38, 47; 1981: 22; 1979: 13, 15) ท่ีบุคคลในสังคมดาํเนินชีวิตดว้ยจิตสาํนึกบน

พ้ืนฐานของสิทธิและหน้าท่ีตามสิทธิบุคคลท่ีครอบคลุมทั้ งด้านการพฒันาร่างกายและจิตวิญญาณ ใน

ฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีมีศกัยภาพในการพฒันาชีวิตในสังคม และมีศกัยภาพท่ีจะพฒันาชีวิตของตน

ไปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ ท่ีเกินขอบเขตของโลกทางกายภาพ ซ่ึงเป็นเป้าหมายของการพฒันาชีวิต

อยา่งแทจ้ริง ดว้ยเหตุน้ี จึงมีความจาํเป็นตอ้งกาํหนดคุณค่าท่ีเป็นพ้ืนฐาน เพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบติั

(John Paul II, 1991: 28, 29, 44, 52; 1987: 33) โดยมีจิตสาํนึกต่อการเคารพสิทธิท่ีจะมีชีวิตในทุกขั้นตอน

และทุกมิติของชีวิต (John Paul II, 1991: 36, 1987: 33) รวมถึงการเคารพในเอกลกัษณ์ทางประวติัศาสตร์

และวฒันธรรมของชนชาติ ไม่ใช่เป็นเพียงแค่ลายลกัษณ์อกัษร แต่ตอ้งนาํไปสู่การปฏิบติับนความสาํนึก

รับผดิชอบตามหลกัศีลธรรม อนัเป็นจิตสาํนึกท่ีนาํสู่การปฏิบติัตามเจตนารมณ์ (จิตตารมย)์ ตามคุณค่า

ดงักล่าว (John Paul II, 1979: 16, 17)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

162

วฒันธรรมแห่งชีวิต จึงเป็นรากฐานของการสร้างสังคมของบุคคล

กล่าวคือ การส่งเสริมคุณค่าของความเป็นบุคคล อนัเป็นคุณค่าทางจิตใจ/จิตวิญญาณ บนพ้ืนฐานของความ

เป็นบุคคล ท่ีมีความรู้สาํนึก เสรีภาพ ท่ีควบคู่กนั เพ่ือพฒันาชีวิตดว้ยการสร้างความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น ดว้ย

การเคารพในคุณค่า ศกัด์ิศรีของมนุษยส่์วนบุคคลท่ีตอ้งมีความสาํคญักว่าวตัถุส่ิงของ การเป็นบุคคลน้ี

เร่ิมตน้ตั้งแต่วินาทีแรกของการปฏิสนธิในครรภม์ารดาท่ีตอ้งไดรั้บความเคารพในแบบล่วงละเมิดไม่ได ้

(John Paul II, 1995: 60, 77) และการเป็นบุคคลน้ีมีพ้ืนฐานมาจากการเป็นพระบุคคลของพระเจา้ ซ่ึงเป็น

ความเป็นจริงสูงสุด ท่ีโปรดใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมในการเป็นพระบุคคลของพระองค์ (John Paul II, 1995:

3, 5, 6; 1993: 38, 86; 1988: 37; 1986: 34, 37; 1981: 37)

3. การมุ่งสู่ความดีส่วนบุคคลและความผาสุกของส่วนรวม เป็นสังคม

ของความยติุธรรมและสนัติ บนความเหมาะสม สอดคลอ้งกบัการเป็นบุคคลของมนุษย ์

การท่ีบุคคลจะพฒันาชีวิตไดอ้ยา่งเต็มท่ี บุคคลตอ้งร่วมกนัเสริมสร้าง

สงัคมของบุคคล ซ่ึงเป็นสงัคมแห่งชีวิต ท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศของความยุติธรรมและสันติ (John Paul II,

1987: 26; 1981: 18) ซ่ึงเช่ือมโยงกบัคาํสอนคริสต์ศาสนาท่ีให้หลกัการท่ีแสดงถึง “อาณาจกัรพระเจา้”

ตามท่ีนกับุญเปาโลสอนไวใ้นบทจดหมายถึงชาวโรม (รม 1 : 17) ว่า “อาณาจกัรของพระเจา้ ไม่ใช่เร่ือง

ของการกิน การด่ืม แต่เป็นความชอบธรรม (Righteousness) สนัติ (Peace) และความช่ืนชมยนิดี (Joy) ใน

พระจิตเจา้” สงัคมของบุคคล (อาณาจกัรของพระเจา้) เร่ิมตน้แลว้ดว้ยพระเมตตาของพระเจา้ ทางพระ

เยซูคริสตเจา้ ค่อยๆ พฒันาอยา่งต่อเน่ืองดว้ยการตอบรับ ดว้ยความสาํนึก รับผดิชอบของมนุษย ์ท่ีมีส่วน

ร่วมทาํใหส้งัคมของบุคคล อนัเป็นสงัคมแห่งความยติุธรรมและสนัติ เป็นวิถีทางสู่อาณาจกัรพระเจา้ท่ีจะ

สาํเร็จบริบูรณ์ในอนาคต

พระสันตะปาปาฯ ทรงย ํ้ าว่าการมุ่งสู่ความดีส่วนบุคคล (บุคคลท่ีมี

เสรีภาพ) และความผาสุกของส่วนรวม (สงัคมของบุคคล) จะเป็นจริงได ้จาํเป็นท่ีตอ้งมีการร่วมมือกนัใน

ทุกภาคส่วน พระองคท์รงย ํ้ าถึงสิทธิและหน้าท่ีของสงัคม ภายใตก้ารนาํของของรัฐและเอกชน รวมถึง

หน่วยงานทั้ งระดับภูมิภาคและนานาชาติ ท่ีจะตอ้งมีบทบาทในการบริหารจดัการ และการแทรกแซง

อย่างถูกตอ้ง โดยมีพ้ืนฐานอยู่บนการประกันความมัน่คง ดว้ยวิธีการท่ีเหมาะสม พึงระมดัระวงัการ

แทรกแซงในแบบผกูขาด (John Paul II, 1991: 48) จนทาํลายเสรีภาพของมนุษย ์โดยเฉพาะในเร่ืองการจดั

การศึกษา การรักษาพยาบาล การทาํงาน การประกนัความมัน่คง รวมถึงความจาํเป็นขั้นพ้ืนฐานต่างๆ

หรือสวสัดิการต่างๆ ท่ีจาํเป็นต่อการดาํเนินชีวิต เพ่ือให้ประชาชนสามารถใชศ้กัยภาพของตนในการ

พฒันาชีวิตอยา่งเต็มท่ี ทั้งการพฒันาชีวิตในสงัคมโลก และการมุ่งสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ (John Paul

II, 1991: 30, 31, 36, 48; 1987: 9, 17) อยา่งไรก็ตาม พระองค์ทรงเตือนให้ระมดัระวงัการจดัสวสัดิการท่ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

163

เกินพอดี และกระทาํอยา่งผดิๆ ท่ีเนน้แต่เพียงการส่งเสริมดา้นวตัถุ กายภาพ จนละเลยคุณค่าฝ่ายจิต (John

Paul II, 1991: 48) ในลกัษณะของการส่งเสริมการอยากมี อยากได ้ตอบสนองความตอ้งการในระดบั

สญัชาติญาณ ส่งผลใหม้นุษยลุ่์มหลงตามกระแสบริโภคนิยม และปัจเจกนิยม จนทาํให้มนุษยล์ะเลยการ

พฒันาคุณภาพชีวิตและขาดความรับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิตท่ีพึงมีต่อตนเองและสังคม รวมทั้ งการ

พฒันาคุณค่าฝ่ายจิต ท่ีมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ซ่ึงเป็นความดีของบุคคลอนัเป็นเป้าหมายสูงสุดของ

การพฒันาชีวิต

4.3 เจตคต/ิท่าทีการพฒันา : การเคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นบุคคล

พระสันตะปาปาฯ ทรงมีแนวคิดว่ามนุษยด์าํรงชีพและพฒันาชีวิตดว้ยการอยู่

ร่วมกนัในสงัคม สงัคมมนุษยมี์ลกัษณะพิเศษ กล่าวคือ เป็นสงัคมของหมู่คณะ ท่ีประกอบไปดว้ยบุคคลมา

อยูร่่วมกนั เพ่ือดาํรงชีวิตและพฒันาชีวิตร่วมกนั พระองคน์าํเสนอลกัษณะสาํคญัของสังคมแบบหมู่คณะ

ว่ามีพ้ืนฐานอยู่บนความจริงและความรักในพระเจา้และเพ่ือนมนุษย ์ ความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคล ใน

รูปแบบการสานเสวนา ซ่ึงเรียกร้องใหมี้ความเคารพความเป็นบุคคลท่ีทุกคนเท่าเทียมกนั (John Paul II,

1995: 6; 1991 : 60; 1987: 33; 1979: 3) สงัคมแบบหมู่คณะจึงมีลกัษณะของการปกป้องและเสริมสร้าง

ชีวิตของกันและกนัสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ทั้งในระดบับุคคลแต่ละคน ระดับชาติและนานาชาติ

ครอบคลุมมนุษยใ์นทุกมิติและมวลมนุษยชาติ (John Paul II, 1991: 29, 35) ซ่ึงมีรายละเอียด ดงัน้ี

4.3.1 การพฒันาชีวติ ต้องเร่ิมต้นด้วย “การกลบัใจ”

การมุ่งสู่ความดีส่วนบุคคลและความผาสุกของส่วนรวม ซ่ึงเป็น

จุดมุ่งหมายของการพฒันา เพ่ือมุ่งไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ อนัเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันา

ชีวิต จาํเป็นตอ้งมี การเปล่ียนแปลงบุคคลและสังคมให้เป็นสังคมของบุคคล ตอ้งเร่ิมตน้ท่ีแต่ละบุคคล

ปรับเปล่ียนเจตคติ ท่าทีและแนวทางการดาํเนินชีวิต ซ่ึงพระองค์ทรงใชค้าํว่า “การกลบัใจส่วนบุคคล”

หมายถึง การเปล่ียนแปลงการดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้งกบัธรรมชาติของมนุษย ์ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์

ของพระเจา้ ท่ีมนุษยมี์ส่วนและมุ่งสู่ความดี ความสมบูรณ์ในพระเจา้ (John Paul II, 1995: 34; 1994: 8;

1984: 11, 37; 1981: 37) พระสันตะปาปาฯ เสนอว่าการเปล่ียนแปลงสังคมไปสู่สังคมของบุคคล ตอ้ง

เร่ิมตน้ดว้ยการปรับเปล่ียนเจตคติใหถ้กูตอ้ง และเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิต สู่การพฒันาชีวิต

ให้สมดุลทั้ งมิติด้านร่างกายและจิตวิญญาณ เพ่ือให้สมาชิกแต่ละบุคคลในสังคมมีความสํานึกและ

รับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิต ดว้ยการใช้เสรีภาพอย่างถูกตอ้ง สอดคลอ้งกบัความจริงของชีวิต และ

ร่วมกนัรับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตดว้ยการมีปฏิสมัพนัธใ์นแบบบุคคลต่อบุคคล เร่ิมตน้จากครอบครัว

ชุมชน/สังคม การดาํเนินชีวิตของมนุษยร่์วมกับผูอ่ื้น ในบริบทของส่ิงแวดลอ้มท่ีสมดุลตามระบบ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

164

นิเวศวิทยา อนัเป็นคุณลกัษณะของสงัคมท่ีสมาชิกมีการดาํเนินชีวิตร่วมกนัแบบหมู่คณะท่ีมุ่งส่งเสริมและ

พฒันามนุษยสู่์ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ยิง่ ๆ ข้ึน

4.3.2 การพัฒนาชีวิตด้วยจิตสํานึกของการเคารพความเป็นบุคคล แม้มีความ

แตกต่าง แต่ทุกคนเท่าเทียมกนั

การเคารพในคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของมนุษย ์เป็นหลกัการ

พ้ืนฐานต่อการปกป้อง รักษา ดูแลและส่งเสริมให้มีการพฒันาชีวิตของมนุษยใ์นสังคม (John Paul II,

1995: 6, 48; 1988: 40) ตอ้งไม่คิดว่าเป็นภาระหรือความเบ่ือหน่าย แต่ตอ้งสาํนึกถึงบทบาทหน้าท่ีท่ีตอ้ง

ร่วมรับผดิชอบในการพฒันาชีวิต พฒันาระบบการบริหารจดัการเพ่ือใหเ้กิดการพฒันาแก่มนุษยใ์นสังคม

จึงไม่ใช่ในแบบการสงเคราะห์ หรือช่วยเพ่ือให้อยู่รอด แต่ตอ้งเป็นหน่ึงเดียวและร่วมรับผิดชอบชีวิต

เพ่ือนมนุษยด์งัท่ีเช่นเดียวกบัชีวิตของตวัเราเอง (John Paul II, 1995: 40; 1991: 28, 29; 1979: 16)

โดยเฉพาะชนกลุ่มนอ้ย คนชายขอบ คนยากจน ผูถ้กูทอดทิ้งใหมี้มาตรฐานการครองชีพตํ่า ผูถ้กูเอาเปรียบ

ผูพิ้การ ผูป่้วย ผูสู้งอายุ คนยา้ยถิ่น คนอพยพ และคนดอ้ยโอกาสในลกัษณะต่างๆ (John Paul II, 1991:

48; 1981: 22; 1979: 6) ท่ีบ่อยคร้ังไดรั้บการปฏิบติัและถกูเอาเปรียบอยา่งทารุณ ตอ้งทนรับสภาพในแบบ

พดูไม่ออกหรือตอ้งเงียบ อนัเป็นผลมาจากอุบาย การถูกปลน้หรือกลไกทางสังคมท่ีทาํให้พวกเขาอยู่ใน

สภาพดงักล่าว พวกเขามีสิทธิท่ีจะมีส่วนร่วมในการพฒันาชีวิตและสังคมโดยไม่ถูกขดัขวาง พวกเขามี

สิทธิในการขจดัการเอารัดเอาเปรียบ มีสิทธิในการไดรั้บความช่วยเหลือ

4.3.3 จติสํานึกของการช่วยเหลอือย่างรอบคอบ เพือ่พฒันา “ด้วยตนเอง”

พระสนัตะปาปาฯ ทรงเสนอว่าการพฒันาชีวิตบนจิตสาํนึกของการเคารพ

ความเป็นบุคคล เรียกร้องให้มีการช่วยเหลือซ่ึงกนัและกัน การช่วยเหลือน้ีไม่ใช่ของให้ทานหรือเศษ

ความยุติธรรม แต่เป็นการช่วยให้พวกเขาได้รับการพฒันาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เพ่ือแต่ละตน

สามารถพฒันาตนเอง ดว้ยตวัเขาเอง ดว้ยเหตุน้ี จาํเป็นตอ้งมีการพิจารณาอย่างรอบคอบ และการมีส่วน

ร่วมของทุกภาคส่วนในการวางแผน การบริหารจัดการเพ่ือให้ความช่วยเหลือให้มีการพฒันาอย่างมี

คุณภาพ ทัว่ถึงและครอบคลุมทุกมิติของชีวิต เพ่ือใหพ้วกเขาอยู่ในสภาพท่ีจะพฒันาชีวิตอย่างเหมาะสม

กบัการเป็นมนุษย ์ภายใตก้รอบของศีลธรรม (John Paul II, 1987: 38)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

165

4.3.4 การช่วยเหลือด้วยจิตสํานึกของการเคารพต่อสิทธิ วัฒนธรรมและบูรณ

ภาพของแต่ละสังคมและประเทศ

หลกัการใหค้วามช่วยเหลือ ท่ีมีพ้ืนฐานอยูบ่นความเคารพในศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษยด์งักล่าว ยงัรวมความไปถึงการช่วยเหลือประเทศท่ียากจนและอยู่ในสภาพการขาดแคลนใน

รูปแบบต่างๆ หรือภาวะดอ้ยพฒันาท่ีประเทศท่ีเจริญกว่า รวมถึงองค์กรท่ีเก่ียวขอ้งควรมีท่าทีหรือเจตคติ

ต่อการช่วยเหลือบนพ้ืนฐานของการเคารพศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ซ่ึงรวมถึงการเคารพในวฒันธรรมของ

ชาติ ซ่ึงตอ้งมีการดาํเนินการอยา่งเป็นรูปธรรม มีความชดัเจน มีขอ้ตกลงและการปฏิบติับนพ้ืนฐานของ

การเคารพต่อสิทธิและบูรณภาพของแต่ละสังคมและประเทศ (John Paul II, 1991: 28, 29, 52, 58; 1987:

36; 1981: 18)

ดงันั้น หลกัการใหค้วามช่วยเหลือ จึงแนวทางท่ีนาํสู่การปฏิบติับนพ้ืนฐานของ

การมีเจตคติ/ท่าทีของความเคารพต่อความเป็นมนุษยท่ี์ทุกคนมีเท่าเสมอกนั และนาํสู่การปฏิบติัดว้ยการ

ให้โอกาส และความร่วมมือในทุกภาคส่วน ทั้งระดบับุคคล สังคมและทุกประเทศ ทั้งจากผูช่้วยเหลือ/

ผูรั้บความช่วยเหลือ รวมถึงประเทศท่ีตอ้งไดรั้บความช่วยเหลือ/ประเทศท่ีทาํการช่วยเหลือ บนพ้ืนฐาน

ของความเคารพในคุณค่าและศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ทั้งในระดบัเจตคติท่ีถูกตอ้งและนาํไปสู่การปฏิบติั

อยา่งรอบคอบ เหมาะสม บนพ้ืนฐานของการเคารพในศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษย ์

4.4 แนวทางการพฒันา : กระบวนการความเป็นปึกแผ่นหนึ่งเดียวกนั

พระสนัตะปาปาฯ ทรงคิดว่าการพฒันามนุษย ์ตอ้งใหค้วามสาํคญัต่อการพฒันา

คุณภาพชีวิตโดยรวม ทั้งในระดบับุคคลและมนุษยชาติ ทุกมิติและทุกระดบั (John Paul II, 1991: 52;

1987: 38) ด้วยการแบ่งปันฉันท์พ่ีน้องในฐานะครอบครัวมนุษยชาติ ท่ีมีตน้กาํเนิดและเป้าหมายชีวิต

ร่วมกนั คือ การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ (John Paul II, 1995: 3, 5; 1991: 40; 1987: 40) มนุษยจึ์ง

ตอ้งร่วมกนัสรรสร้างความเป็นปึกแผ่นหน่ึงเดียวกนั บนพ้ืนฐานของความเป็นพ่ีน้องร่วมครอบครัว

มนุษยชาติ เรียกร้องใหเ้ป็นปึกแผน่นํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัดว้ยการแบ่งปันดว้ยความสาํนึกรับผิดชอบต่อชีวิต

ของตนเอง ผูอ่ื้น สงัคม ประเทศชาติและโลก

4.4.1 ความเป็นปึกแผ่นหนึ่งเดียวกัน คือ การเสริมสร้างความยุติธรรมด้วย

คุณธรรมความรัก

พระสันตะปาปาฯ ทรงอธิบายว่า การปฏิบัติตามหลกัของความเป็น

ปึกแผน่หน่ึงเดียวกนั เป็นการปฏิบติัใหเ้กิดความยติุธรรมในสงัคม ตามหลกัคุณธรรมความรักตามคาํสอน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

166

คริสตศ์าสนา กล่าวคือ ความตั้งใจแน่วแน่ท่ีจะอุทิศตนบาํเพญ็ประโยชน์เพ่ือส่วนรวมและประโยชน์ของ

แต่ละบุคคล ใหบุ้คคลมีความสาํนึกรับผิดชอบต่อชีวิตของตนและคนอ่ืน ดว้ยการแบ่งปันเพ่ือเกิดความ

ยติุธรรมในสงัคมโดย “การรับใชก้นัและกนัดว้ยความรัก” กล่าวคือ การมีนํ้ าใจเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่/แบ่งปัน

ความพร้อมท่ีจะเสียสละเพ่ือผูอ่ื้น แทนท่ีจะเอาเปรียบผูอ่ื้น และพร้อมท่ีจะรับใชผู้อ่ื้นแทนท่ีจะกดข่ีผูอ่ื้น

เพ่ือผลประโยชน์ส่วนตน (John Paul II, 1991: 18; 1987: 38, 39, 46) เพ่ือขจดัส่ิงกีดขวางการพฒันา

ไดแ้ก่ บาปส่วนบุคคลและบาปเชิงโครงสร้างทางสังคม อนัเป็นผลมาจากการอยากมี อยากได ้จนนาํสู่

เบียดเบียน การละเลยคนอ่ืน การแก่งแยง่แข่งขนั เอาเปรียบกนัและกนัเพ่ือการไดม้าซ่ึงประโยชน์ส่วนตน

การกดข่ี เอารัดเอาเปรียบท่ีประเทศท่ีมีความเขม้แข็งในดา้นเศรษฐกิจ เอาเปรียบประเทศท่ีอ่อนแอกและ

ยากจนกว่า จนเป็นความเคยชิน และค่อยๆ แทรกซึมเขา้ไปในสังคม ทาํให้สังคมอยู่ในบรรยากาศและ

สภาพแวดลอ้มท่ียากยิง่ข้ึนต่อการพฒันาชีวิต (John Paul II, 1987: 40)

4.4.2 ความเป็นปึกแผ่นหนึ่งเดียวกนั เป็นการสร้างสรรค์สังคมใหม่

การปฏิบติัหลกัแห่งความเป็นปึกแผ่นหน่ึงเดียวกนั เป็นการสร้างสรรค์

สงัคมใหม่ เพ่ือใหเ้กิดสนัติภาพท่ีแทจ้ริงในสังคมมนุษย ์ เป็นบรรยากาศ/สภาพแวดลอ้มท่ีส่งเสริมการ

พฒันามนุษยอ์ยา่งแทจ้ริง สนัติภาพจะเป็นจริงได ้ต่อเม่ือมนุษยทุ่์มเทร่วมกนัในการแกไ้ขปัญหาความไม่

ยติุธรรมในสงัคม บนพ้ืนฐานของความสาํนึกในความเป็นพ่ีนอ้งกนัในหมู่มนุษยชาติ สาํนึกว่าคนอ่ืนเป็น

บุคคลเช่นเดียวกนั (John Paul II, 1987: 26, 39) ความสาํนึกถึงการเป็นพ่ีน้องกนั กล่าวคือ การมองว่าคน

อ่ืนเป็น “เพ่ือนมนุษย”์ เป็นทั้งผูมี้สิทธิและมีความเท่าเทียมกบัตวัเรา รวมถึงการเป็นภาพลกัษณ์ของพระ

เจา้เช่นเดียวกนั ดว้ยเหตุน้ี ความสาํนึกถึงการเป็นพ่ีน้องเป็นเส้นทางไปสู่สันติภาพอย่างแทจ้ริง (John

Paul II, 1987: 39)

4.4.3 ความเป็นปึกแผ่นหนึ่งเดียวกัน เป็นความเอือ้เฟ้ือเผื่อแผ่แบบพี่น้องร่วม

ครอบครัวมนุษยชาตเิดียวกนั

พระสนัตะปาปาฯ ทรงเรียกร้องทุกคนให้มีนํ้ าใจดี เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่แบบพ่ี

นอ้งร่วมครอบครัวมนุษยชาติเดียวกนั แบ่งปันโดยไม่หวงัผลประโยชน์ตอบแทน มุ่งเสริมสร้างให้เกิด

ความยุติธรรม เสมอภาคและโอกาส เพ่ือให้เกิดการพฒันาคุณภาพชีวิตท่ีดี และสรรค์สร้างสังคมแห่ง

สนัติภาพ ตามกรอบของศีลธรรม (John Paul II, 1995: 76; 1994: 14; 1987: 38) กล่าวคือ ผูมี้อิทธิพลสูง

กว่า ควรจะรู้สึกรับผดิชอบต่อผูอ่้อนแอกว่า และพร้อมท่ีจะแบ่งส่ิงท่ีตนมีให้แก่ผูอ่ื้น เน่ืองจากตนมีส่วน

แบ่งในทรัพยสิ์นและบริการส่วนรวมมากกว่า ในขณะท่ีผูอ่้อนแอกว่า ดว้ยความตระหนักถึงความเป็นพ่ี

น้อง ไม่ควรมีท่าทีท่ีคอยแต่รับ หรือมีท่าที ท่ีมุ่งจะทําลายระบบสังคม แต่ควรทําส่ิงท่ีทําได้เพ่ือ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

167

ผลประโยชน์ของทุกคน การแบ่งปันดว้ยนํ้ าใจดี ยงัครอบคลุมถึง กลุ่มคัน่กลาง หรือกลุ่มประสานงาน

ไดแ้ก่ องค์กร/หน่วยงานระหว่างประเทศต่างๆ ไม่ควรยืนกรานในผลประโยชน์ของตน แต่ควรมุ่ง

เคารพผลประโยชน์ของผูอ่ื้นและส่วนรวมดว้ย

4.4.4 ความเป็นปึกแผ่นหนึ่งเดียวกนั ทําให้เกดิการรวมพลงักนัพฒันา

พระสันตะปาปาฯ เสนอให้มีการรวมพลงัของชาติต่างๆ (John Paul II,

1991: 28) ทรงเรียกร้อง ชาติท่ีแข็งแรงกว่าและรํ่ ารวยกว่า ต้องมีความสาํนึกในความรับผิดชอบดา้น

ศีลธรรมต่อชาติอ่ืนๆ เพ่ือสถาปนาระบบระหว่างประเทศ บนพ้ืนฐานของความเสมอภาคของประชาชาติ

ทั้ งหลาย ชาติท่ีแข็งแรงกว่าต้องให้โอกาสแก่ชาติท่ีอ่อนแอกว่าเขา้มาทาํหน้าท่ีในประชาคมระหว่าง

ประเทศ ในขณะท่ีประเทศท่ีอ่อนแอกว่าทางเศรษฐกิจ หรือประเทศท่ีมีมาตรฐานการครองชีพอยู่ใน

ระดบัประทงัชีวิต ตอ้งพยายามพฒันาประเทศของตนเพื่อสามารถสร้างประโยชน์แก่ส่วนรวมดว้ยคุณค่า

ดา้นมนุษยธรรมและวฒันธรรมของชาติ เรียนรู้และใชโ้อกาสท่ีประเทศต่างๆ ประชาคมระหว่างประเทศ

หยิบยื่นความช่วยเหลือให้เป็นประโยชน์แก่ประเทศของตน (John Paul II, 1991: 35) นอกจากนั้น

พระองคท์รงเรียกร้องประเทศท่ีรํ่ ารวยกว่าลดกาํลงัอาวุธและต่อตา้นการคา้อาวุธ แลว้นาํงบประมาณส่วน

น้ีไปช่วยเหลือประเทศท่ียากจน (John Paul II, 1991: 38) รวมถึงการยกหน้ีระหว่างประเทศทั้ งหมดหรือ

บางส่วน (John Paul II, 1991: 35) อนัเป็นการแสดงออกถึงการแบ่งปันดว้ยความรัก

4.4.5 ความเป็นปึกแผ่นหนึ่งเดียวกัน เรียกร้องการมีส่วนร่วม และการทํางาน

อย่างเป็นกระบวนการ

พระสนัตะปาปาฯ เสนอว่าการพฒันามนุษยต์ามแนวทางของความเป็นนํ้ า

หน่ึงเดียวกนั บนพ้ืนฐานของความเป็นพ่ีนอ้งร่วมครอบครัวมนุษยชาติ เรียกร้องการมีส่วนร่วมและการ

แบ่งปันดว้ยความสาํนึกรับผดิชอบต่อชีวิตของตนเอง ผูอ่ื้น สงัคม ประเทศชาติและโลก ซ่ึงเรียกร้องให้มี

การดาํเนินการอยา่งเป็นระบบ เป็นกระบวนการของการมีส่วนร่วม ทั้งในเร่ืองการวางแผน การจดัระบบ

การดาํเนินงานอยา่งเป็นขั้นตอน รวมถึงมีการติดตามและประเมินเพ่ือการบริหารจดัการใหเ้กิดการพฒันา

ใหมี้ความเหมาะสม สอดคลอ้งกบัคุณค่าท่ีแทจ้ริงของมนุษยย์ิ ่งๆ ข้ึน (John Paul II, 1991 : 32; 1981: 17;

1987: 17, 38, 39, 46) ดว้ยการแสดงความเมตตาต่อกนัดว้ยความยุติธรรมและความรัก โดยเฉพาะใน

สงัคมท่ีมีภยัคุกคามทั้งกายภาพและดา้นจิตใจ มนุษยจ์าํเป็นตอ้งร่วมกนัสร้าง ยอมรับและเพิ่มพูนความ

สาํนึกดว้ยความรับผดิชอบตามหลกัศีลธรรม

ดงันั้น หลกัการความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนั หรือหลกัการความเป็นพ่ีนอ้งเพ่ือน

มนุษย ์ดว้ยการแบ่งปันดว้ยจิตตารมยค์วามรัก จึงเป็นแนวทางท่ีพระสันตะปาปาฯ ทรงนาํเสนอ เพ่ือการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

168

พฒันามนุษย ์ทั้งในระดบับุคคลและระดบัประเทศ/สงัคม โดยท่ีทุกภาคส่วนตอ้งมีส่วนร่วมกนัเสริมสร้าง

บรรยากาศแห่งการพ่ีน้องเพ่ือนมนุษย ์ ซ่ึงจะเป็นจริงได ้จาํเป็นตอ้งทิ้งระบบการเมืองแบบแบ่งค่าย ใน

ลกัษณะจกัรวรรดินิยมทุกรูปแบบ ไม่ว่าจกัรวรรดินิยมทางเศรษฐกิจ ทางทหาร หรือการเมือง (John Paul

II 1987 : 39, 1991 : 58) ท่ีทาํใหเ้กิดบรรยากาศของความไม่ไวว้างใจ พร้อมกบัให้เปล่ียนจากบรรยากาศ

ของความไม่ไวว้างใจกนัมาเป็นความร่วมมือกนั และใหค้วามสนใจเร่ืองคุณค่าทางศาสนาและศีลธรรม

เพ่ือนาํสู่การปรับเปล่ียนเจตคติ พฤติกรรม และโครงสร้างต่างๆ (John Paul II 1991 : 60) ซ่ึงจะทาํให้เกิด

บรรยากาศ/สภาพแวดลอ้มของความเป็นพ่ีน้องกนัอย่างแทจ้ริง ระหว่างแต่ละบุคคล และประเทศต่างๆ

อนัจะส่งผลใหเ้กิดสนัติภาพอยา่งย ัง่ยนืในสงัคมมนุษยชาติ

ตอนที่ 3 เอกสารและงานวจิยัที่เกีย่วข้อง

เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งแบ่งเป็น 2 ประเด็น ไดแ้ก่ เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งกับ

แนวคิด/แนวทาง/รูปแบบการพฒันามนุษย ์และเอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการนาํกระบวนทศัน์

เร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

1. เอกสารและงานวจิยัที่เกีย่วข้องกบัการศึกษาการพฒันาและรูปแบบการพฒันามนุษย์

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง ในเร่ืองการพฒันาและรูปแบบการพฒันามนุษย ์

ท่ีผูว้ิจยัไดศึ้กษา โดยเฉพาะงานวิจยัเร่ืองการพฒันาทรัพยากรมนุษยต์ามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา (พชัรี

ศิริมาก, 2554) แนวทางการจดัความรู้เพ่ือสุขภาวะชุมชน (พชัรี ดาํรงสุนทรชยั, 2550) การพฒันา

คุณภาพชีวิตอยา่งย ัง่ยนืตามหลกัธรรมทิฏฐธมัมิกตัถประโยชนส่ี์ (ตวงพร สมสมยั และคนอ่ืนๆ, 2554)

รูปแบบภาวะผูน้าํการเปล่ียนแปลงท่ีมีประสิทธิผลในการปฏิรูปการศึกษาแบบย ัง่ยืน (สมคิด สกุลส

ถาปัตย,์ 2552) รูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลในสถาบนัอุดมศึกษา (พิชญาภา ยืนยาว, 2552) การ

พฒันาทุนมนุษยข์องวิทยาลยัพยาบาล สังกดัสถาบันพระบรมราชชนก (จรัสศรี เพ็ชรคง, 2552) การ

พฒันาและการประเมินเบ้ืองต้นเก่ียวกับเคร่ืองมือการวางแผนการพฒันาทุนมนุษย ์ (Zula, 2006)

นโยบายการพฒันามนุษย ์: ทฤษฏีและรูปแบบ (Yonehara, 2006) บทบาทของทุนมนุษยแ์ละสังคมใน

การพฒันาภาวะผูน้าํอย่างย ัง่ยืน (Mott, 2009) และงานวิจยัเร่ืองความไม่เสมอภาคและดชันีการพฒันา

มนุษย ์ (Stanton, 2007)

แมว้่างานวิจยัแต่ละเล่มต่างมีลกัษณะท่ีต่างกนัในรายละเอียดและระเบียบวิธีการวิจัย เพ่ือ

ตอบสนองปัญหา หรือคาํถามท่ีผูว้ิจยัแต่ละท่านตั้ งไว ้ อย่างไรก็ตามพบว่ามีวตัถุประสงค์และแนวคิดท่ี

สอดคลอ้งกนั คือ เพ่ือสังเคราะห์แนวทาง/รูปแบบการพฒันามนุษย ์(ทุนมนุษย)์ ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

169

ทรัพยากรท่ีมีคุณค่าท่ีสุดขององคก์ร/สงัคม มนุษยมี์ศกัยภาพ มีคุณค่าท่ีจะพฒันาได ้และการพฒันามนุษย์

เป็นเง่ือนไขสาํคญัสู่การพฒันาท่ีย ัง่ยืน จึงนาํเสนอรูปแบบ/พฒันารูปแบบการพฒันามนุษย/์ทุนมนุษย ์

โดยมีรายละเอียดท่ีต่างกนั กล่าวคือ มุ่งศึกษาปัจจยัและองค์ประกอบของการพฒันามนุษย ์ดงัท่ีพบใน

งานวิจัยของสมคิด สกุลสถาปัตย ์(2552) จรัสศรี เพ็ชรคง (2552) และ พิชญาภา ยืนยาว (2552)

นอกนั้น เป็นการศึกษาท่ีเน้น แนวทางและการประเมิน ในการพฒันา ไดแ้ก่ งานวิจัยของโยเนฮารา

(Yonehara, 2006) ท่ีมุ่งศึกษาเชิงนโยบายการจดัการศึกษาเพ่ือการพฒันามนุษย ์ ทาํนองเดียวกบั พชัรี ศิริ

มาก (2554) ท่ีมุ่งศึกษาการพฒันามนุษยโ์ดยใชก้ระบวนการทางจิตตปัญญาศึกษา พชัรี ดาํรงสุนทรชยั

(2550) มุ่งศึกษาแนวทางการพฒันามนุษยด์ว้ยกระบวนการจดัการความรู้ และ มอตต์ (Mott 2009) ท่ีเนน้

รูปแบบการจดัการศึกษาเพ่ือการพฒันา และ สมคิด สกุลสถาปัตย ์(2552) ท่ีมุ่งศึกษาการพฒันาโดยใช้

หลกัธรรมทางศาสนา ในขณะท่ีซูลา (Zula, 2006) ท่ีมุ่งศึกษาเชิงยทุธศาสตร์การพฒันา ส่วนงานวิจยั

ในเชิงประเมินการพฒันา พบในงานวิจยัของ สตานตนั (Stanton, 2007)

ประชากรและกลุ่มตวัอยา่งท่ีใชใ้นการศึกษา แบ่งไดเ้ป็น 4 ประเภท ไดแ้ก่

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นเอกสาร ไดแ้ก่ เอกสารท่ีเก่ียวขอ้งกบัแนวคิดเร่ืองการ

พฒันา/รูปแบบ/การประเมินการพฒันามนุษย ์ พบในงานวิจยัของ พชัรี ศิริมาก (2554 ) พชัรี ดาํรงสุนทร

ชยั (2550) สมคิด สกุลสถาปัตย ์(2552) โยเนฮารา (Yonehara, 2006) มอตต์ (Mott, 2009) และสตานตนั

(Stanton, 2007)

2. ประชากรและกลุ่มตวัอยา่งท่ีเป็นสถาบนั ไดแ้ก่ สถาบนัท่ีเป็นตวัอย่าง หรือกลุ่มเป้าหมาย

ของการพฒันามนุษย ์หรือสถาบนันาํร่องการพฒันา พบในงานวิจยัของ สมคิด สกุลสถาปัตย ์ (2552)

พิชญาภา ยนืยาว (2552) จรัสศรี เพช็รคง (2552)

3. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นชุมชน ได้แก่ ชุมชนท่ีมีการปฏิบัติท่ีดีในเร่ืองการ

เสริมสร้างและพฒันาคุณภาพชีวิตไปสู่สุขภาวะท่ีดี พบในงานวิจยัของพชัรี ดาํรงสุนทรชยั (2550)

4. ประชากรและกลุ่มตวัอยา่งท่ีเป็นบุคคล ไดแ้ก่ บุคลากรในสถาบนัท่ีศึกษาเก่ียวกบัเร่ืองการ

พฒันา ผูป้ฏิบติังานดา้นการพฒันามนุษย ์ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการพฒันามนุษย ์ พบในงานวิจยัของซูลา

(Zula, 2006)

ทั้งน้ี สามารถสรุปผลการสังเคราะห์องค์ความรู้จากผลการวิจัยแบ่งเป็น 3 ประเด็น ไดแ้ก่

แนวคิด/ความหมายพฒันามนุษย ์ แนวทาง/รูปแบบการพฒันามนุษย ์ และการประเมิน/ตวัช้ีการพฒันา

มนุษย ์ ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

170

1.1 แนวคดิ และความหมายการพฒันามนุษย์

1.1.1 การพฒันามนุษย ์เป็นแนวคิดท่ีใหค้วามสาํคญัต่อการพฒันามนุษย ์โดยมีมนุษยเ์ป็น

ศูนยก์ลางของการพฒันา เน่ืองจากมนุษยเ์ป็นทรัพยากรท่ีมีค่าสูงสุดขององค์กร/หน่วยงานและสังคม

(พชัรี ศิริมาก, 2554; พชัรี ดาํรงสุนทรชยั, 2550; ตวงพร สมสมยั และคนอ่ืนๆ, 2554; สมคิด สกุลส

ถาปัตย,์ 2552; พิชญาภา ยนืยาว, 2552; จรัสศรี เพ็ชรคง, 2552) ประเด็นท่ีอยู่ในความสนใจของการ

พฒันามนุษย ์คือ การพฒันาท่ีมนุษยเ์ป็นศูนยก์ลางของการพฒันา ตามแนวคิดจากกระแสทางเลือก

โดยเฉพาะแนวคิดเร่ืองการพฒันามนุษยอ์ยา่งย ัง่ยนื หลกัเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐศาสตร์สร้างสรรค ์เป็น

ตน้ โดยมีสาระสาํคญั คือ การยดึมนุษยเ์ป็นศนูยก์ลาง เนน้การบูรณการ ความสมดุล ย ัง่ยืน และคาํนึงถึง

ส่ิงแวดลอ้มตามระบบนิเวศวิทยา (Stanton, 2007)

1.1.2 แนวคิดเร่ืองการพฒันามนุษย ์มีพ้ืนฐานจากแนวคิดมนุษยนิยม การพฒันามนุษย ์

ต้องมีพ้ืนฐานอยู่ท่ีการพิจารณาธรรมชาติหรือองค์ประกอบของมนุษย ์โดยมีการอธิบายว่ามนุษย์มี

ลกัษณะพิเศษท่ีต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ คือ มนุษยมี์สติปัญญา ท่ีจะสามารถเขา้ถึงความจริงได ้อาศยัการใช้

เหตุผล (Yonehara, 2006)

1.1.3 สาระสาํคญัของการพฒันามนุษย ์คือ การขยายโอกาสทางเสรีภาพส่วนบุคคลและ

การศึกษาขั้นพ้ืนฐานรูปแบบการพฒันาจาํเป็นตอ้งมีการประเมินความตอ้งการของผูเ้ก่ียวขอ้งต่อการ

กาํหนดนโยบายการพัฒนามนุษย์ ซ่ึงจ ําเป็นต้องเร่ิมต้นตั้ งแต่การจัดการศึกษาตามระบบต่างๆ

(Yonehara, 2006)

1.1.4 การพฒันามนุษย ์จาํเป็นตอ้งมีการบูรณการศาสตร์ต่างๆ เพ่ือช่วยกนัเติมให้เต็มซ่ึง

กนัและกนัของศาสตร์ เน่ืองจากแต่ละศาสตร์มีบริบท มีเป้าหมายและวิธีการท่ีแตกต่างกนัตามธรรมชาติ

ของศาสตร์ การกาํหนดยุทธศาสตร์การพฒันามนุษย ์จาํเป็นต้องมีการผสานกับวิชาการ การจัดการ

ความคิดริเร่ิมอยา่งสมดุล เพ่ือใหเ้กิดประโยชน์ต่อการนาํไปใช ้ รวมทั้งตอ้งมีการทบทวนดว้ยการใชก้าร

วิจยัและการตรวจสอบเพื่อพฒันาเคร่ืองมือสาํหรับการบริหารจดัการทรัพยากรมนุษยอ์ยา่งเป็นระบบและ

ต่อเน่ือง (พชัรี ดาํรงสุนทรชยั, 2550; พชัรี ศิริมาก, 2554; พิชญาภา ยนืยาว, 2552; Stanton, 2007)

1.2 แนวทาง/รูปแบบการพฒันามนุษย์

1.2.1 แนวทางการพฒันามนุษยต์อ้งมีพ้ืนฐานอยู่บนความเขา้ใจความหมายของชีวิตว่า

มนุษยเ์ป็นส่ิงประเสริฐ มีศกัยภาพท่ีจะเขา้ใจความจริงและบรรลุถึงความจริง อนัเป็นเป้าหมายของชีวิตได ้

ทั้งน้ี การพฒันามนุษยต์อ้งมีพ้ืนฐานอยูบ่นหลกัศีลธรรม (ตวงพร สมสมยั และคนอ่ืนๆ, 2554)

1.2.2 แนวทางการพฒันามนุษย ์ควรไดรั้บการเสริมสร้างในเร่ือง 1. การพฒันาภาวะผูน้าํ

2. การส่งเสริมการสร้างค่านิยมในการเรียนรู้เพ่ือการพฒันาตนเอง 3. จดัทาํแผนพฒันามนุษยใ์ห้เช่ือมโยง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

171

กบัยทุธศาสตร์ เป้าหมาย และค่านิยมร่วมของสงัคม 4. ใชก้ารบริหารผลการปฏิบติังานและการพฒันาผูท่ี้

มีความรู้ความสามารถสูง 5. การสร้างความสมดุลของชีวิตและการทาํงาน 6. ส่งเสริมการสร้างนวตักรรม

และการแบ่งปันความรู้ 7. การส่งเสริมวฒันธรรมองค์การท่ีมุ่งสร้างคุณภาพและการแข่งขนั 8. การใช้

เทคโนโลยสีนบัสนุนการพฒันา และ 9. การสนบัสนุนและพฒันาทีมงาน (จรัสศรี เพช็รคง, 2552)

1.2.3 จาํเป็นตอ้งมีการจดัระบบ จดัหา/พฒันานวตักรรมการพฒันามนุษย ์โดยเฉพาะการ

เสริมสร้าง “การเรียนรู้ตลอดชีวิต” มีการกาํหนดเจา้ภาพในการติดตามการดาํเนินงาน ทั้งส่วนกลางและ

ส่วนภูมิภาค โดยมีโครงการ/กิจกรรม/แผนงานมารองรับดว้ย จาํเป็นตอ้งมีการกาํหนดยุทธศาสตร์การ

พฒันามนุษย ์ โดยมีการผสานกบังานวิจยัเชิงวิชาการ การบริหารจดัการ ความคิดริเร่ิมอยา่งสมดุล เพ่ือให้

เกิดประโยชน์ต่อการนาํไปใช ้ รวมทั้งตอ้งมีการทบทวนดว้ยการใชก้ารวิจยัและการตรวจสอบเพ่ือพฒันา

เคร่ืองมือสาํหรับการบริหารจดัการทรัพยากรมนุษยอ์ย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง (พชัรี ดาํรงสุนทรชยั,

2550; Zula, 2006)

1.2.4 แนวทางการพัฒนามนุษย์ต้องส่งเสริมให้มนุษย์พ่ึงพิงตนเอง เร่ิมท่ีตนเอง

เสริมสร้างมนุษยใ์หใ้หม้องโลกในแง่ดี ให้มีความคิดวิจารณญาณ/รู้จกัวิเคราะห์/หาเหตุผล มีการพฒันา

ตวัเองใหเ้ต็มท่ีตามศกัยภาพ รู้จกัสร้างสรรคส่ิ์งใหม่ รู้จกัสร้าง/ผลิต/คิดอะไรใหม่ๆ รวมทั้งให้รู้จกัตวัเอง

เสียสละ เพ่ือทาํให้สังคมกา้วหน้าและมีสันติสุข (พชัรี ศิริมาก, 2554; ตวงพร สมสมยั และคนอ่ืนๆ,

2554)

1.2.5 รูปแบบการพฒันามนุษยอ์ยา่งย ัง่ยนื เป็นความสมัพนัธเ์ชิงสาเหตุของพหุตวัแปรท่ี

ประกอบดว้ยองค์ประกอบท่ีสาํคญัไดแ้ก่ การสร้างส่ือกลางท่ีมีศกัยภาพ การใชค้วามฉลาดทางอารมณ์

เป็นฐาน การสร้างแรงบนัดาลใจ การคาํนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล การกระตุน้การใชปั้ญญา และการใช้

อิทธิพลอยา่งมีอุดมการณ์ (ภาวะผูน้าํการเปล่ียนแปลงท่ีมีประสิทธิผล) ซ่ึงมีอิทธิพลต่อปัจจยันาํเขา้มีพลงั

ขบัเคล่ือน กระบวนการเปล่ียนแปลงสมดุล ต่อเน่ือง เป็นรูปแบบมีความถกูตอ้ง เหมาะสม เป็นไปไดแ้ละ

สามารถนาํไปใชป้ระโยชน์ได ้รวมทั้ งตอ้งมีการพฒันาอยู่เสมอ (สมคิด สกุลสถาปัตย,์ 2552 พิชญาภา

ยนืยาว, 2552; Yonehara, 2006) แนวทางการพฒันามนุษย ์จาํเป็นตอ้งคาํนึงถึงส่ีมิติในการพฒันา ไดแ้ก่

สุขภาวะทางกาย ทางใจ ทางสังคม และทางปัญญา อาศยักระบวนการท่ีหลากหลาย เช่น การจดัการ

ความรู้ การเสริมสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต วฒันธรรมองคก์ร/สงัคม (พชัรี ดาํรงสุนทรชยั, 2550)

1.3 การประเมนิ/ตวัชี้วดัการพฒันามนุษย์

การพฒันาและการประเมินเคร่ืองมือเพ่ือการวางแผนทุนมนุษย ์จาํเป็นตอ้งเช่ือมโยงกบั

ผูเ้ช่ียวชาญและการวิจัยท่ีหลากหลาย เพ่ือสามารถพฒันาโครงสร้าง ทฤษฏีและการวางแผนอย่างมี

ประสิทธิภาพ (Stanton, 2007)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

172

ดงันั้น จึงพบว่า มีความแตกต่างกนัระหว่างคาํว่า “การพฒันามนุษย”์ และ “การพฒันาทุน

มนุษย/์การพฒันาทรัพยากรมนุษย”์ กล่าวคือ คาํว่า การพฒันามนุษย ์เป็นแนวคิดท่ีใหค้วามสาํคญักบัการ

พฒันามนุษย ์ในดา้นคุณค่า ความหมาย โดยมองว่ามนุษยเ์ป็นเป้าหมายของการพฒันาในฐานะท่ีมนุษย์

เป็นมนุษย ์ ในขณะท่ี การพฒันาทุนมนุษย/์การพฒันาทรัพยากรมนุษย ์เป็นแนวคิดท่ีให้ความสาํคญักบั

การพฒันาองคก์ร/หน่วยงาน และมนุษยเ์ป็นกลไกสาํคญัต่อการพฒันาองคก์ร

การพฒันามนุษย ์มีพ้ืนฐานจากแนวคิดมนุษยนิยม การพฒันามนุษย ์ตอ้งมีพ้ืนฐานอยู่ท่ีการ

พิจารณาธรรมชาติหรือองค์ประกอบของมนุษย ์โดยมีการอธิบายว่ามนุษยมี์ลกัษณะพิเศษท่ีต่างจาก

ส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ คือ มนุษยมี์สติปัญญา ท่ีจะสามารถเขา้ถึงความจริงได้ อาศยัการใชเ้หตุผล ดังนั้น การ

พฒันามนุษย ์จึงเป็นแนวคิดท่ีให้ความสําคญัต่อการพฒันามนุษย ์โดยมีมนุษยเ์ป็นศูนยก์ลางของการ

พฒันา เน่ืองจากมนุษยเ์ป็นทรัพยากรท่ีมีค่าสูงสุดขององค์กร/หน่วยงานและสังคม ดงัท่ี โยเนฮารา

(Yonehara, 2006) ไดเ้สนอว่าแนวคิดในการพฒันาตามกระแสหลกัท่ียดึความกา้วหนา้ทางเศรษฐกิจเป็น

หลกั ไดล้ดทอนคุณค่าของมนุษยเ์ป็นเพียงเคร่ืองมือหรือปัจจยั/องค์ประกอบในการพฒันาเศรษฐกิจและ

สงัคมว่าเป็นแนวทางท่ีไม่ถกูตอ้ง ส่ิงท่ีสาํคญัท่ีสุดของการพฒันาคือ มนุษย ์ท่ีควรไดรั้บความเอาใจใส่เป็น

พิเศษ จึงเกิดกระแสการพฒันาท่ียดึมนุษยเ์ป็นศนูยก์ลาง มุ่งการพฒันามนุษยโ์ดยมองมนุษยใ์นฐานะเป็น

มนุษย ์ โดยมีพ้ืนฐานจากปรัชญามนุษยนิยม

แนวทาง/รูปแบบการพฒันามนุษยต์้องมีพ้ืนฐานอยู่บนความเขา้ใจความหมายของชีวิตว่า

มนุษยเ์ป็นส่ิงประเสริฐ มีศกัยภาพท่ีจะเขา้ใจความจริงและบรรลุถึงความจริง อนัเป็นเป้าหมายของชีวิตได ้

ทั้งน้ี การพฒันามนุษยต์อ้งมีพ้ืนฐานอยูบ่นหลกัศีลธรรม สาระสาํคญัของการพฒันามนุษย ์คือ การขยาย

โอกาสทางเสรีภาพส่วนบุคคลและการศึกษา ดงัท่ี โยเนฮารา (Yonehara, 2006) เสนอว่าสาระสาํคญั

ของการพฒันามนุษย ์คือ การขยายโอกาสทางเสรีภาพส่วนบุคคลและการศึกษาขั้นพ้ืนฐานรูปแบบการ

พฒันาจาํเป็นตอ้งมีการประเมินความตอ้งการของผูเ้ก่ียวขอ้งต่อการกาํหนดนโยบายการพฒันามนุษย ์ ซ่ึง

จาํเป็นต้องเร่ิมต้นตั้ งแต่การจัดการศึกษาตามระบบต่างๆ แนวทางการพฒันามนุษย ์จาํเป็นต้องให้

ความสาํคญัต่อการจดัการศึกษาว่าเป็นศนูยก์ลางของเคร่ืองมือการพฒันามนุษย ์และเป็นเคร่ืองมืออิสระท่ี

ไม่ไดถ้กูครอบงาํหรือแทรกแซงจากภาคส่วนใดๆ ก็ตาม

2. เอกสารและงานวจิยัที่เกีย่วข้องกบัการนําเสนอกระบวนทัศน์เร่ืองมนุษย์และการพฒันามนุษย์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้งในเร่ืองแนวคิด/คาํสอน/กระบวนทศัน์เร่ือง

มนุษยแ์ละการพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดว้ยการศึกษาบทความวิชาการเร่ือง

“พระสนัตะปาปาในเร่ืองท่ีเก่ียวกบัมนุษยท่ี์เป็นบุคคล” (Schall, 1997) เอกสารรวบรวมผลงานเอกสาร

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

173

ทางการของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 (Miller, 1996) บทความวิชาการเร่ือง “รูปแบบ/ลกัษณะท่ี

แตกต่าง : นักบุญออกสัตินกบัพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2” (Beltz, 1996) บทความวิชาการเร่ือง

“ยอห์น ปอล ท่ี 2 และความจริงเก่ียวกับเสรีภาพ” (Dulles, 1995) บทความวิชาการเร่ือง “พระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 : การเป็นผูน้าํในการต่อสู้เพ่ือชีวิต” (Wills, 1998) บทความวิชาการเร่ือง

“ประวติัศาสตร์ของบุคคลนิยม” (Schmiesing, 2003) บทความเร่ือง “คาํสอนดา้นสังคม : คุณลกัษณะ

และพฒันาการของพระศาสนจกัร” (อจัฉรา สมแสงสรวง, 2547) ประกอบกบังานวิจยัเร่ือง “ความ

เขา้ใจ/ทศันะของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เก่ียวกบัการจดัการศึกษาด้านคุณค่าทางศีลธรรม”

(Silvio, 2011) งานวิจยัเร่ือง “การมุ่งสู่ (ความเขา้ใจ) คาํสอน/เทววิทยาเร่ืองความทุกขท์รมาน: คุณูปการ

ของคาโรล ์วอยติลา/พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2” (Harman, 2010) และงานวิจยัเร่ืองการพฒันา

เคร่ืองมือประเมินและตวัช้ีวดัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการพฒันาจิตวิญญาณตามหลกัธรรมคาํสอนคริสต์ศาสนา

(สมชยั พิทยาพงศพ์ร และคณะ, 2553)

จากการวิเคราะห์ พบว่าเอกสารและงานวิจยัท่ีศึกษามีวตัถุประสงค ์และแบบแผนการศึกษาท่ี

สอดคลอ้งกนั กล่าวคือ เป็นการศึกษาวิเคราะห์แนวคิด/คาํสอนของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือ

นาํไปสู่การตอบคาํถามในประเด็นท่ีผูว้ิจยัตั้งข้ึน โดยมีรายละเอียดท่ีต่างกนั ไดแ้ก่ การวิเคราะห์รูปแบบ

การอธิบายคาํสอนเร่ืองมนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ การนาํแนวคิด/คาํสอนของพระสันตะปาปาฯ ไป

ตอบปัญหาในเร่ืองท่ีเก่ียวขอ้งกบัการอธิบายมนุษยใ์นบริบทต่างๆ และการสังเคราะห์จดัการศึกษาอบรม

เพ่ือพฒันามนุษย ์ ดว้ยการศึกษาวิเคราะห์เอกสารของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ประชากรและ

กลุ่มตัวอย่าง ไดแ้ก่ เอกสารทางการของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เอกสารท่ีอา้งอิงคาํสอน/

แนวคิดของพระสนัตะปาปาฯ และคาํสอนคริสตศ์าสนา

จากการวิเคราะห์และสงัเคราะห์ผลเอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งในเร่ืองการอธิบายมนุษย์

และการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 จึงสรุปผลการศึกษาได ้ดงัน้ี

2.1 กระบวนทัศน์เร่ืองมนุษย์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

กระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะเป็นปรัชญา

บุคคลนิยมท่ียดึมนุษยเ์ป็นศนูยก์ลางตามแนวคิดแบบคาทอลิก ดงัท่ี สแชล (Schall, 1997) ไดว้ิเคราะห์ว่า

แนวคิดเร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะเป็นปรัชญาบุคคลนิยมท่ียดึมนุษยเ์ป็น

ศูนยก์ลางตามแนวคิดแบบคาทอลิก สอดคลอ้งกับ เบล์ซ (Beltz, 1996) เสนอความคิดว่า พระ

สนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 เนน้อธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนาในเร่ืองมนุษย ์ ดว้ยการอธิบายความหมาย

ของชีวิตมนุษยโ์ดยนาํปรัชญาบุคคลนิยม มาอธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนา ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

174

2.1.1 คุณค่าและความหมายของมนุษย ์

มนุษยมี์ศกัด์ิศรีในฐานะเป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้างให้เป็นภาพลกัษณ์ มีศกัยภาพท่ี

สามารถบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ โดยอาศยัความรู้สาํนึก เสรีภาพ และความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น ซ่ึง

เป็นลกัษณะพิเศษท่ีบ่งบอกว่ามนุษยแ์ตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ (Schall , 1997) โดยเน้นมนุษยใ์นดา้น

เจตจาํนงเสรีท่ีพระเจ้าประทานให้ โดยเจตจาํนงเสรีน้ีต้องควบคู่กับความรับผิดชอบ มนุษยต์้อง

รับผดิชอบทั้งตวับุคคลของเขาเองและต่อสงัคม รวมทั้งความรับผดิชอบต่อหนา้พระเจา้ (Beltz, 1996)

2.1.2 การย ํ้ าความสาํคญัเร่ืองความจริงเก่ียวกบัเสรีภาพ

ดูลเลส (Dulles, 1995) ได้เสนอว่าแนวคิดและงานเขียนของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอลท่ี 2 มีศนูยก์ลางเร่ืองความจริงเก่ียวกบัเสรีภาพ เสรีภาพท่ีควบคู่กบัความจริง จนกล่าวไดว้่า

ปรัชญาของพระสนัตะปาปาฯ เป็นปรัชญาว่าดว้ยเร่ืองเสรีภาพ ในฐานะท่ีเสรีภาพเป็นลกัษณะสาํคญัของ

มนุษย ์และเสรีภาพน้ีเองตอ้งมีพ้ืนฐานบนความจริงของชีวิต ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นมนุษย ์และเสรีภาพน้ี

เอง ท่ีทาํใหม้นุษยพ์บความจริง “ไม่มีเสรีภาพท่ีปราศจากความจริง”

2.1.3 การอธิบาย “ความเป็นบุคคลของมนุษย”์

สไชมซิ์งก์ (Schmiesing, 2003) สรุปความคิดว่าแนวปรัชญาบุคคลนิยมยืนยนัคุณ

ค่าสูงสุดเร่ืองความเป็นบุคคลของมนุษย ์ โดยถือได้ว่าคาโรล โจเซฟ วอยติวา (พระนามเดิมของพระ

สนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 จดัเป็นหน่ึงในปรัชญาบุคคลนิยม โดยลกัษณะร่วมกนัของปรัชญาบุคคล

นิยมคือ ถือความเป็นบุคคลของมนุษยเ์ป็นจุดเร่ิมตน้ของปรัชญา โครงสร้างพ้ืนฐานของความเป็นบุคคล

ของมนุษยคื์อ การเป็นหน่ึงเดียวของกายและจิต และความเป็นบุคคลท่ีดาํเนินชีวิตในหมู่คณะท่ีเป็นหน่ึง

เดียว ไม่ใช่ต่างคนต่างอยูแ่บบตวัใครตวัมนัในแบบปัจเจกชน

2.1.4 การใหค้วามเคารพต่อคุณค่าและศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ในกระแสของการทาํลาย

ชีวิต

วิลลส์ (Wills, 1998, 1-2) เสนอว่าแนวคิดของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็น

แนวบุคคลนิยมแบบคริสตชน ซ่ึงเรียกร้องให้มนุษยช่์วยกนัสร้างสังคมในแบบท่ีให้ความเคารพและ

ปกป้องศกัด์ิศรีและเสรีภาพของมนุษย ์ และช่วยกันต่อสู้กับกระแสของการทําลายชีวิต เน่ืองจาก

มนุษยชาติกาํลงัเผชิญหน้ากบัยุคโลกาภิวตัน์ ตามกระแสบริโภคนิยม วตัถุนิยม ประโยชน์นิยม ท่ีพระ

สนัตะปาปาฯ ทรงเรียกกระแส/ค่านิยมเหล่าน้ีว่า “กระแส/ค่านิยมแห่งการทาํลายชีวิต” กล่าวคือ เป็น

แนวคิดท่ีลดทอนความเป็นมนุษยล์งเป็นเพียงวตัถุส่ิงของ มุ่งตอบสนองแต่เพียงความต้องการของ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

175

ร่างกายเท่านั้น ส่งผลใหส้งัคมประสบกบัภาวะวิกฤติทางดา้นจิตใจ โดยเฉพาะปัญหาเร่ืองความสัมพนัธ์

ระหว่างบุคคลในสงัคม ปัญหาชีวิตครอบครัว และปัญหาการทาํลายธรรมชาติส่ิงแวดลอ้มอย่างมากมาย

โดยพระสนัตะปาปาฯ ทรงเชิญชวนใหร่้วมกนัเสริมสร้างวฒันธรรมท่ีปกป้องชีวิตมนุษย ์ในฐานะท่ีชีวิต

มนุษยเ์ป็นศนูยก์ลางของทุกกิจกรรมบนโลก

2.2 การพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปาฯ

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 คือ การพฒันาท่ี

สอดคลอ้งกับคุณค่าและศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ หรือ การพฒันา “ความเป็น” มนุษย ์ โดยพระ

สันตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 วิจารณ์ทั้ งแนวคิดเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและลทัธิมาร์กซ์ท่ีแพร่หลายอยู่

ในช่วงท่ีพระองคด์าํรงตาํแหน่ง (และยงัคงมีอิทธิพลต่อปัจจุบนั) ว่ามีขอ้บกพร่อง เพราะมองคุณค่าและ

ความหมายชีวิตในแง่วตัถุสสารมากเกินไป และเป็นระบบท่ีมุ่งให้มนุษยมี์การครอบครองวตัถุส่ิงของ

มากกว่ามุ่งใหม้นุษยเ์ป็นส่ิงท่ีมีคุณภาพภายใน เป็นการส่งเสริมใหม้นุษยเ์ป็น “ปัจเจก” ละเลยต่อการเป็น

“บุคคล” ซ่ึงเป็นการลดคุณค่าจนลืมความหมายและเป้าหมายแทจ้ริงของชีวิตมนุษยอ์นัมาจากพระเจา้

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งในเร่ืองมนุษยแ์ละการพฒันามนุษย ์ทาํให้

ผูว้ิจ ัยได้แนวทางการศึกษาความหมายและแนวทางการพัฒนามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

2.2.1 การพฒันามนุษย ์ คือ การพฒันาท่ีสอดคลอ้งกบัการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้

มิลเลอร์ (Miller, 1996: 415) วิเคราะห์ว่าพระสันตะปาปาฯ เสนอความคิดว่า

นอกเหนือจากท่ีมนุษยม์าจากพระเจ้าแลว้ พระเจ้ายงัให้มนุษยเ์ป็นบุคคล ๆ ท่ีเป็นตัวของตัวเองและ

ควบคุมตนเองได ้ ยิง่กว่านั้น ในฐานะท่ีเขาเป็นตวัของตวัเอง เขาจึงสามารถให้ตวัเขาเองแก่ผูอ่ื้นซ่ึงต่างก็

มาจากพระเจา้ แก่นแทข้องมนุษยอ์ยู่ท่ีศกัด์ิศรี ในฐานะท่ีพระเจา้สร้างให้เป็นภาพลกัษณ์และเป็นความ

เหมือนกบัพระเจา้ดว้ยกนัทุกคน และเห็นไดว้่าคุณค่าและความหมายของมนุษยจึ์งอยูท่ี่การเป็นมนุษยท่ี์มา

จากพระเจา้และมุ่งสู่พระเจา้

2.2.2 การพฒันามนุษย ์ตอ้งเคารพ “ธรรมชาติ/อตัลกัษณ์” ของมนุษย ์

มิลเลอร์ (Miller, 1996: 415-418) เสนอว่าพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ให้

ความสาํคัญต่อการอธิบายธรรมชาติมนุษยว์่าประกอบด้วยวิญญาณและร่างกายรวมเป็นหน่ึงเดียวกัน

มนุษยมี์อตัลกัษณ์ท่ีแตกต่างจากส่ิงท่ีมีอยู่ทัว่ไป กล่าวคือ มนุษยมี์ศกัยภาพท่ีสามารถบรรลุถึงชีวิตท่ี

สมบูรณ์ (ชีวิตนิรันดร) ในพระเจา้ โดยอาศยัความรู้สาํนึก เสรีภาพ และความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น ซ่ึงเป็น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

176

ลกัษณะพิเศษท่ีบ่งบอกว่ามนุษยแ์ตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ ทั้งหมดน้ีคือคุณลกัษณะพื้นฐานของมนุษย์

ตามแนวคิดของพระสนัตะปาปาฯ อยา่งไรก็ตามมนุษยไ์ม่ใช่พระเจา้ แต่ไดรั้บการเช้ือเชิญและไดรั้บพระ

พรใหด้าํเนินชีวิตในความรักของพระเจา้

2.2.3 การพฒันาจิตใจ ในชีวิตหมู่คณะสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

มิลเลอร์ (Miller, 1996: 415-419) ยงัไดเ้สนอว่าพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ทรงย ํ้ าความสาํคญัของการดาํเนินชีวิตร่วมกบัผูอ่ื้นในสงัคม พระสนัตะปาปาฯ ทรงย ํ้ าว่าการพฒันาชีวิตท่ี

ถูกตอ้ง ไม่ใช่มุ่งพฒันาส่ิงท่ีมนุษยต์อ้งการดา้นร่างกายภายนอก เท่านั้น แต่ตอ้งมุ่งพฒันาท่ีศูนยก์ลาง

ภายในจิตใจ ตอ้งคาํนึงถึงศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษยซ่ึ์งอยู่เหนือสรรพส่ิงทั้ งหลาย กล่าวคือ มนุษยต์อ้ง

สาํนึกและมีความรับผิดชอบในฐานะเป็นส่วนหน่ึงของหมู่คณะ ดงันั้น จึงตอ้งเอาใจใส่ชีวิตตนเองและ

ปฏิสัมพันธ์กับคนอ่ืนด้วย เพ่ือมุ่งหน้าสู่จุดหมายปลายทางของชีวิตซ่ึงเป็นส่ิงท่ีพระเจ้ากาํหนดไว ้

อยา่งไรก็ตามแนวคิดเร่ืองมนุษยแ์บบบุคคลนิยมของพระสันตะปาปาฯ ซ่ึงยึดมนุษยเ์ป็นศูนยก์ลางน้ีก็ยงั

ไม่ไดล้ะทิ้งแนวคาํสอนเดิมของคริสตศ์าสนา โรมนัคาทอลิก ท่ีกล่าวว่า มนุษยเ์ป็นส่ิงจาํกดั เน่ืองจากเป็น

ส่ิงท่ีพระเจา้สร้างใหเ้ป็นภาพลกัษณ์และเป็นความเหมือนพระเจา้ และดว้ยพระกรุณาของพระเจา้ มนุษย์

จึงมีศกัยภาพ ท่ีสามารถกา้วพน้ขอบเขตแห่งโลกผสัสะ เขา้ไปสู่การมีส่วนร่วมในชีวิตของพระเจา้ได ้

2.2.4 การพฒันาบนหลกัศีลธรรม

ซิลวีโอ (Silvio J. Fonseca-Martinez, 2011: Abstract) เสนอว่าการพฒันามนุษยต์าม

แนวทางของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีหลกัอยู่บนความถูกตอ้งตามหลกัศีลธรรม ดว้ยเหตุน้ี

การจดัการศึกษาอบรมเพื่อการพฒันามนุษย ์ตอ้งมีพ้ืนฐานทางศีลธรรม รู้จกัแยกแยะคุณค่าทางศีลธรรม

ในสงัคม โดยเช่ือมโยงกบัคุณค่าความเป็นมนุษยซ่ึ์งเป็นบุคคล เพ่ือรองรับความทา้ทายท่ีเกิดข้ึนในสังคม

ไดอ้ยา่งสมดุล

2.2.5 การพฒันาเป็นกระบวนการฟ้ืนฟชีูวิต

อจัฉรา สมแสงสรวง (2547: 13-14) เสนอว่าการพฒันามนุษยต์ามแนวทางของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดาํเนินตามแนวทางคริสต์ศาสนจกัร ท่ีให้ความสาํคญัต่อการฟ้ืนฟูชีวิต ใน

ดา้นความคิด ความรู้สึก และความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคล เป็นการฟ้ืนฟูแต่ละคน ฟ้ืนฟูสถาบนัศาสนา

และฟ้ืนฟูสังคม ท่ีเรียกร้องให้ทุกคนมองด้วยสายตา รับฟังด้วยหัวใจและปฏิบัติความรักด้วยชีวิต

สอดคลอ้งกับ สมชยั พิทยาพงศพ์ร และคณะ (2553: 50-53) อธิบายว่า การพฒันามนุษยต์ามคาํสอน

คริสต์ศาสนา เป็นการพฒันาด้านจิตวิญญาณท่ีมีความสัมพนัธ์กันระหว่างการแสดงออกภายนอก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

177

(ร่างกาย) และดา้นภายใน (จิตวิญญาณ) ทั้งจิตสาํนึก ทศันคติ ความโนม้เอียงตามธรรมชาติ ตลอดจนการ

ดาํเนินชีวิตตามแนวทางของพระเจา้ การพฒันาจิตวิญญาณจึงเป็นการพฒันาวิถีชีวิตเดิมไปสู่วิถีชีวิตใหม่

ท่ีมีพระเจา้เป็นเป้าหมายปลายทางของชีวิต

2.2.6 การมี “ความหวงั” แมต้อ้งเผชิญกบัความทุกขย์ากในสงัคม

จากการศึกษาของ ฮาร์แมน (Harman, 2010: abstract) ทาํใหท้ราบว่าพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงมีมุมมองท่ีดีต่อมนุษย ์แมม้นุษยจ์ะเผชิญกบัความทุกขย์ากลาํบากในชีวิต แต่ทรงเช้ือ

เชิญใหมี้ความหวงั ทรงนาํเสนอเร่ือง “เทววิทยาของร่างกาย” (Theology of the Body) เพ่ืออธิบายคุณค่า

และความหมายของความทุกขท์รมานท่ีไม่อาจหลีกเล่ียงได ้ ไม่ใช่หลีกหนีและขจดัความทุกข์ทรมานทิ้ง

ไป แต่กลา้ท่ีจะเผชิญหนา้ ทรงอธิบายว่า ความทุกข์ทรมานน้ีเป็นส่ิงท่ีมีคุณค่า ประสบการณ์แห่งความ

ทุกขท์รมาน เป็นการพฒันาวุฒิภาวะ และยงัแฝงมิติของความรักและความหวงัในบรรดาผูมี้ความทุกข์

ทรมาน คือ การเสริมสร้างความสมัพนัธก์บัพระเจา้และคนอ่ืนๆ ท่ีอยูร่อบตวัของผูมี้ความทุกขท์รมาน

จึงสรุปสาระสําคญัของแนวคิด/แนวทางการพฒันาชีวิตสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ใน

สงัคม ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ว่า “จงเป็นในส่ิงท่ีท่านเป็นเถิด” (John Paul II, 1981: 17)

ซ่ึงหมายถึงการเป็นตวัแทนท่ีดีของพระเจา้บนโลก ทั้งน้ี ทรงใหห้ลกัในการพิจารณาดว้ยการตั้งคาํถามว่า

“การพฒันาความเจริญของมนุษยน์ั้นควรคู่กนักบัการเป็นมนุษยห์รือไม่?” และแนวทางการพฒันาเช่นน้ี

“เป็นความเจริญกา้วหน้าหรือเป็นการคุกคามชีวิตมนุษยก์นัแน่?” (John Paul II, 1979: 16) ดว้ยเหตุน้ี

แนวทางการพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 จึงตั้งอยูบ่นพ้ืนฐานของคุณค่าและศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษยท่ี์ “มาก่อน” และ “อยูเ่หนือ” ทุกส่ิง

ดงันั้น จากการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการพฒันามนุษยใ์นดา้น หลกัการพฒันามนุษย ์

มิติ/องค์ประกอบของการพฒันา แนวทางการพฒันามนุษย ์ตวัช้ีวดั/ประเมินการพฒันามนุษย ์ และ

กระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยการทบทวนเอกสารและงานวิจยัท่ี

เก่ียวขอ้ง ผูว้ิจยัจึงดาํเนินตามแนวทางและนาํเสนอรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 ตามท่ี มิลเลอร์ (Miller, 1996: 23-30) วิเคราะห์ว่ากระบวนทศัน์เร่ืองมนุษย์

ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นกระบวนทศัน์ภายใตแ้นวคิดเร่ืองมนุษยต์ามคาํสอนคริสต์

ศาสนา กบัแนวคิดเร่ืองมนุษยข์องปรัชญาบุคคลนิยม และดงัท่ี วิลส์ (Wills, 1998: 1-2) ให้แนวทางว่า

แนวคิดของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นแนวบุคคลนิยมแบบคริสตศ์าสนา อยา่งไรก็ตามจากการ

ทบทวนเอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งเก่ียวกบัแนวคิดเร่ืองรูปแบบ พบว่าไม่มีปรากฏหลกัเกณฑ์ท่ีเป็น

เกณฑ์ตายตวัว่ารูปแบบนั้นตอ้งมีองค์ประกอบอะไรบา้ง ข้ึนอยู่กบัลกัษณะเฉพาะของปรากฏการณ์ท่ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

178

ผูส้นใจดาํเนินการศึกษา (Bardo and Hartman, 1982: 70) ดงันั้น ผูว้ิจยัจึงกาํหนดองค์ประกอบของ

รูปแบบว่าประกอบดว้ย หลกัการ เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย กระบวนการ การประเมินการพฒันามนุษยแ์ละ

เง่ือนไข/ปัจจยัการใชรู้ปแบบ ตามแนวทางจากงานวิจยัของโยเนฮารา (Yonehara, 2006) ซิลวีโอ (Silvio,

2011) ตวงพร สมสมยัและคนอ่ืนๆ (2554) ท่ีเสนอรูปแบบการพฒันาท่ีเนน้ว่ามนุษยเ์ป็นส่ิงประเสริฐ มี

เสรีภาพส่วนบุคคล ทาํใหแ้ต่ละคนมีศกัยภาพท่ีจะเขา้ใจความจริงและบรรลุถึงความจริง อนัเป็นเป้าหมาย

ของชีวิตได ้ บนพ้ืนฐานบนความสาํนึกทางศีลธรรม

กรอบแนวคดิท่ีใช้ในการวจิยั

จากการศึกษาเก่ียวกบัรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา ยอห์น

ปอล ท่ี 2 โดยการทบทวนเอกสารและงานวิจัย ตลอดจนแนวคิดและทฤษฎีการพฒันามนุษยใ์นด้าน

หลกัการพฒันามนุษย ์มิติ/องค์ประกอบของการพฒันา แนวทางการพฒันามนุษย ์ตวัช้ีวดั/ประเมินการ

พฒันามนุษย ์ทาํให้ผูว้ิจยัมีความสนใจท่ีจะศึกษารูปแบบการพฒันามนุษยต์ามหลกัคริสต์ศาสนา และ

เพ่ือใหส้อดคลอ้งกบักระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 ผูว้ิจยัจึงสนใจ

ท่ีจะนําเสนอรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 ตาม

แนวทางของมิลเลอร์ (Miller, 1996: 23-30) ท่ีวิเคราะห์ว่ากระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นกระบวนทัศน์ภายใต้แนวคิดเร่ืองมนุษยต์ามคาํสอนคริสต์ศาสนา โดยใช้การ

วิเคราะห์ปรากฏการณ์ชีวิตมนุษยต์ามแนวปรัชญาบุคคลนิยม และดงัท่ี วิลส์ (Wills, 1998: 1-2) ให้

แนวทางว่า แนวคิดของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นแนวบุคคลนิยมแบบคริสตศ์าสนา อยา่งไรก็

ตามจากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้งเก่ียวกับแนวคิดเร่ืองรูปแบบ พบว่าไม่มีปรากฏ

หลกัเกณฑท่ี์เป็นเกณฑ์ตายตวัว่ารูปแบบนั้นตอ้งมีองค์ประกอบอะไรบา้ง ข้ึนอยู่กบัลกัษณะเฉพาะของ

ปรากฏการณ์ท่ีผูส้นใจดาํเนินการศึกษา (Bardo and Hartman, 1982: 70) ดงันั้ น ผูว้ิจยัจึงกาํหนด

องคป์ระกอบของรูปแบบว่าประกอบดว้ย หลกัการ เป้าหมาย วตัถุประสงค/์จุดมุ่งหมาย กระบวนการ การ

ประเมินการพฒันามนุษยแ์ละเง่ือนไข/ปัจจัยการใชรู้ปแบบ ตามแนวทางจากงานวิจยัของโยเนฮารา

(Yonehara, 2006) ซิลวีโอ (Silvio J. Fonseca-Martinez, 2011) ตวงพร สมสมยัและคนอ่ืนๆ (2554) ท่ี

เสนอรูปแบบพฒันาในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นผูมี้เสรีภาพส่วนบุคคล ทาํใหแ้ต่ละคนมีศกัยภาพท่ีจะเขา้ใจความ

จริงและบรรลุถึงความจริง อนัเป็นเป้าหมายของชีวิตได ้ บนพ้ืนฐานบนความสาํนึกทางศีลธรรม

หลงัจากท่ีผูว้ิจยัเร่ิมตน้ดว้ยการศึกษาและวิเคราะห์เอกสารท่ีกล่าวมาขา้งตน้ทั้งหมด เพ่ือใหไ้ดม้า

ซ่ึงหวัขอ้หลกั หวัขอ้ยอ่ยในการสงัเคราะห์และสร้างเป็นรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์อง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

179

พระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 ต่อไป โดยการพฒันารูปแบบน้ีไดย้ดึแนวคิด ทฤษฎี และหลกัการ ซ่ึง

สามารถสรุปเป็นกรอบแนวคิดเก่ียวกบักระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

เป็นรูปแบบการพฒันามนุษยฯ์ ประกอบดว้ยหลกัการ เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย กระบวนการ การประเมิน

การพฒันามนุษยแ์ละเง่ือนไข/ปัจจยัการใชรู้ปแบบ สรุปเป็นกรอบแนวคิดเป็นภาพ 1 ดงัน้ี

ตวัแปรตน้ ตวัแปรตาม

แผนภาพท่ี 1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจยั

แนวคดิการพฒันามนุษย์

- หลกัการพฒันา

- มิติ/องคป์ระกอบ

- แนวทาง/กระบวนการเรียนรู้

เพ่ือการพฒันา

- ตวัช้ีวดั/ประเมิน

การวเิคราะห์กระบวนทศัน์

เร่ืองมนุษย์ของพระ

สันตะปาปาฯ

- คาํสอนคริสตศ์าสนา

- ปรัชญาบุคคลนิยม

- แนวคิดเร่ืองมนุษย/์การ

พฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปาฯ

รู ป แ บบ ก า รพัฒน า

มนุษย์ตามกระบวน

ทั ศ น์ ข อ ง พ ร ะ

สันตะปาปายอห์น ปอล

ที่ 2

1. หลกัการ

2. เป้าหมาย

3. จุดมุ่งหมาย

4. กระบวนการ

5. การประเมิน

6. เง่ือนไข/ปัจจยั

1. ความรู้กระบวนทัศน์การพฒันา

มนุษย์ฯ

2. เจตคตด้ิานการใช้เสรีภาพในการ

ดําเนนิชีวติฯ

3. พฤตกิรรมการใช้เสรีภาพในการ

ดําเนนิชีวติ

4. ความคดิเหน็ต่อรูปแบบการพฒันา

มนุษย์ตาม

กระบวนทัศน์ของ

พระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ที่ 2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

180

บทท่ี 3

วธิีดําเนินการวจิยั

งานวิจยัเร่ือง รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ใชว้ิธีการวิจยัและพฒันา (Research and Development) ดว้ยการวิจยัแบบผสมผสานวิธี (Mixed Method

Research) ด้วยการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Methods) ร่วมกับการวิจัยเชิงปริมาณ

(Quantitative Research) เพ่ือการตอบคาํถามการวิจัยให้มีความครอบคลุมในประเด็นต่างๆ โดยมี

รายละเอียดการดาํเนินงาน สรุปดงัน้ี

ขั้นตอนที่ 1 การวิจยั (Research : R1) การศึกษาขอ้มลูพ้ืนฐานดว้ยการวิเคราะห์และสงัเคราะห์

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์การพฒันาของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 (Analysis)

เป็นการศึกษาขอ้มูลพ้ืนฐานการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 โดยใชก้ารศึกษาเอกสาร (Documentary Research) วิเคราะห์และสงัเคราะห์เอกสารท่ีเก่ียวกบั

กระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 นาํสู่การกาํหนด

แนวคาํถามเพ่ือการสมัภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผูเ้ช่ียวชาญ ไดแ้ก่ ผูบ้ริหารหน่วยงาน/ แผนก

งานในกาํกบัของกรรมาธิการฝ่ายสังคม สภาพระสังฆราชคาทอลิกประเทศไทย นาํข้อมูลท่ีได้จาก

การศึกษาเอกสารและการสมัภาษณ์เชิงลึก มาสังเคราะห์เป็นประเด็นการพฒันามนุษย ์ เพ่ือการจดัทาํ

ร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2

ขั้นตอนที่ 2 การพฒันา (Development : D1) การสร้างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 (Design & Develop)

เป็นการออกแบบรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 หาคุณภาพของรูปแบบฯ โดยการเสนอร่างรูปแบบฯ ต่อผูเ้ช่ียวชาญ ซ่ึงมีประสบการณ์การทาํงาน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

181

บริหารหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้งกบัการพฒันามนุษยข์ององคก์รคาทอลิกในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทย

และกลุ่มนกัวิชาการดา้นปรัชญาและศาสนา/คาํสอนคริสตศ์าสนา/การศึกษา

ขั้นตอนที่ 3 การวิจยั (Research : R2) การทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 (Implement)

เป็นการทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ เป็นการ

นาํคู่มือการใชรู้ปแบบฯ ท่ีไดจ้ากขั้นตอนท่ี 2 ไปทดลองใชก้บักลุ่มตวัอย่าง ไดแ้ก่ นักศึกษาสาขาวิชา

ปรัชญาและศาสนา ชั้นปีท่ี 4 วิทยาลยัแสงธรรม ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 จาํนวน 25 คน เพ่ือ

ประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบฯ โดยมีการทดสอบวดัความรู้ฯ เจตคติการใช้เสรีภาพฯ และ

พฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ ก่อนและหลงัการทดลองใชรู้ปแบบฯ รวมทั้ งสัมภาษณ์

และสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตวัอย่างท่ีมีต่อการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอลท่ี 2

ขั้นตอนที่ 4 การพฒันา (Development : D2) การประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการพฒันา

มนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 (Evaluation)

เป็นการประเมินผลจากการทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 โดยนาํขอ้มลูท่ีไดม้าปรับปรุงรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปาฯ ใหรู้ปแบบฯ มีความสมบูรณ์มากยิง่ข้ึน

ทั้งน้ี การสร้างและพฒันารูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 สามารถสรุปการดาํเนินการในแต่ละขั้นตอน แสดงในแผนภาพ 2 ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

182

แผนภาพท่ี 2 แสดงขั้นตอนการดาํเนินการวิจยั

ขั้นตอนดาํเนินการวิจยั

ขั้นตอนท่ี 1 การ

วิเคราะห์ขอ้มูลพื้นฐาน

(Analysis) : การศึกษา

ขอ้มูลพื้นฐาน

ขั้นตอนท่ี 2 การ

ออกแบบและพฒันา

(Design and

Development) : การ

สร้างและพฒันา

ขั้นตอนท่ี 3 การ

นาํไปใช ้(Implement) :

การทดลองใชรู้ปแบบ

ขั้นตอนท่ี 4 การ

ประเมิน (Evaluation) :

การประเมินและ

ปรับปรุงรูปแบบ

วิธีดาํเนินการ ผลท่ีไดรั้บ

R1

D1

R2

D2

ศึกษาเอกสาร/งานวิจยัท่ีเกี่ยวขอ้ง ประเดน็การพฒันา

มนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระ

สันตะปาปาฯ

รูปแบบฯ ท่ีผ่านการ

วิพากษ/์ประเมินโดย

ผูเ้ช่ียวชาญ/คู่มือการใช้

รูปแบบฯ

รูปแบบการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปาฯ ท่ีผ่าน

การทดลองใช ้

รูปแบบการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปาฯ ท่ี

สมบูรณ์

สัมภาษณ์เชิงลึกผูเ้ช่ียวชาญฯ

ร่างรูปแบบการพฒันามนุษยฯ์

นาํเสนอ/วิพากษ/์ประเมินโดย

ผูเ้ช่ียวชาญ

วิเคราะห์และสังเคราะห์ขอ้มูลฯ

ปรับปรุงแกไ้ข

จดัทาํคู่มือฯ/ ตรวจสอบฯ

นาํรูปแบบโดยใชคู่้มือฯไปจดัอบรม

แก่กลุ่มเป้าหมายวดัความรู้/เจตคติฯ/

พฤติกรรมฯ ก่อน/หลงัอบรม

ปรับปรุงแกไ้ข

ประเมินผลการนาํรูปแบบไปทดลอง

ดว้ยการวิเคราะห์ขอ้มูลจาก

แบบสอบถาม และสัมภาษณ์

เกบ็ขอ้มูลแบบสอบถาม/สัมภาษณ์

ปรับปรุงรูปแบบ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

183

โดยอธิบายในรายละเอียด ดงัน้ี

ขั้นตอนที่ 1 การวิจยั (Research : R1) การศึกษาขอ้มลูพ้ืนฐานการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์การพฒันาของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 (Analysis)

1.1 การวเิคราะห์เอกสาร (Documentary Research)

ขั้นตอนน้ีมีวตัถุประสงคเ์พ่ือสงัเคราะห์การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดาํเนินการโดยศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลกัการ เอกสารและงานวิจยัท่ี

เก่ียวขอ้งกบัการพฒันามนุษย ์ โดยใชว้ิธีวิทยาการวิจยัเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) อาศยัเทคนิค

การวิเคราะห์เอกสาร (Documentary Research) ซ่ึงมีรายละเอียดดงัน้ี

1.1.1 แหล่งข้อมูลที่ใช้

เป็นการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลกัการ เอกสารและงานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการ

พฒันามนุษย ์โดยการศึกษา คน้ควา้ และรวบรวมขอ้มลูจากเอกสารทางวิชาการ ดงัน้ี

1.1.1.1 เอกสารหลกัไดแ้ก่ เอกสารของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีเสนอ

แนวคิดหรือกระบวนทศัน์ เร่ืองมนุษยแ์ละการพฒันามนุษย ์ ไดแ้ก่ เอกสารทางการของพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ในเร่ืองท่ีเก่ียวขอ้งกบัการอธิบายและการพฒันามนุษย ์

1.1.1.2 เอกสารรอง ไดแ้ก่ เอกสารท่ีช่วยในการทาํความเขา้ใจแนวคิด/กระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ไดแ้ก่ เอกสารท่ีนาํเสนอแนวคิดท่ีเป็นพ้ืนฐานแนวคิดเร่ือง

มนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ไดแ้ก่ ไดแ้ก่ พระคมัภีร์ เอกสารผลการประชุมสังคายนาท่ี

สาํคญัของคริสตศ์าสนา เอกสารท่ีเสนอแนวคิด/คาํสอนของนักวิชาการท่ีสาํคญัของคริสต์ศาสนา และ

เอกสารท่ีเสนอคาํสอนทางการของคริสตศ์าสนา แนวคิดของนักปรัชญากลุ่มบุคคลนิยม และแนวคิด

เร่ืองมนุษยข์องระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสงัคมนิยมแบบมาร์กซ ์และเอกสารท่ีเก่ียวขอ้งกบัการ

ศึกษาวิจยั วิเคราะห์ สงัเคราะห์แนวคิดของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ในเร่ืองท่ีเก่ียวขอ้งกบัการ

พฒันามนุษย ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

184

1.1.2 เคร่ืองมอืที่ใช้ในการวจิยั

เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวิจยั คือ แบบวิเคราะห์เอกสาร มีลกัษณะเป็นแบบปลายเปิด

โดยบนัทึกขอ้มลูท่ีสาํคญั ไดแ้ก่ ขอ้มูลตน้ฉบบั สาระสาํคญั ขอ้คิดเห็น / ขอ้สังเกตท่ีคน้พบ และการ

นาํไปใช้ประโยชน์ แลว้สรุปเป็นความหมายและหลกัการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1.1.3 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมอื

1.1.3.1 ศึกษาขอ้มลูเก่ียวกบัการสร้างแบบบนัทึกการอ่าน/การอ่านจบัใจความ/การ

สรุปสาระสาํคญั และการบนัทึกขอ้มลูเชิงคุณภาพ

1.1.3.2 สร้างแบบวิเคราะห์เอกสาร มีลกัษณะเป็นแบบปลายเปิดโดยบนัทึกขอ้มูล

ท่ีสาํคญั ไดแ้ก่ ขอ้มลูตน้ฉบบั สาระสาํคญั ขอ้คิดเห็น / ขอ้สงัเกตท่ีคน้พบ และการนาํไปใชป้ระโยชน์

แลว้สงัเคราะห์เป็นประเด็นการพฒันามนุษย ์โดยสรุปเป็นความหมายและหลกัการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1.1.3.3 ตรวจสอบความเท่ียงตรงดา้นเน้ือหา (Content Validity) และสาํนวนภาษา

ท่ีใช ้โดยให้ผูเ้ช่ียวชาญดา้นปรัชญา/คาํสอนคริสต์ศาสนา การพฒันา การศึกษาและการประเมินผล

จาํนวน 5 ท่าน (รายช่ือ ดูในภาคผนวก ก) ประเมินการสงัเคราะห์ประเด็น/สาระสาํคญัของความหมาย

และหลกัการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยใชก้ารหาค่าดชันี

ความสอดคลอ้ง (Item of Objective Congruence : IOC) เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาความสอดคลอ้ง

ระหว่างวตัถุประสงคแ์ละประเด็นท่ีนาํเสนอ และคาํนวณค่าดชันีความสอดคลอ้ง โดยใชสู้ตร ดงัน้ี

N

R=IOCΣ

IOC หมายถึง ดชันีความสอดคลอ้ง

R หมายถึง คะแนนของผูเ้ช่ียวชาญ

RΣ หมายถึง ผลรวมของคะแนนผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

185

หมายถึง จาํนวนผูเ้ช่ียวชาญ

โดยนาํความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคนมาใหค่้านํ้ าหนกัเป็นคะแนน ดงัน้ี

+1 = สอดคลอ้ง หมายถึง แน่ใจว่าประเด็น/การเสนอสาระมีความสอดคลอ้ง

กบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนดไว ้

0 = ไม่แน่ใจ หมายถึง ไม่แน่ใจว่าประเด็น/การเสนอสาระมีความ

สอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนดไว ้

-1 = ไม่สอดคลอ้ง หมายถึง ประเด็น/การเสนอสาระมีความสอดคลอ้งกบั

วตัถุประสงคท่ี์กาํหนดไว ้

ผลการตรวจสอบโดยผู ้เ ช่ียวชาญพบว่าผลการสังเคราะห์ประเด็น /

สาระสาํคัญของความหมายและหลกัการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 คาํนวณค่าดชันีความสอดคลอ้งความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญดว้ยการแทนค่าในสูตร ผลการ

วิเคราะห์ขอ้มลู ค่าความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหามีค่า 1.00 (ดูรายละเอียดในภาคผนวก ค) โดยผูเ้ช่ียวชาญให้

คาํแนะนําและข้อเสนอแนะว่าประเด็นและนิยาม มีความถูกต้อง ครบถว้น ตรงประเด็น โดยให้

ปรับปรุงสาํนวนภาษาและการอา้งอิง ของประเด็นและนิยามท่ีนาํเสนอ

1.1.3.4 นําข้อเสนอแนะจากผูเ้ช่ียวชาญมาปรับปรุงแก้ไข พร้อมจัดพิมพ์เป็น

เคร่ืองมือฉบบัสมบูรณ์

1.1.4 การเกบ็รวบรวมข้อมูล

1.1.4.1 ผูว้ิจัยศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนามนุษย์ ตาม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1.1.4.2 บันทึกข้อมูล/สาระสําคัญของเน้ือหาท่ีอ่านในแต่ละคร้ังลงในแบบ

วิเคราะห์เอกสารท่ีผูว้ิจยัจดัทาํข้ึน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

186

1.1.4.3 นําข้อมูลจากแบบวิเคราะห์เอกสาร มาวิเคราะห์และสังเคราะห์เป็น

สาระสาํคญัของการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1.1.4.4 สรุปความหมายและหลกัการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ลงในเอกสารอยา่งเป็นระบบ

1.1.5 การวเิคราะห์ข้อมูล

ใชก้ารวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) แลว้สรุปเป็นความหมายและหลกัการ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1.2 การสัมภาษณ์เชิงลกึ (In-depth Interview)

ขั้นตอนน้ีมีวตัถุประสงค์เพ่ือสังเคราะห์กระบวนทัศน์เร่ืองการพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดาํเนินการสมัภาษณ์เชิงลึกโดยนาํสาระสาํคญัท่ีไดจ้ากขั้นตอนท่ี 1.1 แลว้

นาํขอ้มลูท่ีไดท้ั้งหมดมาสงัเคราะห์เป็นประเด็นการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือการจดัทาํร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ ซ่ึง

มีรายละเอียดดงัน้ี

1.2.1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล

กลุ่มผูใ้ห้ขอ้มูลในการวิจยัคร้ังน้ี ผูว้ิจยัศึกษาจากผูเ้ช่ียวชาญท่ีมีส่วนเก่ียวขอ้งกับ

การพัฒนามนุษยต์ามหลักคําสอนของคริสต์ศาสนา โดยการเลือกกลุ่มผูเ้ช่ียวชาญแบบเจาะจง

(Purposive Sampling) ไดแ้ก่ กลุ่มผูเ้ช่ียวชาญดา้นการบริหารหน่วยงานดา้นการพฒันามนุษย ์ จาํนวน 9

ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) ซ่ึงมีประสบการณ์ดา้นการกาํกบั/ติดตามนโยบาย หรือบริหารหน่วยงาน/

แผนกงานดา้นการพฒันามนุษยข์องสภาพระสังฆราชคาทอลิก ประเทศไทย โดยกาํหนดคุณสมบติั

ดงัน้ี

1.2.1.1 มีประสบการณ์ต่อการนําแนวคิดเร่ืองการพฒันาของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ไปประยกุตใ์ชใ้นการบริหารจดัการดา้นการพฒันามนุษย ์อยา่งนอ้ย 10 ปี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

187

1.2.1.2 เป็นผูบ้ริหาร/ท่ีปรึกษาหน่วยงาน/แผนกงานในการกาํกับติดตามของ

กรรมาธิการฝ่ายสงัคม สภาพระสงัฆราชคาทอลิก ประเทศไทย (Caritas Thailand)

1.2.1.3 เป็นประธานกรรมการ/ผูอ้าํนวยการแผนกงานในกรรมาธิการฝ่ายสังคม

สภาพระสงัฆราชคาทอลิก ประเทศไทย ในวาระปัจจุบนั (ระหว่าง พ.ศ. 2553 – 2556)

1.2.2 เคร่ืองมอืที่ใช้ในการวจิยั

เคร่ืองมือท่ีใช้ในขั้ นตอนน้ีเป็นแบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง (Structured

Interview) ในลกัษณะคาํถามปลายเปิดท่ีมีการกาํหนดแนวคาํถามไวล่้วงหน้า โดยผูว้ิจัยใชว้ิธีการ

สมัภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) โดยนาํสาระสาํคญัของการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีได้จากการศึกษาเอกสาร มาแยกเป็นแนวคําถามเพ่ือนําไปใช้

สมัภาษณ์กลุ่มผูใ้หข้อ้มลู แบบสมัภาษณ์น้ี กาํหนดแนวทางการศึกษา ในเร่ือง

1.2.2.1 กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอลท่ี 2

1.2.2.2 ความสอดคลอ้งของประเด็นการพฒันามนุษย ์

1.2.2.3 รูปแบบการพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1.2.3 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมอื

วิธีการสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือการวิจยั มีการดาํเนินการ ดงัน้ี

1.2.3.1 ศึกษากรอบแนวคิดเบ้ืองตน้เก่ียวกบักระบวนทัศน์เร่ืองมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1.2.3.2 ร่างแนวคาํถามตามกรอบแนวคิดเบ้ืองตน้เพ่ือเป็นแนวทางในการสมัภาษณ์

1.2.3.3 นําร่าง แบบสัมภาษณ์การพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึนเพ่ือใชใ้นการสมัภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญท่ีมีประสบการณ์ในการ

นาํกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ ไปประยุกต์ใชใ้นการบริหารงานดา้นการ

พฒันามนุษย ์ ตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์ ด้วยการตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

188

(Content Validity) โดยใหผู้เ้ช่ียวชาญจาํนวน 5 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) ประเมินความสอดคลอ้ง

ดว้ยดัชนีความสอดคลอ้ง (Item of Objective Congruence : IOC) เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาความ

สอดคลอ้งระหว่างวตัถุประสงคแ์ละขอ้คาํถาม และคาํนวณค่าดชันีความสอดคลอ้ง โดยใชสู้ตร ดงัน้ี

N

R=IOCΣ

IOC หมายถึง ดชันีความสอดคลอ้ง

R หมายถึง คะแนนของผูเ้ช่ียวชาญ

RΣ หมายถึง ผลรวมของคะแนนผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคน

หมายถึง จาํนวนผูเ้ช่ียวชาญ

โดยนาํความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคนมาใหค่้านํ้ าหนกัเป็นคะแนน ดงัน้ี

+1 = สอดคลอ้ง หมายถึง แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นมีความสอดคลอ้งกบั

วตัถุประสงคท่ี์กาํหนดไว ้

0 = ไม่แน่ใจ หมายถึง ไม่แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นสอดคลอ้งกบั

วตัถุประสงคท่ี์กาํหนดไว ้

-1 = ไม่สอดคลอ้ง หมายถึง ขอ้คาํถามนั้นไม่สอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์

กาํหนดไว ้

คาํนวณค่าดชันีความสอดคลอ้งความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญดว้ยการแทนค่าใน

สูตร ผลการวิเคราะห์ขอ้มลู ค่าความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา มีค่าระหว่าง 0.60 – 1.00 และปรับปรุงแกไ้ข

ขอ้คาํถามตามขอ้เสนอแนะของผูเ้ช่ียวชาญท่ีเสนอให้ปรับปรุงขอ้ความให้มีความกระชบั ให้รวมขอ้

คาํถามท่ีเช่ือมโยงกันเป็นคาํถามเดียวกัน และการใช้ศพัท์เฉพาะท่ีควรมีการอธิบายนิยามศพัท์ (ดู

รายละเอียดในภาคผนวก ค)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

189

1.2.3.4 นําแบบสัมภาษณ์ไปทดลองสัมภาษณ์ผูบ้ริหารท่ีมีประสบการณ์การ

ทาํงาน/บริหารงานดา้นการพฒันามนุษยใ์นบริบทคริสต์ศาสนาท่ีไม่ใช่กลุ่มผูใ้ห้ขอ้มูล จาํนวน 3 ท่าน

เพ่ือตรวจสอบความชดัเจนและความครอบคลุมของคาํถามในแบบสัมภาษณ์ โดยมีการปรับปรุงภาษา

ในบางคาํถามเพ่ือใหเ้กิดความเขา้ใจตรงกนัและไดค้าํตอบท่ีตอ้งการ

1.2.3.5 แก้ไขและปรับปรุงเป็นแบบสัมภาษณ์ฉบับสมบูรณ์ แลว้จึงนําไปเก็บ

รวบรวมขอ้มลูจริง

1.2.4 การเกบ็รวบรวมข้อมูล

1.2.4.1 ผูว้ิจัยติดต่อกับผูเ้ ช่ียวชาญเป็นการส่วนตัวก่อนการสัมภาษณ์เพ่ือแจ้ง

วตัถุประสงค ์ความจาํเป็น และความสาํคญัของการวิจยั

1.2.4.2 จดัส่งโครงร่างวิทยานิพนธ์ฉบบัสรุป พร้อมแบบสัมภาษณ์ให้ผูเ้ช่ียวชาญ

ก่อนการสมัภาษณ์

1.2.4.3 กาํหนดนดัหมายการสมัภาษณ์กบัผูเ้ช่ียวชาญ

1.2.4.4 ยนืยนัการสมัภาษณ์ล่วงหนา้ 2 วนัก่อนการสมัภาษณ์จริง

1.2.4.5 ขณะสัมภาษณ์ใช้การบันทึกข้อมูล 2 ชนิด คือ การบันทึกลงในแบบ

สมัภาษณ์และการบนัทึกเทป

1.2.5 การวเิคราะห์ข้อมูล

1.2.5.1 เน่ืองจากผูว้ิจยัไดใ้ชเ้คร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอ้มูลขณะสัมภาษณ์ 2

ชนิด คือ การบนัทึกลงในแบบสัมภาษณ์แบบก่ึงโครงสร้างและการบนัทึกเทป ดงันั้น การวิเคราะห์

ขอ้มลูของผูว้ิจยัจึงใชก้ารวิเคราะห์เน้ือหาขอ้มลูท่ีไดจ้ากการบนัทึกและการถอดเทปจากการสัมภาษณ์

และสรุปส่งใหผู้เ้ช่ียวชาญตรวจสอบ ปรับปรุงแกไ้ขใหถ้กูตอ้งตามจุดประสงคข์องผูใ้หส้มัภาษณ์

1.2.5.2 นาํขอ้มูลท่ีไดจ้ากการศึกษาเอกสาร และการสัมภาษณ์จากผูเ้ช่ียวชาญมา

สงัเคราะห์เป็นประเดน็การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

190

จดัทาํรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 ฉบบัร่าง เพ่ือ

นาํเสนอผูเ้ช่ียวชาญ

จากขั้นตอนการศึกษาขอ้มูลพ้ืนฐาน ขั้นตอนท่ี 1 การวิจยั (Research : R1) เป็นการวิเคราะห์

ขอ้มลูพ้ืนฐาน (Analysis) ดว้ยการศึกษาเอกสารและการสมัภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญ สามารถสรุปเป็นแผนภาพ

ไดด้งัน้ี

แผนภาพท่ี 3 แสดงขั้นตอนการดาํเนินการในขั้นตอนท่ี 1 การวิจยั (Research : R1)

จากขั้นตอนการศึกษาขอ้มูลพ้ืนฐาน ขั้นตอนท่ี 1 การวิจยั (Research : R1) เป็นการวิเคราะห์

ขอ้มลูพ้ืนฐาน ดว้ยการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญ โดยสรุปเป็นตารางการดาํเนินงาน

ดงัน้ี

ศึกษาเอกสาร/งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งดว้ยแบบวิเคราะห์เอกสาร

นาํผลการศึกษาเอกสารฯ ใหผู้เ้ช่ียวชาญตรวจสอบความเท่ียงตรงดา้นเน้ือหา

สร้างแบบสมัภาษณ์จากประเดน็/สาระท่ีไดจ้ากการศึกษาเอกสาร

นาํแนวคาํถามจากแบบสมัภาษณ์ ส่งผูเ้ช่ียวชาญตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา

นาํแบบสมัภาษณ์ท่ีปรับปรุงแลว้ไปสมัภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญ

นาํแบบสมัภาษณ์ไปทดลองสมัภาษณ์ผูบ้ริหารท่ีไม่ใช่กลุ่มผูใ้หข้อ้มลู

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

191

ตารางท่ี 2 สรุปขั้นตอนท่ี 1 การวิจยั (Research : R1) เป็นการวิเคราะห์ขอ้มลูพ้ืนฐาน (Analysis)

กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

วตัถุประสงค์ วธิีดําเนินการ

แหล่งข้อมูล/

กลุ่มเป้าหมาย

เคร่ืองมอื/

การวเิคราะห์

ข้อมูล

ผลทีไ่ด้รับ

1. เพ่ือศึกษา

ขอ้มลูพ้ืนฐาน

ดว้ยการศึกษา

เอกสารท่ี

เก่ียวขอ้ง

การศึกษา

เอกสารและ

งานวิจยัท่ี

เก่ียวขอ้ง

1. เอกสาร

ทางการของพระ

สนัตะปาปาฯ

2. เอกสารท่ี

เก่ียวขอ้ง

แบบบนัทึกฯ/

การวิเคราะห์

เน้ือหา (Content

Analysis)

สาระสาํคญัของ

กระบวนทศันก์าร

พฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปาฯ เพ่ือ

นาํสู่การสมัภาษณ์

ผูเ้ช่ียวชาญ

2. เพ่ือศึกษา

ขอ้มลูพ้ืนฐาน

ดว้ยการ

สมัภาษณ์

ผูเ้ช่ียวชาญ

สมัภาษณ์เชิง

ลึกผูเ้ช่ียวชาญ

กรรมาธิการฝ่าย

สงัคมฯ (Caritas

Thailand)

แบบสมัภาษณ์/

การวิเคราะห์

เน้ือหา (Content

Analysis)

ประเด็นการพฒันา

มนุษยเ์พ่ือการจดัทาํ

ร่างรูปแบบการพฒันา

มนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระ

สนัตะปาปาฯ

ขั้นตอนที่ 2 การพฒันา (Development : D1) การสร้างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 (Design & Develop)

ขั้นตอนน้ีมีวตัถุประสงค์เพ่ือนําเสนอรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ซ่ึงประกอบดว้ย หลกัการ เป้าหมาย จุดหมาย กระบวนการ การประเมิน

การพฒันามนุษยแ์ละเง่ือนไข/ปัจจยัการใชรู้ปแบบ นาํไปสู่ขอ้คน้พบจากงานวิจยัท่ีมีความเหมาะสม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

192

เป็นไปไดแ้ละสอดคลอ้งกบับริบทของคริสตศ์าสนจกัรคาทอลิก ดว้ยการวิพากษ์และประเมินคุณภาพ

ของรูปแบบฯ โดยผูเ้ช่ียวชาญซ่ึงมีประสบการณ์ในการทาํงาน การทาํวิจยักบัหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้งกบั

การพฒันามนุษยข์ององคก์รคาทอลิกในภูมิในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทย และกลุ่มนักวิชาการดา้น

ปรัชญาและศาสนา/คาํสอนคริสตศ์าสนาและการศึกษา (การวดั/ประเมินผล) ดงัน้ี

2.1 การวพิากษ์โดยผู้เช่ียวชาญ

ขั้นตอนน้ีมีวตัถุประสงคเ์พ่ือเสนอกรอบแนวคิดของร่างรูปแบบกระบวนทศัน์การพฒันา

มนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ซ่ึงเป็นผลจากการศึกษาขอ้มูลพ้ืนฐานใน

ขั้นตอนท่ี 1 เพ่ือให้ผูเ้ช่ียวชาญวิพากษ์ความถูกตอ้ง ความเหมาะสม ความเป็นไปได ้ และสามารถ

นาํไปใชป้ระโยชน์ไดจ้ริงของในการจดัทาํร่างรูปแบบ ซ่ึงมีรายละเอียดดงัน้ี

2.1.1 กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายในการวิพากษ์กรอบแนวคิดของร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยการเลือกกลุ่มผูเ้ช่ียวชาญแบบเจาะจง

(Purposive Sampling) จาํนวน 8 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) โดยกาํหนดคุณสมบติั ดงัน้ี

2.1.1.1 เป็นผูอ้าํนวยการฝ่าย/ผูบ้ริหารหน่วยงานด้านการพฒันามนุษยแ์ละสังคม

ประจาํสงัฆมณฑลต่างๆ

2.1.1.2 เป็นผูมี้ประสบการณ์ในการนาํแนวคิดเร่ืองการพฒันาของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ไปประยกุตใ์ชใ้นการบริหารจดัการดา้นการพฒันามนุษย ์อยา่งนอ้ย 5 ปี หรือ

2.1.1.3 เป็นนกัวิชาการดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา/ปรัชญาและศาสนา/การศึกษา (การวดัประเมินผล)

2.1.1.4 เป็นผูท้าํวิจัยหรือเป็นท่ีปรึกษางานวิจัยด้านคาํสอนคริสต์ศาสนา/ปรัชญา

ศาสนา

ดงันั้น จึงแบ่งผูเ้ช่ียวชาญ เป็นสองกลุ่ม ไดแ้ก่ กลุ่มผูบ้ริหารงานดา้นการพฒันามนุษย์

และสงัคม (ฝ่ายสงัคม) ประจาํสงัฆมณฑลต่างๆ ของคริสต์ศาสนา คาทอลิก ในประเทศไทย และกลุ่ม

นกัวิชาการท่ีมีประสบการณ์ทาํงานวิจยัหรือเป็นท่ีปรึกษางานวิจยัเก่ียวกบัคาํสอนคริสตศ์าสนา/ปรัชญา

และศาสนา โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

193

2.1.1.1 กลุ่มผูบ้ริหารหน่วยงานดา้นการพฒันามนุษย ์

ไดแ้ก่กลุ่มผูบ้ริหารหน่วยงานดา้นการพฒันามนุษย ์ประจาํสงัฆมณฑลต่างๆ

ในประเทศไทย จาํนวน 4 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) ซ่ึงมีคุณสมบติั ดงัน้ี

1. เป็นผูบ้ ริหารหน่วยงาน/ประธานกรรมาธิการฝ่าย/ประธานกรรม

กรรมการฝ่ายสงัคมประจาํสงัฆมณฑลต่างๆ ของคริสตศ์าสนา คาทอลิก ในประเทศไทย

2. เป็นผู ้มีประสบการณ์ในการนําแนวคิดเร่ืองการพัฒนาของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ไปประยกุตใ์ชใ้นการบริหารจดัการดา้นการพฒันามนุษย ์อยา่งนอ้ย 5 ปี

2.1.1.2 กลุ่มนกัวิชาการดา้นปรัชญา/ศาสนาและการศึกษา

ไดแ้ก่ กลุ่มนกัวิชาการดา้นปรัชญาและศาสนา/คาํสอนคริสตศ์าสนา และ

การศึกษา (การวดั/ประเมินผล) จาํนวน 4 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) ซ่ึงมีคุณสมบติั ดงัน้ี

1. เป็นอาจารยใ์นสถาบนัอุดมศึกษาและมีวุฒิการศึกษาระดบัปริญญาเอก

2. เป็นนกัวิชาการดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา/ปรัชญาและศาสนา/การศึกษา (การวดัประเมินผล)

3. มีประสบการณ์ทาํงานวิจยั/ท่ีปรึกษางานวจิยัดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา/

ปรัชญาและศาสนา

2.1.2 เคร่ืองมอืที่ใช้ในการวจิยั

2.1.2.1 แบบวิพากษ์กรอบแนวคิดของร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 สาํหรับผูเ้ช่ียวชาญวิพากษค์วามถูกตอ้ง ความเหมาะสม ความ

เป็นไปไดแ้ละความเป็นประโยชน์ในการนาํไปใช ้

2.1.2.2 แบบบนัทึก เป็นเคร่ืองมือเพ่ือบนัทึกความคิดเห็นเพิ่มเติมจากวิพากษ์โดย

ผูเ้ช่ียวชาญและผูท้รงคุณวุฒิ โดยการบนัทึกอยา่งละเอียดเพื่อนาํขอ้มลูมาวิเคราะห์เชิงคุณภาพ

2.1.3 การเกบ็รวบรวมข้อมูล

มีขั้นตอน ดงัน้ี

2.1.3.1 การนาํเสนอขอ้มูลการวิจยัและสรุปผลจากการวิจยัในขั้นตอนต่าง ๆ ผูว้ิจยั

นาํเสนอ ขอ้คน้พบไดแ้ก่ ประเด็นการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

194

ท่ี 2 และนาํเสนอกรอบแนวคิดของร่างรูปแบบกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2.1.3.2 เสนอกรอบแนวคิดของรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 แก่ผูเ้ช่ียวชาญ ดว้ยการ ตรวจสอบประสิทธิภาพดา้นความสมเหตุสมผล

เชิงทฤษฎี ความเป็นไปได้ และความสอดคลอ้งของกรอบแนวคิดร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือพิจารณาความถูกตอ้ง ความเหมาะสม ความ

เป็นไปได ้ และสามารถนาํไปใชป้ระโยชน์ไดจ้ริงของร่างรูปแบบ

2.1.3.3 สรุปผลการประเมินโดยผูเ้ช่ียวชาญ

2.1.4 การวเิคราะห์ข้อมูล

ผูว้ิจยัไดด้าํเนินการวิเคราะห์ขอ้มลูโดยการขอรับแบบประเมินจากผูเ้ช่ียวชาญท่ีร่วม

วิพากษ ์นาํมาวิเคราะห์ร่วมกบัแบบบนัทึก นาํขอ้มลูมาสงัเคราะห์เป็นร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 และการจดัทาํคู่มือการใชรู้ปแบบฯ เพ่ือนาํไป

ทดลองใชรู้ปแบบต่อไป

2.2 การตรวจสอบคุณภาพของรูปแบบ

ขั้นตอนน้ีมีวตัถุประสงค์เพ่ือตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบกระบวนทัศน์การ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ซ่ึงเป็นผลจากการนาํขอ้มูลท่ีได้

จากการศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานในขั้นตอนท่ี 1 และผลการวิพากษ์ เพ่ือให้ผูเ้ช่ียวชาญประเมินความ

สอดคลอ้ง ความเหมาะสม ความเป็นไปไดแ้ละความเป็นประโยชน์ของรูปแบบฯ โดยมีรายละเอียด

ดงัน้ี

2.2.1 วธิีดําเนินการ

2.2.1.1 ตรวจสอบความสอดคล้องกับกระบวนทัศน์การพัฒนามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปาฯ ความเหมาะสม ความเป็นไปไดแ้ละความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยผูเ้ช่ียวชาญดา้นการบริหารงานพฒันา การ

จดัอบรมดา้นการพฒันามนุษยแ์ละนกัวิชาการดา้นปรัชญา คาํสอนคริสตศ์าสนาและการศึกษา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

195

2.2.1.2 ปรับปรุงรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ตามคาํแนะนาํของผูเ้ช่ียวชาญ

2.2.2 แหล่งข้อมูล

ผูว้ิจยัเลือกกลุ่มผูเ้ช่ียวชาญแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซ่ึงเป็นกลุ่มเดียวกบั

กลุ่มผูเ้ช่ียวชาญในการวิพากษ ์ และเพิ่มเติมผูเ้ช่ียวชาญการจดัอบรมดา้นการพฒันามนุษยต์ามคาํสอน

คริสตศ์าสนา และนกัวิชาการดา้นการบริหารการศึกษา จาํนวน 10 ท่าน โดยกาํหนดคุณสมบติั ดงัน้ี

1. เป็นผูอ้าํนวยการฝ่าย/ผูบ้ริหารหน่วยงานดา้นการพฒันามนุษยแ์ละสังคมประจาํ

สงัฆมณฑลต่างๆ

2. เป็นผูมี้ประสบการณ์ในการนําแนวคิดเร่ืองการพฒันาของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ไปประยกุตใ์ชใ้นการบริหารจดัการดา้นการพฒันามนุษย ์อยา่งนอ้ย 5 ปี หรือ

3. เป็นนกัวิชาการดา้นการจดัอบรมเพื่อการพฒันามนุษยต์ามคาํสอนคริสต์ศาสนา

หรือ

4. เป็นนกัวิชาการคาํสอนคริสตศ์าสนา/ปรัชญาและศาสนา/การศึกษา (การบริหาร

การศึกษาและการวดัประเมินผล)

5. เป็นผูท้าํวิจยัหรือเป็นท่ีปรึกษางานวิจยัดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา/ปรัชญาศาสนา

ดงันั้น จึงแบ่งผูเ้ช่ียวชาญ เป็นสองกลุ่ม ไดแ้ก่ กลุ่มผูบ้ริหารงานดา้นการพฒันามนุษย์

และสังคม (ฝ่ายสังคม) ประจาํสังฆมณฑลต่างๆ ของคริสต์ศาสนา คาทอลิก ในประเทศไทย กลุ่ม

นักวิชาการด้านการจัดอบรมเพ่ือการพฒันามนุษย ์และกลุ่มนักวิชาการด้านปรัชญา /คาํสอนคริสต์

ศาสนาและการศึกษา โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

2.2.1.1 กลุ่มผูบ้ริหารหน่วยงานดา้นการพฒันามนุษย ์

ไดแ้ก่กลุ่มผูบ้ริหารหน่วยงานดา้นการพฒันามนุษย ์ประจาํสงัฆมณฑลต่างๆ

ในประเทศไทย จาํนวน 3 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) ซ่ึงมีคุณสมบติั ดงัน้ี

1. เป็นผูบ้ ริหารหน่วยงาน/ประธานกรรมาธิการฝ่าย/ประธานกรรม

กรรมการฝ่ายสงัคมประจาํสงัฆมณฑลต่างๆ ของคริสตศ์าสนา คาทอลิก ในประเทศไทย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

196

2. เป็นผู ้มีประสบการณ์ในการนําแนวคิดเร่ืองการพัฒนาของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ไปประยกุตใ์ชใ้นการบริหารจดัการดา้นการพฒันามนุษย ์อยา่งนอ้ย 5 ปี

2.2.1.2 กลุ่มนกัวิชาการดา้นการจดัอบรมเพื่อการพฒันามนุษย ์

ไดแ้ก่ กลุ่มนักวิชาการดา้นการจดัอบรมเพ่ือการพฒันามนุษยต์ามคาํสอน

คริสตศ์าสนา จาํนวน 3 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) ซ่ึงมีคุณสมบติั ดงัน้ี

1. เป็นผูมี้ประสบการณ์ในการจดัอบรมเพื่อการพฒันามนุษย ์(การพฒันาจิต

วิญญาณ) ตามคาํสอนคริสตศ์าสนา

2. เป็นนกัวิชาการและมีประสบการณ์ในทาํงานวิจยั/ท่ีปรึกษางานวิจยัดา้น

การพฒันามนุษยต์ามคาํสอนคริสตศ์าสนา

2.2.1.3 กลุ่มนกัวิชาการดา้นปรัชญา/ศาสนาและการศึกษา

ไดแ้ก่ กลุ่มนกัวิชาการดา้นปรัชญาและศาสนา/คาํสอนคริสตศ์าสนา และ

การศึกษา (การวดั/ประเมินผล) จาํนวน 4 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) ซ่ึงมีคุณสมบติั ดงัน้ี

1. เป็นอาจารยใ์นสถาบนัอุดมศึกษาและมีวุฒิการศึกษาระดบัปริญญาเอก

2. เป็นนกัวิชาการดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา/ปรัชญาและศาสนา/การศึกษา (การบริหารการศึกษา/การวดัประเมินผล)

3. มีประสบการณ์ทาํงานวิจยั/ท่ีปรึกษางานวจิยัดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา/

ปรัชญาและศาสนา

2.2.3 เคร่ืองมอืที่ใช้ในการวจิยั

เคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ เป็นแบบประเมินชนิด

มาตราส่วน ตามแบบของลิเคิร์ท (Likert Scale) (Likert, 1967: 90-95 อา้งถึงใน เสถียร แป้นเหลือ,

2550: 102) ซ่ึงมีลกัษณะเป็นแบบมาตรประเมินค่า (Rating scale) 5 ระดบั สอบถามความคิดเห็นของ

ผูเ้ช่ียวชาญว่าองคป์ระกอบแต่ละดา้นของรูปแบบมีความสอดคลอ้งกบักระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปาฯ และมีความเป็นไปไดใ้นการนาํไปใชป้ฏิบติัจริง โดยกาํหนดเกณฑ์ให้คะแนน

ดงัน้ี

คะแนน 5 หมายถึง รูปแบบมีความสอดคลอ้งกบัแนวคิด/ทฤษฎีท่ีนาํมาใชใ้นการ

สงัเคราะห์รูปแบบ มีความสอดคลอ้ง ความเป็นไปไดแ้ละเป็น

ประโยชน์ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัมากท่ีสุด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

197

คะแนน 4 หมายถึง รูปแบบมีความสอดคลอ้งกบัแนวคิด/ทฤษฎีท่ีนาํมาใชใ้นการ

สงัเคราะห์รูปแบบ มีความสอดคลอ้ง ความเป็นไปไดแ้ละเป็น

ประโยชน์ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัมาก

คะแนน 3 หมายถึง รูปแบบมีความสอดคลอ้งกบัแนวคิด/ทฤษฎีท่ีนาํมาใชใ้นการ

สงัเคราะห์รูปแบบ มีความสอดคลอ้ง ความเป็นไปไดแ้ละเป็น

ประโยชน์ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัปานกลาง

คะแนน 2 หมายถึง รูปแบบมีความสอดคลอ้งกบัแนวคิด/ทฤษฎีท่ีนาํมาใชใ้นการ

สงัเคราะห์รูปแบบ มีความสอดคลอ้ง ความเป็นไปไดแ้ละเป็น

ประโยชน์ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบันอ้ย

คะแนน 1 หมายถึง รูปแบบมีความสอดคลอ้งกบัแนวคิด/ทฤษฎีท่ีนาํมาใชใ้นการ

สงัเคราะห์รูปแบบ มีความสอดคลอ้ง ความเป็นไปไดแ้ละเป็น

ประโยชน์ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบันอ้ยท่ีสุด

การแปลความหมายค่าเฉล่ียแบ่งออกเป็น 5 ระดบั คือ

ค่าเฉล่ียเท่ากบั 4.51 – 5.00 หมายความว่า รูปแบบมีความสอดคลอ้ง เหมาะสม/เป็นไป

ได/้เป็นประโยชน์ในระดบัมากท่ีสุด

ค่าเฉล่ียเท่ากบั 3.51 – 4. 50 หมายความว่า รูปแบบมีความสอดคลอ้ง เหมาะสม

เป็นไปไดแ้ละเป็นประโยชน์ในระดบัมาก

ค่าเฉล่ียเท่ากบั 2.51 – 3. 50 หมายความว่า รูปแบบมีความสอดคลอ้ง เหมาะสม เป็นไป

ไดแ้ละเป็นประโยชนใ์นระดบัปานกลาง

ค่าเฉล่ียเท่ากบั 1.51 – 2. 50 หมายความว่า รูปแบบมีความสอดคลอ้ง เหมาะสม

เป็นไปไดแ้ละเป็นประโยชนใ์นระดบันอ้ย

ค่าเฉล่ียเท่ากบั 1.00 – 1.50 หมายความว่า รูปแบบมีความสอดคลอ้ง เหมาะสม เป็นไป

ไดแ้ละเป็นประโยชนใ์นระดบันอ้ยท่ีสุด

ทั้งน้ี ผูว้ิจยักาํหนดเกณฑ์เฉล่ียของระดบัความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมาย โดยใชค่้าเฉล่ีย

ระดบัมาก (3.51) ข้ึนไป และค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐานไม่เกิน 1.00

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

198

จากขั้นตอนการพฒันา ขั้นตอนท่ี 2 การพฒันา (Development : D1) เป็นการออกแบบและ

พฒันา (Design and Development) สามารถสรุปขั้นตอน เป็นแผนภาพ ดงัน้ี

แผนภาพท่ี 4 แสดงขั้นตอนการดาํเนินการในขั้นตอนท่ี 2 การวิจยั (Development : D1)

จากขั้นตอนการพฒันา ขั้นตอนท่ี 2 การพฒันา (Development : D1) เป็นการออกแบบและ

พฒันา (Design and Development) สามารถสรุปขั้นตอน เป็นตาราง ดงัน้ี

สงัเคราะห์รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

นาํเสนอผูเ้ช่ียวชาญ ดว้ยการวพิากษโ์ดยอิงผูท้รงคุณวุฒิ (Connoisseurship)

สรุปผลการวิพากษ/์ปรับปรุงแกไ้ขจากการสรุปผลการวิพากษ ์

ส่ง (ร่าง) รูปแบบใหผู้เ้ช่ียวชาญประเมิน

จดัทาํคู่มือการใชรู้ปแบบ

ส่งคู่มือใหผู้เ้ช่ียวชาญตรวจสอบ

ปรับปรุงแกไ้ขตามคาํแนะนาํผูเ้ช่ียวชาญ

ปรับปรุงแกไ้ข

ปรับปรุงแกไ้ข และจดัพิมพเ์ป็นคู่มือฉบบัสมบูรณ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

199

ตารางท่ี 3 สรุปขั้นตอนท่ี 2 การพฒันา (Development : D1) เป็นการสร้างและพฒันารูปแบบ

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

วตัถุประสงค์ วธิีดําเนินการ แหล่งข้อมูล/

กลุ่มเป้าหมาย

เคร่ืองมอื/การ

วเิคราะห์ข้อมูล

ผลทีไ่ด้รับ

เพ่ือนาํเสนอ

และวิพากษ/์

ตรวจสอบ

คุณภาพของ

รูปแบบการ

พฒันามนุษย์

ตามกระบวน

ทศัน์ของพระ

สนัตะปาปาฯ

และจดัทาํ

คู่มือฯ

1. การร่าง

กรอบแนวคิด

ของร่างรูปแบบ

2. การนาํเสนอ/

วิพากษโ์ดย

ผูเ้ช่ียวชาญ

3. การร่าง

รูปแบบฯ

4. การประเมิน

โดยผูเ้ช่ียวชาญ

5. การจดัทาํ

คู่มือฯ และ

ตรวจสอบคู่มือ

1. กลุ่มผูบ้ริหาร

หน่วยงานดา้น

พฒันามนุษยแ์ละ

สงัคม ของคริสต์

ศาสนา

2. กลุ่มนกัวิชาการ

ดา้นการพฒันา

มนุษยฯ์

3. กลุ่มนกัวิชาการ

ดา้นคาํสอนคริสต์

ศาสนาและปรัชญา-

ศาสนา

4. กลุ่มนกัวิชาการ

ดา้นการศึกษา (การ

บริหาร/การวดั/

ประเมินผล)

1. แบบวิพากษ/์แบบ

บนัทึก

2. แบบตรวจสอบ

ประสิทธิภาพดา้น

ความสมเหตุสมผล

เชิงทฤษฎี ความ

เป็นไปได ้และความ

สอดคลอ้งของร่าง

รูปแบบการพฒันา

มนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

3. แบบวิเคราะห์

เน้ือหา/

การวิเคราะห์เน้ือหา

/ค่าเฉล่ีย/ ส่วน

เบ่ียงเบนมาตรฐาน

ร่างรูปแบบฯ

และคู่มือการใช้

รูปแบบฯ ท่ี

ผา่นการ

วิพากษ/์

ประเมินโดย

ผูเ้ช่ียวชาญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

200

ขั้นตอนที่ 3 การวิจยั (Research : R2) การทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 (Implement)

3.1 วตัถุประสงค์

ขั้นตอนน้ี มีวตัถุประสงคเ์พ่ือทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์อง

พระสนัตะปาปายอห์น ปอลท่ี 2

3.2 ประชากรและกลุ่มตวัอย่าง

ประชากร กาํหนดประชากร เป็นผูมี้ความสนใจเขา้รับการอบรมในการพฒันาชีวิตตามคาํ

สอนคริสตศ์าสนา โดยมีความรู้พ้ืนฐานในคาํสอนคริสตศ์าสนา มีพ้ืนฐานในการคิดวิเคราะห์เชิงปรัชญา

จึงกาํหนดขอบเขตประชากรเป็นนักศึกษาวิทยาลยัแสงธรรม ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 ท่ีผ่าน

การศึกษาในสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลยัแสงธรรม ตั้งแต่ 1 ปีการศึกษาข้ึนไปจาํนวน 175 คน

กลุ่มตวัอย่าง ไดแ้ก่ นักศึกษาสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา ชั้นปีท่ี 4 วิทยาลยัแสงธรรม

ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 จาํนวน 25 คน ท่ีไดจ้ากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

เน่ืองจากมีคุณสมบติัตามท่ีกาํหนด กล่าวคือ เป็นผูค้วามสนใจสมคัรเขา้รับการอบรมในการพฒันาชีวิต

ตามคาํสอนคริสต์ศาสนา ในวิทยาลยัแสงธรรม ซ่ึงเป็นสถาบนัเฉพาะทางสาํหรับผูส้นใจเขา้รับการ

อบรมพฒันาชีวิตตามคาํสอนคริสตศ์าสนา เพ่ือเตรียมตวัเป็นศาสนบริกรของคริสต์ศาสนจกัรคาทอลิก

และมีพ้ืนฐานในการคิดวิเคราะห์เชิงปรัชญา โดยผา่นการศึกษาในสาขาวิชาปรัชญาและศาสนามากกว่า

สามปี และนักศึกษากลุ่มตวัอย่างน้ี เป็นกลุ่มนักศึกษาท่ีอยู่ในช่วงชั้นปีท่ีอยู่ตรงกลางของการเขา้รับ

การศึกษาอบรมท่ีวิทยาลยัแสงธรรม ท่ีใชเ้วลาในการศึกษาอบรมจาํนวน 7 ปีการศึกษา 3.3 แบบแผนการวจิยั

ผูว้ิจยักาํหนดแบบแผนการวิจยัเชิงทดลอง (Experimental Design) โดยใชก้ลุ่มทดลองกลุ่ม

เดียว วดัผลก่อนและหลงัการทดลอง (One Group Pretest-Posttest Design) ตามแนวทางของแคมป์

เบลล ์และ สแตนเลย ์ (Campbell and Stanley, 1963: 7) ดงัน้ี

ทดสอบก่อน ทดลอง ทดสอบหลงั

T1 X T2

เม่ือ T1 แทน การทดสอบวดัความรู้ฯ/เจตติฯ/พฤติกรรมฯ ก่อนการใชรู้ปแบบ

เม่ือ X แทน การไดรั้บการทดลองใชรู้ปแบบฯ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

201

เม่ือ T2 แทน การทดสอบวดัความรู้ฯ/เจตคติฯ/พฤติกรรมฯ หลงัการใชรู้ปแบบ

3.4 ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง

ระยะเวลาในการทดลองใชรู้ปแบบฯ ระหว่างภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 โดยจัด

อบรมเชิงปฏิบติัการตามคู่มือการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ

จาํนวน 6 คร้ังๆ ละ 8 ชัว่โมง รวมเป็น 48 ชัว่โมง โดยประยกุตก์ารกาํหนดจาํนวนชัว่โมงการจดัอบรม

ตามแนวของวีสและบอนดิ (Jon W. Wies and Johseph C. Bondi, 2011: 58) และประยุกต์แนวทางการ

จดัอบรมของคณะทรัพยากรมนุษย ์สถาบนับณัฑิตพฒันบริหารศาสตร์ (สถาบนับณัฑิตพฒันบริหาร

ศาสตร์, 2556: 1-3) และสาํนกังานบริหารทรัพยากรบุคคล สภากาชาดไทย (สภากาชาดไทย, 2556: 2-3)

ท่ีจดัหลกัสูตรการพฒันาบุคคลากร มุ่งเสริมสร้างความรู้ การพฒันา/ปรับเปล่ียนเจตคติและพฤติกรรม

การดาํเนินชีวิต โดยจดัหลกัสูตรการอบรมจาํนวน 48 ชัว่โมง

3.5 เคร่ืองมอื การสร้างและการตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมอืที่ใช้ในการทดลอง

เคร่ืองมือท่ีใช้ในการทดลอง ได้แก่ รูปแบบฯ โดยใช้คู่ มือการใช้รูปแบบฯ และแบบ

ประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบฯ ไดแ้ก่ แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยฯ์ แบบวดัเจต

คติดา้นการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ และแบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

3.5.1 รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของกระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

โดยใชคู้่มือการใชรู้ปแบบฯ ท่ีไดจ้ากขั้นตอนท่ี 2.3 เพ่ือนาํไปใชใ้นการอบรมตามรูปแบบการพฒันา

มนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 การประเมินคุณภาพของคู่ มือการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยการตรวจสอบความเท่ียงตรงด้านเน้ือหา (Content Validity) และ

สาํนวนภาษาท่ีใช ้โดยให้ผูเ้ช่ียวชาญดา้นปรัชญา/คาํสอนคริสต์ศาสนา การศึกษา/การวดั/ประเมินผล

พิจารณาความเหมาะสม (ความสอดคลอ้งและความเป็นไปได)้ ของคู่มือการจดัอบรมการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัท่ีนาํเสนอแลว้ในขั้นตอนท่ี 2.3

3.5.2 แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ตามแบบจุดมุ่งหมายทางการเรียนรู้ดา้นพุทธิพิสัยของบลูม (Benjamin S. Bloom et al, 1956, อา้งถึงใน

เยาวดี วิบูลยศ์รี, 2549: 189–192) มีจุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความสามารถทางสติปัญญา/ความรู้กระบวน

ทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ ของผูเ้ขา้รับการอบรมฯ ก่อน (Post-test) และหลงั (Pre-

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

202

test) การจดัอบรมตามรูปแบบฯ แบบวดัความรู้ฯ แบ่งออกเป็นสองตอน ดงัน้ี (ดูผงัการวิเคราะห์แบบ

วดัความรู้ฯ ในภาคผนวก ค)

3.5.2.1 ตอนท่ี 1 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะเป็นแบบเลือกตอบ (ปรนยั) 4 ตวัเลือก

จาํนวน 50 ข้อ กาํหนดเวลาในการทาํแบบวดัความรู้ฯ 30 นาที มีจุดประสงค์เพ่ือใช้วดัความรู้ด้าน

ความจาํ ความเขา้ใจ การนาํไปใช ้การวิเคราะห์และการสงัเคราะห์ กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์อง

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2โดยครอบคลุมกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

พ้ืนฐาน/กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ 15 ขอ้ (ขอ้ 1 – 15)

ความหมาย/คุณลกัษณะการพฒันามนุษย ์ 15 ขอ้ (ขอ้ 16 – 30)

แนวทาง/กระบวน/ทิศทางการพฒันามนุษย ์ 20 ขอ้ (ขอ้ 31 – 50)

1. การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ

1.1 ศึกษาเอกสาร ตาํรา งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งในเร่ืองการวดัดา้นพุทธิพิสยั

1.2 จัดทาํแบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ครอบคลุมการวดัความรู้ดา้นความจาํ ความเขา้ใจ การนาํไปใช ้การวิเคราะห์และการ

สังเคราะห์ ตามแนวคิดการวดัพุทธิพิสัยของบลูม (Benjamin S. Bloom et al, 1956, อา้งถึงใน เยาวดี

วิบูลยศ์รี, 2549: 189–192)

1.3 ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ โดยนาํแบบวดัความรู้ฯ กระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปาฯ โดยใชก้ารตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) และความ

เหมาะสมของภาษาท่ีใช ้โดยให้ผูเ้ช่ียวชาญ จาํนวน 5 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) ประเมินความ

สอดคลอ้งดว้ยดชันีความสอดคลอ้ง (Item of Objective Congruence : IOC) เป็นเกณฑ์ในการพิจารณา

ความสอดคลอ้งระหว่างวตัถุประสงค์และขอ้คาํถาม และคาํนวณค่าดชันีความสอดคลอ้ง โดยใชสู้ตร

ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

203

N

R=IOCΣ

IOC หมายถึง ดชันีความสอดคลอ้ง

R หมายถึง คะแนนของผูเ้ช่ียวชาญ

RΣ หมายถึง ผลรวมของคะแนนผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคน

หมายถึง จาํนวนผูเ้ช่ียวชาญ

นาํความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคนมาใหค่้านํ้ าหนกัเป็นคะแนน ดงัน้ี

+1 = สอดคลอ้ง หมายถึง แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นมีความสอดคลอ้ง

0 = ไม่แน่ใจ หมายถึง ไม่แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นสอดคลอ้ง

-1 = ไม่สอดคลอ้ง หมายถึง ขอ้คาํถามนั้นไม่สอดคลอ้ง

ผลการคาํนวณค่าดัชนีความสอดคลอ้งความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญดว้ยการ

แทนค่าในสูตร ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา มีค่าระหว่าง 0.80 – 1.00 โดย

ปรับปรุงตามคาํแนะนาํของผูเ้ช่ียวชาญ ดว้ยการปรับปรุงสาํนวนและการขีดเสน้ใตค้าํสาํคญั เพ่ือง่ายต่อ

การทาํความเขา้ใจ (รายละเอียด ดูในภาคผนวก ง)

2. การนาํเคร่ืองมือไปทดลองใช ้(Try out) กบัประชากรท่ีไม่ใช่กลุ่มทดลอง

ผูว้ิจัยนําแบบวดัความรู้ฯ ตอนท่ี 1 (แบบปรนัย) ท่ีผ่านการตรวจสอบโดย

ผูเ้ช่ียวชาญตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาและความเหมาะสมของภาษาท่ีใช้ มาปรับปรุงตาม

คาํแนะนาํ และนาํไปทดลองใช ้(Try out) กบัประชากรท่ีไม่ใช่กลุ่มทดลอง ไดแ้ก่ นักศึกษาชั้นปรัชญา

และศาสนา ปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2/2556 วิทยาลยัแสงธรรม จาํนวน 23 คน นาํคะแนนท่ีไดจ้ากการทดลอง

ใช ้(Try out) มาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย และค่าอาํนาจจาํแนกของแบบวดัความรู้ฯ ใชเ้กณฑ์การ

คดัเลือกขอ้คาํถาม โดยกาํหนดค่าความยากง่าย (ค่า p) อยูร่ะหว่าง 0.20 – 0.80 และค่าอาํนาจจาํแนก (ค่า

r) ตั้ งแต่ 0.20 ข้ึนไป ผลการวิเคราะห์พบว่ามีค่าความยากระหว่าง 0.29 – 0.78 ค่าอาํนาจจาํแนก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

204

ระหว่าง 0.21 - 0.73 จาํนวน 50 ขอ้ (รายละเอียด ดูในภาคผนวก ค) จากนั้นตรวจสอบคุณภาพของ

แบบวดัความรู้ฯ ท่ีประกอบดว้ยขอ้คาํถามท่ีผ่านการคดัเลือกตามเกณฑ์ค่าความยากง่ายและค่าอาํนาจ

จาํแนกเรียบร้อยแลว้ มาคาํนวณค่าความเช่ือมัน่ทั้งฉบบั โดยใชสู้ตรการคาํนวณของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน

(KR 20) โดยผลการวิเคราะห์หาค่าความเช่ือมัน่ของแบบวดัความรู้ฯทั้งชุดมีค่า 0.926

3.5.2.2 ตอนท่ี 2 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะการยกกรณีศึกษาและแสดงความเห็น

ถึงความเหมาะสมของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต ในแบบความเรียง (อตันัย) (Benjamin S.

Bloom et al, 1956 อา้งถึงใน เยาวดี วิบูลยศ์รี, 2549: 189–192) จาํนวน 2 กรณี กาํหนดเวลาในการทาํ

แบบวดัความรู้ฯ 10 นาที (กรณีละ 5 นาที) มีจุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นการประเมินค่า แนวการ

ใหค้ะแนน โดยใชก้ารวิเคราะห์เน้ือหา เพ่ือพิจารณาความสอดคลอ้ง ในแต่ละประเด็นท่ีนาํเสนอ โดย

เทียบเคียงกบัประเด็น/คาํสาํคญั/สาระสาํคญัจากการพิจารณาของผูเ้ช่ียวชาญ และกาํหนดการใหค้ะแนน

แบบรูบริค (Scoring Rubrics) แบบแยกประเด็น โดยกาํหนดเกณฑก์ารใหค้ะแนน ดงัตารางท่ี 4 ดงัน้ี

ตารางท่ี 4 แสดงเกณฑก์ารใหค้ะแนนแบบวดัความรู้ฯ ในแบบความเรียง

เกณฑ์การให้

คะแนน

ระดับคุณภาพ (คะแนน)

3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

1. ความรู้ดา้น

การประเมินค่า

ประเมินการกระทาํของ

บุคคลในกรณีศึกษาอยา่ง

ถกูตอ้ง บนพ้ืนฐานการ

เคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์

ประเมินการกระทาํของ

บุคคลในกรณีศึกษา

อยา่งถกูตอ้ง บนพ้ืนฐาน

การเคารพคุณค่าศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษย ์

ประเมินการกระทาํของ

บุคคลในกรณีศึกษาอยา่ง

ถกูตอ้ง บนพ้ืนฐานการ

เคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์

2. การเสนอ

เหตุผล อธิบาย

ความเหมาะสม

เสนอเหตุผล อธิบายความ

เหมาะสมของการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิต

โดยมีคาํสาํคญัตั้งแต่ 2

ประเด็นข้ึนไป

เสนอเหตุผล อธิบาย

ความเหมาะสมของการ

ใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิต โดยมีคาํสาํคญั 2

ประเด็น

เสนอเหตุผล อธิบายความ

เหมาะสมของการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิต

โดยมีคาํสาํคญั 1 ประเด็น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

205

1. การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ

1.1 ศึกษาเอกสาร ตาํรา งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งในเร่ืองการวดัพุทธิพิสยัดา้น

การประเมินคุณค่า

1.2 จัดทาํแบบวัดความรู้ฯ ในลกัษณะการยกกรณีศึกษาและแสดง

ความเห็นถึงความเหมาะสมของการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิต ในแบบความเรียง (อัตนัย)

(Benjamin S. Bloom et al, 1956 อา้งถึงใน เยาวดี วิบูลยศ์รี, 2549: 189–192) จาํนวน 2 กรณี มี

จุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นการประเมินค่ารูปแบบการดาํเนินชีวิตท่ีมีความเหมาะสม สอดคลอ้ง

กบัรูปแบบการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดย

ครอบคลุมกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1.3 ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ โดยนาํแบบวดัความรู้ฯ ตอนท่ี 2

(อตันัย) โดยใชก้ารตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) และความเหมาะสมของ

ภาษาท่ีใช ้โดยให้ผูเ้ช่ียวชาญ จาํนวน 5 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) ประเมินความสอดคลอ้งดว้ย

ดชันีความสอดคลอ้ง (Item of Objective Congruence : IOC) เป็นเกณฑใ์นการพิจารณาความสอดคลอ้ง

ระหว่างวตัถุประสงคแ์ละขอ้คาํถาม และคาํนวณค่าดชันีความสอดคลอ้ง โดยใชสู้ตร ดงัน้ี

N

R=IOCΣ

IOC หมายถึง ดชันีความสอดคลอ้ง

R หมายถึง คะแนนของผูเ้ช่ียวชาญ

RΣ หมายถึง ผลรวมของคะแนนผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคน

หมายถึง จาํนวนผูเ้ช่ียวชาญ

นาํความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคนมาใหค่้านํ้ าหนกัเป็นคะแนน ดงัน้ี

+1 = สอดคลอ้ง หมายถึง แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นมีความสอดคลอ้ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

206

0 = ไม่แน่ใจ หมายถึง ไม่แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นสอดคลอ้ง

-1 = ไม่สอดคลอ้ง หมายถึง ขอ้คาํถามนั้นไม่สอดคลอ้ง

ผลการคาํนวณค่าดัชนีความสอดคลอ้งความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญดว้ยการ

แทนค่าในสูตร ผลการวิเคราะห์ขอ้มลู ค่าความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา มีค่า 1.00 ในทุกขอ้ อย่างไรก็ตาม

ผูเ้ช่ียวชาญเสนอให้ปรับปรุงสํานวน/ประโยค ให้ต่อเน่ืองและเหมาะสมยิ ่งข้ึน (รายละเอียด ดูใน

ภาคผนวก ง)

2. การนาํเคร่ืองมือไปทดลองใช ้(Try out) กบัประชากรท่ีไม่ใช่กลุ่มทดลอง

นาํแบบวดัความรู้ฯ ตอนท่ี 2 (อตันยั) ท่ีผูเ้ช่ียวชาญตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิง

เน้ือหาและความเหมาะสมของภาษาท่ีใช ้มาปรับปรุงตามคาํแนะนาํ และนาํไปทดลองใช ้(Try out) กบั

ประชากรท่ีไม่ใช่กลุ่มทดลอง คาํนวณหาค่าความเท่ียงระหว่างผูป้ระเมิน (Inter-rater reliability) โดยผู ้

ประเมิน 2 คน ไดแ้ก่ ผูว้ิจัย และผูเ้ช่ียวชาญ ซ่ึงเป็นอาจารยป์ระจาํวิทยาลยัแสงธรรม นาํค่าท่ีไดไ้ป

คาํนวณค่าสมัประสิทธ์ิความสอดคลอ้ง โดยใชสู้ตรดงัน้ี

Inter-rater reliability BA

A

A = จาํนวนคร้ังท่ีประเมินเหมือนกนั

B = จาํนวนคร้ังท่ีประเมินต่างกนั

ผลการคาํนวณ ไดค่้าสมัประสิทธ์ิความสอดคลอ้ง เท่ากบั 0.86

3.5.3 แบบวดัเจตคติดา้นการใช้เสรีภาพตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

แบบวดัเจตคติด้านการใชเ้สรีภาพตามกระบวนทัศน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีจุดประสงคเ์พ่ือวดัระดบัเจตคติต่อการใชเ้สรีภาพตามกระบวนทศัน์ของ

พระสนัตะปาปาฯ ของผูรั้บการอบรมเชิงปฏิบติั เพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Post-test) และหลงั (Pre-test) การอบรม แบ่งออกเป็น 5

ระดบั ตามแบบของลิเคิร์ท (Likert Scale) (Likert, 1967: 90-95 อา้งถึงใน เสถียร แป้นเหลือ, 2550:

102) จาํนวน 25 ขอ้ โดยกาํหนดเจตคติเป็นส่ีดา้น ไดแ้ก่ เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

207

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบท

ส่ิงแวดลอ้ม และเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้

1. การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ

1.1 ศึกษาทฤษฏี เอกสาร ตาํรา และงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งในเร่ืองเจตคติและการ

วดัเจตคติ

1.2 สร้างแบบวดัเจตคติดา้นการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ ตามแบบของลิเคิร์ท (Likert Scale) (Likert, 1967: 90-95 อา้งถึงใน เสถียร แป้นเหลือ, 2550: 102) จาํนวน 25 ขอ้ โดยกาํหนดเจตคติเป็นส่ีดา้น ไดแ้ก่ เจตคติการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่าง

เหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม และเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระ

เจา้

1.3 ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ โดยนาํแบบวดัเจตคติดา้นการใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ โดยใชก้ารตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิง

เน้ือหา (Content Validity) และความเหมาะสมของภาษาท่ีใช ้โดยใหผู้เ้ช่ียวชาญ จาํนวน 5 ท่าน (รายช่ือ

ในภาคผนวก ก) ประเมินความสอดคลอ้งดว้ยดชันีความสอดคลอ้ง (Item of Objective Congruence :

IOC) เป็นเกณฑใ์นการพิจารณาความสอดคลอ้งระหว่างวตัถุประสงคแ์ละขอ้คาํถาม และคาํนวณค่าดชันี

ความสอดคลอ้ง โดยใชสู้ตร ดงัน้ี

N

R=IOCΣ

IOC หมายถึง ดชันีความสอดคลอ้ง

R หมายถึง คะแนนของผูเ้ช่ียวชาญ

RΣ หมายถึง ผลรวมของคะแนนผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคน

หมายถึง จาํนวนผูเ้ช่ียวชาญ

นาํความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคนมาใหค่้านํ้ าหนกัเป็นคะแนน ดงัน้ี

+1 = สอดคลอ้ง หมายถึง แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นมีความสอดคลอ้ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

208

0 = ไม่แน่ใจ หมายถึง ไม่แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นสอดคลอ้ง

-1 = ไม่สอดคลอ้ง หมายถึง ขอ้คาํถามนั้นไม่สอดคลอ้ง

ผลการคาํนวณค่าดชันีความสอดคลอ้งอยูร่ะหว่าง 0.80 – 1.00 โดยผูเ้ช่ียวชาญ

ใหป้รับปรุงสาํนวนภาษาท่ีใช ้ (รายละเอียด ดูในภาคผนวก ค)

2. การนาํเคร่ืองมือไปทดลองใช ้(Try out) กบัประชากรท่ีไม่ใช่กลุ่มทดลอง

ผูว้ิจยันาํแบบวดัเจตคติฯ ท่ีผา่นการตรวจสอบและปรับปรุงตามคาํแนะนาํของ

ผูเ้ช่ียวชาญตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาและความเหมาะสมของภาษาท่ีใช้ มาปรับปรุงตาม

คาํแนะนาํ และนาํไปทดลองใช ้(Try out) กบัประชากรท่ีไม่ใช่กลุ่มทดลอง ไดแ้ก่ นักศึกษาชั้นปรัชญา

และศาสนา ปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2/2556 วิทยาลยัแสงธรรม จาํนวน 23 คน นาํคะแนนท่ีไดจ้ากการทดลอง

ใช ้(Try out) มาวิเคราะห์หาค่าความเช่ือมัน่ของแบบวดัเจตคติ ดว้ยการหาค่าสมัประสิทธิอลัฟ่า ตามวิธี

ของครอนบาค (Cronbach’s Coefficient) ไดค่้าความเช่ือมัน่เท่ากบั 0.967

3.5.4 แบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

แบบวดัพฤติกรรมการใช้เสรีภาพตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะเป็นแบบสอบความเรียง มีจุดประสงค์เพ่ือวดัพฤติกรรมการใชก้ารใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิต ดว้ยการยกสถานการณ์/กรณีตวัอยา่งท่ีเกิดข้ึนในสงัคมจาํนวน 3 กรณี ให้ผูเ้ขา้รับการ

อบรมเสนอแนวทางและขอ้ตั้งใจการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของบุคคล แบบวดัพฤติกรรมฯ ใช้

วดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตก่อน (Post-test) และหลงั (Pre-test) การอบรม ทั้ งน้ี

กาํหนดเกณฑก์ารใหค้ะแนน ดงัน้ี

3.5.4.1 ใหส้มมติบทบาทเป็นบุคคลในกรณีศึกษา และเสนอพฤติกรรมท่ีตั้ งใจจะ

ปฏิบติัต่อการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของบุคคลในกรณีศึกษาในแบบความเรียง (Benjamin S.

Bloom et al, 1956 อา้งถึงใน เยาวดี วิบูลยศ์รี, 2549: 189–192) ครอบคลุมส่ีองค์ประกอบ ไดแ้ก่

1. การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง 2. การใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคนอ่ืน/ความสัมพนัธ์กับคนอ่ืน 3. การใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตใน

บริบท/ความสมัพนัธก์บัส่ิงแวดลอ้ม 4. การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับ/ความสมัพนัธ์กบัพระ

เจา้ ภายในเวลา 30 นาที/กรณีละ 10 นาที

3.5.4.2 ใชก้ารวิเคราะห์เน้ือหา เพ่ือพิจารณาความสอดคลอ้ง ในแต่ละประเด็นท่ี

นาํเสนอ โดยเทียบเคียงกับประเด็น/คาํสาํคัญ/สาระสําคัญท่ีไดจ้ากการทดลองใช้เคร่ืองมือกับกลุ่ม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

209

ทดลองท่ีไม่ใช่กลุ่มตวัอย่าง (Try out) ตามหลกัความคิดหลายทาง/การคิดแบบอเนกนัย (Divergent

Thinking) ของกิลฟอร์ด (Guilford, 1959: 389) และผ่านความเห็นชอบประเด็น/คาํสาํคัญจาก

ผูเ้ช่ียวชาญ

3.5.4.3 กาํหนดการให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubrics) แบบแยกประเด็น

โดยกาํหนดเกณฑก์ารใหค้ะแนนดงัตารางท่ี 5 ดงัน้ี

ตารางท่ี 5 แสดงเกณฑก์ารใหค้ะแนนแบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

ประเด็นการ

ประเมนิ

ระดับคุณภาพ

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

1.ความ

ครอบคลุม

เสนอพฤติกรรม

การดาํเนินชีวิตท่ี

แสดงถึงการเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษย์

ครบทั้ง 4

องคป์ระกอบ

เสนอพฤติกรรม

การดาํเนินชีวิตท่ี

แสดงถึงการเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษย์

จาํนวน 3

องคป์ระกอบ

เสนอพฤติกรรม

การดาํเนินชีวิตท่ี

แสดงถึงการเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษย ์

จาํนวน 2

องคป์ระกอบ

เสนอพฤติกรรม

การดาํเนินชีวิตท่ี

แสดงถึงการเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษย ์

จาํนวน 1

องคป์ระกอบ

2.ความ

สอดคลอ้ง

อธิบาย ใหเ้หตุผล

เช่ือมโยง

พฤติกรรมการใช้

เสรีภาพในการ

ดาํเนินชีวติได้

สอดคลอ้งครบ 4

ประเด็น

อธิบาย ใหเ้หตุผล

เช่ือมโยง

พฤติกรรมการใช้

เสรีภาพในการ

ดาํเนินชีวติได้

สอดคลอ้ง 3

ประเด็น

อธิบาย ใหเ้หตุผล

เช่ือมโยง

พฤติกรรมการใช้

เสรีภาพในการ

ดาํเนินชีวติได้

สอดคลอ้ง 2

ประเด็น

อธิบาย ใหเ้หตุผล

เช่ือมโยง

พฤติกรรมการใช้

เสรีภาพในการ

ดาํเนินชีวติได้

สอดคลอ้ง 1

ประเด็น

1. การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ

1.1 ศึกษาทฤษฏี เอกสาร ตาํราและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งดา้นการวดัพฤติกรรม

1.2 สร้างแบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ ดว้ยการยกสถานการณ์/กรณีตวัอยา่งท่ีเกิดข้ึนในสงัคมจาํนวน 3 กรณี ใหผู้ ้

เขา้รับสมมติบทบาทเป็นบุคคลในกรณีศึกษา และเสนอพฤติกรรมท่ีตั้งใจจะปฏิบติัต่อการใชเ้สรีภาพใน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

210

การดาํเนินชีวิตของบุคคลในกรณีศึกษาในแบบความเรียงตามแนวคิดของบลูม (Benjamin S. Bloom et

al, 1956 อา้งถึงใน เยาวดี วิบูลยศ์รี, 2549: 189–192)

1.3 ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ โดยนาํแบบวดัความรู้ฯ เจตคติการใช้

เสรีภาพฯ และพฤติกรรมการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ

โดยใชก้ารตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) และความเหมาะสมของภาษาท่ีใช ้

โดยให้ผูเ้ช่ียวชาญ จาํนวน 5 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) ประเมินความสอดคลอ้งดว้ยดชันีความ

สอดคลอ้ง (Item of Objective Congruence : IOC) เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาความสอดคลอ้งระหว่าง

วตัถุประสงคแ์ละขอ้คาํถาม และคาํนวณค่าดชันีความสอดคลอ้ง โดยใชสู้ตร ดงัน้ี

N

R=IOCΣ

IOC หมายถึง ดชันีความสอดคลอ้ง

R หมายถึง คะแนนของผูเ้ช่ียวชาญ

RΣ หมายถึง ผลรวมของคะแนนผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคน

หมายถึง จาํนวนผูเ้ช่ียวชาญ

นาํความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคนมาใหค่้านํ้ าหนกัเป็นคะแนน ดงัน้ี

+1 = สอดคลอ้ง หมายถึง แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นมีความสอดคลอ้ง

0 = ไม่แน่ใจ หมายถึง ไม่แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นสอดคลอ้ง

-1 = ไม่สอดคลอ้ง หมายถึง ขอ้คาํถามนั้นไม่สอดคลอ้ง

ผลการตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา ได้ค่าดชันีความสอดคลอ้ง

เท่ากบั 1.00 (รายละเอียด ดูในภาคผนวก ค)

2. การนาํเคร่ืองมือไปทดลองใช ้(Try out) กบัประชากรท่ีไม่ใช่กลุ่มทดลอง

นาํแบบวดัพฤติกรรมฯ ท่ีผูเ้ช่ียวชาญตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาและ

ความเหมาะสมของภาษาท่ีใช ้มาปรับปรุงตามคาํแนะนาํ และนาํไปทดลองใช ้(Try out) กบัประชากรท่ี

ไม่ใช่กลุ่มทดลอง คาํนวณหาค่าความเท่ียงระหว่างผูป้ระเมิน (Inter-rater reliability) โดยผูป้ระเมิน 2

คน ได้แก่ ผูว้ิจัย และผูเ้ช่ียวชาญ ซ่ึงเป็นอาจารยป์ระจาํวิทยาลยัแสงธรรม นาํค่าท่ีได้ไปคาํนวณค่า

สมัประสิทธ์ิความสอดคลอ้ง โดยใชสู้ตรดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

211

Inter-rater reliability BA

A

A = จาํนวนคร้ังท่ีประเมินเหมือนกนั

B = จาํนวนคร้ังท่ีประเมินต่างจากกนั

ผลการคาํนวณ ไดค่้าสมัประสิทธ์ิความสอดคลอ้ง เท่ากบั 0.91

นําเคร่ืองมือท่ีใช้ในการทดลอง ได้แก่ รูปแบบฯ โดยใช้คู่ มือการใช้รูปแบบฯ และแบบ

ประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบฯ ไดแ้ก่ แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยฯ์ แบบวดัเจต

คติดา้นการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ และแบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีปรับปรุงหลงัผ่านการตราวจสอบคุณภาพจาก

ผูเ้ช่ียวชาญและการทดลองใชก้บักลุ่มทดลองท่ีไม่ใช่กลุ่มตวัอยา่ง (Try out) ไปใชจ้ริง

3.6 การเกบ็รวบรวมข้อมูล

ผูว้ิจยัเก็บรวบรวมขอ้มลู โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

3.6.1 ทาํการทดสอบก่อนการทดลองใชรู้ปแบบ (Pre-test) แก่กลุ่มเป้าหมาย โดยใชแ้บบ

วดัความรู้ฯ เจตคติฯ และพฤติกรรมฯ

3.6.2 ช้ีแจงให้กลุ่มเป้าหมายทราบถึงการจัดการอบรมรูปแบบการพัฒนามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยใชคู้่มือฯ ท่ีจดัทาํข้ึน

3.6.3 ทดลองใชรู้ปแบบ โดยดาํเนินการทดลองฝึกอบรม ตามรูปแบบการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยใชคู้่มือฯ ท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึนจากการศึกษา

รูปแบบฯ และตามคาํแนะนาํของผูเ้ช่ียวชาญ

3.6.4 ภายหลงัการทดลองใชรู้ปแบบเสร็จสิ้น ผูว้ิจัยดาํเนินการทดสอบหลงัการอบรม

(Post-test) โดยใช้แบบวดัความรู้ฯ เจตคติฯ และพฤติกรรมการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

3.6.5 เก็บขอ้มูลแบบสอบถามความคิดเห็นและสัมภาษณ์ตวัแทนกลุ่มตวัอย่างในการใช้

รูปแบบฯ

3.7 การวเิคราะห์ข้อมูล

ผูว้ิจยัวิเคราะห์ขอ้มลู โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

212

3.7.1 การศึกษาผลการทดลองใชรู้ปแบบพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของสมเด็จ

พระสนัตะปาปา ยอห์น ปอลท่ี 2 ในภาพรวมหลงัการทดลองใชรู้ปแบบ โดยใชค่้าความถ่ี (Frequency)

แลว้หาค่าร้อยละ (Percentage) ของคะแนนของกลุ่มเป้าหมาย

3.7.2 การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสมัฤทธ์ิจากการอบรม ผูว้ิจยัไดน้าํคะแนนทั้งก่อน

และหลงัการอบรมของกลุ่มเป้าหมายทั้ง 25 คน จากการจดัอบรมรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยใชคู้่มือการจดัอบรมฯ มาคาํนวณดว้ยสถิติ t-test (T-test

dependent Sample) โดยไดต้ั้งระดบันยัสาํคญัทางสถิติไวท่ี้ระดบั .05

3.7.3 การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิจากการจัดอบรมกับเกณฑ์ท่ีกาํหนด

ผูว้ิจยัไดน้าํคะแนนหลงัเรียนของกลุ่มเป้าหมายทั้ง 25 คน จากการจดัอบรมรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยใชคู้่มือการจดัอบรมฯ มาคาํนวณดว้ยสถิติ t-test

(T-test dependent samples)

จากขั้ นตอนการพัฒนา ขั้ นตอนท่ี 3 การวิจัย (Research : R2) เ ป็นการนําไปใช ้

(Implementation) สามารถสรุปขั้นตอน เป็นตารางท่ี 6 ดงัน้ี

ตารางท่ี 6 สรุปขั้นตอนท่ี 3 การวิจยั (Research : R2) การนาํรูปแบบฯ ไปทดลองใช ้

วตัถุประสงค์ วธิีดําเนินการ แหล่งข้อมูล เคร่ืองมอื ผลทีไ่ด้รับ

เพ่ือทดลองใช้

รูปแบบการ

พฒันามนุษย์

ตามกระบวน

ทศัน์ของพระ

สันตะปาปาฯ

ใชว้ธีิการวจิยัทดลองกบั

กลุ่มตวัอย่าง ดว้ยการจดั

อบรมตามคู่มือการใช้

รูปแบบฯ ซ่ึงมีการวดั

ความรู้ เจตคติฯ และ

พฤติกรรมฯ ก่อนและ

หลงัการทดลอง และ

ภายหลงัการทดลองมี

การสอบถามความ

คิดเห็นและสัมภาษณ์

การใชรู้ปแบบฯ

นกัศึกษา

สาขาวชิาปรัชญา

และศาสนา ชั้นปี

ท่ี 4 วทิยาลยัแสง

ธรรม ภาคเรียน

ท่ี 2 ปีการศึกษา

2556 จาํนวน 25

คน

1. รูปแบบการพฒันา

มนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 โดยใชคู่้มือ

การใชรู้ปแบบฯ

2. แบบวดัความรู้ฯ

3. แบบเจตคติฯ

4. แบบวดัพฤติกรรมฯ

รูปแบบการ

พฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์

ของพระ

สันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

ท่ีผ่านการทดลอง

ใช ้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

213

ขั้นตอนที่ 4 การพฒันา (Development : D2) การประเมินรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 (Evaluation)

4.1 วตัถุประสงค์

ขั้นตอนน้ีมีวตัถุประสงคเ์พ่ือประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบภายหลงัการนาํรูปแบบ

ไปทดลองใชก้บักลุ่มตวัอยา่งในการวิจยั

4.2 วธิีดําเนินการ

ขั้นตอนน้ี เป็นการประเมินผลหลงัจากนาํรูปแบบไปทดลองใชแ้ละปรับปรุงรูปแบบ

ใหส้มบูรณ์ยิง่ข้ึนจากขอ้มลูท่ีไดรั้บ โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน ดงัน้ี

4.2.1 การประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบ เป็นการนาํขอ้มูลท่ีไดจ้ากการทดลองใช้

รูปแบบมาพิจารณาและตดัสินคุณค่าของรูปแบบว่ามีขอ้ดีและขอ้ดอ้ยอยา่งไร

4.2.2 การปรับปรุงรูปแบบ หลงัจากการนาํรูปแบบฯ ไปทดลองใช ้ผูว้ิจยัจะนาํปัญหา

อุปสรรคและขอ้เสนอแนะต่างๆ มาปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดต่างๆ ของรูปแบบให้ไดรู้ปแบบฯ ท่ี

สมบูรณ์

4.3 เคร่ืองมอืที่ใช้ในการวจิยั

เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวิจยั ไดแ้ก่

4.3.1 แบบสอบถามความคิดเห็นการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

4.3.2 แบบสัมภาษณ์การใช้รูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

4.4 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมอื

4.4.1 แบบสอบถามความคิดเห็นการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีขั้นตอนการสร้างและตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ ดงัน้ี

4.4.1.1 ศึกษาเน้ือหาสาระเก่ียวกับการพฒันามนุษย ์จากรูปแบบและคู่ มือการใช้

รูปแบบท่ีจดัทาํข้ึน และเอกสาร งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งเก่ียวกบัการออกแบบการสอบถามความคิดเห็น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

214

4.4.1.2 สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือนาํไปใชใ้นการอบรมตามรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะเป็นขอ้รายการสอบถามความคิดเห็น

จาํนวน 10 ขอ้ ตามแบบของลิเคิร์ท (Likert Scale) (Likert, 1967: 90-95 อา้งถึงใน เสถียร แป้นเหลือ,

2550: 102) ซ่ึงมีลกัษณะเป็นแบบมาตรประเมินค่า (Rating scale) 5 ระดบั โดยกาํหนดเกณฑ์การให้

คะแนนของขอ้คาํถาม ใหค้ะแนนความคิดเห็น ดงัน้ี

ระดบั 5 หมายถึง เห็นดว้ยมากท่ีสุด

ระดบั 4 หมายถึง เห็นดว้ยมาก

ระดบั 3 หมายถึง เห็นดว้ยปานกลาง

ระดบั 2 หมายถึง เห็นดว้ยนอ้ย

ระดบั 1 หมายถึง เห็นดว้ยนอ้ยท่ีสุด

การแปลความหมายค่าเฉล่ียแบ่งออกเป็น 5 ระดบั คือ

ค่าเฉล่ียเท่ากบั 4.51 – 5.00 หมายความว่า เห็นดว้ยมากท่ีสุด

ค่าเฉล่ียเท่ากบั 3.51 – 4. 50 หมายความว่า เห็นดว้ยมาก

ค่าเฉล่ียเท่ากบั 2.51 – 3. 50 หมายความว่า เห็นดว้ยปานกลาง

ค่าเฉล่ียเท่ากบั 1.51 – 2. 50 หมายความว่า เห็นดว้ยนอ้ย

ค่าเฉล่ียเท่ากบั 1.00 – 1.50 หมายความว่า เห็นดว้ยนอ้ยท่ีสุด

ทั้งน้ี ผูว้ิจยักาํหนดเกณฑ์เฉล่ียของระดบัความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้

ค่าเฉล่ียของคะแนนตั้ งแต่ 3.51 ข้ึนไป และค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐานไม่เกิน 1.00

4.4.1.3 ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ โดยนาํแบบสอบถามความคิดเห็นการใชรู้ปแบบ

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ โดยใชก้ารตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิง

เน้ือหา (Content Validity) และความเหมาะสมของภาษาท่ีใช ้โดยใหผู้เ้ช่ียวชาญ จาํนวน 5 ท่าน (รายช่ือ

ในภาคผนวก ก) ประเมินความสอดคลอ้งดว้ยดชันีความสอดคลอ้ง (Item of Objective Congruence :

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

215

IOC) เป็นเกณฑใ์นการพิจารณาความสอดคลอ้งระหว่างวตัถุประสงคแ์ละขอ้คาํถาม และคาํนวณค่าดชันี

ความสอดคลอ้ง โดยใชสู้ตร ดงัน้ี

N

R=IOCΣ

IOC หมายถึง ดชันีความสอดคลอ้ง

R หมายถึง คะแนนของผูเ้ช่ียวชาญ

RΣ หมายถึง ผลรวมของคะแนนผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคน

หมายถึง จาํนวนผูเ้ช่ียวชาญ

นาํความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคนมาใหค่้านํ้ าหนกัเป็นคะแนน ดงัน้ี

+1 = สอดคลอ้ง หมายถึง แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นมีความสอดคลอ้ง

0 = ไม่แน่ใจ หมายถึง ไม่แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นสอดคลอ้ง

-1 = ไม่สอดคลอ้ง หมายถึง ขอ้คาํถามนั้นไม่สอดคลอ้ง

ผลการคาํนวณค่าดชันีความสอดคลอ้งความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญดว้ยการแทนค่าใน

สูตร ผลการวิเคราะห์ขอ้มลู ค่าความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาเท่ากบั 1.00 ในทุกขอ้คาํถาม

4.4.1.4 นาํแบบสอบถามความคิดเห็นการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีผ่านการตรวจสอบโดยผูเ้ช่ียวชาญตรวจสอบความ

เท่ียงตรงเชิงเน้ือหาและความเหมาะสมของภาษาท่ีใช ้มาปรับปรุงตามคาํแนะนาํ และนาํไปทดลองใช ้

(Try out) กบัประชากรท่ีไม่ใช่กลุ่มทดลอง จาํนวน 14 คน แลว้นาํขอ้มลูไปวิเคราะห์ต่อไป

4.4.1.5 การหาค่าความเช่ือมัน่ ดว้ยการหาค่าสมัประสิทธิอลัฟ่า ตามวิธีของครอนบาค

(Cronbach’s Coefficient) ไดค่้าความเช่ือมัน่เท่ากบั 0.75

4.4.2 แบบสมัภาษณ์การใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 มีขั้นตอนการสร้างและตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

216

4.4.2.1 ศึกษาเน้ือหาสาระเก่ียวกับการพฒันามนุษย ์จากรูปแบบและคู่มือการใช้

รูปแบบท่ีจดัทาํข้ึน และเอกสาร งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งเก่ียวกบัการออกแบบคาํถามเพ่ือการสมัภาษณ์

4.4.2.2 ร่างแนวคาํถาม/แบบสมัภาษณ์ตามกรอบแนวคิดเบ้ืองตน้เพ่ือเป็นแนวทางใน

การสมัภาษณ์

4.4.2.3 นําร่างแนวคําถาม/แบบสัมภาษณ์การใช้รูปแบบการพฒันามนุษย์ตาม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยใชคู้่มือการใชรู้ปแบบฯ ไปตรวจสอบคุณภาพ

ของแบบสมัภาษณ์ ดว้ยการตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) โดยให้ผูเ้ช่ียวชาญ

จาํนวน 5 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก) ประเมินความสอดคลอ้งด้วยดัชนีความสอดคลอ้ง (Item of

Objective Congruence : IOC) เป็นเกณฑใ์นการพิจารณาความสอดคลอ้งระหว่างวตัถุประสงค์และขอ้

คาํถาม และคาํนวณค่าดชันีความสอดคลอ้ง โดยใชสู้ตร ดงัน้ี

N

R=IOCΣ

IOC หมายถึง ดชันีความสอดคลอ้ง

R หมายถึง คะแนนของผูเ้ช่ียวชาญ

RΣ หมายถึง ผลรวมของคะแนนผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคน

หมายถึง จาํนวนผูเ้ช่ียวชาญ

โดยนาํความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญแต่ละคนมาใหค่้านํ้ าหนกัเป็นคะแนน ดงัน้ี

+1 = สอดคลอ้ง หมายถึง แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นมีความสอดคลอ้ง

0 = ไม่แน่ใจ หมายถึง ไม่แน่ใจวา่ขอ้คาํถามนั้นสอดคลอ้ง

-1 = ไม่สอดคลอ้ง หมายถึง ขอ้คาํถามนั้นไม่สอดคลอ้ง

ผลการคาํนวณค่าดชันีความสอดคลอ้งความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญดว้ยการแทนค่า

ในสูตร ผลการวิเคราะห์ขอ้มลู ค่าความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาเท่ากบั 1.00 ในทุกขอ้คาํถาม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

217

ทั้ งน้ี การประเมินแบบสัมภาษณ์ มีคาํถามปลายเปิดเพ่ือถามความคิดเห็นและ

ขอ้เสนอแนะของผูเ้ช่ียวชาญในส่วนทา้ยของแบบประเมินแบบสมัภาษณ์ เพ่ือนาํมาปรับปรุง แกไ้ขแบบ

สมัภาษณ์ใหมี้ความสมบูรณ์ยิง่ข้ึน

4.4.2.4 นาํแบบสมัภาษณ์ไปทดลองสัมภาษณ์ประชากรท่ีไม่ใช่กลุ่มทดลอง จาํนวน

3 คน พบว่าขอ้คาํถามมีความชดัเจน และมีความเขา้ใจตรงกนั

4.4.2.5 ตรวจทานและปรับปรุงเป็นแบบสัมภาษณ์ฉบับสมบูรณ์ แล้วจึงนําไป

สมัภาษณ์ตวัแทนกลุ่มทดลอง จาํนวน 7 คน โดยใชว้ิธีอาสาสมคัร

4.5 การเกบ็รวบรวมข้อมูล

ผูว้ิจยัเก็บรวบรวมขอ้มลูดว้ยตนเอง โดยรวบรวมขอ้มูลจากแบบวดัความรู้ฯ เจตคติการใช้

เสรีภาพฯ และพฤติกรรมการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ แบบสอบถามความคิดเห็น/แบบ

สมัภาษณ์การใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

4.6 การวเิคราะห์ข้อมูล

4.6.1 การวิเคราะห์ความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมาย ผูว้ิจยันาํขอ้มลูจากแบบสอบถามความ

คิดเห็นจากการเขา้ร่วมรับการอบรมรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 โดยใชคู้่มือการใชรู้ปแบบฯ มาวิเคราะห์ระดบัความคิดเห็น โดยใชส้ถิติค่าเฉล่ีย และ

ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน โดยในการวิเคราะห์จะใชค่้าเฉล่ียเทียบกบัเกณฑก์ารประเมิน

4.6.2 การวิเคราะห์ขอ้มลูจากการสมัภาษณ์ตวัแทนกลุ่มเป้าหมาย ใชก้ารวิเคราะห์เน้ือหา

จากขั้นตอนการพฒันา ขั้นตอนท่ี 4 การพฒันา (Development : D2) เป็นการประเมินผลและ

ปรับปรุง (Evaluation) สามารถสรุปขั้นตอน เป็นตารางท่ี 7 ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

218

ตารางท่ี 7 สรุปขั้นตอนท่ี 4 การพฒันา (Development : D2)

วัตถุประสงค์ วิธีดําเนินการ แหล่งข้อมูล เคร่ืองมือ/การวิเคราะห์ข้อมูล ผลท่ีได้รับ

เพ่ือประเมิน

การทดลอง

ใชรู้ปแบบ

และปรับปรุง

รูปแบบให้

สมบูรณ์

ยิ ่งข้ึน

1. การเปรียบเทียบ

คะแนนเฉลี่ยดา้น

ความรู้/ เจตคติฯ

พฤติกรรมฯ

2. การสอบถาม

ความคิดเห็นและ

การสัมภาษณ์กลุ่ม

ตวัอย่างฯ

นกัศึกษาท่ีเขา้

ร่วมทดลองใช้

รูปแบบฯ

จาํนวน 25 คน

1. แบบสอบถามความคิดเห็น

2. แบบสัมภาษณ์

การวเิคราะห์ขอ้มูลดว้ย

ค่าความถี่/ ร้อยละ/ ค่าเฉลีย่/

ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน/t-test /

ค่าดชันีประสิทธิผล/การ

วเิคราะห์เน้ือหา

รูปแบบฯ ฉบบั

สมบูรณ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

219

บทท่ี 4

ผลการวเิคราะห์ข้อมูล

งานวิจัยรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มี

วตัถุประสงคเ์พ่ือศึกษาขอ้มลูพ้ืนฐาน การสร้างและพฒันารูปแบบ การทดลองใชรู้ปแบบ ตลอดจน

การประเมินผลและปรับปรุงการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ซ่ึงผูว้ิจยันาํเสนอผลการวิจยัเป็นส่ีขั้นตอน ดงัน้ี

ตอนท่ี 1 ผลการศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์การพฒันาของ

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ตอนท่ี 2 ผลการสร้างและพฒันารูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2

ตอนท่ี 3 ผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ตอนท่ี 4 ผลการประเมินและปรับปรุงรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

ตอนท่ี 1 ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์การพัฒนาของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ขั้นตอนน้ี มีวตัถุประสงคเ์พ่ือศึกษาขอ้มลูพ้ืนฐานเก่ียวกบักระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์อง

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยใชก้ารศึกษาเอกสาร และการสัมภาษณ์กลุ่มผูเ้ช่ียวชาญ ไดแ้ก่

ประธานและผูอ้าํนวยการแผนกของคณะกรรมาธิการฝ่ายสงัคม สภาพระสงัฆราชคาทอลิกแห่งประเทศ

ไทย (Caritas Thailand) จากนั้ น นาํข้อมูลท่ีไดจ้ากการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก มา

สงัเคราะห์เป็นกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือตอบคาํถาม

การวิจยัขอ้ท่ี 1. กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นอย่างไร จึง

เสนอผลการศึกษา ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

220

ขั้นตอนที่ 1 ผลการศึกษาเอกสาร

จากการศึกษาเอกสารเอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการพฒันามนุษย ์ตามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 พบว่าเอกสารทางการของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ท่ีเสนอแนวคิดเร่ืองการพฒันามนุษย์ประกอบด้วยเอกสารสําคัญ ได้แก่ เอกสารพระผูไ้ถ่มนุษย ์

(Redemptor Hominis, 1979) พระเมตตาของพระเจ้า (Dives in Misericordia, 1980) การทาํงาน

(Laborem Exercens, 1981) ความห่วงใยเร่ืองสงัคม (Sollicitudo Rei Socialis, 1987) การเฉลิมฉลองปีท่ี

หน่ึงร้อย (Centesimus Annus, 1991) ส่วนเอกสารอ่ืนๆ เป็นการขยายความ หรืออธิบายเพิ่มเติมใน

สาระ/ประเด็นท่ีพระองค์ทรงนาํเสนอในเอกสารสําคัญดังกล่าว เคร่ืองมือท่ีใชไ้ดแ้ก่ แบบบันทึก

สาระสําคัญด้านการการพัฒนามนุษย์ฯ โดยใช้การวิเคราะห์เน้ือหา สรุปผลการศึกษา ดังน้ี

(รายละเอียด ดูในบทท่ี 2 หนา้ 123 - 168)

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีพ้ืนฐานแนวคิดตามคาํสอนคริสต์ศาสนาท่ีอธิบายว่า

มนุษยเ์ป็นส่ิงประเสริฐ มีศกัยภาพท่ีจะบรรลุถึงความจริง เน่ืองจากพระเจา้ทรงสร้างให้เป็นภาพลกัษณ์

ของพระองค์ ทาํให้มนุษยมี์ลกัษณะพิเศษแตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ กล่าวคือ มนุษยเ์ป็นบุคคล

(Person) ท่ีมีความรู้สํานึก เสรีภาพ มนุษยเ์ป็นตัวของตัวเองและมีศกัยภาพท่ีจะควบคุมตนเองได ้

ลกัษณะพื้นฐานของมนุษยคื์อ การท่ีมนุษยส์ามารถมี (และตอ้งมี) ความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืนในแบบอุทิศ

ตนเพ่ือผูอ่ื้นเพ่ือจะไดรู้้จักตนเองและพฒันาตนสู่การเป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ยิ ่ง ๆ ข้ึน อย่างไรก็ตาม

ความรู้สํานึกและเสรีภาพของมนุษยย์งัมีความจํากัด แทนท่ีมนุษย์จะใช้เสรีภาพท่ีสอดคล้องกับ

ธรรมชาติมนุษย ์ในการตอบรับการเช้ือเชิญดว้ยการปฏิบติัตามแนวทางของพระเจา้ มนุษยก์ลบัใช้

เสรีภาพ เลือกท่ีอยูแ่ละมุ่งสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ดว้ยตนเอง โดยตดัความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ทาํให้ชีวิตมนุษย์

ไม่กลมกลืนกบัตนเอง คนอ่ืนและส่ิงอ่ืน อนัเป็นท่ีมาของความตกตํ่าและความมวัหมองของชีวิต

พระสันตะปาปาฯ ทรงเร่ิมตน้ดว้ยการวิเคราะห์ปรากฏการณ์การพฒันามนุษยใ์นสังคม

ร่วมสมยั ว่า แมจ้ะมีความเจริญกา้วหน้าดา้นวิทยาการและเทคโนโลยี แต่ยิ ่งกลบัทาํให้มนุษยอ์ยู่ใน

ภาวะตกตํ่าและดอ้ยพฒันา เน่ืองจากมนุษยต์กอยู่ใน “กระแสการทาํลายชีวิต” ซ่ึงเป็นผลมาจากการท่ี

มนุษยใ์หค้วามสาํคญัแต่เพียงการตอบสนองความตอ้งการดา้นร่างกาย และปฏิเสธคุณค่าภายในจิตใจ

ดงัท่ีปรากฏผา่นทางค่านิยมต่างๆ ในสังคม โดยเฉพาะกระแสวตัถุนิยม บริโภคนิยม ปัจเจกนิยม ฯลฯ

ซ่ึงมีพ้ืนฐานอยู่บนการให้ความสําคัญแก่มนุษยแ์ต่เพียงระดับกายภาพ มุ่งตอบสนองแต่เพียงความ

ตอ้งการดา้ยวตัถุสสาร ท่ีเนน้เศรษฐกิจเป็นหลกัในการพฒันามนุษยใ์นสังคม ส่งผลทาํให้สังคมอยู่ใน

บรรยากาศท่ีไม่เอ้ืออาํนวยต่อการพฒันาชีวิตของบุคคล เป็นสังคมท่ี “มุ่งไปสู่การมี (วตัถุส่ิงของ)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

221

มากกว่ามุ่งสู่การเป็นมนุษย”์ (John Paul II, 1991: 36) ดงันั้น จึงเสนอความหมาย และหลกัการพฒันา

มนุษย ์ดงัน้ี

1.1 ความหมายการพฒันามนุษย ์

การพฒันามนุษย ์คือ การพฒันาท่ีทาํใหม้นุษยเ์ป็นมนุษยม์ากข้ึน กล่าวคือ เป็นการ

พฒันาอย่างรอบคอบสอดคลอ้งกับคุณค่า ความหมายชีวิตท่ีแท้จริงของมนุษย ์ การพฒันาต้องมุ่ง

เสริมสร้างใหม้นุษยเ์ป็นบุคคลยิง่ข้ึน ดงันั้น การพฒันามนุษยจึ์งหมายถึง การเปล่ียนแปลงเจตคติจากการ

ดาํเนินชีวิตท่ีใชเ้สรีภาพท่ียึดตนเองเป็นศูนยก์ลาง ไปสู่เจตคติการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเอง

และผูอ่ื้น การส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเหมาะสม โดยมีเป้าหมายสูงสุดของการพฒันา คือ การมุ่งสู่ชีวิต

สมบูรณ์ อนัเป็นภารกิจท่ีพระเจา้ทรงมอบแก่มนุษยใ์นการตอบรับแนวทาง/พระพรของพระเจา้ ไปสู่

การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระองค ์

พระสันตะปาปาฯ เสนอความหมายและหลกัการพฒันาว่าเป็น “การพฒันามนุษย์

แบบบูรณการ” (Integral human development) (John Paul II, 1987: 32) หมายถึงการพฒันาท่ีครอบคลุม

ทุกมิติของชีวิตมนุษยแ์ละการพฒันาชีวิตในสงัคม ทั้งดา้นเศรษฐกิจ สงัคม วฒันธรรมและจิตใจ รวมถึง

โอกาส คุณภาพและความเสมอภาคของทุกภาคส่วนในสังคม โดยให้ความสาํคญัต่อการไตร่ตรอง

ทบทวนการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต เพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลง/พฒันาเจตคติการใชเ้สรีภาพใน

การตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้อยา่งต่อเน่ือง โดยมีหลกัศาสนาและศีลธรรมเป็นแนวทาง การ

พฒันาเป็นกระบวนการสากล ครอบคลุมทุกคน ทุกสถานภาพ และต่อเน่ืองจนตลอดชีวิต มีการ

จดัลาํดบัคุณค่าให ้“คน” มาก่อนและอยูเ่หนือวตัถุส่ิงของ หรือการพฒันาทางกายภาพ บนพ้ืนฐานของ

บริบท/อตัลกัษณ์บุคคล เพ่ือมุ่งไปสู่เป้าหมายสูงสุด คือ การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

1.2 หลกัการพฒันามนุษย ์

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง จึงสรุปเป็นหลกัในการพิจารณาการ

พฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

1.2.1 การพฒันาท่ีมุ่งเสริมสร้างการเป็นบุคคล

การพฒันามนุษย ์ตอ้งมีพ้ืนฐานอยูบ่นหลกัการเป็นบุคคลของมนุษย ์ท่ีเช่ือมโยง

กับพระเจ้า ในฐานะบุคคลท่ีสมบูรณ์ ลกัษณะพ้ืนฐานท่ีแสดงถึงความเป็นบุคคลของมนุษย ์ว่า

ประกอบดว้ยความรู้สาํนึกและเสรีภาพ ท่ีควบคู่กนั อนัเป็น “ศกัยภาพภายใน” ท่ีมนุษยไ์ดรั้บจากพระเจา้

ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระองค ์ เพ่ือพฒันาชีวิตดว้ยการสร้างความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น ดว้ย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

222

เหตุน้ี การมีความรู้สาํนึกและเสรีภาพ จึงเป็นหลกัการพ้ืนฐานของการเป็นบุคคลของมนุษย ์ในการ

พฒันาชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนในสังคม ในฐานะเป็นบุคคลท่ีตอ้งมีการติดต่อสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น ตอ้งมีการ

อุทิศตัวให้ผูอ่ื้นและในเวลาเดียวกันก็ต้องรับการติดต่อสมาคมกบัผูอ่ื้นท่ีหยิบยื่นไมตรีจิตให้เช่นกัน

พระสันตะปาปาฯ ทรงให้ความสําคัญต่อครอบครัวเป็นพิเศษ ในฐานะเป็นหมู่คณะแรก และเป็น

พ้ืนฐานในการปลกูฝังคุณค่าของชีวิต ครอบครัวเป็นจุดเร่ิมตน้ของชีวิตและการพฒันาชีวิต ครอบครัวมี

บทบาทสาํคญัต่อการปลกูฝังเจตคติ และการดาํเนินชีวิตอยา่งถกูตอ้งต่อคุณค่าพ้ืนฐานและศกัด์ิศรีความ

เป็นบุคคลของมนุษย ์

นอกจากนั้น พระสนัตะปาปาฯ ทรงย ํ้ าถึง “อตัลกัษณ์ส่วนบุคคล” (John Paul II,

1979 : 13, 14) ท่ีไม่ซํ้ าแบบกนั ในฐานะท่ีมนุษยด์าํเนินชีวิตและพฒันาชีวิตของตนตามบริบทและ

ประวติัศาสตร์ของแต่ละคน ใหค้วามสาํคญัต่อวฒันธรรม อนัเป็นคุณค่าและมรดก ท่ีหล่อหลอมมนุษย์

ใหพ้ฒันาชีวิตตามอตัลกัษณ์ของตน

1.2.2 การพฒันาบุคคลใหมี้จิตสาํนึกต่อเสรีภาพ ในสงัคมท่ีเป็นอิสระ

เป้าหมายสูงสุดของการพฒันามนุษย ์คือ การบรรลุถึงการเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

ดว้ยเหตุน้ี การพฒันาจึงตอ้งมุ่งสู่การบรรลุจุดหมาย คือ การเป็นบุคคลท่ีเต็มดว้ยสาํนึกอย่างถูกตอ้งต่อ

เสรีภาพ อนัเป็นสภาพของบุคคลท่ีมีเสรีภาพอย่างเต็มท่ี มีใจท่ีเป็นอิสระและสํานึกรับผิดชอบท่ีจะ

พฒันาตัวเองร่วมกับคนอ่ืน ในบริบทส่ิงแวดล้อม ท่ีต้องควบคู่กับการดาํเนินชีวิตในสังคมท่ีมี

บรรยากาศและสภาพแวดลอ้มท่ีส่งเสริมใหม้นุษยเ์ป็นตวัของตวัเอง สาํนึกในสิทธิและหนา้ของตนอย่าง

ครบถว้น มีความมุ่งมัน่ในการสร้างสนัติภาพ มีระบบกฎหมายท่ีเป็นธรรม และมีสวสัดิการท่ีเหมาะสม

มารองรับบนพ้ืนฐานของสิทธิมนุษยชน เพ่ือมนุษย ์จะได้พฒันาตนเองได้อย่างเต็มท่ี ด้วยการใช้

เสรีภาพ บนพ้ืนฐานของความรู้สาํนึก ดว้ยการสร้างความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น โดยมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์

1.2.3 การพฒันามนุษยด์ว้ยเจตคติของการเคารพความเป็นบุคคล

การจัดการพฒันามนุษยต์้องมีการปรับเปล่ียนเจตคติบนพ้ืนฐานของความ

เคารพต่อความเป็นมนุษยท่ี์ทุกคนมีเท่าเสมอกนั และนําสู่การปฏิบัติด้วยการให้โอกาส และความ

ร่วมมือในทุกภาคส่วน ทั้งระดบับุคคล สังคมและทุกประเทศ ทั้งจากผูช่้วยเหลือ/ผูรั้บความช่วยเหลือ

รวมถึงประเทศท่ีตอ้งไดรั้บความช่วยเหลือ/ประเทศท่ีทาํการช่วยเหลือ บนพ้ืนฐานของความเคารพใน

คุณค่าและศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ทั้งในระดบัเจตคติท่ีถูกตอ้งและนาํไปสู่การปฏิบติัอย่างรอบคอบ

เหมาะสม บนพ้ืนฐานของการเคารพในศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษย ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

223

1.2.4 การพฒันาดว้ยการส่งเสริม สนบัสนุนใหเ้กิดการพฒันาร่วมกนั

แนวทางการพฒันามนุษยมี์ลกัษณะเป็นกระบวนการเสริมสร้าง สนับสนุนซ่ึง

กนัและกนั เน้นความเป็นปึกแผ่นหน่ึงเดียวกนั บนความสาํนึกของการเป็นพ่ีน้องเพ่ือนมนุษย ์ เป็น

กระบวนการแบ่งปันดว้ยจิตตารมยค์วามรัก เป็นแนวทางท่ีพระสันตะปาปาฯ ทรงนาํเสนอ เพ่ือการ

พฒันามนุษย ์ทั้งในระดบับุคคลและระดบัประเทศ/สังคม โดยทุกคน ทุกภาคส่วนตอ้งมีส่วนร่วมกนั

เสริมสร้างบรรยากาศแห่งการพ่ีน้องเพ่ือนมนุษย ์ เปล่ียนจากบรรยากาศของความไม่ไวใ้จกนัมาเป็น

ความร่วมมือกนั และใหค้วามสนใจเร่ืองคุณค่าทางศาสนาและศีลธรรม เพ่ือนาํสู่การปรับเปล่ียนเจตคติ

พฤติกรรม และโครงสร้างต่างๆ ซ่ึงจะทาํใหเ้กิดบรรยากาศ/สภาพแวดลอ้มของความเป็นพ่ีนอ้งกนัอยา่ง

แท้จริง ระหว่างแต่ละบุคคล และประเทศต่างๆ อนัจะส่งผลให้เกิดสันติภาพอย่างย ัง่ยืนในสังคม

มนุษยชาติ

ดังนั้ น การพัฒนาต้องมีพ้ืนฐานอยู่บนคุณค่าของชีวิต ในฐานะท่ีมนุษย์เป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ มนุษยจึ์งตอ้งสนองพระประสงค์พระเจา้และดาํเนินชีวิตร่วมกบัเพ่ือนมนุษย์

อ่ืน ๆ ในสังคม หลกัการพฒันาท่ีดีนั้ นต้องมุ่งส่งเสริมให้มนุษยมี์ความสัมพนัธ์ท่ีดีกับพระเจ้า และ

ดาํเนินชีวิตร่วมกบัเพ่ือนสมาชิกในสงัคม กล่าวคือ “การพฒันาท่ีแทจ้ริงจะตอ้งมีพ้ืนฐานอยู่บนความรัก

ในพระเจา้และในเพ่ือนมนุษย ์และตอ้งช่วยส่งเสริมสมัพนัธภาพระหว่างบุคคลกบัสงัคมบนพ้ืนฐานของ

ความจริงและการปฏิบติัต่อตนเอง คนอ่ืน สังคมและส่ิงแวดลอ้มดว้ยความเอาใจใส่ท่ีจะดาํเนินชีวิต

ร่วมกนั” (John Paul II, 1995: 6; 1987: 33) ซ่ึงพระสนัตะปาปาฯ ทรงใหค้วามสาํคญัต่อการทาํงานใน

ฐานะเป็นการพฒันาชีวิตในสงัคมสู่ความเจริญกา้วหน้าของบุคคล การทาํงานจึงเป็นกิจกรรมท่ีมนุษย์

ทุกคนตอ้งเขา้มามีส่วนร่วมตามบทบาทหนา้ท่ีท่ีไดรั้บมอบหมายจากสงัคม พระองคท์รงเรียกร้องให้มี

ระบบศีลธรรมการทาํงาน “เพ่ือใหม้นุษยท์าํงานอยา่งผูมี้คุณธรรม และช่วยใหม้นุษยผ์ูท้าํงานมีความเป็น

มนุษยส์มบูรณ์มากยิ ่งข้ึน” (John Paul II, 1981: 9) ดงัท่ีพระองค์เสนอว่า การทาํงาน คือการท่ีมนุษย์

อุทิศตนไม่เพียงแต่เพ่ือตนเอง แต่มนุษยย์งัทาํเพ่ือผูอ่ื้นและทาํงานเพื่อเล้ียงดูครอบครัวของเขา ชุมชน

ของเขา ชาติของเขา ท่ีสุด เพ่ือมนุษยชาติเองทั้งหมด และเป็นการขยายความสัมพนัธ์แห่งความเป็นนํ้ า

หน่ึงใจเดียวกนัของมนุษยชาติ

จากการศึกษาเอกสาร ผูว้ิจยัคน้พบขอ้มูลเพ่ือการสัมภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญในส่ีประเด็น

หลกั ไดแ้ก่ ความหมาย/หลกัการพฒันา จุดหมายการพฒันา เจตคติ/ท่าทีการพฒันา และแนวทางการ

พฒันา โดยกาํหนดขอ้คาํถาม (ดูในภาคผนวก ค) เพ่ือการสมัภาษณ์เชิงลึกผูเ้ช่ียวชาญในลาํดบัต่อไป

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

224

ขั้นตอนที่ 2 ผลการสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ

จากการวิเคราะห์ขอ้มลูจากการสมัภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญ (รายช่ือในภาคผนวก ก) ไดข้อ้สรุป

เป็นส่ีประเด็นท่ีสาํคญั ไดแ้ก่ ความหมาย จุดหมาย เจตคติและแนวทางการพฒันามนุษย ์ตามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ ดงัน้ี

2.1 ความหมายและหลกัการพฒันามนุษย์

หลกัการพฒันาบุคคล เน้นการพฒันามนุษยใ์นทุกมิติของชีวิต เป็นการพฒันาท่ี

ครอบคลุมทั้งดา้นร่างกายและจิตวิญญาณ ใหค้วามสาํคญัต่อ “เสรีภาพ” ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือในการพฒันา

ชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ยิง่ๆ ข้ึน การพฒันามนุษยจึ์งตอ้งมุ่งส่งเสริมใหบุ้คคลสาํนึกถึงเสรีภาพ

อยา่งถกูตอ้ง และสามารถใชเ้สรีภาพไดอ้ยา่งเต็มท่ี ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“...เน้นความเป็นคน ความเป็นมนุษย์ เป็นแนวคิดท่ีเน้นคน ความเป็นคน

ศกัด์ิศรีของบุคคล การพฒันาใดๆ ถา้ปราศจากการเคารพในชีวิต สิทธิเสรีภาพซ่ึงเป็นศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษย ์ไม่ถือวา่เป็นการพฒันามนุษย ์ซ่ึงพระสันตะปาปาฯ เน้นว่า การพฒันา ตอ้งไม่ใช่เน้นการพฒันา

วตัถุ แต่ตอ้งเนน้สิทธิเสรีภาพ

(รักษาการผูอ้าํนวยการแผนกกลุ่มชาติพนัธ์ุฯ)

โดยมีหลกัการท่ีสาํคญั ไดแ้ก่

2.1.1 การพฒันาบนพ้ืนฐานของการเสริมสร้างความสมัพนัธก์บัพระเจา้

พ้ืนฐานของการเป็นบุคคล คือ เสรีภาพ ท่ีพระเจา้ประทานแก่มนุษย ์ เป็น

ลกัษณะเฉพาะและเป็นเคร่ืองมือในการพฒันาชีวิตมนุษย ์ เสรีภาพตอ้งมีมโนธรรม/ความรู้สาํนึก กาํกบั

เพ่ือแต่ละบุคคลสามารถใชเ้สรีภาพอย่างถูกตอ้ง แต่ละบุคคลตอ้งสาํนึกถึงคุณค่าและศกัด์ิศรีท่ีพระเจา้

เป็นพ้ืนฐานและเป้าหมายชีวิต ความสาํนึก/มโนธรรมน้ีตอ้งไดรั้บการขดัเกลาอย่างต่อเน่ืองดว้ยหลกัคาํ

สอนของศาสนา ดว้ยการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางและความช่วยเหลือ (พระพร) จากพระเจา้ ตาม

หลกัความเช่ือและเหตุผล ด้วยการมีความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืนในสังคม ดังท่ีผูเ้ช่ียวชาญให้สัมภาษณ์

ความว่า

“มนุษยมี์คุณลกัษณะท่ีโพน้ธรรมชาติ ขณะเดียวกนั มนุษยก์็ไม่สามารถหา

คาํตอบสุดทา้ยใหก้บัตวัเองได ้เขาจึงมีหนทางเดียว คือ กลบัมาพิจารณาเสียงเรียกของพระเจา้ เสียงเรียกน้ี

เอง ทาํใหม้นุษยเ์ขา้ใจวา่ตวัเองมีคุณค่า ... มนุษยจ์ะพฒันาตวัเองใหส้มบูรณ์ได ้ตอ้งแสวงหาพระเจา้เป็น

เป้าหมายปลายทางสําหรับตน.......เป็นเสียงเรียกจากพระเจา้ ตอ้งการใหฝ่้ายท่ีถูกเรียก ตอบรับ อยา่งอสิระ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

225

และมีความรับผิดชอบ ฉะนั้นงานพฒันามนุษยจึ์งเป็นงานสร้างเสรีภาพท่ีรู้จกัรับผิดชอบ … การพฒันา

ชนิดน้ีตอ้งการพระเป็นเจา้เขา้มาเก่ียวขอ้ง เหตุก็เพราะว่ามนุษย์มีมิติท่ีโพน้ธรรมชาติ ส่วนคนท่ีคิดว่า

ตนเองช่วยตวัเองได ้มกัจะลงเอยกลายเป็นคนดอ้ยพฒันา”

(ประธานกรรมการคาทอลกิเพ่ือการอภิบาลสังคมฯ)

2.1.2 การพฒันาแบบบูรณการทุกมิติของชีวติและสงัคม

การพฒันามนุษย ์ดว้ยความสาํนึกต่อเสรีภาพอย่างถูกตอ้ง มีหลกัการอยู่บน

การพฒันา “บุคคลทั้งครบ” กล่าวคือ การพฒันาทุกมิติ ทั้งมิติดา้นร่างกาย (กายภาพ) มิติดา้นจิตวิญญาณ

และมิติทางสงัคม เป็นการพฒันาแบบองค์รวม ไม่แยกส่วน จาํเป็นตอ้งให้ความสาํคญักบับุคคลทุก

ดา้น ทุกมิติ เพ่ือใหมี้จิตสาํนึกต่อเสรีภาพอยา่งถกูตอ้ง ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“...การพฒันาแบบแยกส่วน โดยเฉพาะการพฒันาแต่เพียงระดบัร่างกาย/

กายภาพ ส่งผลให้เกิดความเข้าใจผิดในเร่ืองเสรีภาพ ทาํให้มนุษย์เห็นแก่ตวั ส่งผลให้เข้าใจว่าตนมี

เสรีภาพแบบไม่จาํกดั เป็นเสรีภาพท่ีไม่สอดคลอ้งกบัความจริง ... การพฒันาจึงต้องควบคู่กนัทั้งฝ่าย

ร่างกายและฝ่ายจิตวิญญาณ เม่ือเราพฒันาทั้ งสองฝ่ายไปด้วยกัน ทาํให้มองว่าเสรีภาพเป็นไปเพ่ือ

ประโยชน์ส่วนรวม ความดีส่วนรวม ไม่ใช่แค่ของฉนั แต่ฉนัมีขอบเขตจาํกดัในเสรีภาพของฉัน โดยการ

เคารพเสรีภาพของคนอื่น จึงตอ้งพฒันาทั้งกายและจิตใจ...”

(ประธานกรรมาธิการฝ่ายสังคมฯ)

2.1.3 การพฒันาดว้ยความสาํนึกในสิทธิและความรับผดิชอบร่วมกบัสมาชิกใน

ครอบครัว/สงัคม

มนุษยมี์เสรีภาพ บนความสาํนึกรับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตของตนร่วมกบัคน

อ่ืน การพฒันาบุคคล เรียกร้องใหแ้ต่ละบุคคลเคารพ ยอมรับและมีความสาํนึกรับผิดชอบต่อการพฒันา

ชีวิตของตน จึงเน้นการพฒันาในลกัษณะของการเสริมสร้างความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคลและการ

ดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม เป็นการพฒันาท่ีมีพ้ืนฐานบน “สิทธิ” ควบคู่กบั

“หนา้ท่ี/ความรับผดิชอบ” ต่อชีวิตของตน ครอบครัว ชุมชนและสงัคม เป็นการพฒันาท่ีมีพ้ืนฐานอยูบ่น

การส่งเสริมความเขม้แขง็ของครอบครัวและสงัคม ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานและเป็นส่วนสาํคญัในการเสริมสร้าง

บุคคลใหมี้ความสาํนึกต่อเสรีภาพอยา่งถกูตอ้ง ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“มิติความสัมพนัธ์ คือ เน้ือแทข้องการเป็นมนุษย์... การพฒันาไม่ใช่การ

ส่งเสริมใหอ้ยู่แบบต่างคนต่างอยู่..... สิทธิเสรีภาพมิใช่ใบเบิกทางท่ีจะเรียกร้องเอาแต่ได ้ ตรงกนัขา้มคนท่ี

รู้จกัทาํหน้าท่ีของตนเองอย่างดี สิทธิของเขาก็จะมีพลงัมากข้ึน เป็นต้น เม่ือเขารู้จกัทาํงานรับใช้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

226

ส่วนรวม...สิทธิและหนา้ท่ี ในการสร้างครอบครัว...เน่ืองจากมนุษยเ์กิดจากครอบครัว และมีสังคมช่วยทาํ

ใหค้รอบครัวเขม้แขง็ มนุษยจึ์งตอ้งอาศยัครอบครัว และสังคมเพ่ือพฒันา เสรีภาพใหเ้ติบโตเป็นผูใ้หญ่...

เสรีภาพของมนุษย์ เป็นส่ิงเหนือธรรมชาติ ไร้พรมแดน แต่ตอ้งเติบโตในครอบครัว ในชุมชนและใน

วฒันธรรมทอ้งถิ ่นเลก็ๆ ของตน”

(ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสงัคมฯ)

2.1.4 การพฒันาท่ีเคารพความแตกต่าง/อตัลกัษณ์ของบุคคล

การพฒันามนุษย ์บนพ้ืนฐานของการเสริมสร้างการเป็นบุคคล ดว้ยการสาํนึก

ต่อเสรีภาพอยา่งถกูตอ้งน้ี เรียกร้องให้มีการเคารพยอมรับความแตกต่างของบุคคล และมุ่งเสริมสร้าง

การพฒันาบุคคลตามอตัลกัษณ์ของตน มีความแตกต่างกนัตามอตัลกัษณ์ของบุคคล ท่ีแต่ละบุคคลเป็น

ส่วนหน่ึงของสงัคม มีชีวิตในสภาพแวดลอ้ม ประวติัศาสตร์ วฒันธรรมและภูมิปัญญา ฯลฯ เป็นการให้

ความสาํคญัต่อภูมิหลงัซ่ึงเป็นพ้ืนฐานและลกัษณะเฉพาะของบุคคล ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความ

ว่า

“มีการเคารพเกียรติและศกัด์ิศรีของแต่ละคน พร้อมกบัใหค้วามเป็นธรรม

ท่ีเท่าเทียมกนั... มีการยอมรับในตนเองและยอมรับคนอื่น เคารพยอมรับความแตกต่างของมนุษย.์. สภาพ

แวดลอ้ม......เป็นท่ีสังเกตวา่ ในแต่ละชุมชนย่อยมีวฒันธรรม และความเช่ือ ตามบริบทส่ิงแวดลอ้มของ

ชุมชนนั้น ๆ วิถีชีวิตของแต่ละชุมชน แต่ละเผ่าพนัธ์ุย่อมแตกต่างกนั ดงันั้น วฒันธรรมทอ้งถิ ่นย่อมมี

อิทธิพลต่อการพฒันาเสรีภาพของบุคคล”

(ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสงัคมฯ)

2.1.5 การพฒันาท่ีคาํนึงถึงความสมดุลของส่ิงแวดลอ้มตามระบบนิเวศวิทยา

การพฒันาบุคคล ด้วยความสํานึกต่อเสรีภาพ เรียกร้องให้มนุษยด์าํเนินชีวิต

อยา่งสมดุลในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม ในฐานะท่ีมนุษยด์าํเนินชีวิตท่ามกลางส่ิงแวดลอ้ม อย่างสมดุล

ตามระบบนิเวศวิทยา มนุษยต์อ้งเคารพธรรมชาติของส่ิงแวดลอ้ม ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“ตอ้งมีเร่ืองของการพฒันาคนทั้งครบ ในทุกมิติ อาศยัพ้ืนฐานของศาสนา

และวฒันธรรม โดยคาํนึงถึงภูมิปัญญาทอ้งถิ ่น การใหค้วามเคารพต่อส่ิงแวดลอ้ม เป็นกรอบของเราใน

การเคารพศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ ละเลยไม่ไดใ้นเร่ืองภูมิปัญญาทอ้งถิ ่น...เพ่ือตรงเป้าหมาย ตอ้งเน้น

การครบทุกมิติ ละเลยส่ิงใดส่ิงหน่ึงไม่ได ้บนพ้ืนฐานของศาสนาและวฒันธรรม ”

(รักษาการผูอ้าํนวยการแผนกสตรี)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

227

ดงันั้น จึงกล่าวไดว้่า หลกัการพฒันา เน้นเร่ืองเสรีภาพ บนความยุติธรรม ท่ีมี

ความรักตามแบบอย่างของพระเจ้า อนัเป็นสาระสําคัญของคาํสอนคริสต์ศาสนา ดังท่ีประธาน

คณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสงัคม ไดใ้หส้มัภาษณ์ ความว่า

“เสรีภาพและความยุติธรรม ท่ีมีความรักเป็นแรงผลกัดนัไปสู่ความเป็น

จริง แมปั้ญหาจะมีอยู่ท ัว่โลก แต่ความรักเมตตาและสัจธรรมจะนาํพามนุษย์ทุกคนให้กลบัมาเป็นพ่ีน้อง

ร่วมสายสัมพนัธ์เดียวกนั ความรักน้ีเองเป็นหัวใจขอ้คาํสอนด้านการพฒันามนุษย์ เป็นพลงัสําคญั

ขบัเคลื่อนงานพฒันาโดยไม่ทอ้ถอยต่อปัจจยัลบของบางวฒันธรรมท่ีมีอยู่ร่วมสมยั”

(ประธานกรรมการคาทอลกิเพ่ือการอภิบาลสังคมฯ)

จึงสรุปไดว้่า พ้ืนฐานการพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มาจากคาํ

สอนคริสต์ศาสนาท่ีสอนว่ามนุษยมี์ศกัด์ิศรีและคุณค่าแบบเท่าเทียมกนั ในฐานะเป็นบุคคลท่ีพระเจ้า

สร้างใหเ้ป็นภาพลกัษณ์ของพระองค ์พระเจา้โปรดใหม้นุษยมี์เสรีภาพบนความสาํนึกและรับผิดชอบท่ี

จะพฒันาชีวิตของตนร่วมกับคนอ่ืน ในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือพฒันาชีวิตไปสู่การเป็นบุคคล

ยิ ่งข้ึนๆ อย่างไรก็ตาม แต่ละบุคคลมีความแตกต่างกนัตามอตัลกัษณ์ของแต่ละบุคคล ซ่ึงจาํเป็นตอ้ง

ไดรั้บความเคารพต่อภูมิหลงัหรือบริบทของแต่ละคน รวมถึงการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบท

ของส่ิงแวดลอ้ม ด้วยการตอบรับแนวทางและพระพรของพระเจ้า ด้วยการพฒันาชีวิตด้วยการมี

ความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน บนพ้ืนฐานของการเคารพยอมรับศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของตนเองและผูอ่ื้น

2.2 จุดหมายการพฒันา

การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 บนหลกัการพฒันาบุคคล

ดว้ยการเสริมสร้างจิตสาํนึกในเร่ืองเสรีภาพ มีเป้าหมายสูงสุด คือ ความรอดพน้ หรือการเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์ในพระเจา้ ซ่ึงเป็นภาวะท่ีอยูเ่กินขอบเขตธรรมชาติมนุษย ์ ดว้ยเหตุน้ี การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 จึงเนน้ในเร่ืองการตอบรับพระเจา้ดว้ยความเช่ือศรัทธา ดว้ยใจท่ีเป็นอิสระ

ของแต่ละคน ท่ีร่วมกนัรับผดิชอบชีวิตของตนตามแนวทางของพระเจา้ ดว้ยการเสริมสร้างสงัคมให้เต็ม

ดว้ยบรรยากาศของการเคารพศกัด์ิศรีของบุคคล อยา่งไรก็ตาม เน่ืองจากศาสนาคริสตใ์หค้วามสาํคญัต่อ

การดาํเนินชีวิตท่ีมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ ดว้ยการปฏิบติัตนเสริมสร้างความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืนใน

สงัคม ดงันั้น การพฒันาบุคคลจึงตอ้งดาํเนินควบคู่ระหว่างการพฒันาท่ีมุ่งสู่ความดีของบุคคลและความ

ดีส่วนรวม/สงัคม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

228

2.2.1 การพฒันาท่ีมุ่งสู่การเสริมสร้างความดีของบุคคล : บุคคลท่ีมีวุฒิภาวะ

การเป็นบุคคลบุคคลท่ีสมบูรณ์ เป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันา การจะบรรลุ

เป้าหมายน้ีได ้ บุคคลตอ้งมีการพฒันาดว้ยการเสริมสร้างจิตสาํนึกในเร่ืองเสรีภาพ ให้เป็นบุคคลท่ีมีใจ

เป็นอิสระ สาํนึกในสิทธิและมีความรับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิตของตนอย่างเต็มท่ี รวมถึงการร่วม

รับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตของคนอ่ืนอยา่งเคารพในเกียรติ ศกัด์ิศรีของคนอ่ืน ดว้ยการสรรสร้างความ

เป็นธรรมในสงัคม การพฒันามนุษย ์จึงมีจุดหมาย คือ การพฒันามนุษยใ์ห้เป็นบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะ (มี

ความเป็นผูใ้หญ่) โดยมีคุณลกัษณะท่ีสาํคัญ ได้แก่ การเป็นบุคคลท่ีมีจิตใจท่ีเป็นอิสระ พ่ึงตนเองได ้

สามารถคิด ตดัสินใจและปฏิบติัตนดว้ยความสาํนึกรับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตของตน ร่วมกบัคนอ่ืน

อยา่งเหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลกบัสถานภาพ/สถานการณ์ของชีวิต มีนํ้ าใจท่ีจะแบ่งปันชีวิตของ

ตนร่วมกบัคนอ่ืนในสงัคมอยา่งแทจ้ริง จึงกล่าวไดว้่า การพฒันาท่ีมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะ จึง

เนน้การปรับเปล่ียนเจตคติการดาํเนินชีวิตตามกระแสสงัคมท่ียดึผลประโยชน์ดา้นวตัถุหรือความมัง่คัง่

เป็นหลกั ไปสู่การเคารพคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้ม กล่าวคือ การทาํใหบุ้คคลมีจิตใจท่ีพร้อมท่ีจะรักและรับ

ใชค้นอ่ืน เห็นแก่ประโยชน์/ผลดีต่อการพฒันาชีวิตของคนอ่ืน ไม่ใช่ยึดแต่ประโยชน์ของตนอย่างเดียว

จนปฏิเสธ เบียดเบียนหรือละเลยคนอ่ืน สาํนึกในสิทธิ เสรีภาพและความรับผิดชอบในการพฒันาชีวิต

ของตนร่วมกบัคนอ่ืนในสงัคม ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“การเปลี่ยนแปลงตอ้งเร่ิม “ท่ีใจ” เพ่ือเป็นหลกัประกนัว่า เราจะพฒันา

สังคมและเศรษฐกิจ ไปในทิศทางของคนท่ีมีวฒิุภาวะ...ตอ้งรู้จกัเรียนรู้การเคารพเกียรติและศกัด์ิศรีของ

คนอื่น ลดการเอาเปรียบ การทาํลายผูอ้ื่น และตอ้งไม่ลืมภารกิจสูงสุดคือ การรับใช้เพ่ือนมนุษย์ตาม

แบบอย่างพระเจา้ผูท้รงรักพวกเรา...เม่ือมนุษยเ์ป็นผูใ้หญ่แลว้ เป้าหมายปลายทางของเขาคือ รู้จกัรับใช้

ผูอ้ื่นตามแบบอย่างท่ีพระคริสตเจา้ทรงวางไว.้.. เป็นความรักท่ีเสียสละยอมให้ตนเองรับความเจ็บปวด

เพ่ือช่วยเหลือคนอื่น...การพฒันาท่ีแทจ้ริงนั้น คือ ตอ้งให้ความสําคญัต่อจิตวิญญาณและหลกัศีลธรรม

การเจริญเติบโตในทุกๆ ดา้น จนกระทัง่เกิดจิตสํานึก ห่วงใยต่อมนุษยด์ว้ยกนั อยากทาํดีต่อผูอ้ื่น เพ่ือตอบ

แทนความรักเมตตาของพระเจา้ท่ีมี ต่อเราตลอดมาและตลอดไป”

(ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสงัคมฯ)

“โครงการต่างๆ หรือทรัพยากรต่างๆ … ไม่ว่าจะเป็นการยกฐานะทาง

เศรษฐกิจ การเสริมสร้างองคค์วามรู้ ... เพ่ือใหเ้ขาเป็นอิสระ ...ช่วยให้เขามีอิสระ เลือก ท่ีจะทาํดว้ยตวั

ของเขา... ใหเ้ขาอยู่เขาเอง ...เขาสามารถอยู่และทาํไดด้ว้ยตวัเขาเอง ลาํแขง้เขาเอง ทาํไดเ้อง... คุณลกัษณะ

สําคญั คือ ตอ้งมีความพอเพียงในชีวติ...”

(ผูอ้าํนวยการแผนกสุขภาพอนามยั)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

229

ดว้ยเหตุน้ี จุดหมายของการพฒันา คือ การมุ่งความดีของบุคคล ให้เป็นบุคคลท่ี

มีวุฒิภาวะ มีใจท่ีเป็นอิสระ ไม่ยึดติดกบัวตัถุ หรือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เป็นการพฒันาท่ีมุ่งการ

พฒันาจิตใจ มีความพอเพียงในการดาํเนินชีวิต มีเจตคติของการเคารพศกัด์ิศรีของชีวิตตนเองและคน

อ่ืน โดยมีภูมิคุม้กนัดว้ยความเช่ือศรัทธาต่อหลกัศาสนาและศีลธรรม

2.2.2 การพฒันาท่ีมุ่งสู่ความดีสงัคม : สงัคมท่ีมีบรรยากาศของการเคารพบุคคล

การมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีเต็มดว้ยเสรีภาพ โดยมีจิตสาํนึกต่อการใชเ้สรีภาพอยา่ง

ถกูตอ้ง สามารถใชเ้สรีภาพอย่างเต็มท่ี ดว้ยความสาํนึกรับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิตของตนสู่การเป็น

บุคคลท่ีสมบูรณ์น้ี จาํเป็นท่ีมนุษยต์อ้งดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนในสงัคม ในบรรยากาศของสงัคมท่ีเต็ม

ดว้ยการเคารพศกัด์ิศรีของบุคคล ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“...ชุมชนท่ีมีสุขภาวะท่ีดีตอ้งสะทอ้นและเคารพ/ยอมรับคุณค่าความดี

บุคคล....ตอ้งรู้จกัสร้างเวทีสัมพนัธ์บนความไวว้างใจซ่ึงกนัและกนั.....มีการยอมรับในตนเองและยอมรับ

คนอื่น และเคารพยอมรับความแตกต่างของมนุษย”์

(ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสงัคมฯ)

“แต่ละคนเป็นส่วนหน่ึงของสังคมและไม่อาจถูกมองวา่เป็นส่วนท่ีแยกจาก

ความเป็นจริงนั้น เพ่ือจะพฒันาสังคมตอ้งช่วยใหเ้กิดผลการพฒันามนุษย์ การทาํงานในสังคมเป็นการ

ทาํงานเพ่ือพฒันามนุษย.์.. เพ่ือท่ีจะใหก้ารพฒันามนุษยใ์นแต่ละคนและในทุกคนเป็นจริงได ้จาํเป็นตอ้งมี

การป้องกนัทางสังคม ท่ีอาํนวยความสะดวกใหแ้ต่ละบุคคลไดพ้ฒันาตามสิทธิอย่างเตม็ท่ี มุ่งสู่การพฒันา

มนุษยชาติทั้งหมด และไม่ไดจ้าํกดัเฉพาะบางคน หรือเฉพาะคนท่ีเขม้แขง็ท่ีสุดหรือรวยท่ีสุด”

(ผูอ้าํนวยการแผนกผูอ้พยพยา้ยถิ ่นและผูถ้กูคุมขงัฯ)

การพฒันามนุษยค์วบคู่กบัการพฒันาสงัคม บุคคลสามารถพฒันาชีวิตไดเ้ม่ืออยู่

ในสงัคมท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศของการเคารพความเป็นบุคคล มีความไวว้างใจกนั มีความ เป็นนํ้ าหน่ึงใจ

เดียวกนั ประหน่ึงเป็นครอบครัวเดียวกนั เป็นครอบครัวใหญ่ ครอบครัวมนุษยชาติท่ีมีพ้ืนฐานของการ

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษย ์ชุมชน/สังคม มีบทบาทสาํคญัต่อการปลูกฝัง/หล่อหลอมคน

ให้มีความเขา้ใจและปฏิบติัตนในเร่ืองเสรีภาพอย่างถูกตอ้ง มีสภาพแวดลอ้มท่ีดีบนพ้ืนฐานของการ

เคารพความเป็นบุคคล เป็นสังคมท่ีส่งเสริมให้บุคคลรวมตวักนัดว้ยบรรยากาศของการมีส่วนร่วม มี

ความสามคัคีและเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนั มีบรรยากาศของความไวว้างใจกนั มีระบบบริหารจดัการและ

สวสัดิการท่ีเหมาะสม บนหลกัของความพอดีและครอบคลุมทุกมิติของชีวิตและทุกคน ช่วยคนใหเ้ขา้ถึง

การศึกษาและมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ส่งเสริมให้สมาชิกมีความภาคภูมิใจในชีวิตและบริบทชีวิตของตน มี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

230

กฎหมายท่ีเป็นธรรมและส่งเสริมใหมี้การเคารพทุกชีวิตบนพ้ืนฐานของสิทธิมนุษยชน มีการส่งเสริมให้

สมาชิกในสงัคมเป็นศาสนิกชนท่ีดี ส่งเสริมวฒันธรรมท่ีดี เพ่ือให้สมาชิกปฏิบติัตนอย่างถูกตอ้งตาม

หลกัศีลธรรมและศาสนา เพ่ือมุ่งสู่การพฒันาชีวิตไปสู่ความดีงาม และความรอดพน้อนัเป็นเป้าหมาย

สูงสุดของความเช่ือตามหลกัศาสนา ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“ใหเ้ป็นสังคมท่ีช่วยเหลือกนัและกนั มีความสามคัคี...เน้นสร้างความเป็น

หน่ึงเดียวกนัในสังคม การร่วมมือซ่ึงกนัและกนั มีส่วนร่วมในกนัและกนั”

(ประธานกรรมาธิการฝ่ายสังคม)

“สังคมท่ีเป็นธรรม เท่ียงธรรม เปิดและให้โอกาสอย่างเท่าเทียมต่อการ

ส่งเสริมการพฒันามนุษย ์ หมายถึงการพฒันาท่ีเหมาะสมกบัสถานการณ์ในสังคม ทางสังคม ถูกตอ้งตาม

กฎหมายและตามกฎหมาย....มีการยอมรับในตนเองและยอมรับคนอื่น และเคารพยอมรับความแตกต่าง

ของมนุษย.์.. ชุมชนท่ีมีสุขภาวะท่ีดีตอ้งสะทอ้นและเคารพ/ยอมรับคุณค่าความดีบุคคล......สังคมตอ้งให้

ความสําคญัต่อการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนขั้นพ้ืนฐานของทุกบุคคลท่ีจะมีชีวติ มีงานทาํ มีรายได ้มีบา้น มี

การศึกษา มีสุขภาพท่ีดี”

(ผูอ้าํนวยการแผนกผูอ้พยพยา้ยถิ ่นและผูถู้กคุมขงัฯ)

การมุ่งสู่จุดหมายของการพฒันามนุษย ์ด้วยการมุ่งเสริมสร้างมนุษยใ์ห้เป็น

บุคคลท่ีมีวุฒิภาวะ และการสร้างสรรคส์งัคมท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศของการเคารพศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

จึงตอ้งดาํเนินการควบคู่กนั ไปสู่การเปล่ียนแปลงเจตคติของบุคคล จากการเห็นแต่ประโยชน์ส่วนตวั

ตามกระแสค่านิยมของสงัคม ท่ีมีพ้ืนฐานการพฒันาแต่เพียงมิติเศรษฐกิจ ดาํเนินชีวิตแบบปัจเจกท่ีละเลย

หรือปฏิเสธคนอ่ืน ไปสู่การเป็นบุคคลท่ีมีจิตอาสา มีนํ้ าใจ มีใจท่ีเสียสละ แบ่งปันและพฒันาชีวิตของ

ตนร่วมกบัคนอ่ืนในสงัคม เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เพ่ือความดีส่วนรวม รู้จกัยื่นมือช่วยเหลือคนอ่ืน

เพ่ือใหเ้กิดความเป็นธรรมหรือความเดือนร้อนในสงัคมในรูปแบบต่างๆ ดว้ยการปฏิบติัความรักดว้ยการ

รับใชผู้อ่ื้น ตามหลกัธรรมคาํสอนคริสตศ์าสนา นัน่เอง

2.3 เจตคต/ิท่าทีการพฒันา

การพฒันามนุษยด์ว้ยการเสริมสร้างการเป็นบุคคล ดว้ยความสาํนึกและรับผิดชอบ

ต่อสิทธิและเสรีภาพ เป็นการพฒันาท่ีเนน้ความสาํคญัของจิตใจ มุ่งสู่การปรับเปล่ียนเจตคติจากการยึด

ตนเองเป็นหลกั ไปสู่การใหค้วามสาํคญัต่อคุณค่าของจิตใจ ภายใตห้ลกัธรรมคาํสอนของศาสนา ท่ีสอน

ให้ลด ละ เลิกความเห็นแก่ตวั ไปสู่การมีจิตใจท่ีเคารพในคุณค่าศกัด์ิศรีของบุคคล โดยเฉพาะใน

สถานการณ์ของสงัคมท่ีดาํเนินตามกระแส/ค่านิยมท่ียดึเศรษฐกิจเป็นหลกั มุ่งพฒันาความมัง่มี ความมัง่

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

231

คัง่ในระดับวตัถุกายภาพ ละเลยหลกัศีลธรรมและคุณค่าทางศาสนา จนนําสู่การปฏิเสธความดีงาม

ปฏิเสธพระเจา้ จนเป็นท่ีมาของการเบียดเบียน ละเลย/ปฏิเสธคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้ม จนเป็นท่ีมาของ

วิกฤติการพฒันามนุษยใ์นสังคมปัจจุบนั อย่างไรก็ตาม แมจ้ะเกิดวิกฤติการพฒันามนุษยใ์นสังคม

ปัจจุบนั แต่เป็นโอกาสเพื่อการทบทวนแนวทางการดาํเนินชีวิตของแต่ละคนและสังคม เพ่ือการพฒันา

ชีวิตอยา่งเหมาะสมกบัการเป็นมนุษย ์ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“สภาพสังคมเต็มไปด้วยเง่ือนไขท่ีเป็นอุปสรรคต่อการพฒันาบุคคล จาก

สาเหตุของความละโมบ ความเห็นแก่ตวัของปัจเจกบุคคล การไม่คาํนึงถึงความยากลาํบากของคนอื่น

และรวมตวักนัแสวงหาประโยชน์ โดยการไปละเมิด หรือถือสิทธ์ิเอาประโยชน์จากส่ิงท่ีคนอื่นควรมีหรือ

ควรไดรั้บเช่นเดียวกบัตน...เม่ือสังคมไม่คาํนึงถึงกนัและกนั การสอนคนรุ่นใหม่ใหเ้คารพในศกัด์ิศรีของ

ตวัเอง และเคารพในคุณค่าของผูอ้ื่นก็อ่อนแอลง ซ่ึงทีละเลก็ทีละนอ้ยก็เป็นความนิ่งเฉย เมินเฉย มองขา้ม

อนัเป็นเหตุปัจจยัของการเร่ิมเขา้สู่ความรุนแรงทางจิตใจ และความรุนแรงทางกายภาพ”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

ดว้ยเหตุน้ี จึงจาํเป็นตอ้ง “กลบัใจ” กล่าวคือ การเปล่ียนแปลงเจตคติ จากการยึดแต่

เพียงผลประโยชน์ ยดึผลกาํไรทางเศรษฐกิจ หรือความมัง่คัง่ทางดา้นวตัถุ/ช่ือเสียง ไปสู่เจตคติของการ

เคารพศกัด์ิศรีของบุคคล มุ่งเสริมสร้างความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคลและส่ิงแวดลอ้มอย่างถูกตอ้ง บน

พ้ืนฐานของหลกัศีลธรรมและคุณค่าทางศาสนาและวฒันธรรมท่ีส่งเสริมการเคารพศกัด์ิศรีของบุคคล

ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“จุดเนน้ คือ การเปลี่ยนจิตใจคน การเปลี่ยนทศันคติของคน การทาํงานจะไม่

บรรลุเลย ถา้ไม่ไปสู่การกระทาํได ้ถา้ไม่มีการกลบัใจ ไม่มีการปรับเปลี่ยนทศันคติ”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

“ตอ้งรีบปรับรูปแบบการพฒันาเสียใหม่ เพ่ือลดวกิฤติทางศีลธรรม วฒันธรรม

สภาพแวดลอ้มของโลก เป็นตน้ ในระบบนิเวศน์ ท่ีส่งผลต่อสุขภาพ”

(ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสงัคมฯ)

เจตคติของการเคารพชีวิต เคารพความเป็นบุคคล ครอบคลุมทุกคน ทุกกลุ่ม อย่างไร

ก็ตาม ตอ้งให้ความเอาใจใส่เป็นพิเศษต่อกลุ่มคนดอ้ยโอกาส หรือกลุ่มคนท่ีถูกละเมิด ถูกเบียดเบียน

สิทธิ หรือไม่ไดรั้บความเป็นธรรมในสังคม ท่ีควรได้รับการปกป้อง ดูแลเอาใจใส่เป็นพิเศษเพ่ือให้

ไดรั้บสิทธิและโอกาสในการพฒันาชีวิตไดอ้ยา่งเท่าเทียมกนัในสงัคม เป็นเจตคติท่ีมีพ้ืนฐานทางจิตใจ

ท่ีมุ่งมัน่ ร่วมกนัสรรสร้างสงัคมใหมี้บรรยากาศของการเคารพศกัด์ิศรีของบุคคล เป็นสงัคมท่ีเปิดโอกาส

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

232

ใหทุ้กคนมีส่วนร่วม โดยมีกฎหมายมากาํกบั ติดตาม ภายใตก้ารบริหารจดัการท่ีดี ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญให้

สมัภาษณ์ ความว่า

“การทาํงานในพ้ืนท่ีของการช่วยเหลือ เราไม่ไดเ้ป็นแค่ผูใ้ห ้ ใหอ้าหาร ใหท่ี้อยู่

หรือเงิน ผ่านทางโครงการสังคมต่างๆ แต่ส่ิงท่ีสําคญักวา่คือ เราเป็นผูรั้บ เป็นการฟังท่ีจะเรียนรู้จากพวก

เขา เราตอ้งเคารพศกัด์ิศรีของพวกเขาและช่วยพวกเขาใหย้ืนหยดั/เสริมสร้างให้เขาตั้งอยู่บนศกัด์ิศรีของ

ชีวติและทาํใหดี้ข้ึน”

(ผูอ้าํนวยการแผนกผูอ้พยพยา้ยถิ ่นและผูถ้กูคุมขงัฯ)

จึงสรุปไดว้่า เจตคติของการเคารพการเป็นบุคคล เรียกร้องให้บุคคลมีใจท่ีเปิดกวา้ง

ใหก้าํลงัใจ ส่งเสริมใหเ้กิดความมัน่ใจและความภาคภูมิใจในชีวิต มีจิตสาํนึกว่าไม่มีใครอยู่เหนือหรือ

สูงส่งกว่าคนอ่ืน เพ่ือทาํใหเ้กิดบรรยากาศของการแบ่งปันประสบการณ์ชีวิต

2.4 แนวทางการพฒันามนุษย์

แนวทางการพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการเสริมสร้างการเป็นบุคคลดว้ยการบูรณ

การในทุกมิติของชีวิต เป็นการพฒันาท่ีใหค้วามสาํคญัต่อความสาํนึกในเสรีภาพดว้ยความรับผิดชอบ

ต่อการพฒันาชีวิตของตนร่วมกบัคนอ่ืนในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม เป็นแนวทางท่ีมุ่งเสริมสร้างบุคคลให้

มีจิตอาสา บนพ้ืนฐานของการเคารพ ยอมรับ นาํสู่การปฏิบติัความรัก ดว้ยการรับใชค้นอ่ืน ดว้ยความ

เคารพในศกัด์ิศรีของบุคคล เนน้ท่าทีทางจิตใจ อนัเป็นกระบวนการพฒันาท่ีตอ้งใชเ้วลา ค่อยๆ พฒันา

บนพ้ืนฐานของการเคารพความเป็นบุคคลท่ีทุกคนมีเท่าเสมอกนั ยอมรับความแตกต่างตามอตัลกัษณ์

ของกลุ่ม/บุคคล เป็นแนวทางท่ีใหค้วามสาํคญัต่อการสนบัสนุน การช่วยเหลือกนัดว้ยความเคารพเพ่ือ

ช่วยให้บุคคลมีใจท่ีเป็นอิสระ สาํนึกในเสรีภาพอย่างถูกต้องและสามารถใช้ศกัยภาพท่ีตนมีในการ

พฒันาชีวิตไดอ้ยา่งเต็มท่ี สอดคลอ้ง เหมาะสมและสมดุลกบัทุกมิติของชีวิต

2.4.1 ลกัษณะสาํคญัของแนวทางการพฒันา

ลกัษณะสาํคญัของแนวทางการพฒันามนุษย ์ มีองคป์ระกอบ ดงัน้ี

2.4.1.1 การเคารพชีวิต มุ่งเสริมสร้างบุคคลบนพ้ืนฐานของการพฒันาจิตใจ

แนวทางการพฒันาชีวิต ตามแนวทางของการสนบัสนุนการพฒันาชีวติ

ของบุคคล มีพ้ืนฐานอยู่บนการเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีของบุคคล แมแ้ต่ละคนจะแตกต่างดา้นกายภาพ

สถานภาพและบริบทชีวิต แต่ทุกคนเท่าเทียมกนัในความเป็นมนุษย ์ทุกคน /ทุกลุ่มจึงต้องไดรั้บการ

ปฏิบติัดว้ยความเคารพ โดยใหค้วามสาํคญัต่อการพฒันาจิตใจ ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

233

“การตั้งอยู่บนการให้ความเคารพในความแตกต่างของกลุ่มคน

ไม่วา่เขาจะเป็นเกษตร บา้นนอก แรงงานอพยพ เราเคารพในความแตกต่างของพวกเขา นาํสู่การยอมรับ

ในความเป็นอยู่ และการไม่ล่วงละเมิด ตอ้งยอมรับกนัก่อน มิฉะนั้นจะไปดว้ยกนัไม่ได.้.. บางที เรา

ทาํงานมนัอาจสวนกระแส.. ท่ีเขามองฐานะทางเศรษฐกิจ การกินดีอยู่ดีเป็นหลกั แต่เรามองส่ิงเหล่าน้ี เป็น

เคร่ืองมือ แต่เรามองการพฒันาคนทั้งครบ ซ่ึงมีพ้ืนฐานบนการพฒันาจิตใจโดยใชเ้ศรษฐกิจเป็นเคร่ืองมือ”

(ผูอ้าํนวยการแผนกสุขภาพอนามยั)

2.4.1.2 การมีความเช่ือศรัทธาอยา่งถกูตอ้งในศาสนา/หลกัศีลธรรม

แนวทางการพฒันาตอ้งเน้นให้บุคคลมีความเช่ือศรัทธาอย่างถูกตอ้ง

ในคาํสอนของศาสนาท่ีตนนบัถือ นาํสู่การปฏิบติัตนถูกตอ้งตามหลกัศีลธรรม การให้ความสาํคญัต่อ

จิตใจ/จิตวิญญาณ มีจิตใจท่ีเสียสละเพ่ือความดีในชีวิตและประโยชน์สุขของส่วนรวม มีการปฏิบติัตน

ตามศาสนกิจเพ่ือหล่อเล้ียง เสริมสร้างและขดัเกลาชีวิตดว้ยความเช่ือศรัทธาท่ีถูกตอ้งตามคาํสอนของ

ศาสนา ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“ศาสนาตอ้งมีบทบาทท่ีจะเป็นตวัเร่งปฏิกิริยาและเป็นป้อมปราการ

ของการพฒันามนุษย”์

(ผูอ้าํนวยการแผนกผูอ้พยพยา้ยถิ ่นและผูถ้กูคุมขงัฯ)

2.4.1.3 การไตร่ตรอง “เคร่ืองหมายของกาลเวลา”

แนวทางการพฒันามนุษย ์ต้องมีการไตร่ตรอง “เคร่ืองหมายของ

กาลเวลา” กล่าวคือ การพิจารณาปรากฏการณ์/สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสังคมอย่างลึกซ้ึง ในทุกมติและ

ต่อเน่ือง ศึกษาอดีต ปัจจุบนัและแนวโน้มในอนาคต อนัเป็น “ความเป็นจริงของสังคม” เพ่ือนาํสู่การ

จดัลาํดบัคุณค่า ประเด็น ความสาํคญัก่อนหลงัและการออกแบบวิธีการท่ีเหมาะสมในการปฏิบติั ดงัท่ี

ผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“ความเป็นจริงตามสถานการณ์ของสังคม เป็นอีกองคป์ระกอบท่ี

เราตอ้งใส่ใจ เราตอ้งพิจารณา ไตร่ตรองอยู่เสมอ เพ่ือเขา้ใจการพฒันาร่วมสมยัน้ี ซ่ึงส่งผลกระทบต่อการ

พฒันาบุคคลในสังคมหรือไม่ โดยเฉพาะการบิดเบือนการใช้เสรีภาพของฝ่ายหน่ึง ไดไ้ปคุกคาม หรือ

รบกวน อีกฝ่ายหน่ึง ทาํใหไ้ม่สามารถแสดงออกซ่ึงเสรีภาพอย่างเตม็ท่ีในฐานะมนุษยผ์ูมี้ศกัด์ิศรีและสิทธิ

ท่ีเท่าเทียมกนัหรือไม่”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

234

2.4.1.4 การบูรณการทุกมิติของชีวิตและสงัคม

แนวทางการพฒันามนุษย ์เนน้การบูรณการท่ีครอบคลุมทุกมิติของการ

ดาํเนินชีวิตมนุษย ์ไม่แยกส่วน แต่เนน้การทาํงานแบบองคร์วม นาํสู่การใชว้ิธีการท่ีเหมาะสม ถูกตอ้ง

ตามหลกัศีลธรรมและกฎหมาย เพ่ือมุ่งสู่การพฒันาดว้ยความสาํนึกรับผดิชอบต่อชีวิตตนเอง คนอ่ืนและ

ส่งแวดลอ้มอยา่งสมดุล ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“ไม่แยกเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงออกจากกนั เนน้บูรณการทุกมิติร่วมกนั

หลกัการคือ การทาํใหค้นในสังคม คนท่ีเราทาํงานดว้ยมีความเขา้ใจและปฏิบติัสิทธิ สํานึกในสิทธิ สํานึก

ในความรับผิดชอบ ต่อหนา้ท่ีท่ีมีต่อความรับผิดชอบ”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

“เราจะมองถึงความเป็นหน่ึงเดียวกบัธรรมชาติ ระบบนิเวศ การ

รักษโ์ลก พยายามลดเคมี มองมากกวา่นั้น พฒันาโดยใหค้นอยู่ดีแบบยาว ย ัง่ยืน ไม่ใช่แก้ปัญหาเฉพาะ

หนา้ นาํสู่ปัญหาอื่นท่ีตามมา”

(ผูอ้าํนวยการแผนกสุขภาพอนามยั)

2.4.1.5 การมีส่วนร่วมในการพฒันา บนความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคล

แนวทางการพฒันา เน้นการเสริมสร้างความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคล

การเปิดโอกาส เปิดพ้ืนท่ีใหทุ้กคน ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม บนพ้ืนฐานของการเขา้ใจ เคารพ ยอมรับกนั

ในบรรยากาศของความไวว้างใจในการพฒันาชีวิตร่วมกนั มีการกาํหนดบทบาทหนา้ท่ี กาํหนดเจา้ภาพ

ท่ีชดัเจน เนน้การประสานงานในการทาํงานร่วมกนั

“เราตอ้งสร้างความมีส่วนร่วม ตรงน้ีสําคญั บรรยากาศท่ีทุกคนมี

ส่วนร่วม จะทาํใหเ้กิดความภูมิใจในตนเองว่างานน้ีเรามีส่วนร่วม เพ่ือช่วยกนัพฒันา ...ในบรรยากาศ

การแบ่งปันประสบการณ์ชีวติเพ่ือเขา้ใจคนอื่นมากข้ึน ... ถา้เราเขา้ใจกนัดี รู้จกักนัดี เราคุยกนั แบ่งปัน

กนั เวลาพูดออกมา เราจะเขา้ใจกนัมากข้ึน เขา้ใจเบ้ืองหลงัของชีวิตของสมาชิกในกลุ่มก็จะทาํให้การ

พฒันา หรือการเคารพซ่ึงกนัและกันมีมากข้ึน... ดงันั้น จึงคิดว่า บรรยากาศของการมีส่วนร่วม การ

แบ่งปัน ความซ่ือสัตยต์อ้งมี การตั้งใจท่ีจะช่วยเหลือซ่ึงกนัและกนั ”

(ประธานกรรมาธิการฝ่ายสังคม)

“ตอ้งมีหลายเจา้ภาพ มาวางแผนร่วมกนั เพ่ือสร้างวธีิประสานงาน

กนั วธีิน้ีเหมาะสําหรับโครงการไร้พรมแดน ลดอาํนาจเผด็จการ แต่วางหน้าท่ีตามลาํดบัชั้น เพ่ือช่วยให้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

235

ทุกฝ่ายทาํงานรวมกนั งานท่ีครอบคลุมหลายพ้ืนท่ี ตอ้งมีเจา้ภาพ เพ่ือแก้ไขปัญหาท่ีอาจจะคิดข้ึน ขณะท่ี

เดินทางสู่เป้าหมายใหม่รวมท่ี เป็นผลประโยชน์ของทุกๆ คน แต่เจา้ภาพชนิดน้ี มีอาํนาจเพียงเพ่ือแจกงาน

และทาํใหง้านเดินไปตามแผน ไม่ทาํให ้ใครสูญเสียอิสรภาพ”

(ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสงัคม)

2.4.1.6 การพฒันาในครอบครัว /ชุมชน

การพัฒนามนุษย์ เป็นการพัฒนาท่ีให้ความสําคัญต่อครอบครัว /

ชุมชน/พ้ืนท่ี ซ่ึงเป็นรากฐานของการปลูกฝังคุณค่าท่ีถูกตอ้งในการพฒันาชีวิต ครอบครัวมีบทบาท

สาํคญัต่อการพฒันา แนวทางการพฒันาต้องมุ่งเสริมสร้างความเขม้แข็งของครอบครัวและชุมชน

เพ่ือใหเ้กิดการพฒันาอยา่งลึกซ้ึงและย ัง่ยนืในบุคคล ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“เ น่ืองจากมนุษย์เกิดจากครอบครัว และมีสังคมช่วยทําให้

ครอบครัวเขม้แขง็ มนุษยจึ์งตอ้งอาศยัครอบครัว และสังคมเพ่ือพฒันา”

(ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสงัคม)

“สถาบนัครอบครัว ท่ีเป็นปฐมบท ในการขบัเคลื่อนความเช่ือให้

มีชีวิต ดว้ยปลูกฝัง และส่งเสริมการฝึกปฏิบติัความเช่ือพ้ืนฐาน ให้ปรากฏออกมาในการดาํเนินชีวิต

ครอบครัวมีความสําคญั ถา้สมาชิกในครอบครัวมีความเช่ือ ก็ไดช่้วยใหบ้รรยากาศของครอบครัวเป็นเวที

ในการพฒันาสมาชิกในครอบครัว ใหใ้ชเ้สรีภาพอย่างถูกตอ้ง”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

2.4.1.7 การพฒันาดว้ยความเคารพอตัลกัษณ์บุคคลในบริบทวฒันธรรม

แนวทางการพฒันา ตอ้งไม่ละเลยต่อคุณค่าความเป็นบุคคล ท่ีมีอตั

ลกัษณ์ มีภูมิหลงัและบริบทของชีวิต โดยเฉพาะวฒันธรรม ประเพณี ประวติัศาสตร์ วิถีชีวิตและภูมิ

ปัญญา อนัเป็นมรดกลํ้ าค่าท่ีถ่ายทอดจากชนรุ่นหน่ึงสู่อีกรุ่นหน่ึง การส่งเสริมให้มีความภาคภูมิใจใน

ความเป็นมาในชีวิตของตนในชุมชน ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“ในแต่ละชุมชนย่อยมีวฒันธรรม และความเช่ือ ตามบริบท

ส่ิงแวดลอ้มของชุมชนนั้น ๆ วถิีชีวติของแต่ละชุมชน แต่ละเผ่าพนัธ์ุย่อมแตกต่างกนั ดงันั้น วฒันธรรม

ทอ้งถิ ่นย่อมมีอิทธิพลต่อการพฒันาเสรีภาพของบุคคล”

(ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสงัคม)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

236

2.4.1.8 การส่งเสริมความสมัพนัธ ์การเปิดโอกาส การเปิดพ้ืนท่ี/การเสวนา

แนวทางการพฒันา เน้นการมีความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคล เรียกร้อง

ใหมี้การพบปะ การรู้จกักนั พดูคุยกนั มีการเสวนา แลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างบุคคล องค์กร/หน่วยงาน

เพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู้จากประสบการณ์ของบุคคล เพ่ือประโยชน์ต่อการนาํไปประยุกต์ใชใ้นการ

พฒันาชีวิต ดว้ยการส่งเสริมโอกาสให้บุคคลไดเ้รียนรู้ดว้ยการลงมือปฏิบติัจริง เพ่ือเสริมสร้างให้

บุคคลไดพ้ฒันาดว้ยการพ่ึงตนเอง ดว้ยการใชก้ารจดักิจกรรมเพ่ือใหเ้กิดการเรียนรู้และจิตอาสา รวมถึง

การเปิดพ้ืนท่ี การจดัเวทีสาธารณะเพื่อการพบปะแลกเปล่ียนเรียนรู้กนั โดยเฉพาะในกลุ่มคนท่ีเดือดร้อน

ดอ้ยโอกาส ไม่ไดรั้บความเป็นธรรมในสงัคม ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ว่า

“แนวทางคือ จะทาํอย่างไรให้มาพูดคุยกนั การฟังกนั สอง คือ

ถา้มีประเดน็ท่ีสามารถเป็นเวทีสาธารณะ โดยเฉพาะคนท่ีไม่ค่อยชอบหนา้กนั...เปิดพ้ืนท่ีใหเ้ขาไดพ้บปะ

กนั ให้เขาเห็นว่าชาวบา้นก็มีอะไรดีๆ เยอะ เขาสามารถแสดงให้เห็นถึงชีวิตความเป็นอยู่ท่ีส่งเสริม

ส่ิงแวดลอ้ม เช่น การบวชป่า เป็นอย่างไร หรือวฒันธรรมท่ีส่งเสริมการเคารพผูอ้าวโุส การให้เกียรติกนั

เขาทาํกนัอย่างไร ขอเชิญนายอาํเภอ ผูบ้ริหารส่วนทอ้งถิ ่นมา ตอ้งเปิด ไม่ปิดกั้น และจะสะทอ้นกลบัมา

หาชาวบา้นท่ีจดัเอง ทาํใหเ้กิดความเขม้แขง็ต่อไป”

(สัมภาษณ์/ รักษาการผูอ้าํนวยการแผนกกลุ่มชาติพนัธ์ุ)

2.4.1.9 การเสริมสร้างความรู้และจิตสาํนึก

แนวทางการพัฒนาจะเน้นการจัดการศึกษาอบรม ในฐานะเป็น

เคร่ืองมือของการปลูกฝังความรู้ นาํสู่การมีคุณธรรม หรือมีจิตสาํนึกในการดาํเนินชีวิตอย่างถูกตอ้ง

เหมาะสม และสมดุลกบัสภาพของบุคคล ดงันั้น การจดัการอบรมเพ่ือเสริมสร้างความรู้และจิตสาํนึก จึง

เป็นแนวทางสาํคญัของการจดัการพฒันา ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“ใชแ้นวทางใหก้ารศึกษาเพ่ือกระตุน้จิตสํานึก เป็นหลกัสําคญัใน

การส่งเสริมการพฒันาเจตคติของบุคคล ให้มีความต่ืนตวัต่อประเด็นทางสังคม โดยอาศยัวิธีการอบรม

สัมมนา ผลิตส่ือส่ิงพิมพ์ การบรรยาย ซ่ึงวิธีการเหล่าน้ี ตอ้งกระทาํอย่างต่อเน่ือง เพ่ือทาํให้บุคคลมี

ความสํานึกทางสังคม โดยเฉพาะเม่ือมีประเดน็ทางสังคม เราตอ้งจดักิจกรรมให้การศึกษา รณรงค์ จดั

สัมมนาใหเ้ขา บางทีเขาสนใจถึงปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึน แต่ไม่รู้ท่ีมาท่ีไป ไม่ทราบว่าความจริงคืออะไร

เราตอ้งช่วยให้เขาเขา้ใจสถานการณ์ เขา้ใจความเป็นจริง เขา้ใจสาระสําคญัในส่ิงท่ีเกิดข้ึน เม่ือเขา้ใจ

คนเราจะเปลี่ยน”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

237

2.4.1.10 การรวมกลุ่ม การเสริมสร้าง/หล่อเล้ียงภาวะผูน้าํ

การรวมกลุ่ม ถือเป็นส่ิงสําคัญของการจัดการพัฒนาอย่างย ัง่ยืน

เน่ืองจากมนุษยมี์ธรรมชาติท่ีตอ้งอยู่ร่วมกนัเป็นสังคม แนวทางการพฒันาจึงมีลกัษณะการรวมกลุ่ม

การทาํทาํงานเป็นทีม การ เสริมสร้างและพฒันาภาวะผูน้าํใหเ้ป็นผูน้าํท่ีมีจิตอาสาในกลุ่ม/ชุมชน/พ้ืนท่ี

อย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ บรรดาเยาวชนท่ีจะเติบโตเป็นผูใ้หญ่ต่อไป ดังท่ี

ผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“...การรวมกลุ่มทาํใหเ้ขาเขม้แข็ง ทาํให้สังคมยอมรับกลุ่ม และ

แบ่งปันความรู้ใหเ้กิดการพฒันาศกัยภาพเท่าท่ีเขาทาํได.้.. เรามองถึงผูน้าํชุมชน ถา้มีแต่เรา จะไม่ย ัง่ยืน

ทุกคนในชุมชนนั้นตอ้งมีส่วนร่วม ในสองสามปีมีการอบรมผูน้าํชุมชนใหเ้ขาทาํกิจกรรมของเขาเอง การ

สร้างเครือข่าย ผูน้าํชุมชน ...”

(ผูอ้าํนวยการแผนกสุขภาพอนามยั)

“จะเนน้สร้างความเป็นหน่ึงเดียวกนัในสังคม การร่วมมือซ่ึงกนั

และกนั ใหพ้วกเขามีส่วนร่วมดว้ย เราจะเนน้ในการสร้างผูน้าํในสังคม จะเนน้ไปในทางการอาสาสมคัร

จิตอาสา ปัจจุบนัเรามีหน่วยงานท่ีเป็นลกัษณะจิตอาสา พอมีเหตุการณ์นํ้ าท่วม จิตอาสาออกทนัที ออกไป

ช่วย”

(ประธานกรรมาธิการฝ่ายสังคม)

“ใหค้วามสําคญักบัการจดัอบรมแก่คนรุ่นใหม่... ให้มีจาํนวนคน

รุ่นใหม่ท่ีเป็นตวัแทนเพ่ือการเปล่ียนแปลงสังคมให้ดีข้ึน เพิ่มมากข้ึน... เพ่ือให้เขาตระหนกัถึงการใช้

เสรีภาพอย่างถูกตอ้ง...”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

2.4.1.11 การเช่ือมโยงเครือข่าย

เพ่ือให้การพฒันาเป็นไปอย่างเข้มแข็ง ย ัง่ยืน ดังนั้ น แนวทางการ

พฒันาตอ้งมุ่งสร้างเครือข่าย โดยมีจิตสํานึกว่าทุกคน ทุกภาคส่วนตอ้งมีส่วนร่วมในการพฒันา เพ่ือ

ประโยชน์ของมนุษยโ์ดยรวม เครือข่ายน้ี นอกจากจะเช่ือมโยงกบัหน่วยงาน/องค์กรการพฒันามนุษย์

แลว้ ยงัตอ้งรวมถึงบุคคลผูมี้ส่วนไดเ้สียในเร่ืองนั้นๆ ดว้ย ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“ไม่ใช่แค่เรากลุ่มเดียว แต่ตอ้งมีการพบปะกนัในหมู่องคก์รท่ีทาํ

การพฒันา ตอ้งทาํ ไปร่วมกนั ช่วยกนั เรียกร้องร่วมกนั ...เรามีเครือข่าย แต่ส่ิงท่ีต่างจากองคก์รอื่นๆ คือ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

238

เราเนน้การมองคนทั้งครบ ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ เราจึงมีทั้งส่วนท่ีเหมือนและต่างจากลุ่ม

อื่นๆ...การสร้างเครือข่ายแก่ ผูมี้ส่วนได.้..เราตอ้งเขา้หาคนท่ีมีส่วนไดส่้วนเสีย การสร้างสมาคม คลบัของ

ผูป้กครองในพ้ืนท่ี ในกลุ่มท่ีเก่ียวขอ้ง รวมกลุ่ม เครือข่าย เราไม่อาจทาํไดด้ว้ยตวัเราเอง เราแบกโลกทั้ง

โลกไม่ได ้แต่เราตอ้งส่งเสริมใหแ้ต่ละคนแบกคนของตน และจะเกิดความต่อเน่ือง จากรุ่นสู่รุ่น รุ่นเก่า

จบไป รุ่นใหม่เขา้มาต่อไปเร่ือยๆ”

(ผูอ้าํนวยการแผนกสุขภาพอนามยั)

จึงสรุปไดว้่า การพฒันามนุษยจึ์งมีลกัษณะเป็นกระบวนการพฒันาท่ีมุ่งสู่การ

ปรับเปล่ียน/เสริมสร้างเจตคติในการดาํเนินชีวิต เนน้การพฒันาจิตใจ ดว้ยการเสริมสร้างจิตสาํนึก ไปสู่

การปรับเปล่ียนเจตคติท่ีถกูตอ้ง มีการรวมกลุ่ม มีกิจกรรม มีการบริหารจดัการท่ีดี มีผูน้าํเป็นทีมงานท่ี

เนน้จิตอาสา มีการขยายงาน/โอกาสอยา่งต่อเน่ือง โดยมีพ้ืนฐานอยู่บนการพฒันาชีวิต บนพ้ืนฐานของ

การเคารพคุณค่า และศักด์ิศรีการเป็นบุคคลตามหลกัธรรมคําสอนของศาสนา ดังท่ีประธาน

คณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสงัคม ไดส้รุปแนวทางโดยอา้งอิงและประยุกต์คาํสอนจากพระ

คมัภีร์คริสตศ์าสนา ท่ีเสนอรูปแบบ/แนวทางการพฒันามนุษยข์องคริสตชนยุคแรกท่ีบรรยายผ่านทาง

หนงัสือกิจการอคัรสาวก (กจ 2 : 42 – 47) ว่าประกอบดว้ยคุณลกัษณะสาํคญั ไดแ้ก่

“1. ปฏิบติัศาสนกิจเพ่ือพฒันาชีวิตจิต 2. มีผูน้าํท่ีเขม้แข็งและเป็น

คณะบุคคล 3. มีการรวมกลุ่มทาํกิจกรรมร่วมกนั 4. มีระบบบริหารกิจกรรมของกลุ่ม 5. มีการช่วยเหลือ

คนยากจน 6. มีพิธีกรรมนมสัการพระเป็นเจา้ และ 7. มีการขยายงานธรรมทูต”

(ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสงัคม)

สอดคลอ้งกบัผูอ้าํนวยการแผนกยติุธรรมและสนัติ ใหส้มัภาษณ์โดยสรุปความ

ท่ีแสดงถึงลกัษณะเฉพาะของแนวทางการพฒันามนุษย ์ ความว่า

“ลกัษณะเฉพาะของเรา คือ เราทาํงานในเร่ืองของการส่งเสริมสิทธิ

มนุษยชน ความยุติธรรมและสันติภาพ โดยเช่ือมัน่วา่ สันติภาพเป็นเป้าหมายปลายทาง สิทธิมนุษยชน

เป็นหลกัพ้ืนฐาน และการปฏิบติัความยุติธรรมเป็นแนวทาง และมีความเช่ือทางศาสนา เป็นหลกัยึด”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

2.4.2 กระบวนการพฒันา

กระบวนการพฒันามนุษย ์ เพ่ือปรับเปล่ียนเจตคติและเสริมสร้างภูมิคุม้กนัการ

พฒันาชีวิตบนพ้ืนฐานของการเคารพศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย์ จึงให้ความสําคัญต่อการจัดอบรม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

239

เสริมสร้างความรู้ด้วยหลกัธรรมคําสอนของศาสนา เพ่ือนําสู่การปรับเปล่ียนพฤติกรรม ทั้ งน้ี

กระบวนการทาํงานดา้นการพฒันามนุษย ์มีขั้นตอนท่ีสาํคญั ไดแ้ก่ การทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์

หรือความเป็นจริงท่ีเกิดข้ึนชีวิตและสังคมอย่างลึกซ้ึง หลายวิธีการ ทั้งการศึกษาวิจยั การลงไปสัมผสั

ชีวิต ฯลฯ เพ่ือไดข้อ้มูลในหลายแง่มุม จากนั้นจึงวิเคราะห์ ไตร่ตรองส่ิงท่ีเกิดข้ึน การจดัลาํดบัคุณค่า

และการวางแผนการดาํเนินการ ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ว่า

“. . .ไปอยู่ ในพ้ืนท่ีและทําวิจ ัยเล็กๆ เ ก่ียวกับเ ร่ืองประว ัติศาสตร์

วฒันธรรม ประเพณีของพ้ืนท่ี/ชุมชน เพ่ือนาํมาใช้ในการพฒันา...เน้นให้มีการทาํงานวิจยัในพ้ืนท่ี ...

งานวจิยัมาจากชาวบา้น และมีนกัวชิาการมาช่วย...”

(รักษาการผูอ้าํนวยการแผนกกลุ่มชาติพนัธ์ุ)

“ในเร่ืองน้ี จาํเป็นตอ้งมีการรับฟัง และพิจารณา และมีข้อมูลอื่นๆ มา

ประกอบ เม่ือเขา้ชุมชน ตอ้งรับฟังเตม็ท่ี...ดูขอ้มูลหลายๆ ดา้น ไดท้ราบขอ้มูลท่ีมาของปัญหาชุมชน...

เราตอ้งฟังขอ้มูล เพ่ือพิจารณาในขอ้มูลหลายๆ ดา้น หลายๆ มุม”

(ผูอ้าํนวยการแผนกพฒันาสังคม)

“เรามีการวางแผน การดาํเนินงาน ติดตาม ตรวจประเมินภายใน ภายนอก

ทุกอย่าง เหมือนกบัองคก์รอื่นๆ แต่ส่ิงท่ีต่างกนั คือ ... เรามองคนเป็นหลกั ...มีประเดน็อื่นๆ เขา้มาอย่าง

ต่อเน่ือง ทาํแลว้ไม่ทิ ้ง มีความผูกพนั เราทาํต่อเน่ืองกบักลุ่มคนต่อไป แมเ้ขาพฒันาแลว้ นอกจากนั้น

งานพฒันาของเรา เรามีเครือข่ายท่ีหนาแน่นในระดบัต่างๆ... ทั้งระดบัชุมชน และทุกภาคส่วน...เวลาท่ีเรา

มีประชุมใหญ่ จะมีการพูดคุยปัญหาต่างๆ ของสังคม วนัน้ีสังคมมีปัญหาอะไร จะเกิดความคิดว่าใคร

รับผิดชอบ มีการกาํหนดคน คณะฯ และส่งต่อไประดบัต่างๆ ในภูมิภาค และเก่ียวขอ้งกบัภูมิภาคไหน

บา้ง ท่ีมา ท่ีไป เช่น เกษตรกรในเอเชียใต ้ ถูกเอาเปรียบจากนายทุน ไม่มีการรวมตวักนั ก็ถูกเอาเปรียบ

ใหเ้ขารวมตวักนั ทาํใหถู้กวธีิ ยงัมีประเด็นการรักษ์โลกเขา้มา ฯลฯ ปัญหาเหล่าน้ี ถูกพูดในระดบัชาติ

และภูมิภาค และตั้งเป็นคณะกรรมการระดบัต่างๆ เม่ือเราพบปะกนั แบ่งปันกนั ปัญหาท่ีถูกพบ ถูกพูด

บ่อย ก็จะถูกติดตามในการประชุมทางเวทีใหญ่ของเรา ซ่ึงมาจากทุกพ้ืนท่ี พบปัญหาท่ีถูกพูดบ่อยๆ นาํสู่

การกาํหนดเจา้ภาพโดยส่วนกลาง ไม่ใช่เราคิดเอง เออเอง แต่ตอ้งมีการถามไถ่กนัและกนั และกาํหนด

ปัญหาสําคญัก่อนหลงั อะไรจาํเป็นมากท่ีสุด จดัเรียงกนัมา”

(ผูอ้าํนวยการแผนกสุขภาพอนามยั)

กระบวนการพฒันามนุษย ์จาํเป็นตอ้งมีการวางแผนการดาํเนินงานอย่างเป็น

ระบบ ให้ความสาํคญัต่อการมีส่วนร่วมของผูเ้ก่ียวข้องในการดาํเนินการทุกขั้นตอน มีการประยุกต์

วิธีการการดาํเนินงานของหน่วยงาน/องคก์รต่างๆ ท่ีประสบผลสาํเร็จในการพฒันามนุษยม์าประยุกต์ใช้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

240

ในการบริหารจดัดา้นการพฒันา รวมถึงมีการประชุมติดตามการดาํเนินงานอยา่งเป็นระบบและต่อเน่ือง

เพ่ือมุ่งสู่การบรรลุเป้าหมายตามแผนงานหรือโครงการท่ีวางเอาไว ้จึงกล่าวไดว้่าเป็นการดาํเนินงานท่ียดึ

เป้าหมายเป็นหลกัคือ การเสริมสร้างบุคคล โดยประยุกต์วิธีการทาํงานท่ีเหมาะสม สอดคลอ้งและมี

ความเป็นไปไดใ้นบุคคล/กลุ่มบุคคล หรือพ้ืนท่ีในการทาํงาน โดยพิจารณาเป็นรายกรณี มีโครงการ/

กิจกรรมมารองรับ และให้ความสําคัญต่อการจัดอบรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ในประเด็นของสังคม

รวมถึงการส่ือสารใหส้งัคมรับรู้ โดยมีสาระสาํคญั ดงัน้ี

2.4.2.1 การทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์

ขั้นตอนแรกของกระบวนการพฒันามนุษย ์ไดแ้ก่ การศึกษาเชิงลึก

เพ่ือทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์/ความเป็นจริงของชีวิตและสงัคม ไม่ใช่แค่การสังเกต แต่เป็นการศึกษา

ในเชิงลึกของปรากฏการณ์ ดว้ยการลงไปสมัผสัในรายละเอียด ทุกมิติ ดว้ยวิธีการต่างๆ ข้ึนอยู่กบัสภาพ

ของบุคคล เช่น การลงไปสัมผสัชีวิต การลงพ้ืนท่ี การสํารวจ เพ่ือให้เกิดความท้าทายและความต่ืน

ตระหนกัเก่ียวกบัชีวิตและสงัคมมากข้ึน มีความสาํนึกท่ีจะพฒันาชีวิตดว้ยตวัของเขาเอง

2.4.2.2 การวิเคราะห์ ไตร่ตรอง

ขั้นตอนต่อมา คือ การไตร่ตรอง ทบทวนชีวิต ดว้ยหลกัธรรมคาํสอน

ของศาสนา นาํสู่การจดัลาํดบัคุณค่าอยา่งเหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลตามสถานภาพของชีวิต

2.4.2.3 การออกแบบเคร่ืองมือ/กิจกรรม

หลงัจากไดศึ้กษาเชิงลึกเก่ียวกับปรากฏการณ์ (การทา้ทาย/การต่ืน

ตระหนกั) นาํสู่การไตร่ตรอง ทบทวนดว้ยหลกัธรรมคาํสอนของศาสนา จากนั้นจึงเป็นการออกแบบ

เคร่ืองมือ ในลกัษณะการจดักิจกรรมท่ีเหมาะสมกบับุคคล/กลุ่มบุคคล เพ่ือนาํสู่การปรับเปล่ียนเจตคติ

การดาํเนินชีวิต

ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“ใชก้ระบวนการ…ใหเ้ขาไดส้ัมผสั (Exposure) ...ไปสํารวจ...ลงพ้ืนท่ี ...

เพ่ือใหเ้ขามีความต่ืนตระหนกัทางสังคมมากข้ึน ให้เขาไดส้ัมผสัความเป็นจริงทางสังคมดว้ยตวัเขาเอง

เราใหข้อ้มูล คาํสอน แนวทาง และใหเ้ขาลงพ้ืนท่ี เพ่ือสัมผสัความเป็นจริงทางสังคม...เราใช้การศึกษา

ความจริง เพ่ือใหเ้กิดการทา้ทายจากส่ิงท่ีเกิดข้ึนในสังคม...หลงัจากนั้นก็มีไตร่ตรองร่วมกนัโดยอาศยัหลกั

คาํสอน หรือความเช่ือทางศาสนา... และค้นหาส่ิงท่ีเป็นคุณค่าใหม่ ท่ีเกิดข้ึน....ให้เข้าใจมิติสิทธิ

มนุษยชน และความยุติธรรม และปฏิบติัสิทธิมนุษยชนและความยุติธรรม ท่ีไม่ใช่แค่เพียงมิติของ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

241

กฎหมาย แต่บนหลกัคาํสอนทางศาสนา โดยเฉพาะหลกัของการปฏิบติัความยุติธรรมดว้ยความรัก...

คน้หาส่ิงท่ีเป็นคุณค่าใหม่ ท่ีเกิดข้ึน เพ่ือนาํไปสู่การเปลี่ยนแปลง และหาทางออกรูปธรรมท่ีสามารถทาํได ้

เพ่ือคลี่คลายปัญหา...การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

การจดักระบวนการพฒันามนุษย ์ใหค้วามสาํคญัต่อการทาํงานอยา่งเป็นระบบ

เป็นคณะทาํงานท่ีมีการประชุม/เสวนาแลกเปล่ียนเรียนรู้กัน เพ่ือการศึกษาสภาพท่ีเกิดข้ึน นําสู่การ

ไตร่ตรองและวางแผนการดาํเนินงาน แต่ส่ิงท่ีสาํคญัท่ีควบคู่กบัการทาํงานอยา่งเป็นระบบ คือ การมีจิต

ตารมยห์รือการมี “นํ้ าใจ” ในการทาํงาน โดยเน้นจิตอาสาท่ีนําสู่การทาํงานเพื่อการพฒันา มีการ

ติดตาม/ประเมินการพฒันา โดยพิจารณาจากบุคคลท่ีเขา้สู่กระบวนการพฒันาว่ามีการปรับเปล่ียนเจต

คติในการดําเนินชีวิต มีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการดําเนินชีวิตอย่างต่อเน่ืองหรือไม่ ผูเ้ข้า

กระบวนการพฒันาสามารถพฒันาดว้ยตวัเขาเองหรือไม่ มีจิตอาสาในการดาํเนินชีวิตมากน้อยเพียงใด

ซ่ึงตอ้งใชเ้วลาในการพิจารณา ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“...มีระบบ มีการจดัการองค์กร..ตอ้งมีระบบ และมีนํ้ าใจด้วย ดูเป็น

กรณีๆ ทาํให้เกิดความสัมพนัธ์ส่วนบุคคล ซ่ึงตอ้งสอดคลอ้งกับระบบ...ในการทาํงานทางสังคม..มี

กระบวนการคดัเลือกสรรทางสังคมท่ีคดัสรรบุคคล ทาํให้คนบางคนท่ีไม่เขา้พวก ท่ีสวนทาง ทาํให้เขา

ออกไปเอง...”

(ผูอ้าํนวยการแผนกพฒันาสังคม)

“คนท่ีไดรั้บการพฒันาท่ีเราไปทาํงานดว้ย ดูไดจ้ากเขามีการตดัสินใจ

เขามีกรอบความคิดท่ีไปดว้ยกนัไดก้บังานหรือกบัการท่ีเขาเป็นจิตอาสา และผลคือ งานเดินไปดว้ยดี ดี ท่ี

เป็นรูปธรรม เช่น คนป่วยท่ีเขาไม่มีบตัร เดินทางจากพม่า คนกลุ่มน้ี (ท่ีเราส่งเสริมให้เกิดการพฒันา)

เขาพาไปหาหมอทนัที โดยผ่านทางอนามยั ทาํหนงัสือส่งตวั ไปรักษาอย่างถูกท่ี ถูกวธีิ ประสานงานกบั

สังคมสงเคราะห์ ถา้ขาดเหลือก็ประสานงานกบัเจา้หน้าท่ีของเรา (เน้นความถูกตอ้งของการตดัสินใจ

อย่างทนัท่วงที และใชว้ธีิการท่ีถูกตอ้งในการช่วยเหลือคนอื่น) จึงเนน้ใหค้วามรู้แก่เขา เพ่ือใหเ้ขานาํไป

ปฏิบติั ซ่ึงเขาจะปฏิบติัไดดี้กว่าเรา เพราะเขามีโอกาสไปพบเจอคน หรือสถานการณ์ ท่ีทาํให้เกิดการ

เรียนรู้อย่างรวดเร็ว ทาํใหเ้กิดบรรยากาศแห่งจิตอาสา โดยไม่มีใครสั ่ง เราไปสร้างความรู้ เครือข่ายแก่

ผูน้าํ และใหเ้ขาไปขยายต่อ”

(รักษาการผูอ้าํนวยการกลุ่มชาติพนัธ์ุ)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

242

จึงสรุปไดว้่า กระบวนการพฒันามนุษย ์ เป็นกระบวนการท่ีมุ่งสู่การพฒันาคน

ท่ีสอดคลอ้งกบัสภาพของบุคคล/กลุ่มบุคคล จึงจาํเป็นตอ้งให้ความสาํคญัต่อการพิจารณาพื้นฐานชีวิต

อนัเป็นอตัลกัษณ์ของบุคคล ดาํเนินการพฒันาตาแนวทางการพฒันาท่ีมุ่งเสริมสร้างความเป็นบุคคล

ดว้ยการจดัอบรมเสริมสร้างความรู้ ดว้ยการทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์อย่างลึกซ้ึง จากนั้นจึงวิเคราะห์

ไตร่ตรองส่ิงท่ีเกิดข้ึน การจัดลาํดบัคุณค่าและการออกแบบเคร่ืองมืออย่างเป็นระบบ เพ่ือ นําสู่การ

ปรับเปล่ียนเจตคติการพฒันาชีวิต เสริมสร้างภูมิคุม้กนัในการดาํเนินชีวิต

2.4.3 ปัจจยั/เง่ือนไขสาํคญัในการพฒันา

แนวทางการพฒันา จาํเป็นมีกระบวนการจดักิจกรรมแบบมีส่วนร่วม เพ่ือให้

เกิดจิตอาสา ต้องอาศยัทุกคน ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ทุกมิติและทุกวิธีการท่ีถูกต้องและ

เหมาะสม บนพ้ืนฐานของการพฒันามนุษยต์ามหลกัศีลธรรมและคุณค่าทางศาสนา

ปัจจัยสําคัญท่ีส่งเสริมการพฒันามนุษย ์ จึงประกอบด้วยสองส่วน ได้แก่

ปัจจยัภายใน คือ ตวับุคคล ตอ้งมีใจท่ีมุ่งมัน่ มีความเช่ือมัน่ในศกัยภาพของชีวิตบนพ้ืนฐานของความ

เช่ือทางศาสนาและการมีวินยั และปัจจยัภายนอก ไดแ้ก่ ครอบครัว ชุมชนและสังคม ซ่ึงประกอบดว้ย

สถาบนัการศึกษา สถาบนัทางศาสนา องคก์ร/สถานประกอบการต่างๆ ภายใตก้ารบริหารจดัการท่ีของ

“รัฐบาล” ภายใตร้ะบบการเมือง การปกครองและกฎหมายท่ีส่งเสริมและเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล

อยา่งแทจ้ริง ตวับุคคลและชุมชน/สังคม ภายใตก้ารนาํของรัฐ ตอ้งมีลกัษณะเป็นเครือข่าย เช่ือมโยง

ดว้ยการเสวนาในบรรยากาศของความไวว้างใจกนั ส่งเสริมสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล นาํสู่การตดัสินใจ

ร่วมกนัเพ่ือการพฒันาบุคคลอยา่งเป็นเอกภาพและต่อเน่ืองในการดาํเนินการ มีการติดตามและประเมิน

ท่ีส่งเสริมการพฒันามนุษยใ์นทุกมิติ ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“...แต่ละบุคคลต้องมีพ้ืนฐานความเช่ือทางศาสนา ท่ียึดมัน่ เพ่ือเป็น

แนวทาง ทาํใหเ้ราไม่หลุดจากกรอบ/แนวทางการทาํงานการพฒันา...ตอ้งมีหน่วยงาน หรือสถาบนั ใน

โครงสร้างของสังคมท่ี เป็นเคร่ืองมือช่วยในการพฒันาบุคคล อาทิ เช่น ครอบครัว สถาบนัทางศาสนา

และการศึกษา ท่ีช่วยทาํให้ความเช่ือ (ท่าที/องค์ประกอบภายใน) ไดรั้บการปฏิบติัอย่างเป็นรูปธรรม...

จาํเป็นตอ้งไดรั้บการอบรมอย่างต่อเน่ือง..ผ่านกลไกต่างๆ...”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

“จาํเป็นต้องมีการบริหารจดัการท่ีดี รัฐบาลท่ีดี ท่ีช่วยให้พฒันาและ

ประยุกตสู่์นโยบายท่ีดีท่ีเอื้ออาํนวยต่อการพฒันาประชากร...”

(ผูอ้าํนวยการแผนกผูอ้พยพยา้ยถิ ่นและผูถ้กูคุมขงัฯ)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

243

ทั้งน้ี กระบวนการพฒันาตอ้งคาํนึงถึงเง่ือนไขท่ีสําคัญ ไดแ้ก่ “สภาพของ

บุคคล” ท่ีมีความมัน่คง ปลอดภยั มีความสามารถในดาํเนินชีวิตประจาํวนัไดอ้ย่างปกติ โดยคาํนึงถึง

ลกัษณะเฉพาะของบุคคล/กลุ่มบุคคล พ้ืนท่ี อตัลกัษณ์ในบริบทของประวติัศาสตร์ ประเพณี และ

วฒันธรรมชุมชน การพิจารณา “เคร่ืองหมายของกาลเวลา” กล่าวคือ ปรากฏการณ์หรือความเป็นจริงท่ี

เกิดข้ึนในสังคมร่วมสมยั จาํเป็นตอ้งมีการไตร่ตรอง ทบทวนสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนอยู่เสมอ มีความ

ร่วมมือ/ประสานงานกบัหน่วยงานในภาคส่วนต่างๆ รวมถึงบุคคลท่ีเก่ียวขอ้ง บนพ้ืนฐานของการมีจิต

ตารมยข์องการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“สถานการณ์สุดโต่งคือท่ีซ่ึงมีสงคราม ความรุนแรงหรือความอดอยาก

ประชาชนถูกดึงใหเ้ก่ียวขอ้งกบัประเดน็พ้ืนฐานและความจาํเป็นของชีวิตท่ีเก่ียวกบัความมัน่คง อาหาร

และความปลอดภยั สังคมท่ีปลอดภยัท่ีชีวิตมีส่ิงจาํเป็นและมีเสรีภาพเป็นสังคมท่ีจะช่วยให้ประชาชน

สามารถพฒันาและภาคภูมิใจ ในทางตรงขา้ม ถา้ประชาชนตอ้งเป็นเหยื่อของวตัถุนิยมและบริโภคนิยม

และปัจเจกนิยม จะทาํใหค้นเตม็ดว้ยความโลภและเห็นแก่ตวั และจะทาํลายบุคคล”

(ผูอ้าํนวยการแผนกผูอ้พยพยา้ยถิ ่นและผูถ้กูคุมขงัฯ)

“เราตอ้งดูวา่ ท่ีเราจะพฒันาคน เราจะพฒันาใคร? เช่น ถา้เราจะพฒันา

เด็ก เยาวชน หรือผูน้าํหมู่บา้น เราตอ้งแยกแยะ พ้ืนฐานของแต่คนไม่เหมือนกัน หรือแม้แต่ในแต่ละ

หมู่บา้นก็ไม่เหมือกนั เราตอ้งดูพ้ืนฐานของพวกเขา วฒันธรรม ประเพณี และส่ิงแวดลอ้ม...ไม่ไดท้าํ

ลาํพงั แต่มีองคก์รท่ีเป็นเครือข่าย คอยช่วยเหลือ จึงตอ้งดูวา่แลว้แต่แผนกอะไร เนน้การทาํงานร่วมกนั

แต่ส่ิงท่ีเนน้เป็นพิเศษ คือ พยายามใหทุ้กแผนกเขา้ใจงานของกนัและกนั เพราะงานของพวกเรามนัเหลือ่ม

ลํ้ ากนั... ผูเ้ก่ียวขอ้ง/ผูท้าํงานการพฒันา ตอ้งมีจิตตารมยท่ี์ชดัเจน และเป็นตวัอย่างดว้ยการดาํเนินชีวติ”

(ประธานกรรมาธิการฝ่ายสังคม)

“แนวทางการทาํงานไม่เปลี่ยน แต่ปรับเปลี่ยนวธีิการทาํงาน ตามยุคสมยั

และกลุ่มบุคคล โดยอาศยัเคร่ืองหมายของกาลเวลา..ความเป็นจริงตามสถานการณ์ของสังคม ถือเป็นอีก

องคป์ระกอบอีกอย่างท่ีเราตอ้งใส่ใจ คือ ท่ีเราตอ้งพิจารณา ไตร่ตรองอยู่เสมอ เพ่ือเขา้ใจการพฒันาร่วม

สมยัน้ี ...จะเนน้กลุ่มเฉพาะเจาะจง โดยใชป้ระสบการณ์ท่ีผ่านมาพิจารณา เพ่ือคน้หาประเด็นท่ีเร่งด่วน

และหาวิธีการท่ีเหมาะสมในการทาํงาน ทุกวนัน้ีมีการละเมิดท่ีซับซ้อนมากข้ึน และกลุ่มท่ีได้รับ

ผลกระทบอย่างมหาศาลคือ กลุ่มเยาวชน เราคิดว่าเรามุ่งสู่การสร้างภูมิคุม้กนัแก่กลุ่มผูเ้ป็นอนาคตของ

สังคม...”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

244

จึงสรุปความไดว้่า แนวทางการพฒันามนุษยเ์นน้การมุ่งสู่เป้าหมายเป็นหลกัคือ การ

เสริมสร้างบุคคล ดว้ยการพิจารณาปรากฏการณ์ของชีวิตและสงัคม เสริมสร้างการทาํงานร่วมกนัอย่าง

เป็นเอกภาพ ให้ความสาํคญัต่อการมีส่วนร่วม มีระบบการบริหารจดัการท่ีดี บนพ้ืนฐานของความมี

นํ้ าใจต่อกนั มีการประยุกต์วิธีการทาํงานท่ีเหมาะสม โดยเน้นกระบวนการจดัอบรมเพื่อเสริมสร้าง

ความรู้ นาํสู่การปรับเปล่ียนเจตคติในการดาํเนินชีวิต บนพ้ืนฐานของการปฏิบติัตนตามหลกัศีลธรรม

บนพ้ืนฐานคาํสอนของศาสนา โดยมีจิตใจหรือจิตตารมย/์อุดมการณ์ของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของ

บุคคล ทั้งน้ี ใหค้วามสาํคญัต่อการจดัอบรมเสริมสร้างเจตคติของการเคารพสิทธิ เสรีภาพแก่คนรุ่นใหม่

(เยาวชน) เป็นพิเศษ

ขั้นตอนที่ 3 ผลการวเิคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูลเพือ่การจดัทํารูปแบบฯ

จากการศึกษาเอกสารและสมัภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญ จึงสรุปผลและขอ้คน้พบจากการศึกษาขอ้มูล

พ้ืนฐานการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือเป็นขอ้มูลเสนอ

รูปแบบฯ ดงัน้ี

3.1 ผลการศึกษา

ผลการศึกษาขอ้มูลพ้ืนฐาน สรุปเป็นกระบวนทศัน์ ความหมายและสาระสาํคญัของ

กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

3.1.1 กระบวนทัศน์การพฒันามนุษย์

กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นการ

วิเคราะห์ปรากฏการณ์ชีวิต โดยใชค้าํสอนคริสตศ์าสนาเป็นแนวทางในการแกไ้ขปัญหา กล่าวคือ พระ

สนัตะปาปาฯ ทรงเร่ิมตน้ดว้ยการวิเคราะห์ปรากฏการณ์การพฒันามนุษยใ์นสังคมร่วมสมยั ว่า แมจ้ะมี

ความเจริญกา้วหน้าดา้นวิทยาการและเทคโนโลยี แต่ยิ ่งกลบัทาํให้มนุษยอ์ยู่ในภาวะตกตํ่าและดอ้ย

พฒันา เน่ืองจากมนุษยต์กอยูใ่น “กระแสการทาํลายชีวิต” ซ่ึงเป็นมีพ้ืนฐานจากการอธิบายมนุษยแ์บบ

แยกส่วน ทั้งการให้ความสาํคญัแต่เพียงการตอบสนองความตอ้งการดา้นร่างกาย และปฏิเสธคุณค่า

ภายในจิตใจ ดงัท่ีปรากฏผา่นทางค่านิยมต่างๆ ในสงัคม โดยเฉพาะกระแสวตัถุนิยม ประสบการณ์นิยม

บริโภคนิยม ปัจเจกนิยม หรือการยกย่องเสรีภาพของมนุษยจ์นเกินขอบเขต คิดว่าตนเองสามารถทาํ

อะไรก็ได้ รวมถึงความเขา้ใจว่าชีวิตของตนไม่ต้องพ่ึงพิงพระเจ้า แต่สามารถพฒันาชีวิตไปสู่ความ

สมบูรณ์ได ้โดยการปฏิเสธพระเจา้ในชีวิต ดงัท่ีนาํเสนอผ่านทางลทัธิจิตนิยม เหตุผลนิยมและเสรีนิยม

แบบสุดโต่ง ส่งผลทาํให้สังคมอยู่ในบรรยากาศท่ีไม่เอ้ืออาํนวยต่อการพฒันาชีวิต กระแสการทาํลาย

ชีวิตดงักล่าว เป็นผลมาจากการใชเ้สรีภาพท่ีไม่สอดคลอ้งกบัธรรมชาติมนุษย ์ กล่าวคือ มนุษยป์ฏิเสธท่ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

245

จะการตอบรับการเช้ือเชิญสู่ความรอดพน้/การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ตามแนวทางของพระเจา้ กลบัใช้

เสรีภาพ เลือกท่ีอยูแ่ละมุ่งสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ดว้ยตนเอง โดยตดัความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ทาํให้ชีวิตมนุษย์

ไม่กลมกลืนกบัตนเอง คนอ่ืนและส่ิงอ่ืน อนัเป็นท่ีมาของความตกตํ่าและความมวัหมองของชีวิต ส่งผล

ใหล้ะเลย เบียดเบียนสิทธิ เสรีภาพของคนอ่ืน อนัเป็นท่ีมาของปัญหาของความอยุติธรรมและความไม่

สงบสุขในสงัคม

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ยืนยนัคาํสอนคริสต์ศาสนา ท่ีสอนว่ามนุษย์

เป็นส่ิงประเสริฐ มีศกัยภาพท่ีจะบรรลุถึงความจริง มนุษยมี์พ้ืนฐานท่ีดีและศกัด์ิสิทธ์ิ เน่ืองจากพระเจา้

ทรงสร้างให้เป็นภาพลกัษณ์ของพระองค์ ทาํให้มนุษยมี์ลกัษณะพิเศษแตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ

กล่าวคือ มนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีมีเสรีภาพบนพ้ืนฐานของความสาํนึกดีชัว่/มโนธรรม ด้วยการตอบรับ

แนวทางของพระเจา้ ดว้ยการดาํเนินชีวิตดว้ยความเคารพศกัด์ิศรีของตนเองและคนอ่ืน ในบริบทของ

สงัคม บนหลกัความรักเมตตาตามแบบพระเจา้ ดงันั้น การพฒันามนุษย ์ตอ้งมุ่งส่งเสริมการเป็นบุคคล

ดว้ยการเปล่ียนแปลงเจตคติจากการดาํเนินชีวิตท่ีใชเ้สรีภาพท่ียึดตนเองเป็นศูนยก์ลาง ไปสู่เจตคติการ

เคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเองและผูอ่ื้น การส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเหมาะสม โดยมีเป้าหมาย

สูงสุดของการพฒันา คือ การมุ่งสู่ชีวิตสมบูรณ์ อนัเป็นภารกิจท่ีพระเจา้ทรงมอบแก่มนุษยใ์นการตอบ

รับแนวทาง/พระพรของพระเจา้ ไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระองค์ โดยให้ความสาํคญัต่อการ

ไตร่ตรอง ทบทวนการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต เพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลง/พฒันาเจตคติการใช้

เสรีภาพในการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้อย่างต่อเน่ือง โดยมีหลกัศาสนาและศีลธรรมเป็น

แนวทาง การพฒันาเป็นกระบวนการสากล ครอบคลุมทุกคน ทุกสถานภาพ และต่อเน่ืองจนตลอดชีวิต

มีการจดัลาํดบัคุณค่าให ้“คน” มาก่อนและอยูเ่หนือวตัถุส่ิงของ หรือการพฒันาทางกายภาพ บนพ้ืนฐาน

ของบริบท/อตัลกัษณ์บุคคล เพ่ือมุ่งไปสู่เป้าหมายสูงสุด คือ การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

การพฒันามนุษยด์ว้ยการเสริมสร้างการเป็นบุคคล เรียกร้องใหใ้ชว้ิธีการท่ีความ

เหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลกบัคุณค่า ความหมายชีวิตท่ีแทจ้ริงของมนุษย ์ เป็นการพฒันาแบบบูรณ

การทุกมิติของชีวิตมนุษย ์และสังคม ทั้ งดา้นเศรษฐกิจ สังคม วฒันธรรมและจิตใจ รวมถึงโอกาส

คุณภาพและความเสมอภาคของทุกภาคส่วนในสังคม โดยคาํนึงถึงความสมดุลระหว่างวิทยาการและ

ศีลธรรม พระสนัตะปาปาฯ ใหค้วามสาํคญัต่อการทาํงานในฐานะเป็นการพฒันาชีวิตในสังคมสู่ความ

เจริญกา้วหนา้ของบุคคล การทาํงาน คือ การท่ีมนุษยอุ์ทิศตนไม่เพียงแต่เพ่ือตนเอง แต่มนุษยย์งัทาํเพ่ือ

ผูอ่ื้นและทาํงานเพื่อเล้ียงดูครอบครัวของเขา ชุมชนของเขา ชาติของเขา ท่ีสุด เพ่ือมนุษยชาติเองทั้งหมด

และเป็นการขยายความสมัพนัธแ์ห่งความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัของมนุษยชาติ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

246

3.1.2 สาระสําคญัของการพฒันามนุษย์

สาระสาํคญัของการพฒันามนุษย ์คือ การเสริมสร้างบุคคลให้เป็นบุคคลท่ีมีวุฒิ

ภาวะ ในสงัคมท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศของจิตสาํนึกการเคารพศกัด์ิศรีบุคคล ดว้ยแนวทางการส่งเสริมการ

พฒันาชีวิตร่วมกนั ซ่ึงสรุปไดเ้ป็นส่ีประเด็นสาํคญั ดงัน้ี

3.1.2.1 พืน้ฐานการพฒันามนุษย์ คอื การเสริมสร้างความเป็นบุคคล

การส่งเสริมการเป็นบุคคล หมายถึง การพฒันาท่ีเสริมสร้างบุคคลให้เป็น

ตวัของตวัเอง เพ่ือพฒันาทุกมิติของชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ดว้ยศกัยภาพของบุคคล ไดแ้ก่

เสรีภาพบนพ้ืนฐานของความสาํนึกรู้/มโนสาํนึก รวมทั้ งการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอย่างเหมาะสม

ดว้ยความเคารพกนัและกนั ในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม โดยสรุปสาระสาํคญั ดงัน้ี

1. มนุษยเ์ป็นบุคคล ท่ีตอ้งไดรั้บการเอาใจใส่ในทุกมิติของชีวิต พ้ืนฐาน

ความเป็นบุคคลของมนุษยม์าจากการเป็นบุคคลพระเจา้ (บุคคลท่ีสมบูรณ์) ท่ีทรงสถาปนาใหม้นุษยเ์ป็น

ภาพลกัษณ์ของพระองค์ ทาํให้มนุษยมี์ส่วนร่วมในการเป็นบุคคลของพระองค์ ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ คุณลกัษณะของการเป็นบุคคล คือ เสรีภาพ (Freedom) บนความรู้สาํนึกดีชัว่/

มโนธรรม (Consciousness) ท่ีตอ้งดาํเนินชีวิตสอดคลอ้งกบัการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้

2. แมม้นุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ แต่มนุษยย์งัไม่ไดบ้รรลุถึงขีดขั้น

ความสมบูรณ์ของการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ พระเจา้ทรงมอบภารกิจให้มนุษยพ์ฒันาชีวิตไปสู่

ความสมบูรณ์ในพระเจา้ มนุษยจึ์งตอ้งพฒันาตวัเองอย่างต่อเน่ือง ชีวิตมนุษยจึ์งเป็นกระบวนการมุ่งสู่

ภารกิจตามวิถีชีวิตมนุษย ์(Vocation) มีเป้าหมาย คือ การมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้/

ชีวิตนิรันดรในพระเจา้)

3. การเสริมสร้างความเป็นบุคคล คือ การทาํให้บุคคลสาํนึกถึงเสรีภาพ

อยา่งถกูตอ้ง และสามารถใชเ้สรีภาพไดอ้ย่างเต็มท่ี ต่อการเป็นบุคคลท่ีมีส่วนร่วมและมีศกัยภาพท่ีจะ

พฒันาไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้/ชีวิตนิรันดรในพระเจา้) ดว้ยการตอบรับวิถีทางของ

พระเจ้า ดว้ยการมีความสัมพนัธ์กับพระเจา้ คนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้มอย่างสอดคลอ้ง เหมาะสม และ

สมดุล

4. การเสริมสร้างการเป็นบุคคล เป็นการปรับเปล่ียนเจตคติ (การกลบัใจ)

จากการดาํเนินชีวิตท่ียดึตนเองเป็นหลกั ปฏิเสธ/ละเลย/เมินเฉยคนอ่ืน ตามค่านิยมท่ีส่งเสริมการมีวตัถุ

สสาร ซ่ึงเป็นกระแสการทาํลายชีวิตท่ีแทรกซึมในวิถีชีวิตในสงัคมปัจจุบนั จนทาํให้เกิดบรรยากาศของ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

247

การมุ่งความมัง่มีวตัถุสสาร ว่ามีความสาํคญัมากกว่าชีวิตของบุคคล (กลไก/บาปสงัคม) ไปสู่การดาํเนิน

ชีวิตท่ีเนน้ความเป็นบุคคลมาก่อนและเหนือทุกส่ิง (วฒันธรรมส่งเสริมชีวิต)

5. การเสริมสร้างความเป็นบุคคล ตอ้งมีการปลูกฝังและเสริมสร้างชีวิต

ของบุคคล (วัฒนธรรมส่งเสริมชีวิต ) เ ร่ิมจากครอบครัว และสังคมท่ีเต็มด้วยบรรยากาศและ

สภาพแวดลอ้มของการเคารพคุณค่าและศกัด์ิศรีของความเป็นบุคคล ด้วยการแบ่งปันมาแทนท่ีการ

แข่งขนั ในบรรยากาศของความรัก มาแทนท่ีความเกลียดชงั

6. การเสริมสร้างความเป็นบุคคล มุ่งเสริมสร้าง “อตัลกัษณ์บุคคล” ใน

บริบทของการพฒันาชีวิตในประวติัศาสตร์ วฒันธรรม ประเพณีอนัดีงาม การส่งเสริมภูมิปัญญา เพ่ือ

เป็นบุคคลท่ีเป็นตวัของตวัเอง มีความภาคภูมิใจในชีวิตและพ่ึงตนเองได ้

3.1.2.2 จุดหมายการพฒันา คอื การมุ่งเสริมสร้างบุคคลและสังคม

เป้าหมายการพฒันา คือ การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์/ความรอดพน้ในพระเจา้

อยา่งไรก็ตาม พระสนัตะปาปาฯ ทรงยนืยนัคาํสอนคริสตศ์าสนาท่ีใหค้วามสาํคญัต่อการดาํเนินชีวิตท่ีมี

ความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ดว้ยการปฏิบติัตนเสริมสร้างความสมัพนัธก์บัคนอ่ืนในสงัคม ดงันั้น การมุ่งสู่

จุดหมายของการพฒันามนุษย ์ดว้ยการมุ่งเสริมสร้างมนุษยใ์ห้เป็นบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะ (ความดีบุคคล)

และการสร้างสรรคส์งัคมท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศของการเคารพศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์(ความดีสงัคม) จึง

ตอ้งดาํเนินการควบคู่กนั อาศยัการกลบัใจ/การเปล่ียนแปลงเจตคติของบุคคล ซ่ึงมีสาระสาํคญั ดงัน้ี

1. ความดีบุคคล คือ การมุ่งสู่การพฒันามนุษยใ์หเ้ป็นบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะ (มี

ความเป็นผูใ้หญ่) โดยมีคุณลกัษณะท่ีสาํคัญ ไดแ้ก่ การเป็นบุคคลท่ีมีจิตใจท่ีเป็นอิสระ พ่ึงตนเองได ้

สามารถคิด ตดัสินใจและปฏิบติัตนดว้ยความสาํนึกรับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตของตน ร่วมกบัคนอ่ืน

อยา่งเหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลกบัสถานภาพ/สถานการณ์ของชีวิต มีนํ้ าใจ/จิตอาสาท่ีจะแบ่งปัน

ชีวิตและทรัพยสิ์นของตนร่วมกบัคนอ่ืนในสังคมอย่างเหมาะสม มีจิตใจท่ีพร้อมท่ีจะรักและรับใชค้น

อ่ืน เห็นแก่ประโยชน์/ผลดีต่อการพฒันาชีวิตของคนอ่ืน ไม่ใช่ยึดแต่ประโยชน์ของตนอย่างเดียวจน

ปฏิเสธ เบียดเบียนหรือละเลยคนอ่ืน สาํนึกในสิทธิ เสรีภาพและความรับผดิชอบในการพฒันาชีวิตของ

ตนร่วมกบัคนอ่ืนในสงัคม

2. ความดีสังคม/ส่วนรวม คือ สภาวะของสังคมท่ีเอ้ืออาํนวยให้มนุษย์

พฒันาวุฒิภาวะไดเ้ต็มท่ี เป็นสงัคมท่ีสมาชิกในสงัคมอยูร่่วมกนัดว้ยเจตคติของการเคารพสิทธิ เสรีภาพ

ของบุคคล เป็นสงัคมท่ีแต่ละบุคคลตอ้งร่วมกนัสรรสร้างสังคม ให้เป็นสังคมของบุคคล ให้เป็นสังคม

แห่งความยติุธรรมและสนัติ ท่ีสมาชิกดาํเนินชีวิตดว้ยจิตสาํนึกของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็น

บุคคลของตนเองและผูอ่ื้น มีความมุ่งมัน่ในการสร้างสันติภาพ มีระบบกฎหมายท่ีเป็นธรรม และมี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

248

สวสัดิการท่ีเหมาะสมมารองรับบนพ้ืนฐานของสิทธิมนุษยชน ส่งผลใหเ้กิดสภาพแวดลอ้มท่ีส่งเสริมการ

เป็นตวัของตวัเอง สาํนึกในสิทธิและหนา้ท่ีของบุคคลอย่างครบถว้น เพ่ือมนุษยจ์ะไดพ้ฒันาตนเองตาม

สภาวะ (สถานภาพ/สถานการณ์/สภาพ) ไดอ้ยา่งเต็มท่ี

3. การเป็นบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะ ในสงัคมท่ีเป็นอิสระตอ้ง มีพ้ืนฐานอยูบ่นการ

เปล่ียนแปลงเจตคติ จากการเห็นแต่ประโยชน์ส่วนตัวตามกระแสค่านิยมของสังคม ท่ีมีพ้ืนฐานการ

พฒันาแต่เพียงมิติเศรษฐกิจ ดาํเนินชีวิตแบบปัจเจกท่ีละเลยหรือปฏิเสธคนอ่ืน ไปสู่การเป็นบุคคลท่ีมีจิต

อาสา มีนํ้ าใจ มีใจท่ีเสียสละ แบ่งปันและพฒันาชีวิตของตนร่วมกบัคนอ่ืนในสังคม เห็นแก่ประโยชน์

ส่วนรวม เพ่ือความดีส่วนรวม รู้จกัยืน่มือช่วยเหลือคนอ่ืนเพ่ือใหเ้กิดความเป็นธรรมหรือความเดือนร้อน

ในสงัคมในรูปแบบต่างๆ ดว้ยการปฏิบติัความรักดว้ยการรับใชผู้อ่ื้น

4. ทุกคน ทุกภาคส่วนต้องมีบทบาทหน้าท่ี และร่วมมือกันในการ

เสริมสร้างการเป็นบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะ ในสงัคมท่ีเป็นอิสระบนพ้ืนฐานของการเปล่ียนแปลงเจตคติติของ

บุคคล ในการบริหารจดัการ และการแทรกแซงอยา่งถกูตอ้ง บนการประกนัความมัน่คง ดว้ยวิธีการท่ี

เหมาะสม พึงระมดัระวงัการแทรกแซงในแบบผกูขาด จนทาํลายเสรีภาพของมนุษย ์ พึงระมดัระวงัการ

จดัสวสัดิการท่ีเกินพอดี ท่ีเน้นแต่เพียงการส่งเสริมดา้นวตัถุ กายภาพ จนละเลยคุณค่าฝ่ายจิต หรือการ

ละเลยร่างกาย การส่งเสริมการอยากมี อยากได ้ตอบสนองความตอ้งการในระดบัสัญชาติญาณ หรือ

การส่งเสริมเสรีภาพแบบเกินเลย ทาํใหม้นุษยข์าดความรับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตตนเอง คนอ่ืนและ

สงัคม รวมทั้งการพฒันาคุณค่าฝ่ายจิตวิญญาณ ท่ีมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ อนัเป็นเป้าหมายสูงสุด

ของการพฒันาชีวิต

3.1.2.3 การพฒันาบนพืน้ฐานของเจตคตกิารเคารพสิทธิ เสรีภาพบุคคล

การพฒันามนุษยด์ว้ยการเสริมสร้างความเป็นบุคคล ตอ้งมีพ้ืนฐานอยู่

บนเจตคติของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของบุคคล หมายถึง เจตคติ/ท่าท่ีของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นบุคคล ท่ีนาํสู่การดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้ง เหมาะสมและสมดุลกบัภารกิจตามสิทธิและหนา้ท่ี

ของบุคคล บนหลกัศีลธรรม มีความรับผดิชอบและใหค้วามช่วยเหลือผูอ่ื้นดว้ยจิตสาํนึกของการเคารพ

สิทธิบุคคล วฒันธรรมและบูรณภาพของบุคคล และสงัคม โดยสรุปสาระสาํคญั ดงัน้ี

1. สภาพสังคมปัจจุบัน เต็มด้วยกลไกและโครงสร้างท่ีเป็นอุปสรรค

และเป็นภยัคุกคามชีวิต ตามกระแสการทาํลายชีวิต ท่ีละเลย เมินเฉย ปฏิเสธคุณค่า/ศกัยภาพภายในของ

บุคคล ดว้ยการใหค้วามสาํคญัแก่มนุษยว์่าเป็นเพียงวตัถุสสาร การพฒันามนุษยจึ์งเป็นการพฒันาท่ีมุ่งสู่

การพฒันาวตัถุ โดยใชเ้ศรษฐกิจเป็นหลกัในการพฒันา ทาํให้มนุษยต์กอยู่ในสภาพแวดลอ้มแห่งบาป

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

249

กล่าวคือ แทนท่ีมนุษยจ์ะร่วมมือกนัในการพฒันาชีวิตและสงัคม มนุษยก์ลบัเบียดเบียน แข่งขนัเพ่ือแย่ง

ชิง เอารัดเอาเปรียบกนัเพ่ือผลประโยชนด์า้นวตัถุ ส่งผลให้ประสบวิกฤติการณ์พฒันาในรูปแบบต่างๆ

ในสงัคม

2. มีความจาํเป็นท่ีมนุษยต์อ้งปลุกจิตสาํนึกท่ีนาํสู่การเปล่ียนแปลงเจต

คติ (กลบัใจ) จากความเคยชินตามกระแสสังคมท่ีเต็มดว้ยสภาพแวดลอ้มแห่งบาป ไปสู่การปฏิบติัตน

ตามแนวทางการพฒันาชีวิตอยา่งถกูตอ้ง ดว้ยการตอบรับความรักและพระเมตตาของพระเจา้ ดว้ยการ

ดาํเนินชีวิตตามแนวทางของพระเจา้ กล่าวคือ การพฒันาชีวิตบนพ้ืนฐานของการใชเ้สรีภาพดว้ย

จิตสํานึกต่อภารกิจตามสิทธิ เสรีภาพและความสํานึกรับผิดชอบของบุคคลท่ีมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์ ดว้ยการมีความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้มอย่าง เหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลกบั

การเป็นบุคคล

3. การปรับเปล่ียนเจตคติ/ท่าที (การกลบัใจ) เป็นการเปล่ียนแปลง

รูปแบบการดาํเนินชีวิต สู่การพฒันาชีวิตใหส้มดุลทั้งมิติดา้นร่างกายและจิตวิญญาณ ให้บุคคลมีความ

สาํนึกและรับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิต ดว้ยการใชเ้สรีภาพอย่างถูกตอ้ง สอดคลอ้งกบัความจริงของ

ชีวิต ร่วมกนัรับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิต ใหค้วามสาํคญัต่อการมีความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้นดว้ยการปฏิบติั

ความรักเมตตาแบบท่ีพระเจา้ทรงรัก (Agape) ดว้ยความเคารพในคุณค่าความเป็นบุคคลของตนเองและ

ผูอ่ื้น เร่ิมตน้ในครอบครัว ชุมชน/สังคม ในบริบทของส่ิงแวดลอ้มท่ีสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา อนั

เป็นคุณลกัษณะของสงัคมท่ีสมาชิกมีการดาํเนินชีวิตร่วมกนัแบบหมู่คณะท่ีมุ่งส่งเสริมและพฒันามนุษย์

สู่ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

4. การปรับเปล่ียนเจตคติ/ท่าทีและรูปแบบการดาํเนินชีวิต มีพ้ืนฐานบน

จิตสาํนึกของการเคารพในคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของมนุษย ์สาํนึกถึงบทบาทหน้าท่ีท่ีตอ้งร่วม

รับผิดชอบในการพฒันาชีวิตร่วมกนั เป็นหน่ึงเดียวและร่วมรับผิดชอบชีวิตตนเองและเพ่ือนมนุษย ์

รวมถึงการใหค้วามช่วยเหลือดว้ยจิตสาํนึกของการเคารพต่อสิทธิ วฒันธรรมและบูรณภาพของแต่ละ

สงัคมและประเทศ จึงตอ้งมีการพิจารณาอยา่งรอบคอบ และเนน้การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการ

วางแผน การบริหารจัดการเพ่ือให้มีการพฒันาอย่างมีคุณภาพ ทัว่ถึงและครอบคลุมทุกมิติของชีวิต

ภายใต้กรอบของศีลธรรม เพ่ือให้ทุกคนได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม นําสู่

ความสามารถในการพฒันาตนเอง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

250

3.1.2.4 การพฒันาตามกระบวนการส่งเสริม สนับสนุน

แนวทางการพฒันามนุษยด์ว้ยการเสริมสร้างการเป็นบุคคล มีลกัษณะ

เป็นกระบวนการพัฒนาท่ีทุกคน ทุกภาคส่วนร่วมรับผิดชอบด้วยจิตสํานึกความเป็นพ่ีน้องร่วม

ครอบครัวมนุษย ์ ร่วมกนัจดัระบบและมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนการพฒันา ในบรรยากาศของความ

ไวว้างใจกนั มีการแบ่งปันกันด้วยความรักและรับใช ้ตามคุณค่าศาสนาและศีลธรรม โดยสรุป

สาระสาํคญั ดงัน้ี

1. การพฒันาท่ีทุกคน ทุกภาคส่วน ต้องให้ความสําคญัต่อการพฒันา

คุณภาพชีวิตโดยรวม ทั้งในระดบับุคคลและมนุษยชาติ ทุกมิติและทุกระดบั ดว้ยการแบ่งปันฉันท์พ่ี

นอ้งในฐานะครอบครัวมนุษยชาติ ท่ีมีตน้กาํเนิดและเป้าหมายชีวิตร่วมกนั คือ การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

ในพระเจา้ มนุษยจึ์งตอ้งร่วมกนัสรรสร้างความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนั แบ่งปันกนัดว้ยความสาํนึก

รับผดิชอบต่อชีวิตของตนเอง ผูอ่ื้น สงัคม ประเทศชาติและโลก ตามคุณค่าศาสนาและศีลธรรม แก่ทุก

คน ทุกภาคส่วน

2. การส่งเสริม สนบัสนุนกนัในการพฒันาชีวิต เป็นการสรรสร้างสังคม

แห่งความยติุธรรมและสนัติ โดยมีความรักเป็นพ้ืนฐาน ดว้ยความสาํนึกรับผิดชอบต่อชีวิตของตนและ

คนอ่ืน มีการแบ่งปัน ดว้ย “การรับใชก้นัและกนัดว้ยความรัก” กล่าวคือ การมีนํ้ าใจเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ดว้ย

ไมตรีจิต พร้อมท่ีจะเสียสละแทนท่ีจะเอาเปรียบผูอ่ื้น พร้อมท่ีจะรับใช้แทนท่ีจะกดข่ีผูอ่ื้นเพ่ือ

ผลประโยชน์ส่วนตน โดยเฉพาะมุ่งรักและรับใชผู้พิ้การ ผูป่้วย ผูสู้งอาย ุ หรือผูทุ้พพลภาพในรูปแบบ

ต่างๆ ท่ีตอ้งการความเอาใจใส่เป็นพิเศษจากสงัคม รวมถึงผูข้ดัสน เดือนร้อน ไม่ไดรั้บโอกาส ไม่ไดรั้บ

ความยติุธรรมในรูปแบบต่างๆ ทั้งดา้นกายภาพและดา้นจิตใจ ส่งผลใหเ้กิดการรวมพลงัพฒันาสงัคมให้

เต็มดว้ยบรรยากาศและสภาพแวดลอ้มท่ีเอ้ืออาํนวยต่อการพฒันาบุคคล เน้นการเสริมสร้าง “คนรุ่น

ใหม่” ใหมี้จิตสาํนึกและใชเ้สรีภาพอยา่งถกูตอ้ง ดว้ยการมีจิตอาสาแห่งรักและรับใช ้บนพ้ืนฐานของการ

เคารพตนเองและคนอ่ืน

3. การส่งเสริม สนบัสนุนกนัในการพฒันาชีวิต เป็นแนวทางการพฒันาท่ี

มีลกัษณะเป็นกระบวนการพฒันาท่ีมุ่งสู่การเสริมสร้างบุคคลอาศยัการทาํงาน ดว้ยการมีส่วนร่วม ทั้งใน

เร่ืองการวางแผน การจดัระบบ การดาํเนินงานอยา่งเป็นขั้นตอน รวมถึงมีการติดตามและประเมินเพ่ือ

การบริหารจดัการ ทั้งการแกไ้ขปัญหาในสงัคมท่ีมีภยัคุกคามหรือเผชิญกบัอุปสรรค/วิกฤติในการพฒันา

และการเสริมสร้างใหเ้กิดการพฒันาอยา่งต่อเน่ืองแก่ทุกคน/ทุกภาคส่วน โดยเฉพาะบุคคลท่ีควรไดรั้บ

ความเอาใจใส่เป็นพิเศษตามสภาพ/สถานการณ์ของชีวิต เพ่ือให้มีการพฒันาอย่างความเหมาะสม

สอดคลอ้ง สมดุลกบัคุณค่าท่ีแทจ้ริงของมนุษยย์ิง่ๆ ข้ึน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

251

4. การพฒันาบุคคล เป็นกระบวนการท่ีมุ่งสู่การพฒันาท่ีสอดคลอ้งกบั

สภาพของบุคคล/กลุ่มบุคคล จึงจาํเป็นตอ้งใหค้วามสาํคญัต่อการพิจารณาพื้นฐานชีวิตอนัเป็นอตัลกัษณ์

ของบุคคลในบริบทประวติัศาสตร์ วฒันธรรม ดาํเนินการพฒันาตามแนวทางการพฒันาท่ีมุ่งเสริมสร้าง

ความเป็นบุคคล ดว้ยการจดัอบรมเสริมสร้างความรู้ ใหมี้พฤติกรรมของการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพในสิทธิ

เสรีภาพของตนเองและคนอ่ืน ด้วยการทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์อย่างลึกซ้ึง จากนั้นจึงวิเคราะห์

ไตร่ตรองส่ิงท่ีเกิดข้ึนด้วยพระคัมภีร์/หลกัธรรมคาํสอนทางศาสนา การจัดลาํดับคุณค่าและการ

ออกแบบเคร่ืองมืออยา่งเป็นระบบ เพ่ือนาํสู่การปรับเปล่ียนเจตคติ และการเสริมสร้างภูมิคุม้กนัในการ

ดาํเนินชีวิต ซ่ึงเป็นกระบวนการต่อเน่ือง ครอบคลุมตลอดชีวิต เรียกร้องให้แต่ละคนเปิดใจ หมัน่

ทบทวนและขดัเกลาจิตใจของตนในทุกจงัหวะของชีวิต

5. ปัจจยัสาํคญัท่ีส่งเสริมการพฒันามนุษย ์ ไดแ้ก่ บุคคล/แต่ละคน ตอ้ง

มีใจท่ีมุ่งมัน่ มีความเช่ือมัน่ในศกัยภาพของชีวิตบนพ้ืนฐานของความเช่ือทางศาสนาและการมีวินัยใน

ชีวิต รวมถึงบรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพและความไวว้างใจกนั โดยเฉพาะ บรรยากาศของ

ครอบครัว ชุมชนและสงัคม ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานและเครือข่ายการพฒันาท่ีเป็นเอกภาพในการส่งเสริมสิทธิ

และความรับผดิชอบการพฒันาบุคคล มีความเป็นเอกภาพ ให้ความสาํคญัต่อการมีส่วนร่วม มีระบบ

การบริหารจัดการท่ีดี บนพ้ืนฐานของความมีนํ้ าใจต่อกนั มีการประยุกต์วิธีการทาํงานท่ีเหมาะสม

โดยเนน้กระบวนการจดัอบรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ นาํสู่การปรับเปล่ียนเจตคติในการดาํเนินชีวิต บน

พ้ืนฐานของการปฏิบติัตนตามหลกัศีลธรรม บนพ้ืนฐานคาํสอนของศาสนา โดยมีจิตใจหรือจิตตารมณ์/

อุดมการณ์ของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล ทั้งน้ี ให้ความสาํคญัต่อการจดัอบรมเสริมสร้างเจต

คติของการเคารพสิทธิ เสรีภาพแก่คนรุ่นใหม่ (เยาวชน) เป็นพิเศษ

ดังนั้ น การพัฒนามนุษย์ด้ว ยการ เส ริมส ร้ างการ เ ป็น บุคคล จึ ง เ ป็น

กระบวนการพฒันาต่อเน่ือง การพฒันาต้องไม่หยุดนิ่ง บนพ้ืนฐานของจิตสํานึกของบุคคลท่ีหมัน่

ไตร่ตรอง ทบทวนชีวิตดว้ยปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตและสงัคมอยูเ่สมอ เพ่ือเขา้ใจและพฒันาตนเอง

อยา่งต่อเน่ือง โดยมีความเช่ือศรัทธาในศาสนาเป็นภูมิคุม้กนั เพ่ือให้แต่ละบุคคล ซ่ึงมีพ้ืนฐานอยู่บน

สภาวะดั้งเดิมท่ีดีงาม ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ แต่ถกูบดบงั/บิดเบือนดว้ยการยึดมัน่ ถือมัน่

ต่อค่านิยมท่ีลดทอนคุณค่ามนุษยใ์ห้เป็นเพียงแค่วตัถุ สสาร ส่งผลให้บุคคลมีเจคติคติท่ีลดทอนคุณค่า

ศกัด์ิศรีของตนเองและคนอ่ืน ใหต้กตํ่า การพฒันามนุษยจึ์งเนน้การท่ีแต่ละบุคคลปรับเปล่ียนเจตคติใน

การเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีต่อสิทธิ เสรีภาพและความรับผิดชอบต่อชีวิตของตน ร่วมกบัคนอ่ืน อย่าง

ต่อเน่ือง ตลอดชีวิต เพ่ือให้แต่ละบุคคลมีจิตสาํนึกและใชเ้สรีภาพ ท่ีพระเจา้ประทานให้ เพ่ือมุ่งสู่การ

เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้) ดว้ยการเสริมสร้างความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ โดยการดาํเนินชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

252

ดว้ยความรักและรับใช้คนอ่ืน ดว้ยความเคารพในคุณค่าศกัด์ิศรีของตนเองและผูอ่ื้น ในบริบทของ

ส่ิงแวดลอ้ม ทั้งน้ีสรุปผลการศึกษาเป็นแผนภาพ 5

3.2 ข้อค้นพบ

จากการศึกษาขอ้มลูพ้ืนฐานดว้ยการศึกษาเอกสารและการสมัภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญ ผูว้ิจยั

จึงสรุปผลเป็นขอ้คน้พบจากการศึกษาการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 โดยแบ่งเป็นข้อค้นพบด้านเน้ือหาสาระ และข้อค้นพบด้านความต้องการ จําเป็นและ

ขอ้เสนอแนะในการจดัทาํรูปแบบฯ ดงัน้ี

3.2.1 ขอ้คน้พบดา้นเน้ือหาสาระ

ขอ้คน้พบดา้นเน้ือหาสาระของการศึกษาขอ้มูลพ้ืนฐาน สรุปไดเ้ป็นส่ีประเด็น

สาํคญั ดงัตารางท่ี 8 ดงัน้ี

ตารางท่ี 8 แสดงข้อค้นพบการศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานการพัฒนามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ประเด็น สาระสําคญั

1. หลกัการพฒันา การพฒันามนุษย ์มีหลกัการอยูบ่นการพฒันาท่ีเสริมสร้างบุคคลดว้ยสาํนึกและใช้

เสรีภาพในการตอบรับแนวทางของพระเจา้ ตามเจตคติการเคารพสิทธิ เสรีภาพ

ของตนเองและผูอ่ื้น บนพ้ืนฐานความสาํนึกและรับผิดชอบต่อการดาํเนินชีวิต

ร่วมกบัคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม เพื่อมุ่งไปสู่การเป็น

บุคคลท่ีมีวุฒิภาวะท่ีดาํเนินชีวิตในสังคมแห่งความยุติธรรมและสันติ ร่วมกัน

พฒันาทุกมิติของชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

2 . จุ ดหมายกา ร

พฒันา

เป้าหมายสูงสุดของการพฒันา คือ การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ อย่างไรก็

ตาม พระสันตะปาปาฯ ทรงยืนยนัคาํสอนคริสต์ศาสนาท่ีให้ความสําคญัต่อการ

ดํา เ นินชีวิตท่ี มีความสัมพันธ์กับพระเจ้า ด้วยการปฏิบัติตนเสริมสร้าง

ความสมัพนัธก์บัคนอ่ืนในสังคม ดงันั้น การมุ่งสู่จุดหมายของการพฒันามนุษย ์

ดว้ยการมุ่งเสริมสร้างมนุษยใ์ห้เป็นบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะ (ความดีบุคคล) และการ

สร้างสรรค์สังคมท่ีเต็มด้วยบรรยากาศของการเคารพศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

(ความดีสงัคม) จึงตอ้งดาํเนินการควบคู่กนั อาศยัการกลบัใจ/การเปล่ียนแปลงเจต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

253

คติของบุคคล

3 . เ จ ต ค ติ ก า ร

พฒันา

การพฒันามนุษย ์ ตอ้งมีพ้ืนฐานอยู่บนเจตคติของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของ

บุคคล หมายถึง เจตคติ/ท่าท่ีของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นบุคคล ท่ีนาํสู่

การดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้ง เหมาะสมและสมดุลกบัภารกิจตามสิทธิของบุคคล

บนหลักศีลธรรม มีความรับผิดชอบและสนับสนุน /แบ่งปันชีวิตแก่ผูอ่ื้นด้วย

จิตสาํนึกของการเคารพสิทธิบุคคล วฒันธรรมและบูรณภาพของบุคคล และสงัคม

4 . แนวทา งก า ร

พฒันา

แนวทางการพฒันามนุษย ์มีลกัษณะเป็นกระบวนการพฒันาท่ีทุกคน ทุกภาคส่วน

ร่วมรับผิดชอบด้วยจิตสํานึกความเป็นพ่ีน้องร่วมครอบครัวมนุษย ์ ร่วมกัน

จัดระบบและมีส่วนร่วมในทุกขั้ นตอนการพฒันา ในบรรยากาศของความ

ไวว้างใจกัน มีการแบ่งปันกันด้วยความรักและรับใช้ ตามคุณค่าศาสนาและ

ศีลธรรม โดยคาํนึงถึงสถานภาพชีวิตของแต่ละบุคคล เพ่ือมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์ โดยเน้นกระบวนการจัดอบรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ นําสู่การ

ปรับเปล่ียนเจตคติในการดาํเนินชีวิต เสริมสร้างบุคคลให้มีจิตอาสา บนพ้ืนฐาน

ของการปฏิบัติตนตามหลกัศีลธรรม และคาํสอนของศาสนา โดยหน่วยงาน/

ผูเ้ก่ียวขอ้งในการจดักระบวนการพฒันาตอ้งมีจิตใจหรือจิตตารมย/์อุดมการณ์ของ

การเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล ทั้ ง น้ี ให้ความสําคัญต่อการจัดอบรม

เสริมสร้างเจตคติของการเคารพสิทธิ เสรีภาพแก่คนรุ่นใหม่ (เยาวชน) เป็นพิเศษ

ทั้งน้ี บุคคล/แต่ละคน ต้องมีใจท่ีมุ่งมัน่ มีความเช่ือมัน่ในศกัยภาพของชีวิตบน

พ้ืนฐานของความเช่ือทางศาสนาและการมีวินยัในชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

254

แผนภาพที่ 5 แสดงกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

การใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวติที่เคารพ

ตนเอง/ คนอื่น/

สิ่งแวดลอ้ม/พระเจา้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

255

3.2.2 ขอ้คน้พบและขอ้เสนอแนะในการจดัทาํรูปแบบ

จากการศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานด้วยการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์

ผูเ้ช่ียวชาญ ผูว้ิจยัจึงสรุปความตอ้งการจาํเป็นและขอ้เสนอแนะในการจดัทาํรูปแบบการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

1. ความตอ้งการ/จาํเป็นในการจดัทาํรูปแบบฯ

จากการศึกษาขอ้มูลพ้ืนฐานเร่ืองการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ด้วยการศึกษาเอกสาร งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องและการสัมภาษณ์

ผูเ้ช่ียวชาญ พบว่ามีเน้ือหาสาระเป็นไปในแนวทางเดียวกนั เน่ืองจากคริสตศ์าสนาใหค้วามสาํคญัต่อการ

พฒันามนุษยแ์ละสงัคม มีการนาํเสนอแนวคิดและแนวทางการพฒันาอยา่งชดัเจนผา่นทางเอกสารต่างๆ

มีการกาํหนดโครงสร้างการบริหารงานดา้นการพฒันาอยา่งเป็นระบบ และเป็นแนวทางเดียวกนัในทุก

พ้ืนท่ี แมจ้ะมีรายละเอียดของคาํท่ีใชแ้ตกต่างกนัออกไปบา้ง ตามความเหมาะสม นอกจากนั้น บุคคล

ท่ีทาํรับผดิชอบบริหารหน่วยงานดา้นการพฒันา ตอ้งผ่านการพิจารณาอย่างรอบคอบเป็นรายบุคคล มี

การเตรียมบุคลากรอย่างเป็นระบบ การส่งเสริมให้เขา้รับการศึกษาอบรมดา้นคาํสอนเร่ืองการพฒันา

ของพระศาสนจักร เพ่ือเสริมสร้างจิตตารมย์อย่างต่อเน่ือง มีการประชุม เสวนาแลกเปล่ียน

ประสบการณ์ในกลุ่มผูท้าํงานอย่างสมํ่าเสมอ ในแผนก/ฝ่าย ทั้งในระดบัประเทศ ระดบัภูมิภาค และ

ระดบันานาชาติ เพ่ือเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ใจต่อคาํสอนเร่ืองการพฒันาตามคาํสอนคริสต์ศาสนา

ตามแนวทางของพระสนัตะปาปาท่ีปกครองคริสตศ์าสนจกัร ดงัท่ีประธานคณะกรรมาธิการฝ่ายสังคม

ใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“...การพิจารณาบุคคลท่ีจะมาทาํงานดา้นการพฒันา... ตอ้งดูว่ามีจิต

ตารมย์การพฒันา... มีการเตรียมบุคคล ... มีการจดัประชุมพบปะแลกเปล่ียนประสบการณ์กนัอย่าง

ต่อเน่ือง..”

(ประธานกรรมาธิการฝ่ายสังคม)

อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากการทาํงานดา้นการพฒันามนุษยแ์ละสังคมของ

คริสตศ์าสนจกัรคาทอลิกในประเทศไทย มีการกาํหนดบุคคลกรในการทาํงานเป็นวาระ โดยมีการสลบั

บทบาทหนา้ท่ีและบุคลากรอ่ืนๆ มาทาํงาน จึงควรมีรูปแบบและคู่มือการทาํงานดา้นการพฒันามนุษย์

ตามแนวทางคริสต์ศาสนา โดยเฉพาะแนวคิดของพระสันตะปาปาฯ ท่ีมีความโดดเด่ียว ชัดเจนและ

เหมาะสมกบัยคุสมยั เพ่ือนาํไปใชถ่้ายทอดและจดัการอบรมแก่บุคคลท่ีเก่ียวขอ้ง โดยเฉพาะผูท้าํงาน

ดา้นการพฒันามนุษย ์ตอ้งมีความชดัเจนในคาํสอนและวิธีการทาํงาน รวมถึงการช่วยเสริมสร้างความรู้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

256

เขา้ใจการรูปแบบการทาํงานแก่กลุ่มบุคคลท่ีสมคัรใจเป็นจิตอาสามาช่วยทาํงานซ่ึงเป็นผูเ้ช่ียวชาญใน

ดา้นต่างๆ ดงัท่ี ผูเ้ช่ียวชาญใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“...ดงันั้น ความสําคญัเร่ืองแรก ในการทาํงานพฒันามนุษย์ คือ

แต่ละบุคคล (ตวัผูท้าํงาน) ตอ้งเปิดใจ ทาํความสะอาดใจ ทบทวนชีวติภายในตวัเราเอง เพราะทุกจงัหวะ

ของชีวติ เราถูกบดบงัดว้ยเง่ือนไขหรือสถานการณ์ต่างๆ และบ่อยๆ ท่ีเง่ือนไขนั้นไดท้าํลายมุมมองเชิง

บวกของเราท่ีจะมีต่อคนอื่น และเม่ือใจสะอาด ทศันคติต่อคนอื่นดีข้ึน คนอื่นก็เห็นความดีงาม / คุณค่า

ในตวัเรา (ผูท้าํงาน) เขาก็จะเกิดการเปล่ียนแปลงไปดว้ยเช่นกนั...”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

“... ตอนน้ีท่ีไดรั้บความสนใจเป็นพิเศษ คือ อาสาสมคัรท่ีปลดเกษียร

จากการทาํงานประจาํแลว้ ซ่ึงเป็นคนท่ีมีการศึกษา ทั้งอาจารย ์ตาํรวจ ทหาร ผูเ้ช่ียวชาญต่างๆ พยายามดึง

คนเหล่าน้ีเขา้มา ...เรียกร้องใหไ้ปช่วยคนอืน่แทนท่ีจะอยูแ่ต่เพียงเพ่ือตนเอง”

(ประธานกรรมาธิการฝ่ายสังคม)

ดงันั้น จึงพบถึงความตอ้งการจาํเป็นในการจดัทาํรูปแบบการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือใชเ้ป็นแนวทางและคู่มือการทาํงานดา้นการ

พฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของหลกัคาํสอนของคริสต์ศาสนา รวมถึงการเผยแพร่ในวงกวา้ง สาํหรับ

ผูส้นใจศึกษาแนวทางการพฒันามนุษยท่ี์บุคคลากรของคริสต์ศาสนจกัรคาทอลิกใชใ้นเป็นรูปแบบใน

การจดัการดา้นการพฒันามนุษย ์

2. ขอ้เสนอแนะในการจดัทาํรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์อง

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

จากการสมัภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญ ผูว้ิจยัพบขอ้เสนอแนะว่า รูปแบบการพฒันา

มนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ตอ้งส่ือชดัเจนถึงลกัษณะเฉพาะของคาํ

สอนคริสตศ์าสนา ท่ีเนน้การพฒันาจิตใจ/จิตวิญญาณ โดยเช่ือมโยงกบัพระเจา้ (ความจริงสูงสุด) การ

ทาํงานพฒันาของคริสตศ์าสนา ไม่ใช่ในลกัษณะการทาํงานสงัคมสงเคราะห์ แต่เป็นการพฒันาจิตใจ มุ่ง

ยกระดบัคุณค่าทางจิตวิญญาณ ท่ีเรียกร้องให้ผูท้าํงานดา้นการพฒันาไดแ้ลกเปล่ียนเรียนรู้และเกิดการ

พฒันาตนเองอยา่งต่อเน่ืองดว้ยเช่นกนั

“..การพฒันา คือ การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงจะตอ้งเกิด

ข้ึนอยู่เสมอ เพราะสองสาเหตุ คือ 1. เพราะมีความ อยุติธรรมเกิดข้ึน ในกระบวนการพฒันา และ 2. เพราะ

ความรักต่อพระเจา้ และต่อพ่ีนอ้ง เรียกร้องเราให้เปลี่ยนแปลง เพ่ือสร้างภารดรภาพในความจริง... การ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

257

เปลี่ยนแปลงตอ้งเร่ิม “ท่ีใจ” เพ่ือเป็นหลกัประกนัวา่ เราจะพฒันาสังคมและเศรษฐกิจ ไปในทิศทางของ

คนท่ีมีวฒิุภาวะ....คาํสอนดา้นสังคมท่ีไม่เปลี่ยนแปลงหลกัการเดิม เพียงแต่ตอ้งการตอบโจทยข์องปัญหา

ท่ีเกิดข้ึน คาํสอนพระศาสนจกัรตั้งอยู่บนหลกัการดัง่เดิมของอคัรสาวกและของบรรดาปิตาจารย์ท่ีอา้งอิง

ถึงพระเยซูเจา้...”

(ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสงัคมฯ)

“ให้พฒันา ไม่ใช่แต่เพียงร่างกายเท่านั้น แต่เป็นฝ่ายจิตใจ หรือ

ฝ่ายจิตวญิญาณ...ตอ้งเนน้การทาํจิตตารมยค์าทอลิก คาํสอนของพระเยซูเจา้มาเป็นฐานของการทาํงาน

ใหเ้ด่นในชีวติของเราแต่ละคน”

(ประธานกรรมาธิการฝ่ายสังคม)

“ขอ้คิดท่ีอยากฝากไว ้ คือ การพฒันาตอ้งไม่หยุดนิ่ง จุดเล็กๆ ท่ี

ตอ้งทาํใหไ้ด ้คือระดบับุคคล ตวัเราเองตอ้งมีการขดัเกลา ทาํใหดี้ข้ึน สะอาดข้ึนอยู่เสมอ ทุกเร่ืองตอ้ง

เร่ิมจากปัจเจก เขา้ใจตวัเอง มีจุดมุ่งหมายอะไร อย่างไร และนาํสู่การปฏิบติัออกไป น่ีเป็นระดบับุคคล

....ส่ิงท่ีไดเ้รียนรู้ คือ การพฒันาตอ้งมุ่งไปสู่การเติบโตในชีวติฝ่ายจิต เป็นภูมิคุม้กนัใหเ้ราเขม้แขง็ ทาํให้

เรามีความสุภาพ อ่อนนอ้ม เราเห็นความหยาบของตนอยู่เสมอ เห็นถึงความบกพร่องของตวัเราเอง เม่ือ

เป็นเช่นน้ี เราก็พยายามแกไ้ขส่ิงบกพร่องเหล่านั้น ไม่ใชค้วามหยาบ หรือบกพร่องไปปฏิบติัต่อคนอื่น”

(ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสนัติ)

ดงันั้น จึงสรุปความตอ้งการจาํเป็น และขอ้เสนอแนะในการจดัทาํรูปแบบการพฒันา

มนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

1. มีความตอ้งการจาํเป็นในการจดัทาํรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือเป็นการสงัเคราะห์องคค์วามรู้ดา้นการพฒันามนุษยต์ามคาํสอนคริสต์

ศาสนาอยา่งเป็นระบบ เพ่ือความสะดวกต่อการเรียนรู้ การถ่ายทอดและเผยแพร่การพฒันามนุษยต์ามคาํ

สอนคริสต์ศาสนา โดยเฉพาะกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ี

เป็นการอธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนาเร่ืองการพฒันามนุษยใ์นบริบทสงัคมร่วมสมยั

2. รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ควร

แสดงถึงลกัษณะเฉพาะของคาํสอนคริสต์ศาสนา ท่ีเน้นการพฒันาจิตใจ/จิตวิญญาณ โดยเช่ือมโยงกบั

พระเจา้ (ความจริงสูงสุด) ซ่ึงเป็นลกัษณะการทาํงานการพฒันามนุษยข์องคริสตศ์าสนา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

258

ตอนที่ 2 ผลการพฒันารูปแบบการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ สันตะปาปา ยอห์น ปอล

ที่ 2

ขั้นตอนน้ี มีวตัถุประสงคเ์พ่ือนาํเสนอรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดว้ยการวิพากษแ์ละประเมินความคิดเห็นผูเ้ช่ียวชาญ ในรูปแบบการอา้งอิง

ผูท้รงคุณวุฒิ (Connoisseurship) ซ่ึงมีประสบการณ์ในการบริหารหน่วยงานการพฒันามนุษยแ์ละสงัคม

ขององคก์รคาทอลิกในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทย และกลุ่มนักวิชาการดา้นปรัชญาและศาสนา/คาํ

สอนคริสต์ศาสนาและการศึกษา เพ่ือนําเสนอรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 นาํไปสู่ขอ้คน้พบจากงานวิจยัท่ีมีความเหมาะสม เป็นไปไดแ้ละสอดคลอ้ง

กบับริบทของคริสตศ์าสนจกัรคาทอลิก เพ่ือตอบคาํถามการวิจยัขอ้ 2. รูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นอย่างไร จึงเสนอผลการศึกษาสรุปเป็นส่ี

ขั้นตอน ดงัน้ี

1. ผลการร่างกรอบแนวคิดของรูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

จากการศึกษาขอ้มูลพ้ืนฐานการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ด้วยการวิเคราะห์เอกสารและการสัมภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญ ผูว้ิจัยนําข้อมูลท่ีได้มา

สงัเคราะห์เป็นลกัษณะและกรอบแนวคิดของร่างรูปแบบ สรุปผลดงัน้ี

1.1 ลกัษณะของรูปแบบ

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

เป็นแนวทางการพัฒนามนุษย์โดยมีพ้ืนฐานอยู่บนคําสอนคริสต์ศาสนา โดยใช้การวิเคราะห์

ปรากฏการณ์ของมนุษยแ์ละสงัคมตามแนวปรัชญาบุคคลนิยม ซ่ึงมีลกัษณะท่ีสาํคญั ดงัน้ี

1.1.1 การพัฒนาเป็นกระบวนการไปสู่การ เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ด้วยการ

ปรับเปล่ียนเจตคติของบุคคล

การพฒันามนุษยเ์ป็นภารกิจท่ีพระเจา้มอบให้มนุษย ์ไปสู่ความสมบูรณ์ใน

พระเจา้ มนุษยจึ์งตอ้งพฒันาตวัเองอยา่งต่อเน่ือง ชีวิตมนุษยจึ์งเป็นกระบวนการมุ่งสู่ภารกิจตามวิถีชีวิต

มนุษย ์(Vocation) มีเป้าหมาย คือ การมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้/ชีวิตนิรันดรในพระ

เจา้) ดว้ยการปรับเปล่ียนเจตคติ (การกลบัใจ) จากการดาํเนินชีวิตท่ียึดตนเองเป็นหลกั ปฏิเสธ/ละเลย/

เมินเฉยคนอ่ืน ตามค่านิยมท่ีส่งเสริมการมีวตัถุสสาร ซ่ึงเป็นกระแสการทาํลายชีวิตท่ีแทรกซึมในวิถีชีวิต

ในสงัคมปัจจุบนั จนทาํใหเ้กิดบรรยากาศของการมุ่งความมัง่มีวตัถุสสาร ว่ามีความสาํคญัมากกว่าชีวิต

ของบุคคล (กลไก/บาปสังคม) ไปสู่การดาํเนินชีวิตท่ีเน้นความเป็นบุคคลมาก่อนและเหนือทุกส่ิง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

259

(วฒันธรรมส่งเสริมชีวิต) โดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ (เยาวชน) ท่ีจาํเป็นตอ้งไดรั้บการเสริมสร้างเจต

คติ เพ่ือมีภูมิคุม้กนัและมีหลกัในการดาํเนินชีวิต

1.1.2 การพฒันาแบบบูรณการทุกมิติของชีวิตและสงัคม

การพฒันามนุษย ์ต้องมีการพิจารณาอย่างรอบคอบ สอดคลอ้งกับคุณค่า

ความหมายชีวิตท่ีแทจ้ริงของมนุษย ์ โดยคาํนึงถึงความสมดุลระหว่างวิทยาการและศีลธรรม การพฒันา

มนุษยจึ์งเป็นการพฒันาแบบบูรณการทุกมิติของชีวิตมนุษย์ และสังคม ทั้ งด้านเศรษฐกิจ สังคม

วฒันธรรมและจิตใจ รวมถึงโอกาส คุณภาพและความเสมอภาคของทุกภาคส่วนในสังคม พระ

สนัตะปาปาฯ ใหค้วามสาํคญัต่อการทาํงานในฐานะเป็นการพฒันาชีวิตในสังคมสู่ความเจริญกา้วหน้า

ของบุคคล การทาํงาน คือ การท่ีมนุษยอุ์ทิศตนไม่เพียงแต่เพ่ือตนเอง แต่มนุษยย์งัทาํเพ่ือผูอ่ื้นและ

ทาํงานเพื่อเล้ียงดูครอบครัว ชุมชน และชนชาติ ท่ีสุด เพ่ือมนุษยชาติเองทั้ งหมด และเป็นการขยาย

ความสมัพนัธแ์ห่งความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัของมนุษยชาติ

1.1.3 การพฒันาในบริบทอตัลกัษณ์/บุคลิกภาพของบุคคล

พ้ืนฐานการพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มาจากคาํสอน

คริสตศ์าสนาท่ีสอนว่ามนุษยมี์ศกัด์ิศรีและคุณค่าแบบเท่าเทียมกนั ในฐานะเป็นบุคคลท่ีพระเจา้สร้างให้

เป็นภาพลกัษณ์ของพระองค ์เป็นการใหค้วามสาํคญัต่อลกัษณะร่วมกนัของมนุษยชาติ ท่ีดาํเนินชีวิตดว้ย

เสรีภาพบนความสาํนึกและรับผดิชอบท่ีจะพฒันาชีวิตของตนร่วมกบัคนอ่ืน ในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม

เพ่ือพฒันาชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลยิง่ข้ึนๆ อยา่งไรก็ตามส่ิงท่ีเป็นลกัษณะเด่นในการอธิบายมนุษยข์อง

พระสันตะปาปาฯ คือ การให้ความสาํคญัต่อมนุษยแ์ต่ละคน “มนุษยท่ี์มีอยู่จริงอย่างเป็นรูปธรรมใน

ประวติัศาสตร์ซ่ึงมีลกัษณะเฉพาะท่ีเป็น “อตัลกัษณ์” ของแต่ละบุคคลท่ีไม่ซํ้ ากันสักคน... ไม่มีใคร

เหมือนกนัเลยเพราะมนุษยแ์ต่ละคนยอ่มมีประวติัศาสตร์ส่วนตวัเก่ียวกบัชีวิตของตน” (John Paul II,

1979: 13-14) บุคคลมีสิทธิและตอ้งไดรั้บการส่ิงเสริมจากสงัคมในการพฒันาชีวิตตามอตัลกัษณ์ พระ

สันตะปาปาฯ ทรงย ํ้ าถึง “อตัลกัษณ์ส่วนบุคคล” ท่ีไม่ซํ้ าแบบกัน ในฐานะท่ีมนุษยด์าํเนินชีวิตและ

พฒันาชีวิตของตนตามบริบทและประวติัศาสตร์ของแต่ละคน บนพ้ืนฐานของการเคารพตนเองและ

ผูอ่ื้นในฐานะท่ีเป็นบุคคลท่ีดาํเนินชีวิตท่ามกลางส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการให้ความสาํคญัต่อวฒันธรรม

อนัเป็นคุณค่าและมรดกตกทอดจากรุ่นสู่รุ่น (John Paul II, 1991: 50) ท่ีหล่อหลอมมนุษยใ์ห้พฒันาชีวิต

ตามอตัลกัษณ์ของตน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

260

1.1.4 การพฒันาด้วยการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ชีวิต/สังคม ด้วยการไตร่ตรอง

“ความจริง” ตามคาํสอนคริสตศ์าสนา

การพัฒนามนุษย์ เป็นการเสริมสร้างให้บุคคลได้ไตร่ตรอง ทบทวน

ปรากฏการณ์ชีวิต เพ่ือปลุกจิตสาํนึกต่อการใชเ้สรีภาพ บนความสาํนึกท่ีถูกตอ้ง ตามคาํสอนคริสต์

ศาสนา ดว้ยการพิจารณา/วิเคราะห์ปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตและสังคม การทาํความเขา้ใจในทุก

มิติ รับรู้ ยอมรับ และออกแบบวิถีชีวิต ดว้ยการไตร่ตรอง “ความจริง” จากพระคมัภีร์/คาํสอนของศาสนา

ซ่ึงเช่ือว่าเป็นแนวทางการดาํเนินชีวิตท่ีพระเจา้ประทาน (เผยแสดง) แก่มนุษย ์ ไปสู่การเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์

ดว้ยเหตุน้ี การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

เรียกร้องใหทุ้กคน ทุกภาคส่วนตอ้งมีบทบาทหนา้ท่ี และร่วมมือกนัในการเสริมสร้างการเป็นบุคคลท่ีมี

วุฒิภาวะ ในสงัคมท่ีมีบรรยากาศของความไวว้างใจกนั มีการเคารพ ยอมรับในสิทธิ เสรีภาพของบุคคล

ในการบริหารจดัการ และการแทรกแซงอยา่งถกูตอ้ง โดยมีพ้ืนฐานอยู่บนการประกนัความมัน่คง ดว้ย

วิธีการท่ีเหมาะสม พึงระมดัระวงัการแทรกแซงในแบบผกูขาด จนทาํลายเสรีภาพของมนุษย ์ พึง

ระมดัระวงัการจดัสวสัดิการท่ีเกินพอดี ท่ีเนน้แต่เพียงการส่งเสริมดา้นวตัถุ กายภาพ จนละเลยคุณค่าฝ่าย

จิต หรือการละเลยร่างกาย การส่งเสริมการอยากมี อยากได ้ตอบสนองความตอ้งการในระดบัสัญชาติ

ญาณ หรือการส่งเสริมเสรีภาพแบบเกินเลย ทาํใหม้นุษยข์าดความรับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตตนเอง

คนอ่ืนและสงัคม รวมทั้งการพฒันาคุณค่าฝ่ายจิตวิญญาณ ดว้ยการเปิดใจตอบรับพระกรุณาของพระเจา้

ท่ีช่วยใหบุ้คคลมุ่งไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ซ่ึงเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันาชีวิต

1.2 กรอบแนวคิดของร่างรูปแบบฯ

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีหลกัการ

อยู่บนการเสริมสร้างบุคคลตามคาํสอนคริสต์ศาสนา มีลกัษณะเป็นกระบวนการพฒันาจิตใจอย่าง

ต่อเน่ือง ดว้ยกระบวนการไตร่ตรอง ทบทวนปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตและสงัคมอยูเ่สมอ เพ่ือเขา้ใจ

และพฒันาตนเองอยา่งต่อเน่ือง โดยจดักระบวนการพฒันาภายใตส้าระความรู้และวิธีการท่ีเหมาะสม

สอดคลอ้งกบัสภาพบุคคล มีความเช่ือศรัทธาในศาสนาเป็นภูมิคุม้กนั/แนวทาง เพ่ือให้แต่ละบุคคล ซ่ึง

มีพ้ืนฐานอยูบ่นสภาวะดั้งเดิมท่ีดีงาม ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ แต่ถูกบดบงั/บิดเบือนดว้ย

การยดึมัน่ ถือมัน่ต่อค่านิยมท่ีลดทอนคุณค่ามนุษยใ์หเ้ป็นเพียงแค่วตัถุ สสาร ส่งผลใหบุ้คคลมีเจคติคติท่ี

ลดทอนคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเองและคนอ่ืน ให้ตกตํ่า การพฒันามนุษยจึ์งมุ่งสู่การปรับเปล่ียนเจตคติ

ต่อการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศักด์ิศรีต่อชีวิตของตนเอง คนอ่ืนในบริบท

ส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือให้แต่ละบุคคลมีจิตใจท่ีพร้อมท่ีจะตอบรับพระพร/พระกรุณาของพระเจ้าท่ีโปรด

ประทานชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ ตามสถานการณ์ของชีวิตของแต่ละคน โดยมีสาระสาํคญัของร่าง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

261

รูปแบบฯ ซ่ึงประกอบดว้ยหลกัการ เป้าหมาย จุดหมาย กระบวนการ การประเมินการพฒันา และ

ปัจจยั/เง่ือนไขการใชรู้ปแบบ ดงัน้ี

1.2.1 หลกัการ : การเสริมสร้างการเป็นบุคคล

การพฒันามนุษย ์มีหลกัการอยูบ่นการพฒันาท่ีเสริมสร้างบุคคลให้เป็นตวัของ

ตวัเอง ดว้ยการมีเจตคติของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผูอ่ื้น บนพ้ืนฐานความสาํนึกและ

รับผดิชอบ ดว้ยการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอยา่งเหมาะสมและสมดุล ในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือ

มุ่งไปสู่การเป็นบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะท่ีดาํเนินชีวิตในสงัคมแห่งความยติุธรรมและสนัติ ดว้ยการพฒันาทุก

มิติของชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นบุคคล พ้ืนฐานความเป็นบุคคลของ

มนุษย ์คือ การเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ทาํให้มนุษยมี์ส่วนร่วมและมีศกัยภาพท่ีจะพฒันาไปสู่การ

เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ คุณลกัษณะของการเป็นบุคคล คือ เสรีภาพ (Freedom) บนความสาํนึกดีชัว่/มโน

ธรรม (Consciousness) ท่ีตอ้งดาํเนินชีวิตสอดคลอ้งกบัการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ การพฒันา

มนุษย ์เป็นการพฒันาแบบบูรณาการทุกมิติของชีวิต ครอบคลุมทั้ งมิติฝ่ายจิตวิญญาณและมิติทาง

กายภาพ บนพ้ืนฐานของการปรับเปล่ียนเจตคติ (การกลบัใจ) จากเจตคติการใชเ้สรีภาพตามกระแสการ

ทาํลายชีวิต ไปสู่เจตคติการใช้เสรีภาพท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคลตามวฒันธรรมส่งเสริมชีวิต การ

เสริมสร้างความเป็นบุคคล ต้องมีการปลูกฝังและเสริมสร้างชีวิตของบุคคล เร่ิมจากครอบครัว และ

สงัคมท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศและสภาพแวดลอ้มของการเคารพคุณค่าและศกัด์ิศรีความเป็นบุคคล มีการ

แบ่งปันดว้ยจิตอาสาบนพ้ืนฐานของความรักและการรับใชก้นั ซ่ึงเป็นคุณค่าทางศาสนาและหลกัการ

ทางศีลธรรม นอกจากนั้น การพฒันาบุคคล ตอ้งมุ่งเสริมสร้าง “อตัลกัษณ์บุคคล” เพ่ือให้บุคคลเป็นตวั

ของตวัเอง มีความภาคภูมิใจในชีวิตและพ่ึงตนเองได ้ในบริบทประวติัศาสตร์ วฒันธรรม ประเพณีอนัดี

งาม ภูมิปัญญาและการดาํเนินชีวิตอยา่งสมดุลในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม

ดงันั้ น รูปแบบการพฒันามนุษย ์จึงมีพ้ืนฐานอยู่บนหลกัการเป็นบุคคลของ

มนุษย ์ท่ีเช่ือมโยงกบัพระเจา้ ในฐานะบุคคลท่ีสมบูรณ์ ลกัษณะพื้นฐานท่ีแสดงถึงความเป็นบุคคลของ

มนุษย ์ว่าประกอบดว้ยความรู้สาํนึกและเสรีภาพ ท่ีควบคู่กนั อนัเป็น “ศกัยภาพภายใน” ท่ีมนุษยไ์ดรั้บ

จากพระเจา้ ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระองค์ เพ่ือพฒันาชีวิตดว้ยการสร้างความสัมพนัธ์

กบัผูอ่ื้น ด้วยเหตุน้ี การมีความรู้สํานึกและเสรีภาพ จึงเป็นหลกัการพ้ืนฐานของการเป็นบุคคลของ

มนุษย ์ในการพฒันาชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนในสงัคม ในฐานะเป็นบุคคลท่ีตอ้งมีการติดต่อสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น

ตอ้งมีการอุทิศตวัใหผู้อ่ื้นและในเวลาเดียวกนัก็ตอ้งรับการติดต่อสมาคมกบัผูอ่ื้นท่ีหยิบยื่นไมตรีจิตให้

เช่นกนั พระสนัตะปาปาฯ ทรงใหค้วามสาํคญัต่อครอบครัวเป็นพิเศษ ในฐานะเป็นชุมชนแรก และเป็น

พ้ืนฐานในการปลกูฝังคุณค่าของชีวิต ครอบครัวเป็นจุดเร่ิมตน้และการพฒันาชีวิต จึงมีบทบาทสาํคญั

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

262

ต่อการปลกูฝังเจตคติ และเสริมสร้างภูมิคุม้กนัในการดาํเนินชีวิตดว้ยความเคารพในสิทธิ เสรีภาพของ

บุคคล รวมถึงการเสริมสร้าง “อตัลกัษณ์ส่วนบุคคล” ตามบริบทของประวติัศาสตร์ วฒันธรรม อนัเป็น

คุณค่าและมรดก ท่ีหล่อหลอมมนุษยใ์ห้พฒันาชีวิตตามอตัลกัษณ์ของตน รวมถึงการดาํเนินชีวิตอย่าง

สมดุลตามระบบนิเวศวิทยา

1.2.2 เป้าหมาย : บุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้)

ก า รพัฒน า ม นุษ ย์ต าม ก ระบ วนทัศน์ ข องพร ะสัน ตะปา ปาฯ เ ป็ น

กระบวนการพฒันาตามภารกิจท่ีพระเจา้มอบใหม้นุษยไ์ปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ หรือความรอดพน้

ในพระเจา้ ซ่ึงเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันามนุษย ์ อนัเป็นผลสืบเน่ืองมาจากการท่ีมนุษยเ์ป็น

บุคคลท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ซ่ึงเป็นทั้งสิทธิพิเศษท่ีพระเจา้ทรงมอบแก่มนุษยใ์หมี้ร่วมส่วนและมี

ศกัยภาพท่ีจะบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ได ้ในขณะเดียวกนัมนุษยมี์ภารกิจ (หน้าท่ี) ในการตอบรับพระ

เมตตาของพระเจา้ในการพฒันาชีวิตดว้ยศกัยภาพตามแนวทางท่ีพระเจา้ประทานให้ เพ่ือมุ่งสู่การเป็น

บุคคลท่ีสมบูรณ์ นอกจากนั้น การพฒันามีลกัษณะเป็น “กระบวนการสากล” ท่ีครอบคลุมทุกคน ทุก

สภาพและตลอดชีวิต ดว้ยความสาํนึกและรับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตของตนและคนอ่ืนในสังคม ใน

ฐานะท่ีทุกคนเป็น “ภาพลกัษณ์ของพระเจ้า” อย่างไรก็ตาม “การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์” ซ่ึงเป็น

เป้าหมายของการพฒันา เป็นพระกรุณาของพระเจา้ท่ีประทานแก่มนุษย ์บทบาทของมนุษย ์คือ การตอบ

รับแนวทางของพระเจา้ดว้ยการปรับเปล่ียนเจตคติไปสู่การดาํเนินชีวิตตามแนวทางของพระเจา้

1.2.3 จุดหมาย : การกลบัใจ/การเปล่ียนแปลงเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

เป้าหมายการพฒันา คือ การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ ซ่ึงเป็นพระกรุณา

ของพระเจ้าท่ีประทานแก่มนุษย ์บทบาทของมนุษย ์คือ การตอบรับแนวทางของพระเจ้าด้วยการ

ปรับเปล่ียนเจตคติไปสู่การดาํเนินชีวิตตามแนวทางของพระเจ้า ซ่ึงพระสันตะปาปาฯ ทรงยืนยนัคาํ

สอนคริสตศ์าสนาท่ีให้ความสาํคญัต่อการดาํเนินชีวิตท่ีมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ ดว้ยการปฏิบติัตน

เสริมสร้างความสัมพนัธ์กับคนอ่ืนในสังคม เพ่ือมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะ ในสังคมแห่งความ

ยติุธรรมและสนัติ อยา่งไรก็ตามสภาพสงัคมปัจจุบนั เต็มดว้ยกลไกและโครงสร้างท่ีเป็นอุปสรรคและ

เป็นภยัคุกคามชีวิต ตามกระแสการทาํลายชีวิต แทนท่ีมนุษยจ์ะร่วมมือกนัในการพฒันาชีวิตและสังคม

มนุษยก์ลบัเบียดเบียน แข่งขันเพ่ือแย่งชิง เอารัดเอาเปรียบกันเพ่ือผลประโยชน์ดา้นวตัถุ ส่งผลให้

ประสบวิกฤติการณ์พฒันาในรูปแบบต่างๆ ในสงัคม

จุดหมายของการพฒันามนุษย ์คือ การเปล่ียนแปลงเจตคติ (กลับใจ) อย่าง

ต่อเน่ือง จากการใชเ้สรีภาพดว้ยความเคยชินตามกระแสทาํลายชีวิต ไปสู่ใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

263

ตอบรับแนวทางของพระเจา้ ดว้ยจิตสาํนึกในสิทธิ เสรีภาพของบุคคลท่ีมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

ซ่ึงเป็นการมุ่งเสริมสร้างบุคคลใหมี้วุฒิภาวะ (มีความเป็นผูใ้หญ่) โดยมีคุณลกัษณะท่ีสาํคญั ไดแ้ก่ การ

เป็นบุคคลท่ีมีจิตใจท่ีเป็นอิสระ พ่ึงตนเองได้ สามารถคิด ตัดสินใจและปฏิบัติตนด้วยความสํานึก

รับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตของตน ร่วมกบัคนอ่ืน อยา่งเหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลกบัสถานภาพ/

สถานการณ์ของชีวิต มีนํ้ าใจ/จิตอาสาท่ีจะแบ่งปันชีวิตและทรัพยสิ์นของตนร่วมกบัคนอ่ืนในสังคม

อยา่งเหมาะสม มีจิตใจท่ีพร้อมท่ีจะรักและรับใชค้นอ่ืน เห็นแก่ประโยชน์/ผลดีต่อการพฒันาชีวิตของ

คนอ่ืน ไม่ใช่ยดึแต่ประโยชน์ของตนอย่างเดียวจนปฏิเสธ เบียดเบียนหรือละเลยคนอ่ืน สาํนึกในสิทธิ

เสรีภาพและความรับผดิชอบในการพฒันาชีวิตของตนร่วมกบัคนอ่ืนในสังคม ให้ความสาํคญัต่อการมี

ความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้นดว้ยการปฏิบติัความรักเมตตาแบบท่ีพระเจา้ทรงรัก (Agape) ดว้ยความเคารพใน

คุณค่าความเป็นบุคคลของตนเองและผูอ่ื้น เร่ิมต้นในครอบครัว ชุมชน/สังคม ในบริบทของ

ส่ิงแวดลอ้มท่ีสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา อนัเป็นคุณลกัษณะของสังคมท่ีสมาชิกมีการดาํเนินชีวิต

ร่วมกนัแบบหมู่คณะท่ีมุ่งส่งเสริมและพฒันามนุษยสู่์ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ โดยเน้นการเสริมสร้าง

เจตคติแก่คนรุ่นใหม่ (เยาวชน) เป็นกลุ่มบุคคลท่ีไดรั้บการเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพ่ือให้มีภูมิคุม้กันและมี

หลกัการในการดาํเนินชีวิตในสงัคม

1.2.4 กระบวนการ

กระบวนการพัฒนามนุษย์ เพ่ือมุ่งสู่การปรับเปล่ียนเจตคติ (การกลับใจ)

จาํเป็นตอ้งมีการเสริมสร้างความรู้ นาํสู่การเปล่ียนแปลงเจตคติและพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิต โดยใชก้ระบวนการอบรม ซ่ึงประกอบดว้ยสามขั้นตอนท่ีสาํคญั ไดแ้ก่

1.2.4.1 การทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ : ขั้นตอนน้ี มีจุดประสงคเ์พ่ือใหเ้กิดการ

ต่ืนตวั/ความทา้ทาย มีลกัษณะเป็นการศึกษาเพ่ือทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์/ความเป็นจริงของชีวิตและ

สังคม ไม่ใช่แค่การสังเกต แต่เป็นการศึกษาวิเคราะห์เชิงลึกของปรากฏการณ์เฉพาะเจาะจง เป็น

รูปธรรมท่ีเกิดข้ึนจริงในสังคม ดว้ยการลงไปสัมผสัหรือพิจารณาในรายละเอียด ทุกมิติ ดว้ยวิธีการ

ต่างๆ ตามสภาพของบุคคล เพ่ือให้เปิดตวัพิจารณาปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนซ่ึงเก่ียวขอ้ง เช่ือมโยงกบั

ชีวิต เพ่ือมุ่งไปสู่การคน้พบสภาพชีวิต ซ่ึงหมายถึงการเปิดใจ/ไตร่ตรองปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิต

และสังคมอย่างละเอียด ในทุกมิติ เพ่ือนาํสู่การค้นพบรูปแบบการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของ

บุคคล เร่ิมต้นด้วยการเปิดมุมมอง/ความคิดไปสู่การพิจารณาปรากฏการณ์/สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนใน

สงัคม การทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึน ดว้ยการสงัเกต ศึกษาเพ่ือทาํความเขา้ใจในรายละเอียด

เพ่ือกระตุน้ใหเ้กิดการต่ืนตวั/ทา้ทายอาศยัการทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

264

1.2.4.2 การทบทวน ไตร่ตรอง วิเคราะห์ : ขั้นตอนน้ี มีจุดประสงค์เพ่ือ

ไตร่ตรองปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึน มีลกัษณะเป็นการกระตุน้ใหมี้การวิเคราะห์สภาพ/สถานการณ์ชีวิตดว้ย

การเสนอแนวคิด/หลกัธรรมคาํสอน/ข้อความจากพระคัมภีร์ หรือการแบ่งปันประสบการณ์ของ

ผูเ้ช่ียวชาญ เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลไดพิ้จารณาเจตคติหรือแนวทาง/คุณค่าหรือค่านิยมท่ีใชเ้ป็นหลกัในการ

ดาํเนินชีวิต เพ่ือมุ่งไปสู่การรับรู้/ยอมรับ ซ่ึงเป็นสภาวะทางจิตใจท่ีรับรู้และเปิดใจยอมรับผลการ

พิจารณา/ไตร่ตรองรูปแบบการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของบุคคล ดว้ยการสงัเกตความรู้สึกนึกคิด

ภายในจิตใจท่ีไดรั้บการกระตุน้/ทา้ทายจากปรากฏการณ์/สถานการณ์ นาํสู่การทบทวนความรู้สึกนึกคิด

เพ่ือพิจารณาบนพ้ืนฐานของการรับรู้สภาพชีวิตของบุคคล

1.2.4.3 การออกแบบเคร่ืองมือ/แนวทางปฏิบติั : ขั้นตอนน้ี มีจุดประสงค์เพ่ือ

กาํหนดแนวทางในการพฒันาชีวิต มีลักษณะเป็นการออกแบบเคร่ืองมือหรือกาํหนดแนวทางท่ี

เหมาะสมและเป็นไปไดใ้นการปฏิบติัท่ีสอดคลอ้งกบัสภาพบุคคล/กลุ่มบุคคล เพ่ือนาํสู่การปรับเปล่ียน

เจตคติการดาํเนินชีวิตของบุคคล เพ่ือมุ่งไปสู่การตดัสินใจเปล่ียนแปลง จากการใชเ้สรีภาพในการ

ปฏิเสธพระเจา้ และการยดึตนเอง (ตวัตน/ปัจเจก) เป็นศนูยก์ลางในการดาํเนินชีวิต ไปสู่การใชเ้สรีภาพ

ตอบรับแนวทางของพระเจ้าอยู่เสมอ ด้วยการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพสิทธิ เสรีภาพ ด้วยความสํานึก/

รับผดิชอบในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์บุคคลและความสมดุล

กบัส่ิงแวดลอ้ม ดว้ยการสาํนึกสภาพชีวิตของบุคคล เปิดใจ สาํนึกในพระเมตตาของพระ เปิดรับพระพร

เพ่ือการร่วมมือกบัพระในการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในการดาํเนินชีวิต

ทั้งน้ี ในการจดักระบวนการอบรมจาํเป็นตอ้งมีการวางแผนการดาํเนินงานอย่าง

เป็นระบบ ใหค้วามสาํคญัต่อการมีส่วนร่วมของผูเ้ก่ียวขอ้งในการดาํเนินการทุกขั้นตอน มีจิตตารมยก์าร

เสริมสร้างบุคคลเป็นพ้ืนฐาน มุ่งสู่ดาํเนินงานท่ียึดเป้าหมายเป็นหลกั การจดัสาระความรู้และวิธีการท่ี

เหมาะสม สอดคลอ้งและมีความเป็นไปไดใ้นบุคคล/กลุ่มบุคคล หรือพ้ืนท่ีในการทาํงาน โดยพิจารณา

เป็นรายกรณี มีโครงการ/กิจกรรมมารองรับอยา่งเหมาะสมกบัสภาพตามอตัลกัษณ์บุคคล โดยมุ่งการจดั

อบรมเสริมสร้างผูน้าํและคนรุ่นใหม่เป็นพิเศษ

1.2.5 การประเมิน

เน่ืองจากการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี

2 มีจุดหมาย คือ การเปล่ียนแปลงเจตคติ (การกลบัใจ) ซ่ึงเป็นมิติฝ่ายจิตวิญญาณ จึงไม่สามารถกาํหนด

รูปแบบไดแ้บบเจาะจง ต้องมีการพิจารณาเป็นรายกรณี ตามสภาพของบุคคล จาํเป็นต้องอาศยั

ผูเ้ช่ียวชาญ/ท่ีปรึกษาเฉพาะดา้น ดว้ยการพบปะ แบ่งปัน/แลกเปล่ียนประสบการณ์ภายใตค้าํแนะนาํของ

ผูเ้ช่ียวชาญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

265

อย่างไรก็ตาม การพฒันามนุษย ์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปาฯ มี

พ้ืนฐานอยูบ่นการเสริมสร้างการเป็นบุคคล ดว้ยจิตสาํนึกต่อสิทธิ เสรีภาพดว้ยความสาํนึกรับผดิชอบต่อ

การพฒันาชีวิตของแต่ละคนร่วมกับคนอ่ืนในสังคม ซ่ึงเป็นการให้ความสําคัญต่อการดาํเนินชีวิต

ร่วมกบัคนอ่ืน นอกจากนั้นแนวทางการพฒันามนุษย ์ใชก้ระบวนการจดัอบรมเสริมสร้างความรู้ ดงันั้น

จึงมีแนวทางการประเมิน ด้วยการพิจารณาเจตคติของบุคคลในการดาํเนินชีวิตร่วมกับคนอ่ืน ซ่ึง

ประกอบดว้ยสามส่วนท่ีสาํคญั ไดแ้ก่

1.2.5.1 การประเมินความรู้ หมายถึง การประเมินความสามารถทางสติปัญญา

ในการคิด วิเคราะห์ ประเมินและตดัสินใจไดอ้ยา่งถูกตอ้งในการมีความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืน ตามเจตคติ

การเคารพสิทธิ เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

1.2.5.2 การประเมินเจตคติ หมายถึง การประเมินความรู้สึกนึกคิด/ท่าทีภายใน

จิตใจท่ีมีต่อการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง คนอ่ืน

ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการตอบรับแนวทางของพระเจา้ในการดาํเนินชีวิตของแต่ละบุคคล

1.2.5.3 การประเมินพฤติกรรมในการดาํเนินชีวิตร่วมกับคนอ่ืนในสังคม

หมายถึง การประเมินพฤติกรรมการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน ดว้ย “จิตอาสา” กล่าวคือ การมีใจท่ีพร้อม

เสียสละเพ่ือความดีส่วนรวม ซ่ึงเป็นการขยายผลการพฒันาจากตวับุคคลไปสู่การแบ่งปันเพ่ือให้เกิด

ความดีในคนอ่ืน โดยการแบ่งปันดว้ยจิตอาสาแห่งรักและรับใชค้นอ่ืนในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการ

ตอบรับแนวทางของพระเจา้ในการดาํเนินชีวิตของแต่ละคน

ทั้งน้ี การประเมินการพฒันาดว้ยกระบวนการอบรมเสริมสร้างความรู้ นาํสู่การ

ปรับเปล่ียนเจตคติการดาํเนินชีวิตในการพิจารณาชีวิตและแนวปฏิบติัในการพฒันา โดยใชว้ิธีการเสวนา

แบ่งปันหรือเล่าเร่ืองราวของแต่ละคน

1.2.6 ปัจจยัและเง่ือนไขการใชรู้ปแบบ

ปัจจัยสําคัญ ท่ี ส่ง เส ริมการพัฒนามนุษย์ ได้แก่ “ตัว บุคคล” และ

“สภาพแวดลอ้ม” กล่าวคือ ตวับุคคลตอ้งมีใจท่ีมุ่งมัน่ สภาพของบุคคลท่ีดาํเนินชีวิตในบรรยากาศท่ี

มัน่คงและปลอดภยั มีความเช่ือมัน่ในศกัยภาพของชีวิตบนพ้ืนฐานของความเช่ือทางศาสนาและการมี

วินยัในชีวิต และสภาพแวดลอ้ม ไดแ้ก่ ครอบครัว ชุมชนและสังคม ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานและเครือข่ายการ

พฒันาท่ีเป็นเอกภาพในการส่งเสริมสิทธิและความรับผดิชอบการพฒันาบุคคล มีระบบ โครงสร้างและ

กฎหมายท่ีส่งเสริมและเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล ทั้ งน้ี เง่ือนไขการนํารูปแบบไปประยุกต์ใช ้

ไดแ้ก่ การพิจารณาสภาพ สถานการณ์ชีวิตของบุคคล ซ่ึงครอบคลุมถึงบริบทตามอตัลกัษณ์ โดยเฉพาะ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

266

ประวติัศาสตร์ วฒันธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาและความสมดุลในบริบทส่ิงแวดลอ้ม โดยหน่วยงาน/ผูมี้

ส่วนเก่ียวขอ้งในการจดัการพฒันามนุษยต์อ้งมีอุดมการณ์/จิตตารมย ์ มีความรู้ ประสบการณ์และเป็น

ตวัอยา่งท่ีดีในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล

จึงสรุปไดว้่า รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ซ่ึงมีหลักการอยู่บนการเสริมสร้างบุคคลตามคําสอนคริสต์ศาสนา เป็น

กระบวนการพฒันาจิตใจ/จิตวิญญาณท่ีต่อเน่ือง ตลอดชีวิต ดว้ยการการหมัน่ไตร่ตรอง ทบทวนชีวิตดว้ย

ปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตและสังคมอยู่เสมอ เพ่ือเขา้ใจและพฒันาตนเองอย่างต่อเน่ือง โดยจัด

กระบวนการพฒันาภายใตส้าระความรู้และวิธีการท่ีเหมาะสม สอดคลอ้งกบัสภาพบุคคล โดยมีความ

เช่ือศรัทธาในศาสนาเป็นภูมิคุม้กนั/แนวทาง เพ่ือให้แต่ละบุคคล ซ่ึงมีพ้ืนฐานอยู่บนสภาวะดั้ งเดิมท่ีดี

งาม ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ แต่ถูกบดบงั/บิดเบือนดว้ยการยึดมัน่ ถือมัน่ต่อค่านิยมท่ี

ลดทอนคุณค่ามนุษยใ์หเ้ป็นเพียงแค่วตัถุ สสาร ส่งผลให้บุคคลมีเจคติคติท่ีลดทอนคุณค่า ศกัด์ิศรีของ

ตนเองและคนอ่ืน ใหต้กตํ่า การพฒันามนุษยจึ์งมุ่งสู่การปรับเปล่ียนเจตคติในการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ต่อสิทธิ เสรีภาพและความรับผดิชอบต่อชีวิตของตนร่วมกบัคนอ่ืน เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลมีจิตใจท่ีพร้อมท่ี

จะตอบรับพระพร/พระกรุณาของพระเจา้ท่ีโปรดประทานชีวิตท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้) ในพระเจา้ ใน

สถานการณ์ของชีวิต จึงกาํหนดกรอบแนวคิดของร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ในแผนภาพท่ี 6 (หนา้ 267)

2. ผลการวพิากษ์กรอบแนวคดิของร่างรูปแบบฯ

ผูว้ิจัยนํากรอบแนวคิดของร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีจดัทาํข้ึน เสนอผูเ้ช่ียวชาญเพ่ือวิพากษ์ความถูกตอ้ง ความเหมาะสม

ความเป็นไปได ้ และสามารถนาํไปใชป้ระโยชน์ไดจ้ริงของรูปแบบ ประกอบดว้ยผูเ้ช่ียวชาญสองกลุ่ม

ไดแ้ก่

2.1 ผูเ้ช่ียวชาญกลุ่มผูบ้ริหารงานพฒันา จาํนวน 4 ท่าน ไดแ้ก่ ประธานคณะกรรมาธิการ/

ประธานกรรมการ/ผูอ้าํนวยการฝ่ายสงัคม ประจาํสงัฆมณฑล โดยกาํหนดครอบคลุมในส่ีภูมิภาค ไดแ้ก่

เชียงใหม่ ราชบุรี นครราชสีมา และ สุราษฏร์ธานี (รายช่ือในภาคผนวก ก)

2.2 ผูเ้ช่ียวชาญกลุ่มนักวิชาการ จาํนวน 4 ท่าน ไดแ้ก่ ผูท้รงคุณวุฒิในการศึกษา วิจัย

หรือมีประสบการณ์การศึกษาวิจยัดา้นปรัชญา ศาสนา การวดัประเมินผล (รายช่ือในภาคผนวก ก)

ผลการวิพากษโ์ดยผูเ้ช่ียวชาญ พบว่าลกัษณะและกรอบร่างรูปแบบท่ีจดัทาํข้ึนสรุปความ

มีความถกูตอ้ง เหมาะสม เป็นไปได ้และสามารถนาํไปใชไ้ดจ้ริงกบับริบทการทาํงานดา้นการพฒันา

มนุษยข์องคริสตศ์าสนาในบริบทสงัคมไทย ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญวิพากษ ์ความว่า

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

267

กรอบแนวคิดร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

แผนภาพท่ี 6 กรอบแนวคิดร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปาฯ

ปัจจยั : สภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศท่ีส่งเสริมการพฒันา

หลกัการ : การเสริมสร้างบุคคลใหส้ํานึกรับผิดชอบต่อเสรีภาพ/ใชเ้สรีภาพอย่างถูกตอ้งเตม็ทีใน

การดาํเนินชีวติร่วมกบัคนอื่นอย่างเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์/สมดุลกบัส่ิงแวดลอ้เพ่ือใหแ้ต่

ละบุคคลใชเ้สรีภาพตอบรับแนวทางของพระเจา้ในการดาํเนินชีวติไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

เป้าหมาย : บุคคลท่ีสมบูรณ์

จุดหมาย : 1. เพ่ือเสริมสร้างความสํานึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของบุคคล ตาม เจตคติ

การเคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

2. เพ่ือพฒันาบุคคลใหเ้กิดการเปลี่ยนแปลงเจตคติอย่างต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวติ

ท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

เงื่อนไข :

1. วทิยากร 2. ผูเ้ขา้รับการอบรม 3. ผูเ้ก่ียวขอ้ง

การประเมนิการพฒันามนุษย์ :

1. ความรู้ 2. เจตคติฯ 3. พฤติกรรมฯ

กระบวนการพัฒนา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

268

“...มีความถูกต้อง เ น่ืองจากให้ความสําคัญกับศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ท่ีเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้... ใหค้วามสําคญัต่อเสรีภาพในการดาํเนินชีวติ..”

(ผูอ้าํนวยการศูนยส์ังคมพฒันา สงัฆมณฑลราชบุรี)

“... เป็นแนวทางสามารถนาํไปใชไ้ด ้ ดว้ยการเนน้การเปลี่ยนแปลงเจตคติ จะทาํให้

ชีวติของมนุษยมี์คุณค่าตามภาพลกัษณ์พระเจา้ ตามแนวทางการจดัอบรมของคริสตศ์าสนจกัร..”

(ผูอ้าํนวยการศูนยส์ังคมพฒันา สงัฆมณฑลเชียงใหม่)

“.... มีความเหมาะสม... เพราะเป็นรูปแบบการพฒันาท่ีมีพ้ืนฐานบนกระบวนทศัน์

ท่ีมาจากความเขา้ใจธรรมชาติอนัแทจ้ริงของมนุษย์... เน้นความเป็นบุคคลท่ีให้ความสําคญัต่อบทบาท

หน้าท่ี และตอ้งมีสัมพนัธภาพกับคนอื่นและส่ิงแวดลอ้ม... เน้นการพฒันาในทุกมิติ บนพ้ืนฐานของ

หลกัธรรมทางศาสนา คือ รักและแบ่งปันดว้ยจิตอาสา...เป็นกระบวนทศัน์ท่ีสร้างความเขา้ใจ “การพฒันา

มนุษย”์ ซ่ึงความเขา้ใจน้ีสําคญัมากต่อบรรดาผูท้าํงานดา้นการพฒันา...สามารถนาํไปใชใ้นการปลุกจิตใจ

สํานึกใหต้ระหนกัถึงคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเอง ผูอ้ื่นและส่งแวดลอ้ม ทาํใหเ้กิดความเขา้ใจและมีแนวทาง

มุ่งสู่ชีวติท่ีสมบูรณ์ตามคาํสอนคริสตศ์าสนา”

(ผูอ้าํนวยการศูนยส์ังคมพฒันา สงัฆมณฑลนครราชสีมา)

“...เห็นวา่มีความถูกตอ้ง...กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ ท่านประสงคพ์ฒันา

มนุษยไ์ม่ใช่แบบแยกส่วน แต่ใหพ้ฒันาแบบองค์รวม ไม่ให้เห็นทางกายภาพหรือวตัถุสาร มองแต่เพียง

ชีวติในปัจจุบนั ... สุขทางกายดา้นเดียวในขณะท่ีทาํลายธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ม จนละเลยคุณค่าทางจิตใจ

.... มีความเหมาะสมดี เพราะเป็นการบูรณการทั้งกาย จิต สังคม ส่ิงแวดลอ้มดว้ยหลกัศาสนา พฒันาคุณค่า

ของจิตใจ...มีความเป็นไปได ้เพราะเป็นการสร้างความสมดุลระหวา่งวชิาการและศีลธรรมแบบบูรณการ

ทุกมิติของชีวติ สังคม เศรษฐกิจ วฒันธรรม ฯลฯ”

(ผูเ้ช่ียวชาญดา้นปรัชญาและศาสนา)

“มีความเหมาะสมท่ีจะเป็นทางออกในการแกปั้ญหาใหก้บัมนุษยใ์นปัจจุบนัท่ีกาํลงั

จะไปสู่ยุคหลงัยุคใหม่ (Post-modernism) ท่ีทั้งความเช่ือและเหตุผลถูกตั้งคาํถามถึงความน่าเช่ือถือและ

ความสมเหตุสมผล... เพ่ือเป็นแนวทางในการแกไ้ขปัญหาศีลธรรมและจริยธรรมต่างๆ ท่ีเกิดข้ึน...”

(ผูเ้ช่ียวชาญดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา)

อยา่งไรก็ตาม มีขอ้เสนอใหเ้พิ่มเติมรายละเอียดของรูปแบบ เพ่ือความสมบูรณ์ ครบถว้น

และความสะดวกต่อการนาํไปใช ้โดยเฉพาะการอธิบายกระบวนการเปล่ียนแปลงเจตคติ ตวัช้ีวดัการ

พัฒนา รวมถึงการใช้ค ําศัพท์ท่ี เป็นคําเฉพาะของคริสต์ศาสนา และควรระบุให้ชัดเจนถึง

คุณสมบติัเฉพาะของผูใ้ชรู้ปแบบ ดงัท่ีผูเ้ช่ียวชาญวิพากษ ์ความว่า

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

269

“...มีประโยชน์...ควรเขียนใหอ้อกเป็นรูปแบบท่ีจะนาํไปสู่การปฏิบติัในแต่ละ

ขั้นตอน... ควรกาํหนดวตัถุประสงคท่ี์ชดัเจน และควรเพิ่มเติมรายละเอียดเก่ียวกบัการวดั/ประเมินการ

พฒันา”

(ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการวดัประเมินผล)

“...แม้อยู่ในแนวทางท่ีถูกตอ้ง แต่ควรเพิ่มเติมในรายละเอียดปลีกย่อย...ควร

อธิบายขั้นตอนหรือกระบวนการเปลี่ยนแปลงเจตคติ (การกลบัใจ) และตวัช้ีวดัเท่าท่ีสามารถทดสอบ

ได.้.. เพ่ือไดรู้ปแบบท่ีนาํไปปฏิบติัแลว้ไดผ้ลอย่างจริงจงั...รูปแบบดงักล่าวสามารถนาํไปใชป้ระโยชน์

จริงได ้แต่สําหรับบุคคลท่ีมีพ้ืนฐาน หรือมีความสุกงอมของชีวติ...”

(ผูเ้ช่ียวชาญดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา)

“ควรปรับใหเ้ห็นเป็นรูปธรรมท่ีชดัเจน ทาํเป็นกรอบแนวคิดท่ีเช่ือมโยงสัมพนัธ์

กนั... มีเคร่ืองมือประเมินหรือเกณฑก์ารประเมินใหเ้ป็นรูปธรรมท่ีชดัเจน”

(ผูเ้ช่ียวชาญดา้นปรัชญาและศาสนา)

“...ควรเสนอรายละเอียดของกระบวนการจดัอบรมท่ีสะกิดใจ/ตรงใจสอดคลอ้ง

กบัสภาพบุคคล เพ่ือใหเ้กิดแรงจูงใจหรือมีพลงัผลกัดนัการเปลี่ยนเจตคติ...

(ผูอ้าํนวยการศูนยส์ังคมพฒันา สงัฆมณฑลนครราชสีมา)

ดังนั้ น จากผลการตรวจสอบคุณภาพของกรอบแนวคิดของร่างรูปแบบฯ ด้วยการ

วิพากษ์โดยผูเ้ช่ียวชาญ สรุปความว่าโครงร่างรูปแบบฯ มีความถูกต้อง เหมาะสม เป็นไปได้และ

สามารถนาํไปใชไ้ดจ้ริงในบริบทการทาํงานดา้นการพฒันามนุษยข์องคริสตศ์าสนาในบริบทสังคมไทย

อยา่งไรก็ตาม ควรเพิ ่มเติมรายละเอียด ปรับปรุงสาํนวนภาษา คาํศพัท์ท่ีใชใ้นการนาํเสนอ และพฒันา

รูปแบบฯ ใหเ้ป็นรูปธรรม ชดัเจน และความสะดวกต่อการนาํไปใช ้

3. ผลการร่างรูปแบบการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปาฯ

จากขอ้สรุปผลการวิพากษโ์ดยผูเ้ช่ียวชาญ ผูว้ิจยัไดน้าํขอ้คิดเห็นและเสนอแนะมาพฒันา

เป็นร่างรูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ซ่ึง

ประกอบดว้ย หลกัการ เป้าหมาย จุดหมาย กระบวนการ เง่ือนไข/ปัจจยัการใชรู้ปแบบ และการ

ประเมินการพฒันามนุษย ์ โดยสรุปความสมัพนัธข์ององคป์ระกอบต่างๆ ของรูปแบบ ในแผนภาพท่ี 7

(หนา้ 270)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

270

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

แผนภาพท่ี 7 รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

หลักการ : การเสริมสร้างบุคคลให้สํานึกรับผิดชอบต่อเสรีภาพ/ใช้เสรีภาพอย่างถูกตอ้งเต็มท่ี ในการ

ดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอยา่งเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์/สมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม เพื่อให้แต่

ละบุคคลใชเ้สรีภาพตอบรับแนวทางของพระเจา้ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ ์

เป้าหมาย : บุคคลท่ีสมบูรณ์

เงื่อนไข การประเมิน

วิทยากรมีจิตตารมย/์ เป็น

แบบอย่าง

1. ความรู้ : กระบวนทศันก์ารพฒันามนุษย์

ของพระสันตะปาปาฯ

2. เจตคติ : การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

ท่ีเคารพสิทธิ เสรีภาพ คุณค่าศกัด์ิศรีบุคคล

3. พฤติกรรม : การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

ผู้เข้ารับการอบรม มีพ้ืนฐาน/มีวินยั

และความมุ่งมัน่

ผู้เกีย่วข้อง ตระหนกั/ ส่งเสริม/

ดาํเนินชีวิตร่วมกนัเป็นหมู่คณะ

ปัจจัย : บรรยากาศท่ีเคารพ ยอมรับสิทธิ เสรีภาพ ไวว้างใจและมีส่วนร่วม

จุดหมาย : 1. เพื่อเสริมสร้างความสํานึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของบุคคล ตาม

เจตคติการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

2. เพื่อพฒันาบุคคลใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอยา่งต่อเน่ืองในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

สภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศของสังคมท่ีเป็นหน่ึงเดียวกนัในการปฏิบติัความรัก/เคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

กระบวนการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

271

ซ่ึงอธิบายโดยละเอียด ดงัน้ี

3.1 หลักการ : การเสริมสร้างบุคคลให้รู้สาํนึกต่อเสรีภาพและการใช้เสรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิต

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

มีหลกัการอยู่บนการเสริมสร้างบุคคลให้มีความสํานึกรับผิดชอบต่อเสรีภาพ และใช้เสรีภาพอย่าง

ถูกต้อง เต็มท่ี ในการดาํเนินชีวิตร่วมกับคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์และสมดุลกับ

ส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลใชเ้สรีภาพในการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนิน

ชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ซ่ึงมีพ้ืนฐานและสาระสาํคญั ดงัน้ี

3.1.1 มนุษยเ์ป็นบุคคล พ้ืนฐานความเป็นบุคคลของมนุษย ์คือ การเป็นภาพลกัษณ์

ของพระเจ้า ทําให้มนุษย์มีส่วนร่วมและมีศักยภาพท่ีจะพัฒนาไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

คุณลกัษณะของการเป็นบุคคล คือ เสรีภาพ (Freedom) บนความรู้สาํนึก (Consciousness) ท่ีตอ้งดาํเนิน

ชีวิตสอดคลอ้งกบัการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ (John Paul II, 1995: 34; 1994: 8; 1984: 11, 37)

3.1.2 การพฒันามนุษย ์เป็นการพฒันาแบบบูรณการทุกมิติของชีวิต (John Paul II,

1987: 32) ครอบคลุมทั้งมิติดา้นจิตวญิญาณและมิติดา้นร่างกาย บนพ้ืนฐานของการปรับเปล่ียนเจตคติ

(การกลบัใจ) จากเจตคติท่ีลดทอนมนุษยเ์ป็นเพียงวตัถุสสาร มุ่งพฒันามนุษยแ์ต่เพียงดา้นเศรษฐกิจ ตาม

กระแสการทาํลายชีวิต ไปสู่เจตคติการเคารพศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของมนุษย ์ ตามวฒันธรรมส่งเสริม

ชีวิต (John Paul II, 1991: 29, 39; 1987: 29, 46)

3.1.3 การเสริมสร้างบุคคล ตอ้งมีการปลูกฝังและเสริมสร้างชีวิตของบุคคล เร่ิม

จากครอบครัว และสงัคมท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศและสภาพแวดลอ้มของการเคารพคุณค่าและศกัด์ิศรีความ

เป็นบุคคล มีการแบ่งปันดว้ยจิตอาสาบนพ้ืนฐานของความรักและการรับใชก้นั ซ่ึงเป็นคุณค่าทางศาสนา

และหลกัการทางศีลธรรม (John Paul II, 1991: 49; 1987: 38, 39, 46; 1981: 40)

3.1.4 การพฒันาบนพื้นฐานของอตัลกัษณ์/บุคลิกภาพของบุคคลท่ีไม่ซํ้ าแบบกนั

การใหค้วามสาํคญัต่อบริบทชีวิตของบุคคล ประวติัศาสตร์ วฒันธรรม ประเพณีอนัดีงาม ภูมิปัญญาอนั

เป็นคุณค่าและมรดกตกทอดจากรุ่นสู่รุ่น ท่ีหล่อหลอบุคคลให้เป็นตวัของตวัเอง มีความภาคภูมิใจใน

ชีวิตและพ่ึงตนเองได ้ (John Paul II, 1987: 33; 1979: 13, 14)

3.1.5 การเสริมสร้างการเป็นบุคคล เป็นกระบวนการพฒันาท่ีต่อเน่ือง ท่ีเรียกร้อง

ใหทุ้กคน ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม บนพ้ืนฐานของการพิจารณา/วิเคราะห์ปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิต

และสงัคม ดว้ยการทาํความเขา้ใจในทุกมิติ การรับรู้/ยอมรับ และการออกแบบวิถีชีวิต ตาม “ความจริง”

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

272

ตามคาํสอนคริสตศ์าสนา ซ่ึงเป็นแนวทางการดาํเนินชีวิตท่ีพระเจา้ประทาน (เผยแสดง) แก่มนุษย ์เพ่ือ

มุ่งไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (John Paul II, 1995: 34, 37, 38)

3.2 เป้าหมาย : บุคคลท่ีสมบูรณ์

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ เป็นกระบวนการพฒันา

ชีวิตดา้นจิตวิญญาณตามคาํสอนคริสตศ์าสนา โดยมีเป้าหมาย คือ การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ หรือความ

รอดพน้ในพระเจา้ ซ่ึงเป็นพระกรุณาของพระเจา้ท่ีประทานแก่มนุษย ์(John Paul II, 1995: 2, 34; 1987:

29; 1986: 37) บทบาทของมนุษย ์คือ การมีความสาํนึกในสิทธิ และใชเ้สรีภาพในการตอบรับแนวทาง

ของพระเจ้า การพฒันามนุษย์ จึงมีพ้ืนฐานมาจากการท่ีพระเจ้าทรงสร้างมนุษย์ให้บุคคลท่ีเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ซ่ึง เป็นทั้งสิทธิพิเศษท่ีพระเจา้ทรงมอบแก่มนุษยใ์หมี้ร่วมส่วนและมีศกัยภาพท่ี

จะบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ (John Paul II, 1993: 73; 1991: 29) ในขณะเดียวกนัมนุษยมี์ภารกิจ (หน้าท่ี)

ดว้ยความสาํนึกในสิทธิและใชเ้สรีภาพอยา่งถกูตอ้ง เต็มท่ีในการตอบรับพระเมตตาของพระเจา้ดว้ยการ

ดาํเนินชีวิตตามแนวทางของพระเจา้ (John Paul II, 1995: 7, 38; 1987: 33; 1986: 34; 1981: 37)

นอกจากนั้น การพฒันามีลกัษณะเป็น “กระบวนการสากล” ท่ีครอบคลุมทุกคน ทุก

สภาพและตลอดชีวิต ดว้ยความสาํนึกและรับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตของตนและคนอ่ืนในสังคม ใน

ฐานะท่ีทุกคนเป็น “ภาพลกัษณ์ของพระเจา้” (John Paul II, 1995: 2; 1981: 4)

3.3 จุดหมาย : การเปล่ียนแปลงเจตคติอยา่งต่อเน่ืองต่อการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ มีพ้ืนฐานและทิศทางอยู่

บนหลกัการพฒันาบุคคล ท่ีเช่ือมโยงกบัพระเจ้า ในฐานะบุคคลท่ีสมบูรณ์ ลกัษณะพ้ืนฐานการเป็น

บุคคลคือ ความสาํนึกต่อ “เสรีภาพ” และใชเ้สรีภาพอยา่งถกูตอ้ง เต็มท่ี ดว้ยความสาํนึก/รับผิดชอบใน

การดาํเนินชีวิตร่วมกับคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์และสมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม ใน

บรรยากาศของสงัคมท่ีเคารพสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล เพ่ือส่งเสริมให้แต่ละบุคคลมีใจท่ีเป็นอิสระ

และใชเ้สรีภาพในตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

(John Paul II, 1995: 34; 1994: 8; 1987: 46, 47; 1984: 11, 37; 1981: 37) อย่างไรก็ตามสภาพสังคม

ปัจจุบนั เต็มดว้ยกลไกและโครงสร้างท่ีเป็นอุปสรรคและเป็นภยัคุกคามชีวิต (John Paul II, 1987: 46)

ตามค่านิยมท่ียดึวตัถุ โดยใชค้วามเจริญ/ความมัง่คัง่ทางเศรษฐกิจเป็นตวัช้ีวดัการพฒันา แทนท่ีมนุษยจ์ะ

ร่วมมือกนัในการพฒันาชีวิตและสังคม มนุษยก์ลบัเบียดเบียน แข่งขนัเพ่ือแย่งชิง เอารัดเอาเปรียบกนั

เพ่ือผลประโยชนด์า้นวตัถุ ส่งผลใหป้ระสบวิกฤติการณ์พฒันาในรูปแบบต่างๆ ในสังคม (John Paul II,

1980: 11; 1979: 2, 12) )

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

273

ดังนั้ น จุดหมายของรูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปาฯ จึงมุ่งเสริมสร้างบุคคลใหมี้ความสาํนึกถึงเสรีภาพอย่างถูกตอ้ง เพ่ือนาํสู่การเปล่ียนแปลง

เจตคติ หรือการกลบัใจอยา่งต่อเน่ือง จากความเคยชินในการใชเ้สรีภาพท่ียดึตนเอง (ตวัตน/ปัจเจก) เป็น

ศนูยก์ลางในการดาํเนินชีวิต ไปสู่เจตคติของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ ดว้ยความสาํนึก

รับผดิชอบต่อเสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้ (John Paul II, 1987: 33) ดว้ยการ

เสริมสร้างบุคคลใหมี้วุฒิภาวะดา้นจิตใจ โดยมีคุณลกัษณะท่ีสาํคญั ไดแ้ก่ การเป็นบุคคลท่ีมีจิตใจท่ีเป็น

อิสระ พ่ึงตนเองได ้สามารถคิด ตดัสินใจและปฏิบติัตนดว้ยความสาํนึกรับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิต

ของตน ร่วมกบัคนอ่ืน อย่างเหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลกบัสถานภาพ/สถานการณ์ของชีวิต มี

นํ้ าใจ/จิตอาสาท่ีจะแบ่งปันชีวิตและทรัพยสิ์นของตนร่วมกบัคนอ่ืนในสงัคมอยา่งเหมาะสม (John Paul

II, 1995: 6, 48; 1988: 40) มีจิตใจท่ีพร้อมท่ีจะรักและรับใชค้นอ่ืน เห็นแก่ประโยชน์/ผลดีต่อการ

พฒันาชีวิตของคนอ่ืน ไม่ใช่ยดึแต่ประโยชน์ของตนอย่างเดียวจนปฏิเสธ เบียดเบียนหรือละเลยคนอ่ืน

สาํนึกในสิทธิ เสรีภาพและความรับผิดชอบในการพฒันาชีวิตของตนร่วมกับคนอ่ืนในสังคม ให้

ความสาํคญัต่อการมีความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้นดว้ยการปฏิบติัความรักเมตตาแบบท่ีพระเจา้ทรงรัก (Agape)

(John Paul II, 1995: 3, 5; 1991: 40; 1987: 40) ดว้ยการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าความเป็นบุคคลของ

ตนเองและผูอ่ื้น เร่ิมต้นในครอบครัว ชุมชน/สังคม ในบริบทของส่ิงแวดลอ้มท่ีสมดุลตามระบบ

นิเวศวิทยา อนัเป็นคุณลกัษณะของสังคมท่ีสมาชิกมีการดาํเนินชีวิตร่วมกนัแบบหมู่คณะ/ชุมชน ท่ีมุ่ง

ส่งเสริมและพฒันามนุษยสู่์ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ โดยเน้นการเสริมสร้างเจตคติแก่คนรุ่นใหม่

(เยาวชน) ซ่ึงเป็นกลุ่มบุคคลท่ีได้รับการเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพ่ือให้มีภูมิคุม้กันและมีหลกัการในการ

ดาํเนินชีวิตในสงัคม

การเปล่ียนแปลงเจตคติ ซ่ึงพระสันตะปาปาฯ ทรงใช้คาํว่า “การกลบัใจส่วน

บุคคล” หมายถึง การเปล่ียนแปลงการดาํเนินชีวิตภายในจิตใจของแต่ละบุคคลให้สอดคลอ้งกับ

ธรรมชาติ/พ้ืนฐานความเป็นมนุษย ์(Human being) ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ท่ีมนุษยมี์ส่วน

และมุ่งสู่ความดี ความสมบูรณ์ในพระเจา้ (John Paul II, 1995: 34; 1994: 8; 1984: 11, 37; 1981: 37)

การเปล่ียนแปลงเจตคติจึงเป็นกระบวนการคน้พบ รับรู้/ยอมรับ และนาํสู่การตดัสินใจตอบรับแนวทาง

ของพระเจา้ ดว้ยการเปล่ียนแปลง/พฒันารูปแบบการดาํเนินชีวิตดว้ยตนเอง จากการดาํเนินชีวิตท่ียึด

ตนเอง (ตวัตน/ปัจเจก) เป็นศนูยก์ลางในการดาํเนินชีวิต และเลือกท่ีจะกลบัไปหาพระเจา้ ซ่ึงเป็นวิถีทาง

แห่งความรักและความเมตตา ท่ีให้คุณค่า ส่งเสริมกลัน่กรองส่ิงดีงามจากความชัว่ ชนะความชัว่ดว้ย

ความดี (John Paul II, 1980: 6)

ดังนั้ น การพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปาฯ จึงเป็น

กระบวนการพฒันาฟ้ืนฟจิูตใจ โดยมีเป้าหมาย คือ การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ หรือความรอดพน้ในพระ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

274

เจา้ ซ่ึงเป็นพระกรุณาของพระเจา้ท่ีประทานแก่มนุษย ์(John Paul II, 1995: 2, 34; 1987: 29; 1986: 37)

บทบาทของมนุษย ์คือ ความสาํนึกในสิทธิ และใชเ้สรีภาพในการตอบรับแนวทางของพระเจา้ ดว้ยการ

เปล่ียนแปลงเจตคติอย่างต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิต เพ่ือให้แต่ละบุคคลมีความสํานึกรับผิดชอบต่อ

เสรีภาพ และใช้เสรีภาพอย่างถูกต้อง เต็มท่ี ในการดาํเนินชีวิตร่วมกับคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ใน

บริบทอตัลกัษณ์และสมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือให้แต่ละบุคคลใช้เสรีภาพในการตอบรับพระพร/

แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ จึงสรุปจุดหมายการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

3.3.1 เพ่ือเสริมสร้างความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของบุคคล ตามเจต

คติการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

3.3.2 เพ่ือพฒันาบุคคลให้เกิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอย่างต่อเน่ืองในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

ดังนั้ น จุดมุ่งหมายของรูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปาฯ คือ การเปล่ียนแปลงเจตคติต่อการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างต่อเน่ือง ครอบคลุม

การดาํเนินชีวิตดว้ยเจตคติการใชเ้สรีภาพส่ีดา้น ไดแ้ก่

1. การดาํเนินชีวิตดว้ยความสาํนึกและการใชเ้สรีภาพท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษยข์องตนเอง หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดท่ีเคารพ ยอมรับในคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์อง

ตนเอง ในฐานท่ีเป็นเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ เช่ือมัน่ ภูมิใจและสาํนึกรับผดิชอบในการดาํเนินชีวิต

ดว้ยการเสริมสร้างและพฒันาตนเองในบริบทวฒันธรรม ภูมิปัญญา และประเพณีอนัดีงามท่ีหล่อหลอม

ใหแ้ต่ละคนเป็นบุคคลท่ีมีอตัลกัษณ์ ในการดาํเนินชีวติร่วมกบัคนอ่ืน

2. การดาํเนินชีวิตดว้ยความสาํนึกและการใชเ้สรีภาพท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษยข์องคนอ่ืน หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของคนอ่ืนในฐานะเป็นมนุษย ์

เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ไม่มุ่งดาํเนินชีวติแบบต่างคนต่างอยู ่ (ปัจเจก) หรือเอาแต่ประโยชน/์ใชค้น

อ่ืนเป็นเคร่ืองมือเพ่ือความสาํเร็จ/ผลประโยชน์ส่วนตวั จนเมินเฉย ละเลยหรือละเมิดสิทธิ เสรีภาพของ

คนอ่ืน การดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน/สงัคม เป็นลกัษณะการดาํเนินชีวิตเป็นหมู่คณะ ในครอบครัว

ชุมชน/สงัคม ท่ีทุกคนสาํนึกรับผดิชอบชีวิตของคนอ่ืน เพ่ือความดีของบุคคล ตามบทบาท/สถานภาพ

ในสงัคม การมีนํ้ าใจเอ้ือเฟ้ือเผือ่แผ/่แบ่งปัน ความพร้อมท่ีจะเสียสละเพ่ือผูอ่ื้น

3. การดาํเนินชีวิตด้วยความสํานึกและการใช้เสรีภาพอย่างเหมาะสมในบริบท

ส่ิงแวดลอ้ม หมายถึงความรู้สึกนึกคิดของบุคคลท่ีสาํนึกถึงความสําคัญของส่ิงแวดลอ้มตามระบบ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

275

นิเวศวิทยา ซ่ึง เป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้าง ท่ีมนุษยมี์ส่วนร่วมกนัดูแลรักษาและใช้ส่ิงแวดลอ้มเพ่ือ

เสริมสร้างความดีของบุคคล/สงัคมและชนรุ่นหลงั บนพ้ืนฐานของความสาํนึกในคุณค่า ส่ิงแวดลอ้มให้

อยูใ่นภาวะสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา

4. การดาํเนินชีวิตดว้ยความสาํนึกและการใชเ้สรีภาพในการตอบรับแนวทางของ

พระเจา้ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดท่ีสาํนึกถึงพระกรุณาธิคุณของพระเจา้ ท่ีโปรดใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมใน

ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ทาํใหบุ้คคล “ตอบรับ” แนวทางของพระเจา้ ไม่ใช่ดว้ยความกลวั หรือรู้สึก

ถกูบงัคบัจนหมดความเป็นตวัของตวัเอง แต่เป็นการสาํนึกในความรักของพระเจา้ท่ีต่อมนุษย ์สาํนึกว่า

คุณค่า ความหมายแทจ้ริงของชีวิตคือ การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ดว้ยความเช่ือศรัทธาอย่างมีสติ มี

เหตุผลในการปฏิบติัตามหลกัคาํสอนของศาสนา มีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิตท่ีมุ่งสู่ความ

ดีงามของบุคคลและสงัคม

3.4 กระบวนการพฒันา

การเปล่ียนแปลงเจตคติตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มี

พ้ืนฐานอยูบ่นการเปล่ียนแปลงจิตใจตามหลกัคาํสอนคริสต์ศาสนา ท่ีตอ้งอาศยัพระพรจากพระเจา้ท่ี

สถาปนาใหม้นุษยเ์ป็นหน่ึงเดียวกบัพระองค ์และการร่วมมือ/ตอบรับของมนุษย ์ ซ่ึงพระสันตะปาปาฯ

ให้ความสําคัญต่อการมีความสํานึกรับผิดชอบต่อเสรีภาพของบุคคล ในการตัดสินใจดาํเนินชีวิตท่ี

สอดคลอ้งกบัธรรมชาติมนุษย ์ ดว้ยการตอบรับแนวทางของพระเจา้ ในฐานะท่ีมนุษยต์อ้งข้ึนอยูก่บัพระ

เจา้ และมีพระเจา้เป็นเป้าหมายของชีวิตท่ีสมบูรณ์ (John Paul II, 1993: 35, 73, 78) แต่เน่ืองจากมนุษย์

มีขอบเขตจาํกดัและยงัไม่สมบูรณ์ มนุษยจึ์งอาจใชเ้สรีภาพในทางท่ีผดิธรรมชาติของตน โดยการปฏิเสธ

พระเจา้ก็ได ้ ดงันั้น การเปล่ียนแปลงเจตคติตามรูปแบบการพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ จึงเป็น

การเปล่ียนแปลงจิตใจ อาศยักระบวนการฟ้ืนฟจิูตใจ ดว้ยการการทบทวน ไตร่ตรองการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตอยา่งต่อเน่ือง บนพ้ืนฐานของการเสริมสร้างความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ ดว้ยการ “ฟัง”

พระดาํรัสของพระท่ีตรัสในจิตใจของแต่ละบุคคลเก่ียวกบัการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิต เพ่ือให้

บุคคลมีจิตใจท่ีเป็นอิสระ เพ่ือการคน้พบ รับรู้/ยอมรับ และนาํสู่การตดัสินใจตอบรับแนวทางของพระ

เจา้ ดว้ยการเปล่ียนแปลง/พฒันารูปแบบการดาํเนินชีวิตดว้ยตนเอง (John Paul II, 1980: 6) ซ่ึงเป็น

กระบวนการท่ีต่อเน่ืองในสามขั้นตอนท่ีสาํคญั โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

1. การคน้พบสภาพชีวิต หมายถึง การเปิดใจในการพิจารณา/ไตร่ตรองปรากฏการณ์

ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตและสังคมอย่างละเอียด ในทุกมิติ เพ่ือนาํสู่การค้นพบรูปแบบการใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตของบุคคล โดยมีขั้นตอน ไดแ้ก่ 1. การเปิดมุมมอง/ความคิดของบุคคลไปสู่การพิจารณา

ปรากฏการณ์/สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสังคม 2. การต่ืนตวัจากการถูกกระตุน้/ทา้ทายจากการศึกษา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

276

ปรากฏการณ์ และ 3.การทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสงัคม ดว้ยการศึกษาปรากฏการณ์ใน

รายะเอียด เพ่ือเขา้ใจอยา่งลึกซ้ึง

2. การรับรู้/ยอมรับ หมายถึง สภาวะทางจิตใจท่ีรับรู้และเปิดใจท่ีจะยอมรับผลการ

พิจารณา/ไตร่ตรองรูปแบบการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของบุคคล โดยมีขั้นตอน ไดแ้ก่ 1. การ

สังเกต/รับความรู้สึกภายในจิตใจท่ีได้รับการกระตุ้น/ทา้ทายจากปรากฏการณ์/สถานการณ์ 2.การ

ทบทวน/ไตร่ตรองชีวิตของบุคคล และ 3. การรับรู้/ยอมรับสภาพชีวิตของบุคคล (ตวัตน)

3. การตดัสินใจเปล่ียนแปลง หมายถึง การตดัสินใจเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนิน

ชีวิต จากการใชเ้สรีภาพในการปฏิเสธพระเจา้ และการยดึตนเอง (ตวัตน/ปัจเจก) เป็นศูนยก์ลางในการ

ดาํเนินชีวิต ไปสู่การใชเ้สรีภาพตอบรับแนวทางของพระเจา้อยู่เสมอ ดว้ยการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพสิทธิ

เสรีภาพ ดว้ยความสาํนึก/รับผดิชอบในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอยา่งเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์

บุคคลและความสมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม โดยมีขั้นตอน ไดแ้ก่ 1. การสาํนึกต่อสภาพชีวิตและการสาํนึกถึง

พระเจา้ท่ีทรงพระเมตตาต่อชีวิตของแต่ละคน 2. การตอบรับพระเจา้ เปิดใจตอบรับพระพรของพระเจา้

ในชีวิต และ 3. การตดัสินใจเปล่ียนแปลงพฤติกรรม/รูปแบบการดาํเนินชีวิตตามแนวทางของพระเจา้ใน

ชีวิตของแต่ละคน

ทั้งน้ี การฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือมุ่ง

ไปสู่การคน้พบ รับรู้/ยอมรับและการตดัสินใจเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิตประกอบดว้ย วิธีการ

ขั้นตอน และแผนการจดัอบรม ดงัน้ี

3.4.1 วธิีการ

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 ใชก้ระบวนการอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจ ซ่ึงเป็นวิธีการจดัอบรมท่ีนิยมใชใ้นการฝึก

ปฏิบติัฝ่ายจิตวิญญาณทั้งแบบกลุ่มและแบบส่วนบุคคลของผูน้ับถือคริสต์ศาสนา ภายใตก้ารแนะนาํ

ของวิทยากรซ่ึงมีความเช่ียวชาญในการใหค้าํปรึกษาดา้นการพฒันาจิตวิญญาณ ในบรรยากาศของความ

สงบ สมาธิ การมีส่วนร่วม การเป็นอิสระ การเคารพ และความไวว้างใจกนั เพ่ือช่วยให้ผูเ้ขา้รับการ

อบรมไดไ้ตร่ตรอง ทบทวนชีวิตดว้ยการภาวนา การรําไตร่ตรอง/ศึกษาขอ้ความจากพระคมัภีร์ การร่วม

พิธีกรรม และการแลกเปล่ียนประสบการณ์ชีวิตกบัผูแ้นะนาํดา้นจิตวิญญาณ เพ่ือให้ผูเ้ขา้รับการอบรม

ไดส้าํนึกและไตร่ตรองเจตคติการดาํเนินชีวิตของตนเอง ความสัมพนัธ์กบัพระเจา้และคนอ่ืน และหา

แนวปฏิบติัของชีวิตเพ่ือการพฒันา/เปล่ียนแปลงเจตคติการดาํเนินชีวิตดว้ยตนเอง โดยมีวิธีการปฏิบติั

เป็นสามส่วนท่ีต่อเน่ืองกนั ไดแ้ก่

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

277

2.4.4.1 การอบรมเสริมสร้างความรู้ เจตคติ และความสามารถในการไตร่ตรอง

ทบทวนชีวิต เป็นการนาํเสนอสาระความรู้/ความเขา้ใจเก่ียวกบัคุณค่า ความหมายชีวิตตามคาํสอนคริสต์

ศาสนาและกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดย 1. การศึกษา

แนวคิด/คุณค่าการดาํเนินชีวิต 2. การสมัผสัชีวิต/กรณีศึกษา 3. การวิเคราะห์เชิงลึก เพ่ือกระตุน้ให้เกิด

การเปิดมุมมอง การต่ืนตวัและการทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ในสังคมอย่างลึกซ้ึง ในลกัษณะการ

แบ่งปันประสบการณ์และการเสริมสร้างบรรยากาศของความเคารพและไวว้างใจกนั ทั้งในรูปแบบการ

สมัผสัชีวิต การบรรยาย การอภิปราย กรณีศึกษา การสานเสวนา การประชุมกลุ่ม การศึกษาเอกสาร

รวมถึงการจดักิจกรรมกลุ่มสมัพนัธ ์ เพ่ือเสริมสร้างบรรยากาศของการมีความสมัพนัธท่ี์ดีต่อกนั

2.4.4.2 การฝึกปฏิบติัการไตร่ตรองชีวิต เป็นการฝึกปฏิบัติทั้ งแบบกลุ่มและ

แบบส่วนบุคคล โดย 1.การสาํรวจความรู้สึก 2. การรําพึงพระวาจา 3.ฟังเสียงภายในจิตใจ เพ่ือให้

ผูรั้บการอบรมไดไ้ตร่ตรอง ทบทวนชีวิตดว้ยความสงบ มีสมาธิ อาศยัการภาวนา การร่วมพิธีกรรม การ

ทาํสมาธิ/ไตร่ตรองขอ้ความจากพระคมัภีร์ สาระสาํคญัของการฝึกปฏิบติัการไตร่ตรองชีวิต คือ ความ

สาํนึกถึงความดีงาม (พระเจา้) ท่ีมีอยูใ่นจิตใจของแต่ละคน และ “ฟัง” เสียงภายในจิตใจเก่ียวกบัชีวิต

2.4.4.3 การพบปะ/แลกเปล่ียนเรียนรู้กบัวิทยากร/ผูเ้ช่ียวชาญ เป็นการแบ่งปัน

เร่ืองราวท่ีไดรั้บจากการอบรมและการฝึกปฏิบติั โดย 1. การเปิดใจ 2. ความมุ่งมัน่ตั้ งใจ 3. การหาขอ้

ปฏิบติั ดว้ยการเล่าเร่ือง/ขอ้คน้พบเก่ียวกบัชีวิตของตนแก่วิทยากร/ผูเ้ช่ียวชาญ เพ่ือร่วมกนัเรียนรู้และ

สะทอ้นความรู้สึกนึกคิดท่ีมีต่อขอ้คน้พบนั้น การพบปะ/แลกเปล่ียนเรียนรู้น้ี เป็นการร่วมกนัติดตาม/

ประเมินขอ้คน้พบ ระหว่างผูรั้บการอบรมและวิทยากร/ผูเ้ช่ียวชาญในลกัษณะการแบ่งปัน แลกเปล่ียน

เรียนรู้ประสบการณ์

3.4.2 ขั้นตอน

การจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ใหค้วามสาํคญัต่อการจดับรรยากาศท่ีส่งเสริมให้ผู ้

เข้ารับการอบรมได้ไตร่ตรอง ทบทวนการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตของตน โดยการศึกษา

ปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิต/สงัคม เพ่ือให้เกิดการทา้ทาย/ต่ืนตวั จากนั้นนาํสู่การไตร่ตรอง ทบทวน

ชีวิตดว้ยหลกัคาํสอนของศาสนา เพ่ือให้บุคคลมีความพร้อม หรืออยู่ในสภาวะท่ีจะตอบรับแนวทาง/

พระพรของพระ ท่ีจะนาํไปสู่การปรับเปล่ียนเจตคติ ดว้ยการออกแบบเคร่ืองมือ/วิถีชีวิตบนพ้ืนฐานของ

เจตคติการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคลอย่างสอดคลอ้ง เหมาะสมและสมดุลกบัสถานภาพของชีวิต

เพ่ือกาํหนดแนวทางการพฒันาตนเองอยา่งต่อเน่ือง ดว้ยตวัผูเ้ขา้รับการอบรมเอง โดยมีความเช่ือศรัทธา

ในศาสนาเป็นภูมิคุม้กนั โดยให้ความสาํคญัต่อการพิจารณาสภาพ/บริบทของกลุ่ม/บุคคล จากนั้นจึง

ประยุกต์วิธีการท่ีเหมาะสม โดยผสมผสานวิธีการต่างๆ ทั้งกระบวนการกลุ่มและกระบวนการส่วน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

278

บุคคล ในลกัษณะการอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจ (Retreat) ซ่ึงมีแผนการอบรมประกอบดว้ย

สามขั้นตอนท่ีสาํคญั ไดแ้ก่

1. การทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์

ขั้นตอนน้ี การศึกษาเชิงวิเคราะห์ เพ่ือทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์/ความ

เป็นจริงของชีวิตและสังคม ไม่ใช่แค่การสังเกต แต่เป็นการศึกษาวิเคราะห์เชิงลึกของปรากฏการณ์

เฉพาะเจาะจง เป็นรูปธรรมท่ีเกิดข้ึนจริงในสงัคม ดว้ยการลงไปสมัผสัหรือพิจารณาในรายละเอียด ทุก

มิติ ดว้ยวิธีการต่างๆ ตามสภาพของบุคคล เพ่ือให้เปิดตวัพิจารณาปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนซ่ึงเก่ียวขอ้ง

เช่ือมโยงกบัชีวิต เพ่ือใหเ้กิดการต่ืนตวัหรือถกูทา้ทายจากปรากฏการณ์

ดงันั้น ขั้นตอนแรก คือ การทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ จึงมีลกัษณะเป็น

การเปิดมุมมองเฉพาะปรากฏการณ์/ส่ิงท่ีเกิดข้ึนกบัตนเอง ไปสู่ปรากฏการณ์ของบุคคล/สังคมท่ีเกิดข้ึน

เพ่ือเปิดมุมมอง ศึกษา ทาํความเขา้ใจในรายละเอียดของปรากฏการณ์เก่ียวกบัคุณค่า/ความหมายของ

ชีวิต เพ่ือมุ่งไปสู่การคน้พบสภาพชีวิต/ปรากฏการณ์

2. การทบทวน ไตร่ตรอง

ขั้นตอนน้ี เป็นการไตร่ตรองปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึน มีลกัษณะเป็นการ

กระตุน้ใหมี้การพิจารณา/สาํรวจความรู้สึกภายในจิตใจของบุคคลท่ีไดรั้บการทา้ทายจากปรากฏการณ์

ชีวิต/สงัคม เนน้การฟังเสียงภายในจิตใจ/จิตวิญญาณ ภายใตบ้รรยากาศท่ีสงบเงียบและการรําพึงภาวนา

เพ่ือการรู้จัก เข้าใจและรับรู้ตนเองตามสภาพชีวิตท่ีเป็นจริง โดยปราศจากการปรุงแต่ง หรือความ

พยายามท่ีจะหาเหตุผลในการคิด วิเคราะห์ดว้ยสมอง แต่ใชใ้จ (หัวใจ ไม่ใช่หัวสมอง) ใคร่ครวญ ตรึก

ตรอง และฟังเสียงภายในใจของแต่ละบุคคลเก่ียวกบัแนวทาง/รูปแบบการดาํเนินชีวิต เพ่ือรู้จกัและเขา้ใจ

ตนเองอยา่งลึกซ้ึง

ดงันั้น ขั้นตอนท่ีสอง คือ การทบทวน ไตร่ตรอง ดว้ยใจท่ีใคร่ครวญ จึงมี

ลกัษณะเป็นการ “ฟังเสียงภายในจิตใจ” อาศยัหลกัธรรมคาํสอนของศาสนา โดยเฉพาะขอ้ความจาก

พระคัมภีร์ เพ่ือพิจารณา รู้จักและรับรู้สภาพชีวิตของบุคคล ตามด้วยข้อคิดท่ีได้รับจากการรําพึง

หลกัธรรมคาํสอน/พระคมัภีร์ของศาสนา การใชเ้วลาเพ่ือฟังเสียงภายในจิตใจ พิจารณาดว้ยความสงบใน

จิตสาํนึกต่อสิทธิและการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของบุคคลว่าใชค่้านิยมหรือคุณค่าอะไรเป็นหลกั

ในการดาํเนินชีวิต เพ่ือมุ่งไปสู่การรับรู้/ยอมรับสภาพชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

279

3. การออกแบบเคร่ืองมือ/แนวทางปฏิบติั/วิถีชีวิต

ขั้นตอนน้ี เป็นการส่งเสริมให้ผูรั้บการอบรมการออกแบบเคร่ืองมือหรือ

กาํหนดแนวทางท่ีเหมาะสมและเป็นไปไดใ้นการปฏิบติัท่ีสอดคลอ้งกบัสภาพบุคคล/กลุ่มบุคคลดว้ย

ตนเอง เพ่ือนาํสู่การปรับเปล่ียนเจตคติการดาํเนินชีวิตของบุคคล

ดงันั้น ขั้นตอนท่ีสาม คือ การออกแบบเคร่ืองมือ/แนวทางปฏิบติั/วิถีชีวิต จึงมี

ลกัษณะเป็น “การออกแบบแนวปฏิบติั” เพ่ือพฒันาชีวิต/พฤติกรรม อนัแสดงถึงความมุ่งมัน่และการ

นาํไปปฏิบติัในชีวิตประจาํวนัดว้ยความตั้งใจท่ีมุ่งมัน่ท่ีจะลด ละ เลิกพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม ซ่ึงเป็น

“การกลบัใจ” หรือการเปล่ียนแปลงเจตคติเพ่ือกลบัไปสู่การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ดว้ยความสาํนึก/

สัมผสัพระเมตตาและความรักท่ีพระเจา้ทรงมีต่อแต่ละบุคคล เพ่ือให้บุคคลตอบรับพระเจา้ ด้วยการ

เปล่ียนแปลงชีวิตจากการดาํเนินชีวิตดว้ยความเคยชินตามกระแสทาํลายชีวิต ไปสู่การดาํเนินชีวิตตอบ

รับแนวทางของพระเจา้ ดว้ยจิตใจท่ีเคารพ ยอมรับ ภูมิใจและรับผิดชอบในสิทธิและเสรีภาพ ยอมรับ

ความแตกต่างระหว่างบุคคล ดว้ยการเสริมสร้างความสมัพนัธก์บัคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้มอยา่ง เหมาะสม

สอดคลอ้งและสมดุลกบัการเป็นบุคคล มีความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้นดว้ยการปฏิบติัความรักเมตตาแบบท่ี

พระเจา้ทรงรัก (Agape) กล่าวคือ การส่งเสริมความดี บนพ้ืนฐานของความเคารพต่อคุณค่าความเป็น

บุคคลของตนเองและผูอ่ื้น เพ่ือมุ่งไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้) ในพระเจา้ ดว้ยการ

ตดัสินใจเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการดาํเนินชีวิต

การจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจ เพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงเจตคติ

อยา่งต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ ยอมรับคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ดว้ยกระบวนการคน้พบ

ยอมรับและการตดัสินใจเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิต โดยใชก้ารอบรมเสริมสร้างความรู้ เจตคติ

และการไตร่ตรอง ทบทวนชีวิต การฝึกปฏิบติัการไตร่ตรองชีวิต การพบปะ/แลกเปล่ียนเรียนรู้กับ

วิทยากร/ผูเ้ช่ียวชาญ ใหค้วามสาํคญัต่อการเสริมสร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม การเป็นอิสระ การ

เคารพ และความไวว้างใจกนับนพ้ืนฐานของการมีปฏิสมัพนัธท่ี์ดีระหว่างวิทยากรกบัผูเ้ขา้รับการอบรม

และระหว่างผูรั้บการอบรมดว้ยกนั ซ่ึงจาํเป็นตอ้งมีการวางแผนการดาํเนินงานอย่างเป็นระบบ โดยให้

ความสาํคญัต่อการมีส่วนร่วมของผูเ้ก่ียวขอ้งในการดาํเนินการทุกขั้นตอน รวมถึงการมีจิตตารมยข์อง

การเสริมสร้างบุคคลเป็นพ้ืนฐาน มุ่งสู่ดาํเนินงานท่ียึดเป้าหมายเป็นหลกั การจดัสาระความรู้และ

วิธีการท่ีเหมาะสม สอดคลอ้งและมีความเป็นไปไดใ้นบุคคล/กลุ่มบุคคล หรือพ้ืนท่ีในการทาํงาน โดย

พิจารณาเป็นรายกรณี มีโครงการ/กิจกรรมมารองรับอยา่งเหมาะสมกบัสภาพ/ภูมิหลงับุคคล/กลุ่มบุคคล

รวมถึงการกาํหนดตารางเวลาท่ีปรับเปล่ียนไดเ้สมอ เพ่ือเปิดโอกาส/พ้ืนท่ีใหผู้รั้บการอบรมไดไ้ตร่ตรอง

สิทธิ เสรีภาพในการดาํเนินชีวิต อาศยักระบวนการท่ีสาํคญัสามขั้นตอน ไดแ้ก่ 1. การศึกษา/ทาํความ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

280

เขา้ใจปรากฏการณ์ 2. การทบทวน/ไตร่ตรอง และ 3. การออกแบบชีวิต เพ่ือมุ่งไปสู่การคน้พบ การ

รับรู้/ยอมรับและการตดัสินใจเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต ในลกัษณะของ

การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ในบรรยากาศของการมีส่วนร่วม การเป็นอิสระ การเคารพ ความไวว้างใจกนั

บนพ้ืนฐานของความสงบของจิตใจ เพ่ือการรําพึงขอ้ความจากพระคมัภีร์และการอธิษฐานภาวนา ดว้ย

ความสาํนึกถึงการประทบัอยูข่องพระเจา้ในชีวิตของแต่ละบุคคล เป็นการฟัง “พระวาจาของพระเจา้” ท่ี

ตรัสเรียกแต่ละบุคคล ใหก้ลบัมาสู่ภาวะของการตอบรับพระเมตตาและความรักของพระเจา้ในชีวิตของ

บุคคล โดยมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้/แบ่งปันประสบการณ์ส่วนบุคคลระหว่างผูเ้ขา้อบรมกบัผูเ้ช่ียวชาญ/

วิทยากร ดว้ยความสมคัรใจของผูรั้บการอบรม

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ มีเป้าหมาย

สูงสุด คือ การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้ในพระเจา้) ซ่ึงเป็นพระกรุณาของพระเจา้ท่ีประทาน

แก่มนุษย ์(John Paul II, 1995: 2, 34; 1987: 29; 1986: 37) บทบาทของมนุษย ์คือ การมีความสาํนึกใน

สิทธิ และใชเ้สรีภาพในการตอบรับแนวทางของพระเจา้ ดว้ย “การกลบัใจ” หรือการเปล่ียนแปลงเจตคติ

อยา่งต่อเน่ือง จากการดาํเนินชีวิตดว้ยการใชเ้สรีภาพท่ียึดตนเองเป็นศูนยก์ลาง ไปสู่การดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพ ยอมรับคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ซ่ึงเป็นกระบวนการท่ีต่อเน่ือง ตอ้งใชเ้วลาและครอบคลุม

ตลอดชีวิต

อยา่งไรก็ตาม เพ่ือความสะดวกในการศึกษาและการประเมินผลการใชรู้ปแบบฯ

จึงกาํหนดเป็นกรณีศึกษา ดว้ยการจดัอบรมแก่เยาวชนท่ีมีความรู้พ้ืนฐานดา้นคาํสอนคริสต์ศาสนา มี

พ้ืนฐานการคิดวิเคราะห์เชิงปรัชญา และมีความสนใจเขา้รับการอบรมการพฒันาชีวิตตามคาํสอนคริสต์

ศาสนา โดยกาํหนดขอบเขตประชากรเป็นนกัศึกษาวิทยาลยัแสงธรรม ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556

ท่ีผา่นการศึกษาในสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลยัแสงธรรม ตั้ งแต่ 1 ปีการศึกษาข้ึนไป โดยใช้

ระยะเวลาการจดัอบรมจาํนวน 6 วนั (48 ชัว่โมง) ดว้ยกระบวนการอบรมเสริมสร้างความรู้ เจตคติท่ี

นาํไปสู่การดาํเนินชีวิตดว้ยความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของบุคคลตามเจตคติการเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ เพ่ือพฒันาบุคคลให้เกิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอย่างต่อเน่ืองในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์โดยสรุปขั้นตอนการจดัอบรม (รายละเอียด ดู

ภาคผนวก ข) ดงัตารางท่ี 9 ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

281

ตารางท่ี 9 แสดงรายละเอียดขั้นตอนการจดัอบรมตามรูปการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสนัตะปาปาฯ

เวลา เนือ้หา จุดประสงค์ กจิกรรม ส่ือ การประเมนิ

ขั้นตอนที่ 1 การทําความเข้าใจปรากฏการณ์

16 ชัว่โมง มนุษยต์าม

กระบวน

ทศัน์ของพระ

สนัตะปาปาฯ

1) เพ่ือ

เสริมสร้าง

ความรู้/ ความ

เขา้ใจ

กระบวนทศัน์

เร่ืองมนุษย์

ของพระ

สนัตะปาปาฯ

2) เพ่ือ

พฒันาการคิด

เชิงวิเคราะห์

ในการทาํ

ความเขา้ใจ

ปรากฏการณ์

ชีวิตและ

สงัคม

-ศึกษาเอกสาร

-กาํหนดประเด็น/

กรณีใหศึ้กษา/ทาํ

กิจกรรมกลุ่ม

- ทาํความเขา้ใจ

ปรากฏการณ์

- ไตร่ตรอง

ส่วนตวั/กลุ่ม

- ออกแบบ/

ขอ้เสนอแนะ

ของแต่ละคน

สู่การปฏิบติั

-สรุปคุณค่า

-เอกสาร

“มนุษยต์าม

กระบวนทศัน์

ของพระ

สนัตะปาปา”

- กรณีศึกษา

การดาํเนิน

ชีวิตร่วมกบั

กบัคนอ่ืนและ

ส่ิงแวดลอ้ม

-ใบงาน

-แบบบนัทึก

-Power point

สรุปสาระ

-ประเมินความรู้/

ความเขา้ใจและ

การแยกแยะ

ไตร่ตรอง โดย

พิจารณาจากใบ

งาน/แบบบนัทึก

ต่างๆ

-ประเมิน

บรรยากาศการ

อบรม ดว้ยการ

สงัเกตท่าที/การ

แสดงออกของ

ผูรั้บการอบรม

ขั้นตอนที่ 2 การไตร่ตรองจติใจ

16 ชัว่โมง การพฒันา

มนุษยต์าม

กระแส

โลกาภิวฒัน ์

1) เพ่ือ

สร้างความรู้/

ความเขา้ใจ

แนวคิดเร่ือง

การพฒันา

มนุษยใ์น

-ศึกษาเอกสาร

-กาํหนดประเด็น/

กรณีใหศึ้กษา/ทาํ

กิจกรรมกลุ่ม

- ทาํความเขา้ใจ

-เอกสาร

“การพฒันา

ตามกระแส

โลกาภิวฒัน์”

- กรณีศึกษา

การดาํเนิน

-ประเมินความรู้/

ความเขา้ใจ และ

การแยกแยะ/

ไตร่ตรอง โดย

พิจารณาจากใบ

งาน/แบบบนัทึกฯ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

282

กระแส

โลกาภิวฒัน ์

2) เพ่ือพฒันา

ความสามารถ

ในการ

ไตร่ตรองชีวิต

ปรากฏการณ์

- ไตร่ตรอง

(ส่วนตวั/กลุ่ม

และการฟัง

เสียงภายใน

จิตใจ (รําพึง)

- ออกแบบ/

ขอ้เสนอแนะ

ของแต่ละ

บุคคลสู่การ

ปฏิบติั

-สรุปคุณค่า

ชีวิตท่ีมี

ความสมัพนัธ์

กบัพระเจา้

และการ

เคารพตนเอง

-ขอ้ความจาก

พระคมัภีร์

คริสตศ์าสนา

(พระวรสาร)

-รูปภาพ

-ใบงาน

-แบบบนัทึก

-Power point

สรุปสาระ

-ประเมิน

บรรยากาศการ

อบรม ดว้ยการ

สงัเกตท่าที/การ

แสดงออกของ

ผูรั้บการอบรม

ขั้นตอนที่ 3 การออกแบบแนวปฏิบตั ิ

16 ชัว่โมง แนวทางการ

ดาํเนินชีวติท่ี

เคารพคุณค่า

ความเป็น

มนุษย ์ตาม

กระบวน

ทศัน์ของพระ

สนัตะปาปาฯ

1) เพ่ือ

เสริมสร้าง

ความรู้/ ความ

เขา้ใจคุณค่า

การดาํเนิน

ชีวิตตาม

วฒันธรรม

ส่งเสริมชีวิต

2) เพ่ือ

สร้างเจตคติ

ในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพ

-ศึกษาเอกสาร

-กาํหนดประเด็น/

กรณีใหศึ้กษา/ทาํ

กิจกรรมกลุ่ม

- ทาํความเขา้ใจ

ปรากฏการณ์

- ไตร่ตรอง

- ออกแบบ (ขอ้

ตั้งใจของแต่

ละคนต่อการ

-เอกสาร

“แนวทางการ

พฒันามนุษย”์

-ขอ้ความจาก

พระคมัภีร์

คริสตศ์าสนา

-วีดีทศัน์

ประวติัพระ

สนัตะปาปา

-ใบงาน

-ประเมินความรู้/

ความเขา้ใจ และ

เจตคติโดย

พิจารณาจากใบ

งาน/แบบบนัทึก

-ประเมิน

บรรยากาศการ

อบรม ดว้ยการ

สงัเกตท่าที/การ

แสดงออกของ

ผูรั้บการอบรม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

283

คุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็น

มนุษย ์

เสริมสร้าง

ความสมัพนัธ์

ต่อตนเอง คน

อ่ืน/

ส่ิงแวดลอ้ม

และพระเจา้

-สรุปคุณค่า

-แบบบนัทึก

-Power point

สรุปสาระ

2.5 การประเมนิการพฒันามนุษย์

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

เป็นการส่งเสริมให้ผูเ้ขา้รับการอบรมไดไ้ตร่ตรอง ทบทวนการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของตน

ด้วยกระบวนการค้นพบ รับรู้ /ยอมรับ และตัดสินใจเปล่ียนแปลง /พัฒนาชีวิต โดยการศึกษา

ปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิต/สงัคม เพ่ือให้เกิดการทา้ทาย/ต่ืนตวั จากนั้นนาํสู่การไตร่ตรอง ทบทวน

ชีวิตดว้ยหลกัคาํสอนของศาสนา เพ่ือใหบุ้คคลมีความพร้อม หรือยูใ่นสภาวะท่ีจะตอบรับแนวทาง/พระ

พรของพระ ท่ีจะนาํไปสู่การปรับเปล่ียนจิตใจอย่างต่อเน่ือง จากการใชเ้สรีภาพท่ียึดตนเอง (ตวัตน/

ปัจเจก) เป็นศนูยก์ลางในการดาํเนินชีวิตตามความเคยชินตามกระแสทาํลายชีวิต ไปสู่เจตคติของการ

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ ดว้ยความสาํนึกถึงเสรีภาพและสามารถใชเ้สรีภาพไดอ้ยา่งถกูตอ้ง

เต็มท่ีในการพฒันาชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการใชเ้สรีภาพในตอบรับพระพร/

แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ โดยเนน้การเสริมสร้างเจตคติแก่

คนรุ่นใหม่ (เยาวชน) ซ่ึงเป็นกลุ่มบุคคลท่ีไดรั้บการเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพ่ือใหมี้ภูมิคุม้กนัและมีหลกัการ

ในการดาํเนินชีวิตในสงัคม ดว้ยการมีพฤติกรรมการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน ดว้ย “จิตอาสา” กล่าวคือ

การมีใจท่ีพร้อมเสียสละเพ่ือความดีส่วนรวม ซ่ึงเป็นการขยายผลการพฒันาจากตวับุคคลไปสู่การ

แบ่งปันเพ่ือใหเ้กิดความดีในคนอ่ืน ตามบริบท/อตัลกัษณ์ของบุคคล

ดงันั้น การประเมินการพฒันามนุษยต์ามรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 จึงเป็นการใหผู้เ้ขา้รับการอบรมไดพิ้จารณา/ประเมินตนเอง โดย

ใช้การไตร่ตรอง การสังเกต การแบ่งปันแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต ผ่านทางการพบปะ

แบ่งปัน/แลกเปล่ียนประสบการณ์กบัผูเ้ช่ียวชาญ/ผูใ้ห้คาํปรึกษาดา้นการพฒันาชีวิตจิตวิญญาณตามคาํ

สอนคริสตศ์าสนา รวมถึงการทดสอบดว้ยแบบวดั/แบบประเมินต่างๆ เพ่ือช่วยให้ผูรั้บการอบรมได้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

284

ประเมินตนเองในทุกมิติ ดว้ยวิธีการทีเหมาะสมกบัสภาพบุคคล โดยมีแนวทาง วิธีการและเคร่ืองมือ

ประเมิน ดงัน้ี

2.5.1 แนวทางการประเมนิ

การจัดอบรมเชิงปฏิบัติเ พ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามกระบวนทัศน์ของพระ

สันตะปาปาฯ มีพ้ืนฐานอยู่บนการเสริมสร้างบุคคลให้มีความสาํนึกต่อเสรีภาพ และใชเ้สรีภาพอย่าง

ถกูตอ้ง เต็มท่ีในการดาํเนินชีวิตดว้ยความสาํนึกรับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิตของแต่ละคนร่วมกบัคน

อ่ืน ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการใชเ้สรีภาพในตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนิน

ชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ดว้ยการเสริมสร้างความรู้ เจตคติและแนวโน้มของพฤติกรรมการ

ดาํเนินชีวิตดว้ยความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของบุคคล เพ่ือใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงเจตคติ

อยา่งต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ ยอมรับคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์จึงกาํหนดแนวทางการ

ประเมินการจดัอบรม ดงัน้ี

2.5.1.1 การประเมินความรู้ หมายถึง การประเมินความรู้กระบวนทศัน์การ

พฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ ท่ีใหค้วามสาํคญัต่อความสาํนึกต่อ “เสรีภาพ” และใชเ้สรีภาพอย่าง

ถกูตอ้ง เต็มท่ี ดว้ยความสาํนึก/รับผดิชอบในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอยา่งเหมาะสม ในบริบทอตั

ลกัษณ์และสมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม ในบรรยากาศของสังคมท่ีเคารพสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล เพ่ือ

ส่งเสริมใหแ้ต่ละบุคคลมีใจท่ีเป็นอิสระ และใชเ้สรีภาพในตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการ

ดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

2.5.1.2 การประเมินเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปาฯ หมายถึง การประเมิน ความรู้สึกนึกคิด/ท่าทีภายในท่ีมีต่อสภาพ /

สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน ท่ีแสดงถึงความสาํนึกและการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษยข์องตนเอง คนอ่ืน/สงัคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม ทั้งน้ี เจตคติต่อการใชเ้สรีภาพฯ แบ่ง

ออกเป็นส่ีองคป์ระกอบ ดงัน้ี

1. การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษยข์องตนเอง หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดท่ีเคารพ ยอมรับในคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง

ในฐานท่ีเป็นเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ เช่ือมัน่ ภูมิใจและสาํนึกรับผดิชอบในการดาํเนินชีวิตดว้ยการ

เสริมสร้างและพฒันาตนเองในบริบทวฒันธรรม ภูมิปัญญา และประเพณีอนัดีงามท่ีหล่อหลอมใหแ้ต่ละ

คนเป็นบุคคลท่ีมีอตัลกัษณ์ ในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน

2. การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษยข์องคนอ่ืน หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของคนอ่ืนในฐานะเป็นมนุษย ์ เป็น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

285

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ไม่มุ่งดาํเนินชีวติแบบต่างคนต่างอยู ่ (ปัจเจก) หรือเอาแต่ประโยชน/์ใชค้นอ่ืน

เป็นเคร่ืองมือเพ่ือความสาํเร็จ/ผลประโยชน์ส่วนตวั จนเมินเฉย ละเลยหรือละเมิดสิทธิ เสรีภาพของคน

อ่ืน การดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน/สงัคม เป็นลกัษณะการดาํเนินชีวติเป็นหมู่คณะ ในครอบครัว ชุมชน/

สงัคม ท่ีทุกคนสาํนึกรับผดิชอบชีวติของคนอ่ืน เพ่ือความดีของบุคคล ตามบทบาท/สถานภาพในสงัคม

การมีนํ้ าใจเอ้ือเฟ้ือเผือ่แผ/่แบ่งปัน ความพร้อมท่ีจะเสียสละเพ่ือผูอ่ื้น

3. การใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบท

ส่ิงแวดลอ้ม หมายถึงความรู้สึกนึกคิดของบุคคลท่ีสาํนึกถึงความสําคัญของส่ิงแวดลอ้มตามระบบ

นิเวศวิทยา ซ่ึง เป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้าง ท่ีมนุษยมี์ส่วนร่วมกนัดูแลรักษาและใช้ส่ิงแวดลอ้มเพ่ือ

เสริมสร้างความดีของบุคคล/สงัคมและชนรุ่นหลงั บนพ้ืนฐานของความสาํนึกในคุณค่า ส่ิงแวดลอ้มให้

อยูใ่นภาวะสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา

4. การใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจ้า

หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดท่ีสาํนึกถึงพระกรุณาธิคุณของพระเจา้ ท่ีโปรดให้มนุษยมี์ส่วนร่วมในความ

เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ทาํให้บุคคล “ตอบรับ” แนวทางของพระเจา้ ไม่ใช่ดว้ยความกลวั หรือรู้สึกถูก

บงัคบัจนหมดความเป็นตวัของตวัเอง แต่เป็นการสาํนึกในความรักของพระเจา้ท่ีต่อมนุษย ์สาํนึกว่า

คุณค่า ความหมายแทจ้ริงของชีวิตคือ การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ดว้ยความเช่ือศรัทธาอย่างมีสติ มี

เหตุผลในการปฏิบติัตามหลกัคาํสอนของศาสนา มีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิตท่ีมุ่งสู่ความ

ดีงามของบุคคลและสงัคม

2.5.1.3 การประเมินพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ หมายถึง การประเมินแนวโนม้ของพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการดาํเนินชีวิตดว้ย

ความสาํนึกต่อเสรีภาพและใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์อง

ตนเอง คนอ่ืน/สังคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการ

ดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ โดยแบ่งเป็นส่ีองคป์ระกอบ ดงัน้ี

1. พฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษยข์องตนเอง หมายถึง แนวโนม้ของการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย์

ของตนเอง ว่าเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ท่ีมีภารกิจและศกัยภาพไปสู่ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระ

เจา้ ดว้ยความเช่ือมัน่ ภูมิใจและสาํนึกรับผดิชอบในการดาํเนินชีวิตดว้ยการเสริมสร้างและพฒันาตนเอง

ในบริบทวฒันธรรม ภูมิปัญญา และประเพณีอนัดีงามท่ีหล่อหลอมให้แต่ละคนเป็นบุคคลท่ีมีอตัลกัษณ์

ในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

286

2. พฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน หมายถึง แนวโนม้การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของคนอ่ืนในฐานะ

เป็นมนุษย ์เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า ไม่มุ่งดาํเนินชีวิตแบบต่างคนต่างอยู่ (ปัจเจก) หรือเอาแต่

ประโยชน์/ใชค้นอ่ืนเป็นเคร่ืองมือเพ่ือความสาํเร็จ/ผลประโยชน์ส่วนตวั จนเมินเฉย ละเลยหรือละเมิด

สิทธิ เสรีภาพของคนอ่ืน การดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน/สงัคม เป็นลกัษณะการดาํเนินชีวิตเป็นหมู่คณะ

ในครอบครัว ชุมชน/สังคม ท่ีทุกคนสํานึกรับผิดชอบชีวิตของคนอ่ืน เพ่ือความดีของบุคคล ตาม

บทบาท/สถานภาพในสงัคม การมีนํ้ าใจเอ้ือเฟ้ือเผือ่แผ/่แบ่งปัน ความพร้อมท่ีจะเสียสละเพ่ือผูอ่ื้น

3. พฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมใน

บริบทส่ิงแวดลอ้ม หมายถึงแนวโน้มของการดาํเนินชีวิตท่ีแสดงถึงความสาํคญัของส่ิงแวดลอ้มตาม

ระบบนิเวศวิทยา ในฐานะท่ีส่ิงแวดลอ้ม เป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้าง ให้มนุษย ์ร่วมกนัดูแลรักษาและใช้

ส่ิงแวดลอ้มเพ่ือเสริมสร้างความดีของบุคคล/สงัคมและชนรุ่นหลงั บนพ้ืนฐานของความสาํนึกในคุณค่า

ส่ิงแวดลอ้มใหอ้ยูใ่นภาวะสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา

4. พฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของ

พระเจา้ หมายถึง แนวโนม้ของการดาํเนินชีวิตท่ีสาํนึกถึงพระกรุณาธิคุณของพระเจา้ ท่ีโปรดใหม้นุษยมี์

ส่วนร่วมในความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ทาํให้บุคคล “ตอบรับ” แนวทางของพระเจา้ ไม่ใช่ดว้ยความ

กลวั หรือรู้สึกถกูบงัคบัจนหมดความเป็นตวัของตวัเอง แต่เป็นการสาํนึกในความรักของพระเจา้ท่ีต่อ

มนุษย ์ สาํนึกว่าคุณค่า ความหมายแทจ้ริงของชีวิตคือ การมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ ดว้ยความเช่ือ

ศรัทธาอย่างมีสติ มีเหตุผลในการปฏิบติัตามหลกัคาํสอนของศาสนา มีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการ

ดาํเนินชีวิตท่ีมุ่งสู่ความดีงามของบุคคลและสงัคม

2.5.2 วธิีการและเคร่ืองมอืที่ใช้ในการประเมนิการพฒันามนุษย์

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี

2 มุ่งเสริมสร้างความสาํนึกของบุคคลใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงเจตคติการดาํเนินชีวิตอย่างต่อเน่ือง ดว้ย

การพิจารณาปรากฏการณ์ชีวิตและสังคม เพ่ือนาํสู่การทบทวนการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของ

ผูรั้บการอบรม อาศยัการไตร่ตรองขอ้ความจากพระคมัภีร์คริสตศ์าสนา มีลกัษณะเป็นเป็นกระบวนการ

เปล่ียนแปลงจิตใจ ซ่ึงเป็นท่าทีภายใน/ความสํานึกส่วนบุคคล ต่อเสรีภาพและการใช้เสรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิต นาํสู่การตดัสินใจเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้ง เหมาะสมกบัอตัลกัษณ์

บุคคลในบริบทส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือใหมี้จิตใจท่ีเป็นอิสระต่อการตอบรับแนวทางของพระเจา้ไปสู่การเป็น

บุคคลท่ีสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม เพ่ือความสะดวกในการศึกษาและการประเมินผลการใชรู้ปแบบฯ

จึงกาํหนดเป็นกรณีศึกษา ดว้ยการจดัอบรมแก่เยาวชนท่ีมีความรู้พ้ืนฐานดา้นคาํสอนคริสต์ศาสนา มี

พ้ืนฐานการคิดวิเคราะห์เชิงปรัชญา และมีความสนใจเขา้รับการอบรมการพฒันาชีวิตตามคาํสอนคริสต์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

287

ศาสนา โดยกาํหนดขอบเขตประชากรเป็นนกัศึกษาวิทยาลยัแสงธรรม ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556

ท่ีผา่นการศึกษาในสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลยัแสงธรรม ตั้ งแต่ 1 ปีการศึกษาข้ึนไป โดยใช้

ระยะเวลาการจดัอบรมจาํนวน 6 วนั (48 ชัว่โมง) ดว้ยกระบวนการอบรมเสริมสร้างความรู้ เจตคติการ

ใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตและแนวโนม้ของพฤติกรรมในการดาํเนินชีวิตดว้ยความสาํนึกต่อเสรีภาพ

และการใชเ้สรีภาพของบุคคลตามเจตคติการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ เพ่ือพฒันาบุคคลให้

เกิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอยา่งต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

ดังนั้ น การประเมินผลการพัฒนาด้วยการจัดอบรมตามรูปแบบฯ จึงให้

ความสาํคญัต่อการใหผู้รั้บการอบรมไดพิ้จารณา/ประเมินตนเองทั้งดา้นความรู้กระบวนทศัน์การพฒันา

มนุษยฯ์ เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตและพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ โดยการทดสอบ ดว้ยการทดสอบดว้ยแบบวดัความรู้ฯ เจตคติการ

ใชเ้สรีภาพฯ และพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ

เพ่ือประเมินความรู้ เจตคติการใชเ้สรีภาพ และแนวโน้มของพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิต ด้วยความสํานึกต่อเสรีภาพและใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพตนเอง คนอ่ืน/สังคม

ส่ิงแวดลอ้มและการตอบรับความสมัพนัธ/์แนวทางของพระเจา้ จึงกาํหนดการประเมินการพฒันาตาม

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ โดยสรุปเป็นตาราง ดงัน้ี

ตารางท่ี 10 แสดงรูปแบบการประเมินการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปาฯ

วตัถุประสงค์ วธิีการ เคร่ืองมอื ผลทีไ่ด้

เพ่ือประเมินความรู้กระบวน

ทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปาฯ

การทดสอบ แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์

การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปาฯ

คะแนนจากแบบ

วดัความรู้ฯ

เ พ่ื อประ เ มิน เ จตค ติ ก า ร ใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์พระสนัตะปาปาฯ

การทดสอบ แบบวดัเจตคติการใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์พระสนัตะปาปา

คะแนนจากแบบ

วดัเจตคติฯ

เพ่ือประเมินพฤติกรรมการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์พระสนัตะปาปาฯ

การทดสอบ แบบวดัพฤติกรรมการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์พระสนัตะปาปา

คะแนนจากแบบ

วดัพฤติกรรมฯ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

288

อยา่งไรก็ตาม เน่ืองจากรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีจุดหมาย คือ การเปล่ียนแปลงเจตคติ (การกลบัใจ) ซ่ึงเป็นมิติฝ่ายจิต

วิญญาณตามหลกัคาํสอนคริสตศ์าสนา ท่ีเช่ือมโยงไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ จึงไม่สามารถกาํหนด

รูปแบบไดแ้บบเจาะจง ต้องมีการพิจารณาเป็นรายกรณี ตามสภาพของบุคคล จาํเป็นต้องอาศยั

ผูเ้ช่ียวชาญเฉพาะดา้นในการร่วมพิจารณา และการให้ความสาํคญัต่อการพบปะ แบ่งปัน/แลกเปล่ียน

ประสบการณ์/ผลการไตร่ตรอง ทบทวนชีวิตกบัผูเ้ช่ียวชาญ

2.6 เงื่อนไขและปัจจยัการใช้รูปแบบ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ให้ความสําคัญต่อบุคคลและบรรยากาศ /

สภาพแวดลอ้มท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ ดงันั้ น จึงกาํหนดเง่ือนไขและปัจจยัการใช้

รูปแบบฯ ดงัน้ี

2.6.1 เงื่อนไข : ความมุ่งมัน่ของบุคคล ผู้เกีย่วข้อง/ชุมชน/สังคม

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ให้

ความสาํคญัต่อการพฒันาบุคคลตามอตัลกัษณ์ กล่าวคือ ตวับุคคลตอ้งมีใจท่ีมุ่งมัน่ สภาพของบุคคลท่ี

ดาํเนินชีวิตในบรรยากาศท่ีมัน่คงและปลอดภยั มีความเช่ือมัน่ในศกัยภาพของชีวิตบนพ้ืนฐานของ

ความเช่ือทางศาสนาและการมีวินยัในชีวิต และสภาพแวดลอ้ม ไดแ้ก่ ครอบครัว ชุมชนและสังคม ซ่ึง

เป็นพ้ืนฐานและเครือข่ายการพฒันาท่ีเป็นเอกภาพในการส่งเสริมสิทธิและความรับผิดชอบการพฒันา

บุคคล มีระบบ โครงสร้างและกฎหมายท่ีส่งเสริมและเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล รวมถึงการให้

ความสาํคญัต่อการพิจารณาสภาพ สถานการณ์ชีวิตของบุคคล ซ่ึงครอบคลุมถึงบริบทตามอตัลกัษณ์

โดยเฉพาะประวติัศาสตร์ วฒันธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาและความสมดุลในบริบทส่ิงแวดลอ้ม โดย

หน่วยงาน /ผูมี้ส่วนเก่ียวข้องในการจัดการพัฒนามนุษย์ต้องมีอุดมการณ์ /จิตตารมย์ มีความรู้

ประสบการณ์และเป็นตวัอยา่งท่ีดีในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล ดงันั้น จึงกาํหนด

เง่ือนไขการนาํรูปแบบฯ ไปใช ้ไดแ้ก่ วิทยากร ผูเ้ขา้รับการอบรม สภาพแวดลอ้มและผูเ้ก่ียวขอ้งในชีวิต

ของผูรั้บการอบรม ดงัน้ี

2.6.1.1 วทิยากร

วิทยากรในการจัดกระบวนการอบรม ถือเป็นส่วนสําคญัท่ีช่วยให้

กระบวนการและบรรยากาศการจดัอบรมดาํเนินไปไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ จาํเป็นตอ้งอาศยัวิทยากรท่ีมี

ความรู้ เขา้ใจ มีทกัษะ มีจิตตารมยแ์ละเป็นแบบอยา่งในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล

บนพ้ืนฐานของการมีความเช่ือศรัทธาตามคาํสอนคริสต์ศาสนา/ และเขา้ใจกระบวนทศัน์การพฒันา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

289

มนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยมีบทบาทในลกัษณะเป็นวิทยากรกระบวนการ

(Facilitator) ท่ีทาํหนา้ท่ีเป็น “คนกลาง” ท่ีช่วยประสานงาน/ดาํเนินงานในบรรยากาศของการมีส่วนร่วม

เพ่ือใหมี้ แลกเปล่ียน และสะทอ้นประสบการณ์ หรือปัญหารวมทั้ งแนวทางแกไ้ข ช่วยกระตุน้ให้ผูรั้บ

การอบรมไดไ้ตร่ตรอง ทบทวน แบ่งปันบนพ้ืนฐานของการรับฟังซ่ึงกนัและกนั ดงันั้น วิทยากรในการ

จดัอบรม จึงมีลกัษณะเป็นคณะทาํงาน/ทีมงานท่ีประกอบดว้ยผูเ้ช่ียวชาญ/บุคลากรทางศาสนา (ศาสนบริ

กร) /ท่ีปรึกษาท่ีมีประสบการณ์เฉพาะดา้นในการให้คาํแนะนาํปรึกษาเก่ียวกบัการไตร่ตรอง ทบทวน

เพ่ือการพฒันาชีวิต

2.6.1.2 ผู้เข้ารับการอบรม

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปาฯ

เนน้การจดัอบรมแก่คนรุ่นใหม่ โดยเฉพาะบรรดาเยาวชนซ่ึง เป็นกลุ่มบุคคลท่ีไดรั้บการเอาใจใส่เป็นพิเศษ

เพ่ือใหมี้ภูมิคุม้กนัและมีหลกัการในการดาํเนินชีวิตในสงัคม ทั้งน้ี ผูเ้ขา้รับการอบรมตอ้งมีใจท่ีมุ่งมัน่ มี

ความเต็มใจ/สมคัรใจและมุ่งมัน่ในการเขา้ร่วมในการเขา้ร่วมรับการอบรม มีพ้ืนฐานความรู้ และการปฏิบติั

ศาสนกิจตามคาํสอนคริสตศ์าสนา มีประสบการณ์ในการเรียนรู้อยา่งเป็นระบบ มีทกัษะและความสามารถ

ในการคิด วิเคราะห์เชิงเหตุผล/ปรัชญา ควรไดรั้บการนิเทศหรือมีประสบการณ์ในการรําพึงภาวนา หรือการ

ทาํสมาธิแบบคริสตแ์ละมีความสามารถท่ีรับรู้ความรู้สึกภายในใจ (การมีสติรับรู้ส่ิงท่ีเกิดข้ึนในใจ)

2.6.1.3 ผู้เกีย่วข้อง/ชุมชน/สังคม

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 มีลกัษณะเป็นกระบวนการส่งเสริม สนับสนุนให้มีการพฒันาร่วมกนั ดงันั้น ทุกคน ทุกภาคส่วน

ตอ้งมีบทบาทหน้าท่ี และร่วมมือกนัในการเสริมสร้างการเป็นบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะในความสึกและใช้

เสรีภาพอย่างถูกต้อง เต็มท่ี จึงก ําหนดบทบาทหน้าท่ีของผูเ้ ก่ียวข้องในชีวิตของผูรั้บการอบรม

โดยเฉพาะครอบครัวซ่ึงเป็นชุมชนแรก และเป็นพ้ืนฐานในการปลูกฝังคุณค่าของชีวิต ครอบครัวเป็น

จุดเร่ิมตน้ของชีวิตและการพฒันาชีวิต ครอบครัวมีบทบาทสาํคญัต่อการปลกูฝังเจตคติ และการดาํเนิน

ชีวิตอย่างถูกต้องต่อคุณค่าพ้ืนฐานและศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของมนุษย์ รวมถึงสถาบัน/องค์กร/

หน่วยงานต่างๆ ในชุมชน/สังคมมีความเก่ียวขอ้งในการดาํเนินชีวิตของบุคคล เพ่ือร่วมกนัเสริมสร้าง

สงัคมท่ีเป็นอิสระบนพ้ืนฐานของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล อนัเป็นคุณลกัษณะของสังคมท่ี

สมาชิกมีการดาํเนินชีวิตร่วมกนัแบบหมู่คณะท่ีมุ่งส่งเสริมและพฒันามนุษยสู่์ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

โดยมีการบริหารจดัการ และการแทรกแซงอย่างถูกตอ้ง บนการประกนัความมัน่คง ดว้ยวิธีการท่ี

เหมาะสม พึงระมดัระวงัการแทรกแซงในแบบผกูขาด จนทาํลายเสรีภาพของมนุษย ์ พึงระมดัระวงัการ

จดัสวสัดิการท่ีเกินพอดี หรือผลประโยชน์ทางการเมือง ท่ีเนน้แต่เพียงการส่งเสริมดา้นวตัถุ กายภาพ จน

ละเลยคุณค่าฝ่ายจิต หรือการละเลยร่างกาย การส่งเสริมการอยากมี อยากได ้ตอบสนองความตอ้งการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

290

ในระดบัสญัชาติญาณ หรือการส่งเสริมเสรีภาพแบบเกินเลย ทาํให้มนุษยข์าดความรับผิดชอบต่อการ

พฒันาชีวิตตนเอง คนอ่ืนและสังคม รวมทั้ งการพฒันาคุณค่าฝ่ายจิตวิญญาณ ท่ีมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์ อนัเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันาชีวิต

2.6.2 ปัจจยั : บรรยากาศที่เคารพสิทธิ เสรีภาพ ไว้วางใจและมส่ีวนร่วม

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 ใหค้วามสาํคญัต่อการส่งเสริมบรรยากาศของความสงบภายในจิตใจของผูรั้บการอบรม เพ่ือเปิด

โอกาส/พ้ืนท่ีให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ในบรรยากาศของการมีส่วนร่วม การเป็นอิสระ การเคารพ

ความไวว้างใจกนั ความสงบ มัน่คงและปลอดภยั เพ่ือเสริมสร้างความสงบของจิตใจ ในการรําพึง

ขอ้ความจากพระคมัภีร์และการอธิษฐานภาวนา ดว้ยความสาํนึกถึงการประทบัอยู่ของพระเจา้ในชีวิต

ของแต่ละบุคคล เพ่ือ “ฟังเสียงภายในจิตใจ” หรือเป็นการฟัง “พระวาจาของพระเจา้” ท่ีตรัสเรียกแต่ละ

บุคคล เพ่ือให้แต่ละบุคคลไดมี้ความสัมพนัธ์ส่วนบุคคลกบัพระเจา้ ดว้ยการตอบรับพระเมตตาและ

ความรักของพระเจา้ในชีวิตของบุคคล โดยมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้/แบ่งปันประสบการณ์ส่วนบุคคล

ระหว่างผูเ้ขา้อบรมกบัผูเ้ช่ียวชาญ/วิทยากร ดว้ยความสมคัรใจ บนความสาํนึกรับผิดชอบ ความมุ่งมัน่

และการมีวุฒิภาวะของผูรั้บการอบรม พึงระมดัระวงัการช้ีนาํท่ีส่งผลให้ผูรั้บการอบรมขาดอิสระ จน

เกิดบรรยากาศของความตึงเครียด การบงัคบัข่มขู่ ทาํให้ผูรั้บการอบรมอยู่ในภาวะความกดดนัจนไม่

เป็นตวัของตัวเองในการเขา้ร่วมกระบวนการจดัอบรม แต่ส่งเสริมให้ผูรั้บการอบรมมีระบบและ

ระเบียบวินยับนความสาํนึกรับผดิชอบในการไตร่ตรองชีวิตของตน รู้จกัควบคุมเอาใจใส่ ไม่ปล่อยตวั

ตามความพึงพอใจส่วนตวั เพ่ือจะไดใ้ชเ้วลาในการเขา้ร่วมรับการอบรมอยา่งจริงจงั ซ่ึงจาํเป็นตอ้งมีการ

วางแผนการดาํเนินงานอย่างเป็นระบบ ให้ความสําคัญต่อการมีส่วนร่วมของผูเ้ก่ียวข้องในการ

ดาํเนินการทุกขั้นตอน โดยประยุกต์วิธีการท่ีเหมาะสมกบัสภาพ/ภูมิหลงับุคคล/กลุ่มบุคคล โดยมี

กาํหนดการ/ตารางเวลาและขอ้ตกลงในการปฏิบติัท่ีเหมาะสม

ดงันั้น รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 มีหลกัการอยูบ่นการเสริมสร้างบุคคลตามคาํสอนคริสตศ์าสนา ดว้ยกระบวนการฟ้ืนฟจิูตใจ อาศยั

การหมัน่ไตร่ตรอง ทบทวนชีวิตดว้ยปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตและสงัคมอยูเ่สมอ เพ่ือเขา้ใจและ

พฒันาตนเองอยา่งต่อเน่ืองโดยมีความเช่ือศรัทธาในศาสนาเป็นภูมิคุม้กนั/แนวทาง ภายใตบ้รรยากาศ

ของความรักเมตตาและความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัตามคาํสอนคริสตศ์าสนา ท่ีทุกคนร่วมกนัส่งเสริม

การเคารพยอมรับสิทธิและเสรีภาพของบุคคล เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลซ่ึงมีพ้ืนฐานอยูบ่นสภาวะดั้งเดิมท่ีดี

งามในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้แต่ถกูบดบงั/บิดเบือนดว้ยการยดึมัน่ถือมัน่ตามค่านิยมท่ีลดทอน

คุณค่ามนุษยใ์หเ้ป็นเพียงแค่วตัถุ สสาร ส่งผลใหบุ้คคลมีเจคติคติท่ีลดทอนคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเอง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

291

และคนอ่ืน โดยยดึตนเองเป็นศนูยก์ลาง จนทาํใหมี้การละเลย ละเมิด/เบียดเบียนคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้ม

อยูเ่สมอ ไปสู่การปรับเปล่ียนเจตคติอยา่งต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวติดว้ยความเคารพในคุณค่าความเป็น

บุคคลของตนเองและผูอ่ื้น รวมถึงการเสริมสร้างอตัลกัษณ์ส่วนบุคคล ตามบริบทของประวติัศาสตร์

วฒันธรรม อนัเป็นคุณค่าและมรดก ท่ีหล่อหลอมมนุษยใ์หพ้ฒันาชีวิตในบริบทส่ิงแวดลอ้มท่ีสมดุลตาม

ระบบนิเวศวิทยา ซ่ึงเป็นกระบวนการพฒันาท่ีต่อเน่ืองใชเ้วลาและค่อยเป็นค่อยไปตามลาํดบั เนน้ใหบุ้คคล

นาํไปประยกุตใ์นการพฒันาชีวติประจาํวนั เร่ิมตน้ท่ีการพฒันาตนเอง เพ่ือเป็น “เช้ือ” หรือ “พลงัเลก็ๆ”

ไปสู่การเปล่ียนแปลงสงัคม ใหเ้ป็นสงัคมท่ีเตม็ดว้ยบรรยากาศของการเคารพศกัด์ิศรีของบุคคล ใน

ขณะเดียวกนั สงัคมท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศของการเคารพศกัด์ิศรีของบุคคล จะช่วยใหบุ้คคลมีการพฒันาอยา่ง

สอดคลอ้ง สมดุลและเหมาะสมกบัสภาพชีวติไดดี้ยิง่ข้ึน ส่งผลใหเ้กิดสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศของ

สงัคมท่ีเอ้ืออาํนวยใหม้นุษยพ์ฒันาวุฒิภาวะไดเ้ต็มท่ี เป็นสงัคมท่ีสมาชิกในสงัคมอยูร่่วมกนัดว้ยเจตคติ

ของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล เป็นสงัคมท่ีแต่ละบุคคลตอ้งร่วมกนัสรรสร้างสงัคม ใหเ้ป็น

สงัคมของบุคคล (John Paul II, 1987: 46; 1979: 16) เป็นสงัคมแห่งความยติุธรรมและสนัติ ท่ีสมาชิก

ดาํเนินชีวติดว้ยจิตสาํนึกของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของตนเองและผูอ่ื้น (John Paul II,

1991: 22, 30; 1987: 29, 33, 46, 47; 1981: 13) เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลมีจิตใจท่ีพร้อมท่ีจะตอบรับพระพร/

พระกรุณาของพระเจา้ท่ีโปรดประทานชีวติท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้) ในพระเจา้ ในสถานการณ์ของ

ชีวิตของบุคคล

ดงันั้น รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี

2 เร่ิมตน้ดว้ยการจดัสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศท่ีสมาชิกของสงัคมดาํเนินชีวิตเป็นหน่ึงเดียวกนั ในการ

ปฏิบติัความรัก ความเคารพ/ยอมรับสิทธิและเสรีภาพของบุคคล จากนั้นจึงนาํสู่การดาํเนินการตาม

รูปแบบ ซ่ึงประกอบดว้ยหลกัการ เป้าหมาย จุดหมาย กระบวนการ เง่ือนไข/ปัจจยัการใชรู้ปแบบ และ

การประเมินการพฒันา จึงสรุปองคป์ระกอบของรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัตารางท่ี 11

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

292

ตารางท่ี 11 แสดงองคป์ระกอบของรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

องคป์ระกอบ รายละเอียด

1. หลกัการ การเสริมสร้างบุคคลใหส้าํนึกรับผดิชอบต่อเสรีภาพ/ใชเ้สรีภาพอย่างถูกตอ้งเต็มท่ี

ในการดาํเนินชีวิตร่วมกับคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์ /สมดุลกับ

ส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือให้แต่ละบุคคลใช้เสรีภาพตอบรับแนวทางของพระเจ้าในการ

ดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

2. เป้าหมาย การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ หรือความรอดพน้ในพระเจา้ ซ่ึงเป็นพระกรุณาของพระ

เจา้ท่ีประทานแก่มนุษย ์

3. จุดหมาย 1. เพ่ือเสริมสร้างความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของบุคคล ตามเจตคติ

การเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

2. เพ่ือพฒันาบุคคลใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอยา่งต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิต

ท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

4. กระบวนการ 1. การคน้พบสภาพชีวติ

1.1 เปิดมุมมอง

1.2 ต่ืนตวั

1.3 ทาํความเขา้ใจ

2. การรับรู้/ยอมรับ

2.1 สงัเกต/รับรู้ความรู้สึก

2.2 ทบทวนไตร่ตรองชีวิต

2.3 รับรู้/ยอมรับตวัตน

3. การตดัสินใจ

3.1 สาํนึกตน

3.2 ตอบรับพระเจา้

3.3 เปล่ียนพฤติกรรม

วิธีการ 1. การอบรมความรู้/

เจตคติ

2. การฝึกปฏิบติัการ

ไตร่ตรองชีวิต

3. การแบ่งปัน/

แลกเปล่ียนเรียนรู้

ขั้นตอน

1.ทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์

1.1 ศึกษาแนวคิด

1.2 สมัผสัชีวิต

1.3 วิเคราะห์เชิงลึก

2. ไตร่ตรองจิตใจ

2.1 สาํรวจความรู้สึก

2.2 รําพึงพระวาจา

2.3 ฟังเสียงภายใน

3. ออกแบบขอ้ปฏิบติั

3.1 เปิดใจ

3.2 มุ่งมัน่/ตั้งใจ

3.3 หาขอ้ปฏิบติั

5.

เง่ือนไข 1. วิทยากรมีจิตตารมย/์ เป็นแบบอยา่ง

2. ผูเ้ขา้รับการอบรม มีพ้ืนฐาน/มีวินยัและความมุ่งมัน่

3. ผูเ้ก่ียวขอ้งตระหนกั/ ส่งเสริม/มีการดาํเนินชีวิตร่วมกนัเป็นหมู่คณะ

ปัจจยั บรรยากาศท่ีเคารพ ยอมรับสิทธิ เสรีภาพ ไวว้างใจและมีส่วนร่วม

6. การประเมิน 1. ความรู้ : กระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ

2. เจตคติ : การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ คุณค่าศกัด์ิศรีบุคคล

3. พฤติกรรม : การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยฯ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

293

4. ผลการตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ผูว้ิจัยได้นาํร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 ท่ีพฒันาข้ึนจากผลการศึกษาขอ้มลูพ้ืนฐานและผลการวิพากษก์รอบแนวคิดของร่างรูปแบบฯ

ประกอบดว้ย หลกัการ เป้าหมาย จุดหมาย กระบวนการ เง่ือนไข/ปัจจยั และการประเมินการพฒันา

มนุษย ์ไปใหผู้เ้ช่ียวชาญ จาํนวน 10 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) ประเมินองค์ประกอบแต่ละดา้นของ

ร่างรูปแบบในประเด็นความสอดคลอ้งกบักระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ และมี

ความเป็นไปไดใ้นการนาํไปใชป้ฏิบติัจริง มีผลการประเมินปรากฏดงัตารางท่ี 12

ตารางท่ี 12 แสดงค่าความสอดคลอ้ง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้และเป็นประโยชน์ของร่าง

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

องค์

ประกอบ

ความสอดคล้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความเป็นประโยชน์

X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ X S.D. ระดับ

หลกัการ 5.00 0.00 มากท่ีสุด 4.50 0.70 มากท่ีสุด 4.50 0.70 มากท่ีสุด 4.50 0.70 มากท่ีสุด

เป้าหมาย 4.90 0.30 มากท่ีสุด 4.60 0.50 มากท่ีสุด 4.60 0.50 มากท่ีสุด 4.60 0.50 มากท่ีสุด

จุดหมาย 4.70 0.50 มากท่ีสุด 4.60 0.50 มากท่ีสุด 4.60 0.50 มากท่ีสุด 4.60 0.50 มากท่ีสุด

กระบวน

การ

4.70 0.50 มากท่ีสุด 4.30 0.80 มาก 4.30 0.80 มาก 4.30 0.80 มาก

วิธีการ 4.60 0.50 มากท่ีสุด 4.40 0.50 มาก 4.40 0.50 มาก 4.40 0.50 มาก

ขั้นตอน 4.60 0.50 มากท่ีสุด 4.50 0.50 มากท่ีสุด 4.50 0.50 มากท่ีสุด 4.50 0.50 มากท่ีสุด

ลาํดบัฯ 4.60 0.50 มากท่ีสุด 4.60 0.50 มากท่ีสุด 4.60 0.50 มากท่ีสุด 4.60 0.50 มากท่ีสุด

เง่ือนไข 4.70 0.50 มากท่ีสุด 4.10 0.60 มาก 4.10 0.60 มาก 4.10 0.60 มาก

ปัจจยั 4.90 0.30 มากท่ีสุด 4.60 0.50 มากท่ีสุด 4.60 0.50 มากท่ีสุด 4.60 0.50 มากท่ีสุด

ประเมิน 4.70 0.50 มากท่ีสุด 4.50 0.50 มากท่ีสุด 4.50 0.50 มากท่ีสุด 4.50 0.50 มากท่ีสุด

รวม 4.70 0.44 มากท่ีสุด 4.47 0.58 มาก 4.47 0.58 มาก 4.47 0.58 มาก

จากตาราง แสดงให้เห็นว่า โดยรวมร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีความสอดคลอ้งกบักระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ

ในระดบัมากท่ีสุด ( X = 4.70, S.D. = 0.44) โดยมีค่าเฉล่ียมากกว่า 4.50 ข้ึนไป และส่วนเบ่ียงเบน

มาตรฐานมีค่าน้อยกว่า 1.00 ( X > 4.50, S.D. < 1.00) องค์ประกอบของรูปแบบฯ ดา้นหลกัการ มี

ความเหมาะสมมากท่ีสุด รองลงมาคือดา้นเป้าหมาย ปัจจยั ส่วนองคป์ระกอบมีค่าเฉล่ียตํ่าท่ีสุด คือ ดา้น

วิธีการ และขั้นตอนการจดัอบรม รูปแบบฯ มีความเหมาะสม ความเป็นไปไดแ้ละเป็นประโยชนใ์นการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

294

นาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัมาก ( X = 4.47, S.D. = 0.58) โดยมีค่าเฉล่ียมากกว่า 3.50 ข้ึนไป และส่วน

เบ่ียงเบนมาตรฐานมีค่าน้อยกว่า 1.00 ( X > 3.50, S.D. < 1.00) องค์ประกอบของรูปแบบฯ ดา้น

เป้าหมาย จุดหมาย และปัจจัย มีความเป็นไปได้มากท่ีสุด ส่วนองค์ประกอบของรูปแบบฯ ด้าน

กระบวนการ วิธีการและเง่ือนไขการใชรู้ปแบบ มีความเป็นไปไดใ้นระดบัมาก โดยผูเ้ช่ียวชาญไดใ้ห้

ขอ้คิดเห็นเพิ่มเติมว่ารูปแบบมีครอบคลุมแนวคิดของพระสนัตะปาปาฯ มีความเหมาะสมและเป็นไปได้

ในการนาํไปประยกุตใ์ช ้อยา่งไรก็ตามในการประเมินความเป็นไปไดข้องรูปแบบฯ ผูเ้ช่ียวชาญไดใ้ห้

ขอ้เสนอแนะ/ใหค้วามสาํคญัต่อองคป์ระกอบดา้นกระบวนการ/วิธีการว่าควรเน้นการฝึกปฏิบติัท่ีมุ่งสู่

การดาํเนินชีวิตโดยมีวิธีการอบรมท่ีหลากหลายสอดคลอ้งกบัสภาพของบุคคล กระบวนการควรเน้น

การเรียนรู้ การสมัผสั และคน้พบปรากฏการณ์ดว้ยตนเอง โดยวิทยากรทาํหน้าท่ีเป็นกระบวนกร และ

องค์ประกอบดา้นเง่ือนไขการใชรู้ปแบบว่าเป็นรูปแบบการพฒันามนุษยฯ์ ท่ีจาํกดัวงเฉพาะกลุ่มท่ีมี

พ้ืนฐานและมีวิทยากรเฉพาะดา้น ซ่ึงแมจ้ะเป็นขอ้จาํกดั แต่ถือเป็นรูปแบบการพฒันามนุษยท่ี์น่าสนใจ

ต่อการนาํไปประยกุตใ์ชก้ารพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานคาํสอนของศาสนา

6. ผลการพฒันาและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมอืประกอบการใช้รูปแบบ

จากการนําเสนอร่างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ดว้ยการวิพากษ์และประเมินโดยผูเ้ช่ียวชาญ จึงนาํผลการวิพากษ์และประเมินไป

ดาํเนินการปรับปรุงรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ฉบบัสมบูรณ์ แต่เพ่ือความสะดวกในการนาํรูปแบบไปทดลองใช ้จึงไดจ้ดัทาํเคร่ืองมือประกอบการใช้

รูปแบบฯ ไดแ้ก่ คู่มือการใชรู้ปแบบฯ และเคร่ืองมือประเมินการพฒันามนุษยฯ์ โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

6.1 ผลการพฒันาคู่มือฯ และเคร่ืองมือประเมินการพฒันามนุษยฯ์

6.1.1 คู่มือการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ

ผูว้ิจยัไดจ้ัดทาํคู่ มือการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ซ่ึงประกอบดว้ยส่วนต่างๆ ดงัน้ี (รายละเอียด ดูในภาคผนวก ข)

1. การจัดอบรมเพื่อการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ประกอบดว้ย หลกัการและเหตุผล วตัถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย สาระสาํคญัของ

กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยฯ์ และรูปแบบการจดัอบรมฯ ซ่ึงมีลกัษณะเป็นการอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือ

การฟ้ืนฟจิูตใจตามรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ี

มุ่งใหผู้รั้บการอบรมไดค้น้พบ รับรู้/ยอมรับและตดัสินใจเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิต เป็นการ

จดัอบรมท่ีใหค้วามสาํคญัต่อการจดับรรยากาศท่ีส่งเสริมใหผู้เ้ขา้รับการอบรมไดไ้ตร่ตรอง ทบทวนการ

ใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของตน จึงประกอบดว้ยสามขั้นตอนท่ีสาํคญั ไดแ้ก่ การทาํความเขา้ใจ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

295

ปรากฏการณ์ การทบทวน ไตร่ตรอง และการออกแบบแนวปฏิบติั ทั้งน้ี การจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือ

การฟ้ืนฟูจิตใจตามกระบวนทัศน์การพัฒนามนุษย์ของพระสันตะปาปาฯ เร่ิ มต้นด้วยการจัด

สภาพแวดลอ้มใหมี้บรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล จากนั้นจึงนาํสู่การดาํเนินการตาม

รูปแบบ ซ่ึงประกอบดว้ยหลกัการ เป้าหมาย จุดหมาย กระบวนการ เง่ือนไข/ปัจจยัการใชรู้ปแบบ และ

การประเมินการพฒันา

2. แนวทาง/แนวปฏิบติัในการจดัอบรม ประกอบดว้ย ลกัษณะและแนวปฏิบติัใน

การจดัสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศการอบรม การดาํเนินการจดัอบรม/วิธีการ/ขั้นตอนการจดัอบรม/

แผนการจดัอบรม และคุณลกัษณะ/บทบาทของวิทยากร ผูเ้ขา้อบรมและผูเ้ก่ียวขอ้ง ทั้งน้ี การจดัอบรม

เชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

เร่ิมตน้ดว้ยการจดัสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศท่ีเอ้ืออาํนวยใหแ้ต่ละบุคคลสามารถพฒันาชีวิตของตนได้

เต็มท่ี ดว้ยการจดัสภาพแวดลอ้มในลกัษณะเป็น “สังคมของบุคคล” ซ่ึงเป็นบรรยากาศของของการ

ดาํเนินชีวิตแบบหมู่คณะ ท่ีทุกคนมี/ปฏิบติัความรักเมตตาและสาํนึกถึงความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัใน

การเคารพยอมรับสิทธิและเสรีภาพของบุคคล เพ่ือเสริมสร้างผูรั้บการอบรมไปสู่การคน้พบ รับรู้/

ยอมรับ และการตดัสินใจเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิต

3. คู่มือวิทยากร ประกอบดว้ย ขอ้ควรปฏิบติัก่อนดาํเนินการอบรม แนวทางใน

การดาํเนินการ/การจัดบรรยากาศ/การจัดท่ีนั ่ง/การจัดตามแผนการอบรม และเคร่ืองมือ/ส่ือท่ีใช้

ประกอบการจดัอบรม และเคร่ืองมือสาํหรับประเมินการพฒันามนุษย ์ ทั้งน้ี การจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือ

การฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 วิทยากรมีบทบาท

สาํคญัอยา่งยิง่ในฐานะเป็น “วิทยากรกระบวนกร” (Facilitator) และ “ผูใ้ห้คาํปรึกษาดา้นจิตใจ” (Spiritual

counselor) ท่ีจะทาํเกิดสภาพแวดลอ้มของการจดัอบรมมีบรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล

เพ่ือส่งเสริมใหแ้ต่ละบุคคลมีใจท่ีเป็นอิสระ และใชเ้สรีภาพในตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ใน

การดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ดว้ยการเปล่ียนแปลงเจคติการดาํเนินชีวิตอย่างต่อเน่ือง

ของบุคคล ผา่นทางกระบวนการจดัอบรม

6.1.2 เคร่ืองมือประเมินการพฒันามนุษยฯ์

การประเมินผลการพฒันาดว้ยการจดัอบรมตามรูปแบบฯ ให้ความสาํคญัต่อการ

ใหผู้รั้บการอบรมไดพิ้จารณา/ประเมินตนเองทั้งดา้นความรู้ เจตคติการใชเ้สรีภาพฯ และพฤติกรรมการ

ใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิต โดยใชแ้บบวดัความรู้ฯ แบบวดัเจตคติการใชเ้สรีภาพฯ และแบบวดั

พฤติกรรมฯ ก่อน (Pre-test) และหลงั (Post-test) การอบรม ดงัน้ี (รายละเอียดในภาคผนวก ข)

1. แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 มีจุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ ของผูเ้ขา้รับ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

296

การอบรมฯ โดย แบ่งเป็นสองตอน ไดแ้ก่ แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะเป็นแบบเลือกตอบ (ปรนัย) 4

ตวัเลือก จาํนวน 50 ขอ้ เพ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นความจาํ ความเขา้ใจ การนาํไปใช ้การวิเคราะห์และการ

สงัเคราะห์ กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ และแบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะการ

ยกกรณีศึกษาและแสดงความเห็นถึงความเหมาะสมของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติ ในแบบความ

เรียง (อตันัย) จาํนวน 2 กรณี เพ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นการประเมินค่า มีแนวการให้คะแนน โดยใชก้าร

วิเคราะห์เน้ือหา เพ่ือพิจารณาความสอดคลอ้งในแต่ละประเด็นท่ีนาํเสนอ โดยเทียบเคียงกบัประเด็น/คาํ

สาํคญัจากการพิจารณาของผูเ้ช่ียวชาญ และกาํหนดการใหค้ะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubrics)

2. แบบวดัเจตคติดา้นการใชเ้สรีภาพตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีจุดประสงคเ์พ่ือวดัระดบัเจตคติต่อการใชเ้สรีภาพตามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปาฯ ของผูรั้บการอบรมฯ แบ่งออกเป็น 5 ระดบั ตามแบบของลิเคิร์ท (Likert Scale)

จาํนวน 25 ขอ้ โดยกาํหนดเจตคติเป็นส่ีดา้น ไดแ้ก่ เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบท

ส่ิงแวดลอ้ม และเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้

3. แบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะเป็นแบบสอบความเรียง มีจุดประสงค์เพ่ือวดัพฤติกรรมการใชก้ารใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิต ดว้ยการยกสถานการณ์/กรณีตวัอยา่งท่ีเกิดข้ึนในสงัคมจาํนวน 3 กรณี ให้ผูเ้ขา้รับการ

อบรมเสนอแนวทางและขอ้ตั้งใจการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของบุคคล โดยสมมติบทบาทเป็น

บุคคลในกรณีศึกษา และเสนอพฤติกรรมท่ีตั้งใจจะปฏิบติัต่อการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตในแบบ

ความเรียง และใช้การวิเคราะห์เน้ือหา เพ่ือพิจารณาความสอดคลอ้ง ในแต่ละประเด็นท่ีนําเสนอ

เทียบเคียงกบัประเด็น/คาํสาํคญัจากการพิจารณาโดยผูเ้ช่ียวชาญ โดยกาํหนดการให้คะแนนแบบรูบริค

(Scoring Rubrics)

6.2 ผลการประเมินคุณภาพคู่มือฯ และเคร่ืองมือประเมินการพฒันามนุษยฯ์

ผูว้ิจัยได้นําคู่ มือการใช้รูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 และเคร่ืองมือประเมินการพฒันามนุษยฯ์ ท่ีพฒันาข้ึนจากรูปแบบฯ ไปให้

ผูเ้ช่ียวชาญ จาํนวน 5 ท่าน (รายช่ือในภาคผนวก ก) ประเมินความสอดคลอ้งและความเป็นไปได ้และ

ตรวจสาํนวนภาษาท่ีใช ้ สรุปผลปรากฏดงัตารางท่ี 13 ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

297

ตารางท่ี 13 แสดงค่าความสอดคลอ้งและความเป็นไปไดข้องคู่มือฯ และเคร่ืองมือประเมินการ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ข้อ ความเหมาะสมของ

ร่างรูปแบบฯ

ความสอดคล้อง ความเป็นไปได้

X S.D. ความหมาย X S.D. ความหมาย

ตอนท่ี 1 การจดัอบรมเพื่อการพฒันามนุษย ์

1. หลกัการและเหตุผล 5.00 0.00 มากท่ีสุด 5.00 0.00 มากท่ีสุด

2. วตัถุประสงค/์กลุ่มเป้าหมาย 5.00 0.00 มากท่ีสุด 5.00 0.00 มากท่ีสุด

3. กระบวนทศัน์และรูปแบบฯ 5.00 0.00 มากท่ีสุด 5.00 0.00 มากท่ีสุด

ตอนท่ี 2 แนวทางและแนวปฏิบติัในการจดัอบรม

4. การจดัสภาพแวดลอ้ม 4.50 0.60 มากท่ีสุด 4.50 0.60 มากท่ีสุด

5. การดาํเนินการจดัอบรม 5.00 0.00 มากท่ีสุด 5.00 0.00 มากท่ีสุด

6. แผนการจดัอบรม 4.50 0.60 มากท่ีสุด 4.50 0.60 มากท่ีสุด

7. คุณสมบติั/บทบาทวิทยากร ผู้

เขา้อบรมและผูเ้ก่ียวขอ้ง

4.30 1.00 มาก 4.30 1.00 มาก

ตอนท่ี 3 คู่มือวิทยากร

8. ขอ้ควรปฏิบติัก่อนอบรม 4.50 0.60 มากท่ีสุด 4.50 0.60 มากท่ีสุด

9. แนวทางในการดาํเนินการ 4.50 0.60 มากท่ีสุด 4.50 0.60 มากท่ีสุด

10. การจดับรรยากาศการอบรม 4.50 0.60 มากท่ีสุด 4.50 0.60 มากท่ีสุด

11. การจดัท่ีนัง่ แบ่งกลุ่ม/ประชุม 4.80 0.50 มากท่ีสุด 4.80 0.50 มากท่ีสุด

12. การจดัตามแผนการอบรม 5.00 0.00 มากท่ีสุด 5.00 0.00 มากท่ีสุด

13. เคร่ืองมือ/ส่ือฯ 5.00 0.00 มากท่ีสุด 5.00 0.00 มากท่ีสุด

14. การจดัเอกสาร/ส่ือประกอบ 5.00 0.00 มากท่ีสุด 5.00 0.00 มากท่ีสุด

15. เคร่ืองมือประเมินฯ 4.80 0.50 มากท่ีสุด 4.80 0.50 มากท่ีสุด

รวม 4.77 0.45 มากท่ีสุด 4.77 0.45 มากท่ีสุด

จากตาราง แสดงใหเ้ห็นว่า ผลการประเมินโดยรวม พบว่าคู่มือการใชรู้ปแบบฯ และ

เคร่ืองมือประเมินการพฒันามนุษยฯ์ มีความสอดคลอ้งกบัรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปาฯ ในระดบัมากท่ีสุด ( X = 4.77 , S.D. = 0.45) องค์ประกอบ ดา้นหลกัการและเหตุผล วตัถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย การสรุปกระบวนทศัน์และรูปแบบการจดัอบรมเพ่ือพฒันา

มนุษยฯ์ การจดัตามแผนการอบรม เคร่ืองมือ/ส่ือท่ีใชป้ระกอบการอบรม การจดั เอกสาร/กรณีศึกษา/ใบ

งาน/แบบบนัทึกฯ สาํหรับการอบรมในแต่ละวนั มีค่าเฉล่ียดา้นความสอดคลอ้งอยู่ในระดบัมากท่ีสุด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

298

ส่วนองค์ประกอบของคู่มือด้านคุณลกัษณะและบทบาทของวิทยากร ผูเ้ขา้อบรมและผูเ้ก่ียวข้องมี

ค่าเฉล่ียอยู่ในระดบัมาก คู่มือฯ และเคร่ืองมือประเมินการพฒันามนุษยฯ์ มีความเป็นไปไดใ้นการ

นาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัมากท่ีสุด ( X = 4.77, S.D. = 0.45) องคป์ระกอบดา้นหลกัการและเหตุผล

วตัถุประสงคแ์ละกลุ่มเป้าหมาย การสรุปกระบวนทศัน์และรูปแบบการจดัอบรมเพื่อพฒันามนุษยฯ์ การ

จดัตามแผนการอบรม เคร่ืองมือ/ส่ือท่ีใชป้ระกอบการอบรม การจดั เอกสาร/กรณีศึกษา/ใบงาน/แบบ

บันทึกฯ สําหรับการอบรมในแต่ละวนั มีค่าเฉล่ียด้านความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากท่ีสุด ส่วน

องคป์ระกอบของคู่มือดา้นคุณลกัษณะและบทบาทของวิทยากร ผูเ้ขา้อบรมและผูเ้ก่ียวขอ้งมีค่าเฉล่ียอยู่

ในระดับมาก และผูเ้ช่ียวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นว่า การพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สันตะปาปาฯ เป็นการพฒันาบุคคลท่ีเน้นการพฒันาจิตใจ ดังนั้น ขอ้ปฏิบติัในการอบรมควรมีความ

ยดืหยุน่

7. ผลการศึกษานําร่องการใช้รูปแบบ

ผูว้ิจยัไดน้าํรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี

2 ท่ีพฒันาข้ึนไปทดลองใช้ในสถานการณ์จริง มีวตัถุประสงค์เพ่ือตรวจสอบความเหมาะสมของ

รูปแบบ และเพ่ือตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือประกอบการใชรู้ปแบบฯ ผลการทดลอง (Try out) กบั

ประชากรท่ีไม่ใช่กลุ่มทดลอง ได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา ปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปี

การศึกษา 2556 จาํนวน 23 คน จากขอ้คิดเห็นและขอ้เสนอแนะ มีผลปรากฏ ดงัน้ี

7.1 ดา้นประโยชน์ท่ีไดรั้บจากการอบรม พบว่ารูปแบบฯ มีประโยชน์และสามารถนาํไป

ประยกุตใ์ชใ้นชีวิตประจาํวนัไดเ้ป็นอยา่งดี ทั้งน้ีรูปแบบฯ มีความเหมาะสมในการจดัอบรมแก่ผูมี้พ้ืน

ฐานความรู้ในดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนาและปรัชญา อย่างไรก็ตาม สามารถนาํไปประยุกต์ใชใ้นการ

จดัอบรมแก่บุคคลทัว่ไปได ้

7.2 ดา้นวิทยากร พบว่า ให้ความชดัเจนในการถ่ายทอดเน้ือหาและกระบวนการ รวมถึง

การตอบขอ้ซกัถามไดอ้ยา่งดี เอกสารและส่ือประประกอบการอบรมมีความเหมาะสม อย่างไรก็ตาม

มีขอ้เสนอแนะว่ามีเอกสารการอบรมค่อนขา้งมาก จึงเสนอให้ผูเ้ขา้อบรมไดรั้บเอกสาร เพ่ือนาํไป

ศึกษาเอกสารการอบรมเป็นการล่วงหนา้

7.3 ดา้นบรรยากาศการจดัอบรม พบว่ามีบรรยากาศของความไวว้างใจ การเคารพสิทธิ

เสรีภาพของบุคคล ระยะเวลาและตารางเวลามีความเหมาะสม อย่างไรก็ตาม ไม่ควรกาํหนดเวลา

ตายตวั เน่ืองจากเป็นการสร้างความกดดนัแก่ผูเ้ขา้อบรม

ผูว้ิจยัจึงไดน้าํขอ้มลูดงักล่าวขา้งตน้มาพิจารณาและปรับแกไ้ขรายละเอียดของรูปแบบฯ

ใหมี้ความชดัเจน และรวมถึงการปรับปรุงตารางเวลาใหค้วามยดืหยุน่ รวมถึงการจดับรรยากาศการจดั

อบรม เพ่ือการจดักิจกรรมตามรูปแบบใหมี้ความเหมาะสมยิง่ข้ึน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

299

ตอนที่ 3 ผลการทดลองใช้รูปแบบการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ที่ 2

ขั้นตอนน้ี มีวตัถุประสงคเ์พ่ือทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอลท่ี 2 ทาํการทดลองใชก้บักลุ่มตวัอย่าง ซ่ึงเป็นกลุ่มเป้าหมายในการใชรู้ปแบบ

จริง เพ่ือตอบคาํถามการวิจยั ขอ้ 3) ผลการทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นอยา่งไร โดยใชก้ระบวนการวิจยัเชิงทดลอง แลว้นาํขอ้มลูจากการ

ทดลองใชรู้ปแบบฯ มาปรับปรุงใหรู้ปแบบฯ มีความสมบูรณ์ยิง่ข้ึน

การทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ดาํเนินการโดยยึดลาํดับขั้นตอนตามคู่มือการใช้รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปาฯ ซ่ึงไดรั้บการตรวจสอบความเหมาะสมจากผูเ้ช่ียวชาญและผา่นการทดลองนาํร่อง เพ่ือพิจารณา

ความเป็นไปไดใ้นการนาํไปใชจ้ริง ก่อนไปทดลองใชก้บักลุ่มตวัอยา่ง ไดแ้ก่ นกัศึกษาสาขาวชิาปรัชญาและ

ศาสนา ชั้นปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2556 จาํนวน 25 คน เพ่ือประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบฯ ว่า

สามารถช่วยในการพฒันาชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯหรือไม่ เพียงใด ผลการศึกษาการ

ทดลองใช้รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ด้วยการ

วิเคราะห์เปรียบเทียบความรู้ เจตคติการใชเ้สรีภาพฯ และพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ จากแบบวดัความรู้ฯ แบบวดัเจตคติการใชเ้สรีภาพฯ และแบบ

วดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพฯ มีผลการศึกษา ดงัน้ี

3.1 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์อง

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pretest) และหลงั (Posttest) การทดลอง

ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความรู้ด้านการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pretest) และหลงั (Posttest) การทดลอง จากแบบวดัความรู้ฯ ไดผ้ล

ปรากฏในตารางท่ี 14 ดงัน้ี

ตารางท่ี 14 แสดงผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบความรู้กระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อนอบรม (Pretest) และหลงัอบรม (Posttest)

ความรู้ฯ N (คน) X S.D. t-test Sig.

ผลการทดสอบก่อนอบรม 25 19.24 5.79 29.813* .00

ผลการทดสอบหลงัอบรม 25 39.76 5.71

*นยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั 0.05

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

300

จากตาราง แสดงใหเ้ห็นว่า ผลการทดสอบความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อนอบรม (Pretest) และหลงัอบรม (Posttest) ตามคู่มือการใชรู้ปแบบการ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ มีค่าเฉล่ียของคะแนนความรู้ก่อนอบรม เท่ากบั

19.24 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 5.79 ค่าเฉล่ียของคะแนนความรู้หลงัอบรม มีค่าเท่ากบั 39.76 ค่า

เบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 5.71 จากการทดสอบสถิติ t-test (Dependent) พบว่า ค่า t = 29.813 โดยมี

ค่าเฉล่ียคะแนนหลงัการอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการอบรมอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

3.2 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติตามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pretest) และหลงั (Posttest) การทดลอง

ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pretest) และหลงั (Posttest) การทดลอง จากแบบวดัเจตคติ

การใชเ้สรีภาพฯ โดยแบ่งเจตคติการใชเ้สรีภาพฯ ออกเป็นส่ีดา้น ไดแ้ก่ เจตคติการใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอยา่งเหมาะสม

ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม และเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้ ไดผ้ล

ปรากฏ ในตารางท่ี 15 (หนา้ 301) ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

301

ตารางท่ี 15 แสดงผลการเปรียบเทียบเจตคติดา้นการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pretest) และหลงั (Posttest) การทดลอง

N (คน) X S.D. t-test Sig.

1. เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง

ผลการทดสอบก่อนอบรม 25 2.21 0.32 18.198* .00

ผลการทดสอบหลงัอบรม 25 3.39 0.24

2. เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน

ผลการทดสอบก่อนอบรม 25 2.26 0.29 16.744* .00

ผลการทดสอบหลงัอบรม 25 3.37 0.27

3. เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอยา่งเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม

ผลการทดสอบก่อนอบรม 25 2.06 0.31 15.739* .00

ผลการทดสอบหลงัอบรม 25 3.42 0.36

4. เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้

ผลการทดสอบก่อนอบรม 25 2.40 0.27 19.138* .00

ผลการทดสอบหลงัอบรม 25 3.58 0.30

*นยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั 0.05

จากตาราง แสดงให้เห็นว่า ผลการทดสอบเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทัศน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อนอบรม (Pretest) และหลงั

อบรม (Posttest) ตามคู่มือการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ โดย

แบ่งเจตคติการใชเ้สรีภาพฯ ออกเป็นส่ีดา้น ค่าเฉล่ียแต่ละดา้น ดงัน้ี

1. ค่าเฉล่ียเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย์

ของตนเองก่อนอบรม เท่ากบั 2.21 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.32 ค่าเฉล่ียเจตคติการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตฯ หลงัอบรม เท่ากบั 3.39 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.24 จากการทดสอบสถิติ t-test

(Dependent) พบว่า ค่า t = 18.198 โดยมีค่าเฉล่ียคะแนนหลงัการอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการอบรมอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

2. ค่าเฉล่ียเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย์

ของคนอ่ืน ก่อนอบรม เท่ากบั 2.26 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.29 ค่าเฉล่ียเจตคติการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตฯ หลงัอบรม เท่ากบั 3.37 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.27 จากการทดสอบสถิติ t-test

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

302

(Dependent) พบว่า ค่า t = 16.744 โดยมีค่าเฉล่ียคะแนนหลงัการอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการอบรมอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

3. ค่าเฉล่ียเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม

ก่อนอบรม เท่ากบั 2.06 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.31 ค่าเฉล่ียเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตฯ หลังอบรม เท่ากับ 3.42 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.36 จากการทดสอบสถิติ t-test

(Dependent) พบว่า ค่า t = 15.739 โดยมีค่าเฉล่ียคะแนนหลงัการอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการอบรมอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

4. ค่าเฉล่ียเจตคติการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้ ก่อน

อบรม เท่ากบั 2.40 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.27 ค่าเฉล่ียเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ

หลงัอบรม เท่ากบั 3.58 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.30 จากการทดสอบสถิติ t-test (Dependent)

พบว่า ค่า t = 19.138 โดยมีค่าเฉล่ียคะแนนหลงัการอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการอบรมอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

3.3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต ตามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pretest) และหลงั (Posttest) การทดลอง

ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต ตามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pretest) และหลงั (Posttest) การทดลอง จากแบบวดั

พฤติกรรมการใชเ้สรีภาพฯ ไดผ้ลปรากฏ ในตารางท่ี 16 ดงัน้ี

ตารางท่ี 16 แสดงผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต ตามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pretest) และหลงั (Posttest) การทดลอง

พฤตกิรรมการใช้เสรีภาพฯ N (คน) X S.D. t-test Sig.

ผลการทดสอบก่อนอบรม 25 2.44 0.71 28.463* .00

ผลการทดสอบหลงัอบรม 25 7.92 0.99

*นยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั 0.05

จากตาราง แสดงใหเ้ห็นว่า ผลการทดสอบพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทัศน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อนอบรม (Pretest) และหลงั

อบรม (Posttest) ตามคู่มือการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ มี

ค่าเฉล่ียของคะแนนพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพฯ ก่อนอบรม เท่ากบั 2.44 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั

0.71 ค่าเฉล่ียของคะแนนพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพฯ หลงัอบรม มีค่าเท่ากบั 7.92 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

303

เท่ากบั 0.99 จากการทดสอบสถิติ t-test (Dependent) พบว่า ค่า t = 28.463 โดยมีค่าเฉล่ียคะแนนหลงั

การอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการอบรมอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

ดงันั้น จากผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความรู้ เจตคติการใช้เสรีภาพฯ และพฤติกรรมการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ ก่อน (Pre-test) และ

หลงั (Post-test) พบว่า

1. นกัศึกษามีความรู้ดา้นการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 โดยมีค่าเฉล่ียของคะแนนความรู้ฯ ก่อนอบรมและหลงัอบรมมีความแตกต่างกนั อย่างมีนัยสาํคญั

ทางสถิติท่ีระดบั .05 โดยค่าเฉล่ียของคะแนนก่อนอบรม มีค่าเท่ากบั 19.24 ซ่ึงน้อยกว่าค่าเฉล่ียของ

คะแนนหลงัอบรม ท่ีมีค่าเท่ากบั 39.76

2. นักศึกษามีเจตคติด้านการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ไดแ้ก่ เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษยข์องตนเอง เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย์

ของคนอ่ืน เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม และเจตคติ

การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้ โดยมีค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใช้

เสรีภาพฯ ก่อนอบรมและหลงัอบรมมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดย

ค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์อง

ตนเองก่อนอบรม มีค่าเท่ากบั 2.21 ซ่ึงนอ้ยกว่าค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง หลงัอบรม ท่ีมีค่าเท่ากับ 3.39 ค่าเฉล่ียของ

คะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน ก่อน

อบรม มีค่าเท่ากบั 2.26 ซ่ึงนอ้ยกว่าค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนหลงัอบรม ท่ีมีค่าเท่ากบั 3.37 ค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตอยา่งเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม ก่อนอบรม มีค่าเท่ากบั 2.06 ซ่ึงน้อยกว่า

ค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม หลงั

อบรม ท่ีมีค่าเท่ากับ 3.42 และค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับ

แนวทางของพระเจา้ ก่อนอบรม มีค่าเท่ากบั 2.40 ซ่ึงนอ้ยกว่าค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้ หลงัอบรม ท่ีมีค่าเท่ากบั 3.58

3. นักศึกษามีพฤติกรรมการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยมีค่าเฉล่ียของคะแนนพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพฯ ก่อนอบรมและหลงั

อบรมมีความแตกต่างกนั อยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05 โดยค่าเฉล่ียของคะแนนพฤติกรรมการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

304

ใชเ้สรีภาพฯ ก่อนอบรม มีค่าเท่ากบั 2.44 ซ่ึงนอ้ยกว่าค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติหลงัอบรม ท่ีมีค่าเท่ากบั

7.92

ซ่ึงเป็นการยอมรับสมมติฐานว่าหลงัการใชรู้ปแบบฯ กลุ่มผูใ้ชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีความรู้ฯ เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

และพฤติกรรมการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตตามกระบวนทัศน์การพัฒนามนุษย์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มากข้ึนกว่าก่อนการใชรู้ปแบบ

ตอนที่ 4 ผลการประเมนิและปรับปรุงรูปแบบการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ที่ 2

ขั้นตอนน้ี มีวตัถุประสงคเ์พ่ือประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบภายหลงัการนาํรูปแบบฯ ไป

ทดลองใช้กบักลุ่มตวัอย่างในการวิจยั เพ่ือตอบคาํถามการวิจยั ข้อ 4) ผลการประเมินและปรับปรุง

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นอย่างไร โดย

ประเมินจากการสอบถามความคิดเห็นของนกัศึกษาและการสมัภาษณ์ความคิดเห็นของนกัศึกษาท่ีมีต่อการ

ใชรู้ปแบบฯ และไดรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ฉบบั

สมบูรณ์ โดยมีผลการศึกษา ดงัน้ี

4.1 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของนกัศึกษาท่ีมีต่อรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของนกัศึกษาท่ีมีต่อรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ไดผ้ลปรากฏ ในตารางท่ี 17 ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

305

ตารางท่ี 17 แสดงผลการแสดงความคิดเห็นของนกัศึกษาท่ีมีต่อรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ข้อ ความคดิเหน็ของนกัศึกษาที่มต่ีอรูปแบบฯ X S.D. ความหมาย อนัดบั

1. ประโยชน์ท่ีไดรั้บจากการอบรม

1.1 ประโยชน์ท่ีไดรั้บจากการเขา้อบรมในคร้ังน้ี 4.30 0.55 มาก 1

1.2 สามารถนาํส่ิงท่ีไดรั้บไปใชใ้นชีวิตประจาํวนั 4.26 0.68 มาก 2

2. ดา้นวิทยากร

2.1 ความชดัเจนจากการถ่ายทอดเน้ือหาและ

กระบวนการฝึกอบรมตามรูปแบบฯ

4.26 0.61 มาก 4

2.2 บรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของ

บุคคล

4.30 0.63 มาก 3

2.3 ประโยชน์จากการใชเ้อกสาร/ส่ือประกอบการ

อบรมตามรูปแบบ

4.39 0.65 มาก 1

2.4 การตอบขอ้ซกัถามของวิทยากรในขณะ

ฝึกอบรม

4.34 0.64 มาก 2

3. บรรยากาศการจดัอบรม

3.1 ความเหมาะสมของระยะเวลาการจดัอบรม 4.00 0.79 มาก 4

3.2 ความเอ้ืออาํนวยของสถานท่ี 4.39 0.49 มาก 1

3.3 ความเหมาะสมของตารางเวลา 4.04 0.47 มาก 3

3.4 บรรยากาศของความไวว้างใจ/ การเคารพสิทธิ

เสรีภาพของบุคคล/ ความเป็นอิสระ

4.34 0.71 มาก 2

รวม 4.21 0.61 มาก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

306

จากตารางแสดงใหเ้ห็นว่า นกัศึกษาประเมินความคิดเห็นต่อรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยรวมทุกดา้นอยูใ่นระดบัมากทุกขอ้ เม่ือพิจารณา

เป็นรายดา้น พบว่า

1. ดา้นประโยชน์ท่ีไดรั้บจากการอบรม เร่ือง ประโยชน์ท่ีท่านไดรั้บจากการเขา้อบรมใน

คร้ังน้ี มีค่าเฉล่ียอยูใ่นอนัดบัสูงท่ีสุด ( X = 4.30, S.D. = 0.55) รองลงมา คือ สามารถนาํส่ิงท่ีไดรั้บจาก

การเขา้รับการอบรมไปปรับใชใ้นชีวติประจาํวนั ( X = 4.26, S.D. = 0.68)

2. ดา้นวิทยากร เร่ือง ประโยชน์จากการใชเ้อกสาร/ส่ือประกอบการอบรมตามรูปแบบ มี

ค่าเฉล่ียอยูใ่นอนัดบัสูงท่ีสุด ( X = 4.39, S.D. = 0.65) รองลงมา คือ การตอบขอ้ซกัถามของวิทยากร

ในขณะฝึกอบรม ( X = 4.34, S.D. = 0.64) บรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล ( X = 4.30,

S.D. = 0.63) และ ความชดัเจนจากการถ่ายทอดเน้ือหาและกระบวนการฝึกอบรมตามรูปแบบฯ ( X =

4.26, S.D. = 0.61)

3. ดา้นบรรยากาศการจดัอบรม เร่ือง ความเอ้ืออาํนวยของสถานท่ี มีค่าเฉล่ียอยูใ่นอนัดบั

สูงท่ีสุด ( X = 4.39, S.D. = 0.49) รองลงมา คือ บรรยากาศของความไวว้างใจ/ การเคารพสิทธิ เสรีภาพ

ของบุคคล/ ความเป็นอิสระ ( X = 4.34, S.D. = 0.71) ความเหมาะสมของตารางเวลา ( X = 4.04, S.D. =

0.47) และ ความเหมาะสมของระยะเวลาการจดัอบรม ( X = 4.00, S.D. = 0.79)

ดงันั้น นกัศึกษาประเมินความคิดเห็นต่อรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยรวมทุกดา้นอยูใ่นระดบัมากทุกขอ้ ( X = 4.21, S.D. = 0.61) แสดง

ให้เห็นว่ากลุ่มผูใ้ช้รูปแบบฯ มีความคิดเห็นต่อรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ระดบัมาก

4.2 ผลการสัมภาษณ์ความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีต่อการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

จากการสัมภาษณ์นักศึกษาท่ีเข้ารับการอบรมตามรูปแบบฯ พบว่ารูปแบบฯ มีความ

เหมาะสมในการนาํไปไตร่ตรองการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน (คนรุ่น

ใหม่) ท่ีอยูใ่นช่วงการเรียนรู้คุณค่า ความหมายชีวิต รูปแบบฯ ช่วยให้มีหลกัการและเปล่ียนมุมมองใน

การใชเ้สรีภาพดว้ยความรับผดิชอบต่อการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าชีวิตของตนเอง ความสัมพนัธ์กบั

คนอ่ืน/สงัคม และส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการมีความสัมพนัธ์กบัพระ การให้โอกาสตนเองมากข้ึนในการ

คิดและการกระทาํ ให้คุณค่ากบัเพ่ือนมากข้ึนในการอยู่และทาํกิจกรรม/งานด้วยกนั ทาํให้เกิดความ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

307

มัน่ใจและภาคภูมิใจในการดาํเนินชีวิต ทาํใหมี้แนวทางการไตร่ตรองชีวิตท่ีนาํสู่การปรับตวัในการอยู่

ร่วมกบัคนอ่ืน โดยสรุปสาระสาํคญั ดงัน้ี

4.2.1 รูปแบบฯ ช่วยเสริมสร้างความรู้ เจตคติการใช้เสรีภาพและพฤติกรรมการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิต

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ ช่วยผูใ้ชรู้ปแบบ

ไดรั้บความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ ทาํให้เกิดเจตคติการดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์รวมถึงการพฒันาพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอยา่ง

เหมาะสมในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีของตนเอง คนอ่ืน/สังคม การดาํเนินชีวิตร่วมกับ

ส่ิงแวดลอ้มและการตอบรับแนวทางของพระเจา้ไปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ตามคาํสอนคริสต์ศาสนา ดงัท่ี

นกัศึกษาใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“...เป็นความรู้ใหม่สําหรับผม นาํส่ิงท่ีไดม้าพฒันาตนเองไดอ้ยา่งมาก ทาํใหท้ราบวา่

ชีวติของแต่ละคนมีคุณค่าไม่ใช่ส่ิงภายนอก แต่เป็นคุณค่าภายในชีวติของแต่ละคน...”

“...ทาํใหคิ้ดถึงการใชเ้สรีภาพของตนเองวา่ควรปฏิบติัอย่างไร เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ของตนอย่างไร ช่วยมองดูตนเองและพบวา่ชีวติยงัตอ้งมีการพฒันาตนเองอีกมาก...”

“...ทุกคร้ังก่อนท่ีใชส่ิ้งของต่างๆ ตอ้งคาํนึงวา่มีความจาํเป็นตอ้งใชห้รือไม่ จะใช้

เสรีภาพดว้ยความรับผิดชอบเสมอ จะไม่ใหว้ตัถุส่ิงของมาทาํลายคุณค่าชีวติของตนเอง...”

“...ใชใ้นการมองตนเอง คนอื่น... ช่วยเหลอืเพ่ือนท่ีไม่เห็นคุณค่า/ขาดความมัน่ใจใน

ชีวติ ช่วยเหลือสังคมและรักษาส่ิงแวดลอ้ม ...จะทาํอะไรตอ้งมีหลกัในการกระทาํ... รู้จกัแยกแยะก่อนท่ีจะลง

มือทาํ...”

“...ไดแ้นวคิดในการดาํเนินชีวติ ท่ีสามารถแยกแยะคุณค่าของตนเอง คนอื่น

ส่ิงแวดลอ้มและความสัมพนัธ์กบัพระ มองเห็นความดีของชีวติ รวมทั้งภูมิปัญญา/วฒันธรรมในบริบทชีวติ

ของตนเอง/สงัคม...”

4.2.2 รูปแบบฯ ช่วยใหเ้กิดความตะหนกัและความสาํนึกต่อคุณค่าและความหมายชีวิต

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ ช่วยผูใ้ชรู้ปแบบ

ฯ ได้เกิดความตะหนักและความสาํนึกต่อคุณค่าของ “ความเป็นมนุษย”์ ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานศกัด์ิศรีของ

บุคคล ทาํใหเ้กิดความรัก ภาคภูมิใจ มัน่ใจและให้โอกาสตนเองในการปรับปรุงแกไ้ขขอ้บกพร่องใน

การดาํเนินชีวิต ดงัท่ีนกัศึกษาใหส้มัภาษณ์ ความว่า

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

308

“...ทาํใหไ้ดรั้บความรู้ถึงคุณค่าของชีวิต และความเท่าเทียมกนัในดา้นคุณค่าความ

เป็นมนุษย ์และตระหนกัถึงความหมายและความสําคญัของเสรีภาพในการดาํเนินชีวติดว้ยความสํานึกรู้ตวัและ

รับผิดชอบ....”

“...ทาํใหรู้้/ตระหนกัถึงคุณค่าชีวติของตนเอง ...ทาํใหม้องโลกในเชิงบวก ในการ

เสริมสร้างการดาํเนินชีวติร่วมกบัคนอื่น....เห็นถึงคุณค่าและศกัด์ิศรีของมนุษยท่ี์เราตอ้งใหค้วามเคารพ...ทาํให้

เขา้ใจตนเอง ภาคภูมิใจในตวัเองและพยามยามพฒันาศกัยภาพของตนเอง....ทาํใหเ้ขา้ใจผูอ้ื่น ยอมรับในส่ิงท่ีเขา

เป็น และเขา้ใจ/ใหเ้กียรติธรรมชาติ/ส่ิงแวดลอ้มในระบบนิเวศ...ทาํใหเ้ขา้ใจรูปแบบการดาํเนินชีวติท่ีมี

ความสัมพนัธ์กบัพระ...”

“...ไดเ้ห็นถึงคุณค่าของตนเอง คุณค่าของผูอ้ืน่ การใหเ้กียรติตนเอง ใหเ้กียรติคนอื่น

ความสัมพนัธ์กบัคนอื่นและส่ิงแวดลอ้ม ในฐานะท่ีผมอยูช่นบท อยู่บนดอย ท่ีส่ิงแวดลอ้มสําคญัมาก ตอ้งให้

ความสําคญักบัส่ิงแวดลอ้ม ตอนท่ีผมกลบับา้น ผมสงัเกตวา่ป่าจะนอ้ยลง มีการทาํไร่เยอะข้ึน จึงควรให้

ความสําคญักบัส่ิงแวดลอ้มท่ีบา้นของตน...”

“...การใหโ้อกาสตนเองมากข้ึนในการคิด และการกระทาํ ใหคุ้ณค่ากบัเพ่ือนมากข้ึน

ในการอยูแ่ละทาํกิจกรรม/งานดว้ยกนั ทาํใหเ้กิดความมัน่ใจในชีวติ...”

4.2.3 รูปแบบฯ ช่วยใหมี้หลกัการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ ช่วยผูใ้ชรู้ปแบบ

มีหลกัการและแนวทางปฏิบติั บนพ้ืนฐานของความสาํนึกถึงเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตอยา่งถกูตอ้ง เหมาะสมในการดาํเนินชีวิต ดงัท่ีนกัศึกษาใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“...ทาํให้มีความสํานึกในการใชเ้สรีภาพอย่างเหมาะสม มีจิตสํานึกในการตระหนกั

และใชเ้สรีภาพดว้ยความรับผิดชอบ เห็นคุณค่าของตนเอง และคนอื่น ใหเ้กียรติซ่ึงกนัและกนั ไม่ยึดติดกบั

ส่ิงของภายนอก....”

“...ไดห้ลกัการดาํเนินชีวติท่ีตอ้งใหเ้กียรติบุคคลรอบขา้ง เอาใจใส่ซ่ึงกนัและกนั ไม่

ละเมิดสิทธิคนอื่น และมีส่วนร่วมในการพฒันาชีวติของกนัและกนั...”

“...สามารถนาํไปใชเ้ป็นหลกัในการดาํเนินชีวติไดเ้ป็นอย่างดี เพราะครอบคลุมทุกมิติ

ในการดาํเนินชีวติ ทั้งความสัมพนัธ์กบัตนเอง คนอื่น ส่ิงแวดลอ้มและพระเจา้ บนพ้ืนฐานของการตระหนกัถึง

คุณค่าของการมีอยู่ และสิทธิ เสรีภาพในการดาํเนินชีวติ...”

“...ถา้เราเขา้ใจหลกัการ ความเป็นไปในชีวติ เราจะคอ่ยๆ ปรับเปลี่ยนตวัของเราใน

การดาํเนินชีวติ พฒันาชีวติของแต่ละคน ผมรู้สึกวา่เสรีภาพของคนในสังคม มีแต่การเรียกร้องวา่ตอ้งไดน้ัน่

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

309

ไดน่ี้ จดัตอ้งมวลชนมาเรียกร้องส่ิงท่ีเราอยากได ้ จนลืมไปวา่คนอื่นๆ อยากไดเ้หมือนเราไหม ทาํใหค้นอื่น

เดือดร้อนหรือไม่ เรามีสิทธิก็จริง แต่ตอ้งคาํนึงถึงสิทธิคนอืน่ดว้ย...”

4.2.4 รูปแบบฯ ช่วยในการพฒันาเจตคติการใชเ้สรีภาพอยา่งต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิตบน

พ้ืนฐานของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ ช่วยผูใ้ชรู้ปแบบ

ฯ มีหลกัการ แนวทาง พฤติกรรม ความมุ่งมัน่/แรงจูงใจท่ีจะเรียนรู้/พฒันาตนเองอย่างต่อเน่ือง ในการ

ดาํเนินชีวิตดว้ยเจตคติของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ ดงัท่ีนกัศึกษาให้สัมภาษณ์ ความ

ว่า

“...ชอบในขั้นตอนการออกแบบ ทาํใหรู้้จกัไตร่ตรองเพ่ือการนาํไปใชใ้นชีวติอย่าง

เป็นรูปธรรมในชีวติ...”

“...รู้สึกวา่เป็นช่วงเวลาของการไตร่ตรองชีวติ ในส่ิงท่ีอยู่ในชีวติของเราอยู่แลว้ ไดแ้ก่

การอยู่กบัตนเอง การอยูก่บัคนอื่น ซ่ึงเป็นวถิชีีวติของเราทุกคน เป็นช่วงเวลาของการไตร่ตรองส่วนตวัเพือ่เรา

จะไดป้รับตวัเสมอในการอยูร่่วมกนั...”

“...หลายๆ ขอ้ เช่น การท่ีเราไดเ้รียนรู้เก่ียวกบัความสัมพนัธ์กบัเพ่ือนรอบขา้ง ทาํให้

เราเขา้ใจเขาในส่ิงท่ีเขาเป็น ไม่ใช่ตามท่ีเราอยากจะเขา้ใจ หรือแมแ้ต่ส่ิงต่างๆ ในธรรมชาติ ใหเ้ขา้ใจในส่ิงท่ี

เป็นตามระบบนิเวศของมนั ไม่ใช่ตามระบบนิเวศของเรา...”

“...รู้สึกชอบการศึกษากรณีต่างๆ ในแต่ละกรณีมีการวพิากษแ์ยกแยะ เพ่ือนาํสู่การ

คน้พบตวัเองอย่างต่อเน่ือง จึงนาํไปประยุกตใ์ชใ้นการทาํความเขา้ใจส่ิงท่ีเกิดข้ึนในชีวติ และแบ่งปันแก่

เพ่ือนๆ รอบขา้ง...”

ดงันั้น รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี

2 ช่วยใหผู้ใ้ชรู้ปแบบเกิดความรู้ เจตคติ พฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต ทาํใหเ้กิดการเรียนรู้

คน้พบ ไตร่ตรองและตดัสินใจพฒันา/เปล่ียนแปลงเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีไม่ไดมุ่้งแต่

เพียงวตัถุ หรือความเจริญดา้นวตัถุ/เศรษฐกิจ แต่เพียงเดียว แต่ช่วยใหเ้กิดความตระหนกั มีจิตสาํนึก และ

มีหลักการ /แนวปฏิบัติในการไตร่ตรองชีวิตประจําว ัน เ พ่ือเสริมสร้างและพัฒนาบุคคลไปสู่

ความกา้วหนา้ของชีวิต บนพ้ืนฐานของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง รวมถึงการ

ดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน/สงัคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม และการมีใจอิสระท่ีจะตอบรับแนวทางของพระ

เจา้ไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ตามหลกัธรรมคาํสอนคริสต์ศาสนา จึงสรุปความได้ว่ารูปแบบฯ มี

ความเหมาะสมต่อการนาํไปใชเ้พ่ือพฒันามนุษยแ์ก่กลุ่มเยาวชนท่ีสนใจพฒันาชีวิตตามคาํสอนคริสต์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

310

ศาสนา และมีพ้ืนฐานความรู้ดา้นปรัชญา รวมถึงสามารถนาํไปประยุกต์ใชใ้นการจดัอบรมแก่เยาวชน

อ่ืนๆ เพ่ือใหมี้หลกัในการดาํเนินชีวิต ดงัท่ีนกัศึกษาใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“...รูปแบบมีความเหมาะสมกบัคนท่ีมีพ้ืนฐาน และเป็นเร่ืองเขา้ใจยากสาํหรับคนท่ี

ไม่มีพ้ืนฐานคาํสอนศาสนาและปรัชญา...”

“...รูปแบบครอบคลุมทุกมิติในการดาํเนินชีวติ และเหมาะสมกบัคนรุ่นใหม่ท่ีอยู่

ระหวา่งการเรียนรู้การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติ...”

“...เป็นรูปแบบท่ีควรไดรั้บการนาํไปใช้ในการจดัอบรมแก่เด็ก เยาวชน หรือกลุ่ม

คนในชุมชนแออดั ท่ีเส่ียงต่อความสับสนในดา้นคุณค่าชีวติ...นาํไปใช้สําหรับชุมชนแออดั ซ่ึงเป็นสังคมท่ีมี

ปัญหายาเสพติด ขายตวั ใหเ้ขาตะหนกัถึงคุณค่าตนเอง ไม่ใช่ทาํอะไรท่ีลดทอนคุณค่าตนเอง ดว้ยการขายตวั...”

สอดคลอ้งกบัผลการวิเคราะห์แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการอบรม ท่ีแสดงให้เห็นถึง

ขอ้คน้พบจากการไตร่ตรองและการออกแบบชีวิต ดงัตวัอยา่งแบบบนัทึกฯ ความว่า

“...ยอมรับความสามารถของตนเอง ...ถ่อมตนเพ่ือรับใช้ผูอ้ื่น.. ใส่ใจความตอ้งการ

ของคนอื่น... ไม่ใชส่ิ้งแวดลอ้มเพ่ือความสนุกสนาน... ใชเ้วลาในการสวดภาวนา และการอ่านพระคมัภีร์ให้

มากข้ึนเพ่ือการไตร่ตรองชีวติอย่างต่อเน่ือง...”

“...จะรอบคอบและรับผิดชอบในการตดัสินใจ..จะใหเ้กียรติผูอ้ื่นในทุกกิจการ..รับฟัง

ความคิดเห็นจากคนรอบขา้ง..จะรอบคอบในการใชส่ิ้งแวดลอ้ม...จะตั้งใจร่วมพิธีกรรม...”

“...สํานึกและเห็นคุณค่าของกฎระเบียบของสถาบนั/สังคม เพราะช่วยให้แนวทางให้

ผมพฒันา ไม่ใช่เป็นการบีบบงัคบัหรือการจาํกดัเสรีภาพ แต่ช่วยใหผ้มพฒันาชีวติอย่างมีคุณภาพ รวมถึงการ

เอาใจใส่ต่อการเรียน การฝึกปฏิบติัตน... ตั้งใจจะเร่ิมตน้ดว้ยการพูดจาดีๆ กบัคนในครอบครัว... จะหยุดทิ ้ง

ขยะตามขา้งทาง...”

นอกจากนั้ น มีข้อเสนอแนะให้เพิ่มเวลาในช่วงการศึกษาแนวคิดของพระ

สนัตะปาปาฯ การวิเคราะห์กรณีศึกษาต่างๆ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่ม และควรมีส่ือท่ีหลากหลาย

ในการนาํเสนอ เพ่ือง่ายต่อการทาํความเขา้ใจแนวคิดและหลกัในการพฒันาพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิต ดงัท่ีนกัศึกษาใหส้มัภาษณ์ ความว่า

“...ในช่วงการทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์/กรณีศึกษาเป็นส่ิงจาํเป็น ควรใหเ้วลาใน

การพิจารณา และขอใหว้ทิยากรวเิคราะห์/เสนอวา่ส่ิงท่ีแต่ละคน/กลุ่มวพิากษน์ั้น มีความถูกตอ้งหรือไม่อย่างไร

กบัแนวคิดของพระสนัตะปาปาฯ เน่ืองจากถา้ผลการวพิากษผ์ดิเพ้ียน ย่อมส่งผลต่อการไตร่ตรองและการ

ออกแบบชีวติ...”

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

311

“...ควรเพิ่มระยะเวลาในการศึกษากรณี และการศึกษาเอกสาร การจาํกดัเวลาทาํให้

เกิดความกดดนัในการทาํความเขา้ใจและนาํเสนอ...กรณีศึกษาบางอนัเขา้ใจยาก ตอ้งใช้เวลาและมีการอธิบาย

เพ่ือง่ายต่อการวพิากษ์...ยงัรู้สึกว่าไม่คล่องในการวิพากษ์แยกแยะการใช้เสรีภาพ ควรมีการอธิบาย/ให้เวลา

เพิ่มเติม...เร่ืองเวลา ไม่ควรกาํหนดตายตวั เป็นการกดดนัและขาดอิสระ เหมือนกบัจะคิดแบบรีบๆ ทาํให้ไม่

เป็นอิสระในการคิด...”

“...ชอบเร่ืองการศึกษาปรากฏการณ์ แต่ควรเพิ่มเวลาในการศึกษาเอกสาร เพราะตอ้ง

ใชเ้วลาในการทาํความเขา้ใจ...ผมมองวา่การศึกษาปรากฏการณ์เป็นส่ิงจาํเป็น เพ่ือนาํสู่การนาํไปไตร่ตรอง และ

การออกแบบ ยอมรับวา่เป็นเร่ืองยากท่ีจะทาํความเขา้ใจ ควรเพิ่มเวลาในการศึกษากรณีศึกษา...”

“...ควรมีการนาํเสนอดว้ยส่ือท่ีหลากหลาย... ควรมีส่ือประกอบการบรรยาย จะได้

เกิดความเขา้ใจยิ ่งข้ึน...ควรใชค้าํศพัทท่ี์เหมาะสมกบัคนท่ีเรานาํไปใช ้ เพ่ือง่ายต่อการเขา้ใจ...”

4.3 ผลการปรับปรุงรูปแบบฯ

จากการนาํรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 ไปทดลองใชก้บันกัศึกษาชั้นปรัชญาและศาสนา ปีท่ี 4 วิทยาลยัแสงธรรม จาํนวน 25 คน จึงสรุปผล

การวิเคราะห์แบบสอบถามความคิดเห็นการใชรู้ปแบบฯ และการสมัภาษณ์ความคิดเห็นของนกัศึกษาท่ีมี

ต่อการใชรู้ปแบบฯ สรุปไดว้่ารูปแบบฯ ควรมีการปรับปรุงตารางเวลาในการทาํความเขา้ปรากฏการณ์

โดยเฉพาะในช่วงการศึกษาเอกสาร การศึกษากรณีและการแบ่งปันแลกเปล่ียนเรียนรู้ภายในกลุ่ม ควร

เพิ่มเติมเวลา รวมถึงการจดัท่ีปรึกษาประจาํกลุ่ม เพ่ือช่วยในการสรุปความหมายให้ถูกตอ้ง ครบถว้น

ยิง่ข้ึนต่อความรู้ เขา้ใจกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ และเน่ืองจากรูปแบบการ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ เป็นกระบวนทศัน์ในกรอบแนวคิดตามคาํสอน

คริสต์ศาสนาและปรัชญา ซ่ึงมีความเหมาะสมและเป็นไปได้สาํหรับการนําไปใชใ้นกลุ่มเฉพาะท่ีมี

พ้ืนฐานคาํสอนคริสตศ์าสนาและปรัชญา แต่สามารถนาํไปประยกุตใ์ชแ้ก่กลุ่มอ่ืนๆ ท่ีสนใจการพฒันา

มนุษยต์ามคาํสอนคริสตศ์าสนา โดยมีการอธิบายคาํศพัท ์และเพิ่มเติมเวลาในการปูพ้ืนฐานความรู้ดา้น

ปรัชญา การไตร่ตรองชีวิตตามคาํสอนคริสต์ศาสนา ตลอดจนมีการนาํส่ือท่ีหลากหลายมาใช้ในการ

นาํเสนอเน้ือหา

การนํารูปแบบการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปาฯ ไปเผยแพร่และขยายผล

จากการท่ีผูว้ิจยัไดพ้ฒันารูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 โดยการทดลองใชรู้ปแบบฯ กบันกัศึกษาสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลยัแสงธรรม ภาค

เรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 พร้อมกนันั้น ไดเ้สนอรูปแบบฯ แก่ผูบ้ริหารหน่วยงานดา้นการพฒันามนุษย ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

312

ไดแ้ก่ ศนูยส์งัคมพฒันา สังฆมณฑลราชบุรี ซ่ึงไดน้าํรูปแบบฯ ไปใชใ้นการจดัอบรมพฒันาบุคลากร

และการบริหารงานของศูนยฯ์ พร้อมกนันั้น ไดน้าํรูปแบบฯ ไปเผยแพร่และขยายผลแก่วิทยาลยัแสง

ธรรม โดยมอบแด่อธิการบดี เพ่ือนาํไปใชใ้นการพฒันาการจดัการเรียนการสอนของสถาบนัต่อไป

ผลการนาํรูปแบบฯ ไปใช้

ผูว้ิจยัได้ติดตามผลการนาํรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ไปใช้ในการจัดอบรมพฒันาบุคลากรศูนยส์ังคมพฒันา สังฆมณฑลราชบุรี พบว่า

บุคลากรศนูยฯ์ ไดมี้ความรู้ ความเขา้ใจกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ มากยิ ่งข้ึน

รวมถึงการมีเจตคติ ความมัน่ใจในการจดัการอบรมแก่บุคลากรอ่ืนๆ ในเครือข่ายของศนูยฯ์ โดยเฉพาะ

ได้รับความรู้ ความเข้าใจองค์ความรู้การพฒันามนุษยต์ามคาํสอนคริสต์ศาสนา ผ่านทางการเสนอ

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ การเนน้การบริหารงานพฒันามนุษย์

ดว้ยการศึกษา/ทาํความเข้าใจปรากฏการณ์/บริบทชีวิตของบุคคล การไตร่ตรอง และการออกแบบ

เคร่ืองมือ/แนวปฏิบติัในการบริหารจดัการดา้นการพฒันามนุษย ์ รวมถึงการมีคู่มือฯ เคร่ืองมือ เอกสาร

และส่ือต่างๆ สาํหรับการนาํไปใชใ้นการจดักิจกรรม/การอบรมแก่บุคคลในเครือข่ายของศูนยฯ์ ทาํให้

บุคลากรตระหนกัถึงบทบาทและความสาํคญัของการทาํงานดา้นการพฒันามนุษย ์ท่ีมุ่งพฒันา “ความ

เป็นมนุษย”์ บนพ้ืนฐานของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของบุคคล ทาํใหเ้กิด

การแลกเปล่ียนเรียนรู้ในการทาํงาน มีความสุขในการทาํงาน/การจดัอบรม ดงัคาํกล่าวท่ีว่า

“... ขอบคุณสําหรับการศึกษาและเสนอรูปแบบฯ ช่วยทาํให้เกิดความเขา้ใจ ความ

ชดัเจน และเป็นประโยชน์ต่อการนําไปบริหารงาน และการจดัอบรมการพฒันามนุษย์ท่ีศูนย์ฯ ดูแล

รับผิดชอบ...รูปแบบฯ และคู่มือฯ ช่วยทาํใหเ้กิดความสะดวกในการทาํความเขา้ใจและการนาํไปปฏิบติั”

(ผูอ้าํนวยการศูนยส์ังคมพฒันา สงัฆมณฑลราชบุรี/ สัมภาษณ์)

ปัญหาท่ีพบจากผลการนาํรูปแบบไปใชข้องศูนยฯ์ พบว่าบุคลากรของศูนยมี์พ้ืนฐาน/บริบทท่ี

แตกต่างกนั รวมถึงการขาดแคลนวิทยากรซ่ึงมีบทบาทสาํคญัต่อการจดักระบวนการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ ทาํใหไ้ม่สามารถอธิบาย ช้ีแนะไดอ้ยา่งทัว่ถึง ดงัความท่ีว่า

“...เน่ืองจากบุคลากรของศูนยฯ์ มีบริบท มีพ้ืนฐานความรู้และประสบการณ์ท่ีแตกต่างกนั

ประกอบกับการขาดแคลนวิทยากรท่ีเช่ียวชาญกระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์ของพระสันตะปาปาฯ

ดงันั้น จึงควรมีการพฒันา/จดัเตรียมวทิยากรใหมี้ความชาํนาญมากข้ึน จะส่งผลใหก้ารอบรมการใชรู้ปแบบ

เกิดประโยชน์และบรรลุเจตารมยข์องพระสันตะปาปาฯ...”

(ผูอ้าํนวยการศูนยส์ังคมพฒันา สงัฆมณฑลราชบุรี/ สัมภาษณ์)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

313

บทท่ี 5

สรุปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ

งานวิจยัรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ในคร้ัง

น้ี เป็นการศึกษาวิจยัและพฒันา (Research and Development) ดว้ยการวิจยัแบบผสมผสานวิธี (Mixed

Method Research) ดว้ยการศึกษาวิจยัเชิงคุณภาพ (Qualitative Methods) ร่วมกบัการวิจยัเชิงปริมาณ

(Quantitative Research) เพ่ือการตอบคําถามการวิจัยให้มีความครอบคลุมในประเด็นต่างๆ มี

วตัถุประสงค ์ 1. เพ่ือศึกษาขอ้มลูพ้ืนฐานการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 2. เพ่ือพฒันารูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ 3. เพ่ือ

ทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ และ 4. เพ่ือประเมินผล

และปรับปรุงรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ

การศึกษาวิจยัคร้ังน้ีใชแ้บบแผนการวิจยัโดยใชก้ลุ่มทดลองกลุ่มเดียว วดัผลก่อนและหลงัการ

ทดลอง (One Group Pre test Post test Design) โดยทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 แก่นักศึกษาชั้นปีท่ี 4 สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลยัแสง

ธรรม ประจาํภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวิจยัประกอบดว้ย คู่มือการใชรู้ปแบบ

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ และเคร่ืองมือท่ีใชป้ระเมินประสิทธิผลของ

รูปแบบฯ ประกอบดว้ย แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ แบบวดัเจต

คติการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ และแบบวดัพฤติกรรมการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตาม

กระบวนทัศน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ ซ่ึงเป็นแบบวดัก่อน (Pretest) และแบบวดัหลงั

(Posttest) การทดลอง แบบประเมินความคิดเห็นการใชรู้ปแบบฯ และแบบสัมภาษณ์การใชรู้ปแบบฯ

การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถ่ี (Frequencies) ค่าเฉล่ีย (Arithmetic Mean : X ) ส่วนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) การทดสอบความแตกต่างของคะแนนผลทดสอบความรู้ เจตคติ

การใช้เสรีภาพฯ และพฤติกรรมการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ โดยใชค่้าสถิติทดสอบค่าที (t-test

dependent) ค่าร้อยละ (Percentage : %) และการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

314

1. สรุปผลการวจิยั

ผลการวิจยัเร่ืองรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

สรุปผลการวิจยัออกเป็น 4 ประเด็น ไดแ้ก่ 1. ผลการศึกษาขอ้มูลพ้ืนฐานกระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 2. ผลการสร้างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปาฯ 3. ผลการทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ และ

4. ผลการประเมินการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ ดงัน้ี

1.1 ผลการศึกษาแนวคิดพ้ืนฐานการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 พบว่า กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ เป็นการอธิบายมนุษยต์ามคาํสอน

คริสตศ์าสนาดว้ยการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ตามแนวปรัชญาบุคคลนิยม การพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ เป็นการเสริมสร้างบุคคลใหด้าํเนินชีวิตสอดคลอ้งกบัการเป็นภาพลกัษณ์ของ

พระเจา้ ดว้ยการเปล่ียนแปลงเจตคติจากการดาํเนินชีวิตท่ีมิไดมุ่้งพฒันาแต่เพียงวตัถุกายภาพตามค่านิยมท่ี

เนน้เศรษฐกิจเป็นหลกั แต่สาํนึกและใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย์

ของตนเอง คนอ่ืน/สังคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้มรวมถึงการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ในการ

ดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

1.2 ผลการสร้างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

พบว่ารูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ เป็นกระบวนการฟ้ืนฟจิูตใจท่ีมุ่ง

ไปสู่การคน้พบ รับรู้/ยอมรับและตดัสินใจเปล่ียนแปลงเจตคติอย่างต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรีของบุคคล โดยใหค้วามสาํคญัต่อการจดัสภาพแวดลอ้มใหมี้บรรยากาศของของการดาํเนิน

ชีวิตแบบหมูค่ณะ ท่ีทุกคนมี/ปฏิบติัความรักเมตตาและสาํนึกถึงความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัในการเคารพ

ยอมรับสิทธิและเสรีภาพของบุคคล จากนั้ นจึงนําสู่การดาํเนินการตามรูปแบบ ซ่ึงประกอบด้วย 1.

หลกัการ คือ การเสริมสร้างบุคคลให้สาํนึกรับผิดชอบต่อเสรีภาพ/ใชเ้สรีภาพอย่างถูกตอ้งเต็มท่ี ในการ

ดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอยา่งเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์/สมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลใช้

เสรีภาพตอบรับแนวทางของพระเจา้ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ 2. เป้าหมาย คือ

การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ 3. จุดหมาย คือ เพ่ือเสริมสร้างความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของ

บุคคล ตาม เจตคติการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์และเพ่ือพฒันาบุคคลใหเ้กิดการเปล่ียนแปลง

เจตคติอย่างต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ 4. กระบวนการพฒันา

ประกอบด้วยสามขั้นตอนท่ีสําคัญ ได้แก่ การค้นพบสภาพชีวิต การรับรู้/ยอมรับ และการตดัสินใจ

เปล่ียนแปลง โดยใชก้ารอบรม การฝึกปฏิบติัและการพบปะ/แลกเปล่ียนเรียนรู้ ดว้ยการทาํความเขา้ใจ

ปรากฏการณ์ การไตร่ตรองจิตใจ และการออกแบบเคร่ืองมือ/แนวปฏิบติั 5. การประเมินการพฒันา

มนุษยด์้วยการประเมินความรู้กระบวนทัศน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ เจตคติการใช้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

315

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์และพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ 6. เง่ือนไข ไดแ้ก่ วิทยากรมีจิตตารมย/์เป็นแบบอย่าง

ผูรั้บรับการอบรม มีพ้ืนฐาน/มีวินัยและความมุ่งมัน่ ผูเ้ก่ียวขอ้งตระหนัก/ ส่งเสริม/มีการดาํเนินชีวิต

ร่วมกนัเป็นหมู่คณะ ปัจจยั ไดแ้ก่ บรรยากาศท่ีเคารพ ยอมรับสิทธิ เสรีภาพ ไวว้างใจและมีส่วนร่วม ผล

การตรวจสอบประสิทธิภาพของรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ พบว่า

รูปแบบฯ โดยรวมมีความสอดคลอ้งกบักระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ ในระดบั

มากท่ีสุดมากท่ีสุด ( X = 4.70 S.D = 0.44) มีความสอดคลอ้ง ความเป็นไปไดแ้ละเป็นประโยชน์ในการ

นาํไปปฏิบติัจริงในระดบัมาก ( X = 4.47 S.D = 0.58) ยกเวน้องคป์ระกอบของรูปแบบฯ ดา้นเป้าหมาย

จุดหมาย และปัจจยั มีความเป็นไปไดม้ากท่ีสุด

1.3 ผลการทดลองใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ โดยการ

สร้างเป็นหลกัสูตร/แผนการการจดัอบรมเพื่อพฒันาความรู้ฯ เจตคติการใชเ้สรีภาพฯ และพฤติกรรมการ

ใชเ้สรีภาพฯ ของนกัศึกษาจาํนวน 25 คน ดว้ยการวิเคราะห์เปรียบเทียบความรู้ฯ เจตคติการใชเ้สรีภาพฯ

และพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ

พบว่า 1. ผลการทดสอบความรู้ดา้นการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 ก่อนอบรมและหลงัอบรมมีความแตกต่างกนั อยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05 โดยค่าเฉล่ียของ

คะแนนก่อนอบรม มีค่าเท่ากับ 19.24 ซ่ึงน้อยกว่าค่าเฉล่ียของคะแนนหลงัอบรม ท่ีมีค่าเท่ากบั 39.76

2. ผลการทดสอบเจตคติดา้นการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ

ค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพฯ ก่อนอบรมและหลงัอบรมมีความแตกต่างกนั อยา่งมีนยัสาํคญั

ทางสถิติท่ีระดบั .05 โดยค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเองก่อนอบรม มีค่าเท่ากบั 2.21 ซ่ึงนอ้ยกว่าค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการ

ใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง หลงัอบรม ท่ีมีค่าเท่ากบั

3.39 ค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย์

ของคนอ่ืน ก่อนอบรม มีค่าเท่ากบั 2.26 ซ่ึงน้อยกว่าค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใช้เสรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนหลงัอบรม ท่ีมีค่าเท่ากับ 3.37 ค่าเฉล่ียของ

คะแนนเจตคติการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม ก่อนอบรม มีค่า

เท่ากบั 2.06 ซ่ึงน้อยกว่าค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมใน

บริบทส่ิงแวดลอ้ม หลงัอบรม ท่ีมีค่าเท่ากบั 3.42 และค่าเฉล่ียของคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้ ก่อนอบรม มีค่าเท่ากบั 2.40 ซ่ึงน้อยกว่าค่าเฉล่ียของคะแนนเจต

คติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้ หลงัอบรม ท่ีมีค่าเท่ากบั 3.58 3. ผล

การทดสอบพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

316

ปอล ท่ี 2 ก่อนอบรมและหลงัอบรมมีความแตกต่างกนั อยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05 โดยค่าเฉล่ีย

ของคะแนนพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพฯ ก่อนอบรม มีค่าเท่ากบั 2.44 ซ่ึงน้อยกว่าค่าเฉล่ียของคะแนนเจต

คติหลงัอบรม ท่ีมีค่าเท่ากบั 7.92 ซ่ึงเป็นการยอมรับสมมติฐานว่า หลงัการใชรู้ปแบบฯ กลุ่มผูใ้ชรู้ปแบบ

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีความรู้ฯ เจตคติการใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิตฯ และพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มากข้ึนกว่าก่อนการใชรู้ปแบบ ดงันั้น ผลการเปรียบเทียบดา้น

ความรู้ฯ เจตคติฯ และพฤติกรรมของผูเ้ข้ารับการอบรมก่อนและหลงัการอบรม พบความแตกต่างมี

นยัสาํคญัทางสถิติทุกดา้นท่ีศึกษา เม่ือพิจารณาจากค่าเฉล่ียพบว่า ค่าเฉล่ียคะแนนหลงัการอบรมสูงกว่า

ค่าเฉล่ียคะแนนก่อนการอบรมทั้งสามดา้น แสดงว่าผูเ้ขา้รับการอบรมมีพฒันาการทั้งดา้นความรู้ฯ เจตคติ

การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ และพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์การ

พฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ เพิ่มทั้งสามดา้น

1.4 ผลการประเมินการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 พบว่านักศึกษาประเมินความคิดเห็นต่อรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 แบ่งเป็น 3 ดา้น คือ ดา้นประโยชน์ท่ีไดรั้บ ดา้นวิทยากรและดา้นบรรยากาศ

การจดัอบรม ผลการประเมิน โดยรวมทุกดา้นอยูใ่นระดบัมากทุกขอ้ ( X = 4.21, S.D. = 0.61)

จากการสมัภาษณ์นกัศึกษาท่ีเขา้รับการอบรมตามรูปแบบฯ พบว่ารูปแบบฯ มีความเหมาะสม

ในการนาํไปไตร่ตรองการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน (คนรุ่นใหม่) ท่ีอยู่

ในช่วงการเรียนรู้คุณค่า ความหมายชีวิต รูปแบบฯ ช่วยให้มีหลกัการและเปล่ียนมุมมองในการใช้

เสรีภาพดว้ยความรับผดิชอบต่อการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าชีวิตของตนเอง ความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืน/

สงัคม และส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการมีความสมัพนัธก์บัพระ การใหโ้อกาสตนเองมากข้ึนในการคิดและการ

กระทาํ ให้คุณค่ากับเพ่ือนมากข้ึนในการอยู่และทาํกิจกรรม/งานด้วยกัน ทาํให้เกิดความมัน่ใจและ

ภาคภูมิใจในการดาํเนินชีวิต ทาํใหมี้แนวทางการไตร่ตรองชีวิตท่ีนาํสู่การปรับตวัในการอยูร่่วมกบัคนอ่ืน

พร้อมทั้ งมีข้อเสนอแนะให้เพิ่มเวลาในช่วงการศึกษาแนวคิดของพระสันตะปาปาฯ การวิเคราะห์

กรณีศึกษาต่างๆ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่ม และควรมีส่ือท่ีหลากหลายในการนาํเสนอ เพ่ือง่ายต่อการ

ทาํความเขา้ใจ

2. อภิปรายผล

ผลการศึกษาวิจยัรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

อภิปรายผลการวิจยั ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

317

2.1 ผลการศึกษาแนวคิดพ้ืนฐานการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ

จากผลการศึกษาพบว่า พระสันตะปาปาฯ ยืนยนัคุณค่าของชีวิตตามคาํสอนคริสต์ศาสนาท่ี

สอนว่าพระเจ้าทรงสร้างมนุษยใ์ห้เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า โดยใช้ปรัชญาบุคคลนิยมมาอธิบาย

ความหมายของ “ความเป็นมนุษย”์ (Human being) คือ การเป็นบุคคลท่ีมีความรู้สํานึก เสรีภาพและ

ความสัมพนัธ์กับคนอ่ืน การพฒันามนุษยเ์ป็นการพฒันาจิตใจ/จิตวิญญาณท่ีมุ่งเสริมสร้างบุคคลให้มี

จิตสาํนึกรับผดิชอบต่อการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง

คนอ่ืน/สงัคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้มรวมถึงการตอบรับ แนวทางของพระเจา้ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การ

เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ สอดคลอ้งกบัมิลเลอร์ (Miller, 1996: 23-30) และวิลส์ (Will, 1998: 1-2) ท่ีเสนอ

ว่าแนวคิดเร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ มีลกัษณะเป็นแนวคิดมนุษยนิยมแบบคริสต์ ท่ีเน้นศกัยภาพ

ของมนุษยใ์นการรู้เขา้ใจและบรรลุถึงความจริงได ้คุณลกัษณะท่ีสาํคญัของมนุษย ์คือ การเป็นบุคคล ท่ี

สามารถพฒันาตนเองดว้ยการดาํเนินชีวิตร่วมกบัผูอ่ื้น สอดคลอ้งกบัดูลเลส (Dulles, 1993) ท่ีเสนอว่า

มนุษยเ์ป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้างให้เป็น “ภาพลกัษณ์” ทาํให้มนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีมีความรู้สาํนึก เสรีภาพ

การเป็นตวัของตวัเองและควบคุมตนเองได ้ ทั้งน้ี มนุษยต์อ้งมีความสัมพนัธ์แบบอุทิศตนเพ่ือผูอ่ื้น เพ่ือ

จะไดรู้้จักตนเองและพฒันาตนสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ยิ ่ง ๆ ข้ึนสอดคลอ้งกับพชัรี ศิริมาก (2554:

บทคดัยอ่) พชัรี ดาํรงสุนทรชยั (2550: บทคดัยอ่) ตวงพร สมสมยั และคนอ่ืนๆ (2554: บทคดัย่อ) สมคิด

สกุลสถาปัตย ์(2552: บทคดัย่อ) พิชญาภา ยืนยาว (2552: บทคดัย่อ) จรัสศรี เพ็ชรคง (2552: บทคดัย่อ)

และ สตานตัน (Elizabeth A. Stanton, 2007: Abstract) ท่ีเสนอว่าประเด็นท่ีอยู่ในความสนใจของการ

พฒันามนุษย ์คือ การพฒันาท่ีมนุษยเ์ป็นศูนยก์ลางของการพฒันา ตามแนวคิดจากกระแสทางเลือก

โดยเฉพาะแนวคิดเร่ืองการพฒันามนุษยอ์ยา่งย ัง่ยนื หลกัเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐศาสตร์สร้างสรรค ์เป็น

ตน้ โดยมีสาระสาํคญั คือ การยดึมนุษยเ์ป็นศนูยก์ลาง เนน้การบูรณาการ ความสมดุล ย ัง่ยนื และคาํนึงถึง

ส่ิงแวดลอ้มตามระบบนิเวศวิทยา สอดคลอ้งกบัแนวคิดของอามาตย เซน (Sen, 2004: 15) ท่ีเสนอว่า

เป้าหมายการพฒันามนุษย ์คือ การพฒันามนุษยใ์ห้มีเสรีภาพและสามารถใชศ้กัยภาพไดอ้ย่างเต็มท่ี และ

สอดคลอ้งกบั โยเนฮารา (Yonehara, 2006: Abstract) ท่ีเสนอว่าสาระสาํคญัของการพฒันามนุษย ์คือ

การขยายโอกาสทางเสรีภาพส่วนบุคคลและการศึกษาขั้นพ้ืนฐานรูปแบบการพฒันาจาํเป็นต้องมีการ

ประเมินความตอ้งการของผูเ้ก่ียวขอ้งต่อการกาํหนดนโยบายการพฒันามนุษย ์ ซ่ึงจาํเป็นตอ้งเร่ิมต้น

ตั้งแต่การจดัการศึกษาตามระบบต่างๆ

นอกจากนั้น พระสนัตะปาปาฯ ทรงนิยามความหมายการพฒันามนุษยว์่าเป็นการพฒันาท่ีทาํให้

มนุษยเ์ป็นมนุษยม์ากข้ึน โดยคาํนึงถึงลกัษณะเฉพาะของบุคคลท่ีมีอตัลกัษณ์ตามบริบทของชีวิตท่ีไม่ซํ้ า

แบบกนั สอดคลอ้งกบัแนวคิดของมาร์เซล (Marcel, 1995: 9) ท่ีให้ความสาํคญัต่อการพฒันามนุษยใ์น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

318

บริบทเฉพาะของบุคคล ตามวัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท่ีหล่อหลอมให้แต่ละบุคคลมี

บุคลิกลกัษณะเฉพาะตน ทั้งน้ี พระสนัตะปาปาฯ ทรงเตือนใหร้ะวงั “ค่านิยมจอมปลอม” ท่ีลดทอนคุณค่า

ของมนุษยแ์ต่เพียงระดบัการมีวตัถุส่ิงของ (Having) ตามกระแสค่านิยมการพฒันาท่ียดึความทนัสมยั หรือ

ความเจริญกา้วหนา้ทางเศรษฐกิจ จนละเลย ละเมิดหรือลดทอนคุณค่ามนุษยเ์ป็นเพียงเคร่ืองมือของสังคม

สอดคลอ้งกบัแนวคิดของซูซัน (Susan, 1998) ท่ีเสนอให้มนุษยช่์วยกันสร้างสังคมท่ีให้ความเคารพ

ปกป้องศกัด์ิศรีและเสรีภาพของมนุษย ์ ดว้ยการเสริมสร้างวฒันธรรมท่ีปกป้องชีวิตมนุษย ์ในฐานะท่ีชีวิต

มนุษยเ์ป็นศนูยก์ลางของทุกกิจกรรมบนโลก ซ่ึงเป็นการพฒันามนุษยท่ี์ดาํเนินควบคู่กบัการพฒันาสงัคม

2.2 ผลการสร้างรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปาฯ

จากผลการศึกษา พบว่ารูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปาฯ

เป็นกระบวนการฟ้ืนฟูจิตใจ/จิตวิญญาณตามคาํสอนคริสต์ศาสนา ท่ีเน้นการปฏิบัติความรักเมตตา

(Agape) ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของรูปแบบท่ีใชฝึ้กอบรม กล่าวคือ การดาํเนินชีวิตดว้ยจิตอาสาแห่งรักและรับใช ้

ในฐานะเป็นบุคคลท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ท่ีทุกคนมีส่วนร่วมรับผดิชอบชีวิตของตนเองและคนอื่น

ในการมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ดว้ยการเสริมสร้างวุฒิภาวะของบุคคลให้สาํนึกต่อเสรีภาพและใช้

เสรีภาพอย่างถูกตอ้ง ร่วมกนัเสริมสร้างสังคมให้เป็นสังคมแห่งความยุติธรรมและสันติ ท่ีสมาชิกใน

ครอบครัว สังคมมีการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยม์าก่อน/เหนือทุกส่ิง โดยให้

ความสาํคญัต่อการจดัสภาพแวดลอ้มใหมี้บรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล เพ่ือให้แต่ละ

บุคคลมีจิตใจท่ีเป็นอิสระ ดงัท่ีดูลเลส (Dulles, 2003: 186) วิเคราะห์ว่าแนวคิดของพระสันตะปาปาฯ ให้

ความสาํคญัต่อการส่งเสริม “บุคคลท่ีมีเสรีภาพในสังคมท่ีเป็นอิสระ” เพ่ือให้แต่ละคนไดเ้รียนรู้ คน้พบ

ปรากฏการณ์ท่ีนาํสู่การไตร่ตรอง และออกแบบแนวปฏิบติัดว้ยตนเอง ซ่ึงเป็นแนวทางการพฒันาชีวิต

ตามคาํสอนคริสต์ศาสนา บนพ้ืนฐานจากพระคมัภีร์คริสต์ศาสนา (Bible) ผ่านทางการตีความ/อธิบาย

พระคมัภีร์ตามกรอบการอธิบายของผูน้าํคริสต์ศาสนาในอดีต (Traditions) และการเสนอแนวปฏิบติัท่ี

เหมาะสมกบัยคุสมยัท่ีพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดาํรงตาํแหน่งประมุขคริสต์ศาสนจกัรคาทอลิก

ดงันั้น กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ จึงมีลกัษณะเป็น “คาํสอนเดิม ในรูปแบบ

ใหม่” (John Paul II, 1981: 10) กล่าวคือ การนาํเสนอแนวทางการพฒันาชีวิตตามคาํสอนคริสตศ์าสนาให้

เขา้กบับริบทบุคคล/สภาพสังคม (John Paul II, 1991: 50; 1979: 13) สอดคลอ้งกบั มิลเลอร์ (Miller,

1996: 29) และ ดูลเลส (Dulles, 1993: 7) ท่ีเสนอว่าการอธิบายการพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ

เป็นการวิเคราะห์สภาพ/ สถานการณ์เฉพาะของการดาํเนินชีวิตของมนุษยใ์นสงัคมร่วมสมยั จากนั้นทรง

นาํหลกัคาํสอนคริสตศ์าสนามาไตร่ตรอง/อธิบาย ทาํใหผู้อ่้านรู้สึกว่าความคิดท่ีถ่ายทอดในเอกสารต่าง ๆ

เป็นเหมือนกบั “จดหมาย” เพ่ือใหผู้อ่้านทราบถึงสาระสาํคญัของคาํสอน/แนวปฏิบติัของพระศาสนจกัร

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

319

ในเร่ืองนั้นๆ ซ่ึงผูว้ิจยัไดศึ้กษาแนวคิดการพฒันามนุษยแ์ละกาํหนดองค์ประกอบของรูปแบบตามแนว

ของบาร์โดและฮาร์ดแมน (Bardo and Hartman, 1982: 70)

ผลการตรวจสอบประสิทธิภาพของรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สันตะปาปาฯ ท่ีพฒันาข้ึนผ่านการตรวจสอบโดยผูเ้ช่ียวชาญทั้งดา้นปรัชญา คาํสอนคริสต์ศาสนา การ

พฒันามนุษย/์สงัคม และการศึกษา ทั้ง 10 ท่าน พบว่ารูปแบบฯ โดยรวมมีความสอดคลอ้งกบักระบวน

ทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ ในระดบัมากท่ีสุดมากท่ีสุด ( X = 4.70 S.D = 0.44) และมี

ความเป็นไปไดใ้นการนาํไปปฏิบติัจริงในระดบัมาก ( X = 4.47 S.D = 0.58) ยกเวน้องค์ประกอบของ

รูปแบบฯ ด้านเป้าหมาย จุดหมาย แผนการจัดอบรม และปัจจัย มีความเป็นไปได้มากท่ีสุด ซ่ึงมี

ประสิทธิภาพสามารถนาํไปทดลองใชไ้ด ้ ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปาฯ ไดพ้ฒันาข้ึนอยา่งเป็นระบบ ตามหลกัคาํสอนคริสตศ์าสนา และตามกระบวนทศัน์

การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ โดยมีการเก็บขอ้มูลท่ีเป็นระบบ ไดแ้ก่ การศึกษาเอกสารต่างๆ

การสมัภาษณ์และวิพากษโ์ดยผูเ้ช่ียวชาญดา้นการพฒันา ปรัชญา/ศาสนา คาํสอนคริสต์ศาสนา การศึกษา

และการวดัประเมินผล โดยใชก้ระบวนการวิจยัและพฒันา (Research and Development) รูปแบบการ

พฒันาไดใ้ชย้ทุธวิธีท่ีเหมาะสม ดว้ยการศึกษา/ทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ตามแนวปรัชญาบุคคลนิยม ท่ี

เร่ิมตน้ดว้ยการศึกษาปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิต/สงัคม เพ่ือกระตุน้ใหเ้กิดการต่ืนตวั นาํสู่การไตร่ตรอง

รูปแบบการดาํเนินชีวิต และการตดัสินใจเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการดาํเนินชีวิตใหส้อดคลอ้ง เหมาะสม

และสมดุลกบับริบทชีวิต สอดคลอ้งกบัโยเนฮารา (Yonehara, 2006: Abstract) ท่ีเสนอรูปแบบการพฒันา

มนุษยท่ี์คาํนึงถึงการพฒันามนุษยแ์บบบูรณาการ ครอบคลุมทั้ งด้านกาย ใจ สังคมและจิตวิญญาณ

สอดคลอ้งกบั พชัรี ดาํรงสุนทรชยั (2550: บทคดัยอ่) พชัรี ศิริมาก (2554: บทคดัย่อ) พิชญาภา ยืนยาว

(2552: บทคดัยอ่) และ สตานตนั (Stanton, 2007: Abstract) ท่ีพบว่ารูปแบบการพฒันามนุษย ์จาํเป็นตอ้งมี

การบูรณาการศาสตร์ต่างๆ เพ่ือช่วยกนัเติมใหเ้ต็มซ่ึงกนัและกนัของศาสตร์ เน่ืองจากแต่ละศาสตร์มีบริบท

มีเป้าหมายและวิธีการท่ีแตกต่างกนัตามธรรมชาติของศาสตร์ การกาํหนดยุทธศาสตร์การพฒันามนุษย ์

จาํเป็นต้องมีการผสานกบัวิชาการ การจดัการ ความคิดริเร่ิมอย่างสมดุล เพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อการ

นาํไปใช ้ รวมทั้งตอ้งมีการทบทวนดว้ยการใชก้ารวิจยัและการตรวจสอบเพื่อพฒันาเคร่ืองมือสาํหรับการ

บริหารจดัการทรัพยากรมนุษยอ์ย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง สอดคลอ้งกบั ตวงพร สมสมยั และคนอ่ืนๆ

(2554: บทคดัยอ่) เสนอว่า แนวทางการพฒันามนุษยต์อ้งมีพ้ืนฐานอยูบ่นความเขา้ใจความหมายของชีวิต

ว่ามนุษยเ์ป็นส่ิงประเสริฐ มีศกัยภาพท่ีจะเขา้ใจความจริงและบรรลุถึงความจริง อนัเป็นเป้าหมายของชีวิต

ได ้ ทั้งน้ี การพฒันามนุษยต์อ้งมีพ้ืนฐานอยู่บนหลกัศีลธรรม สอดคลอ้งกบั จรัสศรี เพ็ชรคง (2552 :

บทคดัยอ่) เสนอว่าแนวทางการพฒันามนุษย ์ควรไดรั้บการเสริมสร้างในเร่ือง 1. การพฒันาภาวะผูน้าํ 2.

การส่งเสริมการสร้างค่านิยมในการเรียนรู้เพ่ือการพฒันาตนเอง 3. จดัทาํแผนพฒันามนุษยใ์หเ้ช่ือมโยงกบั

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

320

ยทุธศาสตร์ เป้าหมาย และค่านิยมร่วมของสงัคม 4. ใชก้ารบริหารผลการปฏิบติังานและการพฒันาผูท่ี้มี

ความรู้ความสามารถสูง 5. การสร้างความสมดุลของชีวิตและการทาํงาน 6. ส่งเสริมการสร้างนวตักรรม

และการแบ่งปันความรู้ 7. การส่งเสริมวฒันธรรมองค์การท่ีมุ่งสร้างคุณภาพและการแข่งขนั 8. การใช้

เทคโนโลยีสนับสนุนการพฒันา และ 9. การสนับสนุนและพฒันาทีมงาน สอดคลอ้งกบั พชัรี ดาํรง

สุนทรชยั (2550: บทคดัยอ่) และซูล่า (Zula, 2006: Abstract) เสนอว่าการพฒันามนุษยจ์าํเป็นตอ้งมีการ

จดัระบบ จดัหา/พฒันานวตักรรมการพฒันามนุษย ์โดยเฉพาะการเสริมสร้าง “การเรียนเรียนรู้ตลอดชีวิต”

มีการกาํหนดเจ้าภาพในการติดตามการดาํเนินงาน ทั้ งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยมีโครงการ/

กิจกรรม/แผนงานมารองรับดว้ย จาํเป็นตอ้งมีการกาํหนดยทุธศาสตร์การพฒันามนุษย ์ โดยมีการผสาน

กบังานวิจยัเชิงวิชาการ การบริหารจดัการ ความคิดริเร่ิมอยา่งสมดุล เพ่ือใหเ้กิดประโยชน์ต่อการนาํไปใช ้

รวมทั้งตอ้งมีการทบทวนดว้ยการใชก้ารวิจยัและการตรวจสอบเพ่ือพฒันาเคร่ืองมือสาํหรับการบริหาร

จดัการทรัพยากรมนุษยอ์ย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง สอดคลอ้งกบั ทิศนา แขมมณี (2548: 68) ท่ีเสนอ

แนวทางการพฒันาท่ีมุ่งใหผู้เ้รียนไดศึ้กษาและสาํรวจเก่ียวกบัอารมณ์ความรู้สึก ทาํความเขา้ใจเก่ียวกบั

ความรู้สึกนึกคิด เจตคติ และจุดมุ่งหมายชีวิตของตนเอง เพ่ือเสริมสร้างแรงจูงใจภายในท่ีจะพฒันา

ศกัยภาพของตนเองบนพื้นฐานความเป็นมนุษย ์ อย่างไรก็ตาม รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ เป็นการพฒันามนุษยท่ี์มุ่งไปสู่การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ดว้ยการดาํเนิน

ชีวิตท่ีมีความสมัพนัธก์บัตนเอง คนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้ม สอดคลอ้งกบั สมชยั พิทยาพงศพ์ร (2553: 45-

46) ในงานวิจยัเร่ืองการพฒันาเคร่ืองมือประเมินและตัวช้ีวดัท่ีเก่ียวข้องกบัการพฒันาจิตวิญญาณตาม

หลกัธรรมคาํสอนคริสต์ศาสนา ท่ีเสนอว่าการพฒันามนุษยต์ามคาํสอนคริสต์ศาสนา เป็นกระบวนการ

คน้พบ รับรู้/ยอมรับสภาพชีวิตและตดัสินใจเปล่ียนแปลงการดาํเนินชีวิต (การกลบัใจ) ตามคาํแนะนาํของ

พระวรสาร ดว้ยการฟ้ืนฟูจิตใจในการดาํเนินชีวิตท่ีมีความสัมพนัธ์กบัตนเอง คนอ่ืน ส่ิงแวดลอ้มและ

ฟ้ืนฟคูวามสมัพนัธก์บัพระเจา้ สอดคลอ้งกบั อจัฉรา สมแสงสรวง (2547: 13) เสนอว่าการพฒันามนุษย์

ตามแนวทางของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดาํเนินตามแนวทางคริสต์ศาสนจกัร ท่ีให้ความสาํคญั

ต่อการฟ้ืนฟูชีวิต ในดา้นความคิด ความรู้สึก และความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคล เป็นการฟ้ืนฟูแต่ละคน

ฟ้ืนฟูสถาบนัศาสนาและฟ้ืนฟูสังคม ท่ีเรียกร้องให้ทุกคนมองดว้ยสายตา รับฟังดว้ยหัวใจและปฏิบัติ

ความรักดว้ยชีวิต สอดคลอ้งกบั เบลท์ซ (Beltz, 1996) ท่ีเสนอรูปแบบการพฒันามนุษย ์เน้นการพฒันา

เสรีภาพท่ีตอ้งควบคู่กบัความรับผิดชอบ ท่ี มนุษยต์้องรับผิดชอบทั้งตวับุคคลของเขาเองและต่อสังคม

รวมทั้งความรับผดิชอบต่อหนา้พระเจา้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

321

2.3 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของรูปแบบฯ

จากผลการทดสอบความรู้กระบวนทัศน์การพฒันามนุษยฯ์ เจตคติการใช้เสรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิต และพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปาฯ ก่อนอบรม (Pretest) และผลการทดสอบหลงัอบรม (Posttest) ดว้ย “คู่มือการใชรู้ปแบบ

และเคร่ืองมือประเมินการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2” พบว่า

รูปแบบฯ ช่วยใหผู้รั้บการอบรมมีความรู้ฯ เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ และพฤติกรรมการ

ใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ มากข้ึนกว่าก่อน

การใชรู้ปแบบฯ โดยพิจารณาจากการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนแบบวดัความรู้ฯ แบบวดั เจตคติการ

ใชเ้สรีภาพฯ และแบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปาฯ ดงัน้ี

2.3.1 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อนอบรมและหลงัอบรม พบว่าค่าเฉล่ียคะแนนความรู้ก่อนอบรม เท่ากับ 19.24 ค่า

เบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 5.79 ค่าเฉล่ียของคะแนนความรู้หลงัอบรม มีค่าเท่ากบั 39.76 ค่าเบ่ียงเบน

มาตรฐาน เท่ากับ 5.71 จากการทดสอบสถิติ t-test (Dependent) พบว่า ค่า t = -29.813 โดยมีค่าเฉล่ีย

คะแนนหลงัการอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการอบรมอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

2.3.2 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์

การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อนอบรมและหลงัอบรม พบว่า

1. ค่าเฉล่ียคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษยข์องตนเองก่อนอบรม เท่ากบั 2.21 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.32 ค่าเฉล่ียคะแนนเจตคติ

การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง หลงัอบรม เท่ากบั

3.39 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.24 จากการทดสอบสถิติ t-test (Dependent) พบว่า ค่า t = 18.198 โดยมีค่าเฉล่ียคะแนนหลงัการอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการอบรมอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

2. ค่าเฉล่ียคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษยข์องคนอ่ืน ก่อนอบรม เท่ากบั 2.26 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.29 ค่าเฉล่ียคะแนนเจตคติ

การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนหลงัอบรม เท่ากบั 3.37 ค่า

เบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.27 จากการทดสอบสถิติ t-test (Dependent) พบว่า ค่า t = 16.744 โดยมีค่าเฉล่ียคะแนนหลงัการอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการอบรมอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

322

3. ค่าเฉล่ียคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม ก่อนอบรม เท่ากับ 2.06 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.31 ค่าเฉล่ียคะแนนเจตคติการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม หลงัอบรม เท่ากับ 3.42 ค่าเบ่ียงเบน

มาตรฐาน เท่ากบั 0.36 จากการทดสอบสถิติ t-test (Dependent) พบว่า ค่า t = 15.739 โดยมีค่าเฉล่ียคะแนนหลงัการอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการอบรมอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

4. ค่าเฉล่ียคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้ ก่อนอบรม เท่ากบั 2.40 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.27 ค่าเฉล่ียคะแนนเจตคติการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้ หลงัอบรม เท่ากบั 3.58 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.30

จากการทดสอบสถิติ t-test (Dependent) พบว่า ค่า t = 19.138 โดยมีค่าเฉล่ียคะแนนหลงัการอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการอบรมอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

2.3.3 ผลวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อนอบรมและหลงัอบรม พบว่าค่าเฉล่ียของ

คะแนนพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพฯ ก่อนอบรม เท่ากบั 2.44 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.71 ค่าเฉล่ีย

ของคะแนนพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพฯ หลงัอบรม มีค่าเท่ากบั 7.92 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.99

จากการทดสอบสถิติ t-test (Dependent) พบว่า ค่า t = 28.463 โดยมีค่าเฉล่ียคะแนนหลงัการอบรมสูงกว่า

คะแนนก่อนการอบรมอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05

จึงสรุปผลการเปรียบเทียบความรู้ฯ เจตคติการใชเ้สรีภาพฯ และพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตฯ ของผูเ้ขา้รับการอบรมก่อนและหลงัการอบรม พบความแตกต่าง มีนัยสาํคญัทางสถิติ

ทุกดา้นท่ีศึกษา เม่ือพิจารณาจากค่าเฉล่ียพบว่า ค่าเฉล่ียคะแนนหลงัการอบรมสูงกว่าค่าเฉล่ียคะแนนก่อน

การอบรมทั้งสามดา้น แสดงว่าผูเ้ขา้รับการอบรมมีพฒันาการทั้ งความรู้ฯ เจตคติการใชเ้สรีภาพฯ และ

พฤติกรรมการใชเ้สรีภาพฯ เพิ่มทั้งสามดา้น ทั้งน้ี อาจเป็นเพราะว่านกัศึกษาสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา

วิทยาลยัแสงธรรม เป็นส่วนมากเป็นผูส้มคัรเขา้รับการศึกษาอบรมเพ่ือเตรียมตวัเป็นศาสนบริกรของ

คริสตศ์าสนา ซ่ึงมีระบบการศึกษาอบรมอยา่งเป็นระบบ/เป็นขั้นตอนท่ีเนน้การพฒันา/ไตร่ตรองชีวิตตาม

แนวทางของพระศาสนจกัรคาทอลิก จึงทาํใหน้กัศึกษามีพ้ืนฐานดา้นความรู้ การดาํเนินชีวิตตามเจตคติ

การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์และพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตตามคาํสอนคริสตศ์าสนาและการศึกษาวิชาปรัชญาซ่ึงเป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิพากษ์

แนวคิด/แนวปฏิบติัเก่ียวกบัความจริงของชีวิต ส่งผลใหน้กัศึกษามีพ้ืนฐานความรู้ เจตคติการใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิต และพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามคาํสอนคริสต์ศาสนา แต่มี

ลกัษณะเป็นการศึกษาคาํสอนคริสตศ์าสนาตามคาํสอนทางการของคริสตศ์าสนา กระบวนทศัน์ของพระ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

323

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ใหค้วามสาํคญักบัการฝึกปฏิบติัการไตร่ตรองตนเองภายใตส้ภาพแวดลอ้ม

ของการปฏิบติัความรักเมตตาแบบคริสตชน (Agape) เม่ือไดรั้บการอบรมดว้ยคู่มือการใชรู้ปแบบฯ จึงทาํ

ใหไ้ดค้ะแนนแบบวดัความรู้ เจตคติฯ และพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์

ของาํพระสนัตะปาปาฯ หลงัการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรม นอกจากน้ี การจดัอบรมตามคู่มือฯ ไดรั้บ

ความสนใจ/ความร่วมมือและการสนบัสนุนจากคณะผูบ้ริหารวิทยาลยั/ผูมี้ส่วนเก่ียวขอ้งกบัชีวิตของผูรั้บ

การอบรม วิทยากร สถานท่ี ช่วงเวลา การจดัสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศการอบรม การเตรียมการ/

ดาํเนินการอบรมตามขั้นตอนต่างๆ ท่ีเน้นการจัดอบรมเชิงปฏิบัติ เพ่ือให้ผูรั้บการอบรมได้ศึกษา

ปรากฏการณ์ ไตร่ตรองและออกแบบชีวิตด้วยตนเองตามแนวทางของรูปแบบท่ีพฒันาข้ึน รวมถึง

แผนการจัดอบรมท่ีครอบคลุมเน้ือหา/วิธีการตามท่ีผูเ้ข้ารับการอบรมสนใจเป็นรูปแบบท่ีเหมาะสม

ตลอดจนผูเ้ขา้อบรมมีความสนใจ/ตั้งใจ มีความรู้ เจตคติการใชเ้สรีภาพฯ และพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตตามคาํสอนคริสต์ศาสนาเป็นพ้ืนฐาน สอดคลอ้งกับ คอร์ปและโคมีเวส (Kolb and

Komives, 1996: 168-169) ท่ีกล่าวว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการถ่ายทอดประสบการณ์ เพ่ือเพิ่มพูน

ประสบการณ์ของผูเ้รียน สอดคลอ้งกบัแนวคิดของบอดดิท์ท และคณะ (Bodditt and other, 2000: 29–

35) กล่าวถึงรูปแบบการเรียนสอนท่ีใหผู้เ้รียนจดักระบวนการเรียนรู้จากสภาพจริงดว้ยตนเอง สอดคลอ้ง

กบั ทิศนา แขมมณี (2550: 28; 133-137) ท่ีให้ความสาํคญัต่อการจดับรรยากาศห้องเรียน โดยเน้นการมี

ส่วนร่วมของผูเ้รียน โดยเนน้ให้ผูเ้รียนแต่ละคนไดส้ร้างประสบการณ์การเรียนรู้จากประสบการณ์เดิม

เช่ือมโยงกบัประสบการณ์ใหม่ โดยการแสวงหาขอ้มูลจากแหล่งขอ้มูลท่ีหลากหลายผ่านกระบวนการ

ทาํงานกลุ่มและทาํงานเป็นทีม และสอดคลอ้งกบั เชียรศรี วิวิธศิริ (2534: 138 – 139) ท่ีกล่าวถึงการ

จดัการเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงกบัแรงจูงใจ เพ่ือใหเ้กิดความสนใจและมีความตอ้งการท่ีจะเรียนรู้ และเม่ือส่ิงท่ี

เรียนนั้นมีความจาํเป็นและเป็นประโยชน์สามารถนาํไปใชไ้ดท้นัที รวมทั้ งบทเรียนนั้นสัมพนัธ์กบัสภาพ

ปัญหาท่ีมีอยูจ่ริงในสงัคม การไดมี้โอกาสฝึกฝนการคิดวิเคราะห์ แกปั้ญหา จะทาํใหก้ารเรียนรู้เพิ่มพูนข้ึน

สอดคลอ้งกบั พชัรี ศิริมาก (2554: บทคดัย่อ) ตวงพร สมสมยั และคนอ่ืนๆ (2554: บทคดัย่อ) เสนอว่า

แนวทางการพฒันามนุษยต์อ้งส่งเสริมใหม้นุษยพ่ึ์งพิงตนเอง เร่ิมท่ีตนเอง เสริมสร้างมนุษยใ์หใ้หม้องโลก

ในแง่ดี ใหมี้ความคิดวิจารณญาณ/รู้จกัวิเคราะห์/หาเหตุผล มีการพฒันาตวัเองให้เต็มท่ีตามศกัยภาพ รู้จกั

สร้างสรรค์ส่ิงใหม่ รู้จกัสร้าง/ผลิต/คิดอะไรใหม่ๆ รวมทั้ งให้รู้จกัตัวเอง เสียสละ เพ่ือทาํให้สังคม

กา้วหนา้และมีสนัติสุข สอดคลอ้งกบั สมคิด สกุลสถาปัตย ์(2552: บทคดัย่อ) พิชญาภา ยืนยาว (2552:

บทคดัยอ่) และโยเนฮารา (Aki Murakami Yonehara, 2006: Abstract) เสนอว่ารูปแบบการพฒันามนุษย์

อยา่งย ัง่ยนื เป็นความสัมพนัธ์เชิงสาเหตุของพหุตวัแปรท่ีประกอบดว้ยองค์ประกอบท่ีสาํคญัไดแ้ก่ การ

สร้างส่ือกลางท่ีมีศกัยภาพ การใชค้วามฉลาดทางอารมณ์เป็นฐาน การสร้างแรงบนัดาลใจ การคาํนึงถึง

ความเป็นปัจเจกบุคคล การกระตุน้การใชปั้ญญา และการใชอิ้ทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ (ภาวะผูน้าํการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

324

เปล่ียนแปลงท่ีมีประสิทธิผล) ซ่ึงมีอิทธิพลต่อปัจจยันาํเขา้มีพลงัขบัเคล่ือน กระบวนการเปล่ียนแปลง

สมดุล ต่อเน่ือง เป็นรูปแบบมีความถูกต้อง เหมาะสม เป็นไปได้และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้

รวมทั้งตอ้งมีการพฒันาอยูเ่สมอ

2.4 ผลการประเมินรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ

ผลการประเมินรูปแบบฯ นกัศึกษาส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่ารูปแบบมีความเหมาะสมใน

ระดบัมาก ผลการสัมภาษณ์พบว่ารูปแบบฯ ท่ีพฒันาตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ มีความ

เหมาะสมในการนําไปไตร่ตรองความรู้ เจตคติฯ และพฤติกรรมการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิต

โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน (คนรุ่นใหม่) ท่ีอยูใ่นช่วงการเรียนรู้คุณค่า ความหมายชีวิต รูปแบบฯ ช่วยให้มี

หลกัการและเปล่ียนมุมมองในการใชเ้สรีภาพดว้ยความรับผิดชอบต่อการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าชีวิต

ของตนเอง ความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน/สังคม และส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการมีความสัมพนัธ์กบัพระ การให้

โอกาสตนเองมากข้ึนในการคิดและการกระทาํ ใหคุ้ณค่ากบัเพ่ือนมากข้ึนในการอยู่และทาํกิจกรรม/งาน

ดว้ยกนั ทาํใหเ้กิดความมัน่ใจและภาคภูมิใจในการดาํเนินชีวิต ทกัษะการไตร่ตรองชีวิตท่ีฝึกจะนาํสู่การ

ปรับตวัในการอยู่ร่วมกบัคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ดา้นส่ิงท่ีควรปรับปรุง คือ ควรเพิ่มเวลาในขั้นตอน

การศึกษา/ทําความเข้าใจปรากฏการณ์ การเพิ่มเติมวิทยากร (พ่ีเล้ียง) ในการเข้าร่วมประชุมกลุ่ม

โดยเฉพาะการศึกษาแนวคิดของพระสนัตะปาปาฯ การวิเคราะห์กรณีศึกษาต่างๆ การแลกเปล่ียนเรียนรู้

ในกลุ่ม และควรมีส่ือท่ีหลากหลายในการนาํเสนอ เพ่ือง่ายต่อการทาํความเขา้ใจ

ดังนั้ น จึงสรุปได้ว่า รูปแบบการอบรมเพ่ือพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สันตะปาปาฯ ตามความคิดเห็นของนักศึกษา ควรจดัเวลาให้เพียงพอ เหมาะสม ในการศึกษาแนวคิด /

ปรากฏการณ์และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในระหว่างนกัศึกษา รวมถึงการมีส่ือท่ีหลากหลายในการนาํเสนอ

เพ่ือความเขา้ใจท่ีชดัเจนยิง่ข้ึนในกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ เพ่ือให้นักศึกษา

ไดเ้สริมสร้างความรู้ เจตคติและทกัษะการพฒันามนุษย ์ดว้ยการเรียนรู้ส่วนบุคคลและกระบวนการกลุ่ม

เพ่ือนาํไปสู่การไตร่ตรอง ทบทวนการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของแต่ละคนในสภาพแวดลอ้มท่ี

ต่างกนั ตามหลกัคาํสอนของคริสตศ์าสนา เพ่ือใหเ้กิดการเรียนรู้ดว้ยตนเองซ่ึงจะนาํไปสู่การปรับเปล่ียน

เปล่ียนเจตคติอยา่งต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิตดว้ยการใชเ้สรีภาพดว้ยเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย์

ของตนเอง คนอ่ืน/สงัคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการตอบรับแนวทางของพระเจา้เพ่ือมุ่งสู่การเป็น

บุคคลท่ีสมบูรณ์ สอดคลอ้งกบัแนวคิดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ของ คอล์ป และเลวิส (Kolb and

Lewis, 1986: 168–169) ทฤษฏีการจดัการเรียนรู้ตามสภาพจริงของทิศนา แขมมณี (2548: 133–137) ท่ี

เน้นการจดัการเรียนรู้จากประสบการณ์เดิมเช่ือมโยงกบัประสบการณ์ใหม่โดยการแสวงหาขอ้มูลจาก

แหล่งขอ้มลูและส่ือท่ีหลากหลาย ดว้ยการแสวงหาความรู้ดว้ยตนเองเพ่ือให้เกิดความรู้ใหม่ จากนั้นนาํ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

325

ความรู้ท่ีไดรั้บมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่ม/ผูเ้ช่ียวชาญ ซ่ึงเป็นการตรวจสอบ/ขยายความคิดให้กวา้งข้ึน

และสามารถนาํไปประยกุตใ์ชไ้ดอ้ยา่งเหมาะสมตามสถานการณ์ของแต่ละบุคคล เพ่ือช่วยใหเ้กิดความรู้ท่ี

นาํไปสู่การปฏิบติั ซ่ึงจะทาํให้นักศึกษาเห็นประโยชน์ และคุณค่าของส่ิงท่ีเรียนรู้เกิดเป็นการเรียนรู้ท่ีมี

ความหมาย

อยา่งไรก็ตาม ลกัษณะสาํคญัของการพฒันาชีวิตตามคาํสอนคริสต์ศาสนา มีพ้ืนฐานอยู่บน

การมีความสัมพนัธ์กับพระเจา้ ดว้ยการปฏิบัติความรักเมตตาต่อเพ่ือนมนุษย ์ สอดคลอ้งกับ ซิลวีโอ

(Silvio, 2011: Abstract) เสนอว่าการพฒันามนุษยต์ามแนวทางของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มี

หลกัอยูบ่นความถกูตอ้งตามหลกัศีลธรรม ดว้ยเหตุน้ี การจดัการศึกษาอบรมเพื่อการพฒันามนุษย ์ตอ้งมี

พ้ืนฐานทางศีลธรรม รู้จกัแยกแยะคุณค่าทางศีลธรรมในสงัคม โดยเช่ือมโยงกบัคุณค่าความเป็นมนุษยซ่ึ์ง

เป็นบุคคล เพ่ือรองรับความทา้ทายท่ีเกิดข้ึนในสังคมไดอ้ย่างสมดุล สอดคลอ้งกบั ฮาร์แมน (Harman,

2010: Abstract) เสนอว่าพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงมีมุมมองท่ีดีต่อมนุษย ์แมม้นุษยจ์ะเผชิญ

กบัความทุกขย์ากลาํบากในชีวิต แต่ทรงเช้ือเชิญใหมี้ความหวงั ทรงนาํเสนอเร่ือง “เทววิทยาของร่างกาย”

(Theology of the Body) เพ่ืออธิบายคุณค่าและความหมายของความทุกข์ทรมานท่ีไม่อาจหลีกเล่ียงได ้

ไม่ใช่หลีกหนีและขจดัความทุกขท์รมานทิ้งไป แต่กลา้ท่ีจะเผชิญหนา้ ทรงอธิบายว่า ความทุกข์ทรมานน้ี

เป็นส่ิงท่ีมีคุณค่า ประสบการณ์แห่งความทุกขท์รมาน เป็นการพฒันาวุฒิภาวะ และยงัแฝงมิติของความ

รักและความหวงัในบรรดาผูมี้ความทุกขท์รมาน คือ การเสริมสร้างความสมัพนัธก์บัพระเจา้และคนอ่ืนๆ

ท่ีอยู่รอบตวัของผูมี้ความทุกข์ทรมาน สอดคลอ้งกบั สแชล (Schall, 1984) เสนอสาระสาํคญัของการ

พฒันามนุษยต์ามคาํสอนคริสต์ศาสนา คือ ความสาํนึกว่าชีวิตมากจากพระเจ้าท่ีโปรดให้มนุษยเ์ป็น

บุคคล ๆ ท่ีเป็นตวัของตวัเองและควบคุมตนเองได ้ รวมถึงการพฒันาชีวิตดว้ยการมีความสัมพนัธ์กบัคน

อ่ืน ดว้ยความสาํนึกว่าทุกคนต่างกม็าจากพระเจา้ แก่นแทข้องมนุษยอ์ยู่ท่ีศกัด์ิศรี ในฐานะท่ีพระเจา้สร้าง

ใหเ้ป็นภาพลกัษณ์และเป็นความเหมือนกบัพระเจา้ดว้ยกนัทุกคน สอดคลอ้งกบั สมชยั พิทยาพงศพ์ร

และคณะ (2553: 50 -55) ท่ีเสนอว่าการพฒันาดา้นจิตวิญญาณท่ีมีความสมัพนัธก์นัระหว่างการแสดงออก

ภายนอก (ร่างกาย) และดา้นภายใน (จิตวิญญาณ) ทั้ งจิตสาํนึก ทัศนคติ ตลอดจนการดาํเนินชีวิตตาม

แนวทางของพระเจา้ การพฒันาจิตวิญญาณจึงเป็นการพฒันาวิถีชีวิตเดิมไปสู่วิถีชีวิตใหม่ท่ีมีพระเจา้เป็น

เป้าหมายปลายทางของชีวิต

ดงันั้น รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ช่วย

เสริมสร้างความรู้ฯ เจตคติการใชเ้สรีภาพฯ และพฤติกรรมการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตแก่ผูใ้ช้

รูปแบบ ทาํใหเ้กิดการเรียนรู้ คน้พบ ไตร่ตรองและตดัสินใจพฒันา/เปล่ียนแปลงเจตคติการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตท่ีไม่ไดมุ่้งแต่เพียงวตัถุ หรือความเจริญดา้นวตัถุ/เศรษฐกิจ แต่เพียงเดียว แต่ช่วยให้เกิด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

326

ความตระหนกั มีจิตสาํนึก และมีหลกัการ/แนวปฏิบติัในการไตร่ตรองชีวิตประจาํวนั เพ่ือเสริมสร้างและ

พฒันาบุคคลไปสู่ความกา้วหน้าของชีวิต บนพ้ืนฐานของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์อง

ตนเอง รวมถึงการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน/สงัคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม และการมีใจอิสระท่ีจะตอบรับ

แนวทางของพระเจา้ไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ตามหลกัธรรมคาํสอนคริสตศ์าสนา จึงสรุปความไดว้่า

รูปแบบฯ มีความเหมาะสมต่อการนาํไปใช้เพ่ือพฒันามนุษยแ์ก่กลุ่มเยาวชนท่ีสนใจพฒันาชีวิตตามคาํ

สอนคริสตศ์าสนา และมีพ้ืนฐานความรู้ดา้นปรัชญา รวมถึงสามารถนาํไปประยกุตใ์ชใ้นการจดัอบรมแก่

เยาวชนอ่ืนๆ เพ่ือใหมี้หลกัในการดาํเนินชีวิต

3. ข้อเสนอแนะในการนําผลการวจิยัไปใช้

จากการศึกษาวจิยัในคร้ังน้ี ผูว้จิยัมีขอ้เสนอแนะเชิงนโยบาย ขอ้เสนอแนะในการนาํรูปแบบไปใช้

และขอ้เสนอแนะในการทาํวิจยัคร้ังต่อไป ดงัน้ี

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

1. หน่วยงานดา้นการพฒันามนุษยข์องคริสตศ์าสนจกัรคาทอลิก ควรนาํรูปแบบการพฒันาตาม

กระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปาฯ ไปประยกุตใ์ชใ้นการบริหารงานดา้นการจดัอบรมเพื่อพฒันามนุษย ์

โดยเฉพาะการจดัสภาพแวดลอ้ม กระบวนการอบรม รวมถึงการจดัเตรียมวิทยากรท่ีใชใ้นการจดัอบรม

การพฒันามนุษย ์

2. สถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานด้านการพฒันามนุษยต์ามคาํสอนคริสต์ศาสนา ควรนํา

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ ไปประยกุตใ์ชใ้นการจดัแผนการอบรม

หลกัสูตร และกระบวนการจดัอบรม โดยเนน้การจดัสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศการเรียนรู้ท่ีเคารพสิทธิ

เสรีภาพของบุคคล ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ

3. สถาบนัการศึกษาหรือหน่วยงานดา้นการจดัอบรมเพื่อพฒันามนุษยต์ามคาํสอนคริสตศ์าสนา สามารถนาํรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ ไปประยกุตใ์ชใ้นการจดั

อบรมหรือการจดักรรมพฒันาผูเ้รียน/ชุมชน โดยการจดักิจกรรมตามแผนการจดัอบรมท่ีนาํเสนอ โดยมี

การทาํความเขา้ใจ การประชุมวางแผนในทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวขอ้ง เพ่ือออกแบบแนวทาง/แนวปฏิบติัท่ี

เหมาะสมตามสภาพแวดลอ้ม/บุคคล

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

327

4. สถาบนัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการพฒันามนุษย ์ควรมีการศึกษาแนวทาง/รูปแบบเพ่ือขยายผล/ต่อยอด

ในการนาํรูปแบบฯ ท่ีเนน้กระบวนการศึกษาปรากฏการณ์ การรับรู้/ยอมรับ และการออกแบบแนวปฏิบติั

อยา่งเป็นระบบ ประยกุตสู่์การจดัการอบรมของสถาบนั

ข้อเสนอแนะในการนํารูปแบบใช้

1. รูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็น

การศึกษานาํร่องเก่ียวกบัการพฒันามนุษยฯ์ ตามคาํสอนคริสต์ศาสนา ท่ีเน้นการพฒันา/ฟ้ืนฟูจิตใจ โดย

กาํหนดกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ สาํหรับผูส้นใจพฒันาชีวิตตามคาํสอนคริสตศ์าสนา โดย มีความรู้พ้ืนฐานใน

คาํสอน/การปฏิบติัศาสนกิจตามหลกัคริสต์ศาสนา และมีพ้ืนฐานในการคิดวิเคราะห์เชิงปรัชญา โดยมี

จุดเนน้ท่ีสาํคญั คือ การส่งเสริมบุคคลให้สาํนึกและใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษยด์ว้ยตนเองท่ีสมัพนัธก์บัพระเจา้ ดงันั้น รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสนัตะปาปาฯ จึงเนน้การจดัสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพ ความไวว้างใจ

และการมีส่วนร่วม เพ่ือการไตร่ตรอง ทบทวนการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตเพ่ือมุ่งไปสู่การคน้พบ

รับรู้/ยอมรับ และตดัสินใจเปล่ียนแปลง/พฒันารูปแบบการดาํเนินชีวิตดว้ยตนเองท่ีมีพระเจา้เป็นเป้าหมาย

ภายใตก้ารแนะนาํ/ปรึกษาจากผูเ้ช่ียวชาญดา้นการพฒันาชีวิตตามคาํสอนคริสต์ศาสนา ขอ้ควรปฏิบติัใน

การนํารูปแบบไปใช ้ควรพิจารณาพื้นฐาน/สภาพของบุคคล (วุฒิภาวะ/ความรู้/ประสบการณ์) เป็น

ประเด็นสาํคญั

2. การพฒันามนุษยต์ามรูปแบบท่ีกาํหนด ควรมีการกระทําอย่างต่อเน่ืองและใช้รูปแบบท่ี

ครบถว้น ตั้งแต่การสร้างบรรยากาศ/บริบทท่ีเหมาะสม รวมถึงเง่ือนไขต่างๆ ท่ีกาํหนดตามรูปแบบ โดยมี

การทาํความเขา้ใจในรายละเอียด มีการประชุมวางแผน ติดตาม/ประสานงานในทุกภาคส่วนอยา่งต่อเน่ือง

ในบรรยากาศของการมีส่วนร่วม การเคารพในบริบทสภาพแวดลอ้ม/บุคคล มีการออกแบบแนวทาง/แนว

ปฏิบติัท่ีเหมาะสมกบัสภาพบุคคล เพ่ือมุ่งสู่การปรับเปล่ียน/พฒันาเจตคติการดาํเนินชีวิตบนพ้ืนฐานของ

การเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

3. ในการนาํแผนการจดัอบรมตามรูปแบบฯ ไปใช ้หากมีการประยุกต์กรณีตวัอย่างต่างๆ ควร

พิจารณากรณีตวัอยา่งท่ีเหมาะสมกบักลุ่มผูเ้ขา้รับการอบรมและสอดคลอ้งกบับริบท/สภาพแวดลอ้มของ

บุคคลท่ีเข้ารับการอบรม พึงระมดัระวงักรณีตวัอย่างท่ีพาดพิงบุคคลหรือสถานการณ์ท่ีเก่ียวขอ้งกับ

ประเด็นทางการเมือง หรือศาสนา ท่ีเป็นชนวนหรือก่อใหเ้กิดความขดัแยง้ ความแตกแยกหรืออคติในกลุ่ม

ผูเ้ขา้รับการอบรม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

328

4. ผูจ้ดัการอบรมและวิทยากร จาํเป็นตอ้งทาํความเขา้ใจแนวคิด แนวทางและแนวปฏิบติัของ

รูปแบบฯ และคู่มือการใชรู้ปแบบฯ อยา่งชดัเจน รวมถึงมีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกนัอย่างต่อเน่ือง

ทั้งก่อน ระหว่างและหลงัการจดัอบรม วิทยากรตอ้งมีคุณสมบติัและบทบาทหน้าท่ีตามท่ีรูปแบบกาํหนด

ผูจ้ดัการอบรมและวิทยากรตอ้งเป็นแบบอยา่งในการทาํงานร่วมกนัดว้ยความเคารพในสิทธิ เสรีภาพ มี

ความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัในการปฏิบติัความรัก ความเคารพในคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นบุคคล

ข้อเสนอแนะในการทําวจิยัคร้ังต่อไป

1. ในการศึกษาวิจยัคร้ังน้ีเป็นการเสนอรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 โดยเน้นการนาํคาํสอนคริสต์ศาสนามาจดัระบบ แนวทางการจัดอบรม

เพ่ือให้เกิดการพฒันา/เปล่ียนแปลงเจตคติการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตดว้ยตวัผูเ้ข้ารับการอบรม

ภายใตก้ารสนบัสนุน ส่งเสริมของผูเ้ก่ียวขอ้ง ในบรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล ซ่ึงทาํ

ไดใ้นระยะเวลาท่ีจาํกดั จึงควรทาํการศึกษาและติดตามการพฒันา/เปล่ียนแปลงเจตคติการดาํเนินชีวิตของ

นกัศึกษาอยา่งต่อเน่ือง โดยมีการพบปะ แลกเปล่ียนเรียนรู้ส่วนบุคคลและกระบวนการกลุ่มอยู่เสมอ โดย

จัดวิทยากรไปพบปะ เยี่ยมเยียนกลุ่มผูเ้ข้ารับการอบรมอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้การปรึกษา แนะนํา

แลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกนั เพ่ือพฒันาบุคคลอยา่งเหมาะสม สอดคลอ้งกบับริบทของบุคคล/สังคม ให้เกิด

การพฒันาอยา่งบูรณการในทุกมิติของชีวิตและการส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือกนัอย่างเป็น

ระบบ

2. ควรมีการพฒันารูปแบบฯ ดว้ยการนาํไปทดลองใชแ้ก่บุคคลทัว่ไป เพ่ือนาํสู่การปรับปรุง/ต่อ

ยอดรูปแบบฯ ใหค้รอบคลุม เป็นประโยชน์ และสอดคลอ้งกบักลุ่มบุคคลท่ีสนใจเขา้รับการพฒันาชีวิต

ตามคาํสอนของศาสนาในวงกวา้งข้ึน

3. ควรมีการพฒันาระบบ/หลกัสูตรการอบรม/พฒันาวิทยากร (กระบวนกร) เพ่ือการจดัอบรม

พฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานคาํสอนศาสนา ซ่ึงมีบทบาทสาํคญัต่อการเสริมสร้างความรู้ เจตคติและทกัษะการ

พฒันาชีวิตตามคาํสอนคริสตศ์าสนา รวมถึงการพฒันาเครือข่ายท่ีเช่ือมโยงในกลุ่มผูจ้ดัการอบรมและ

วิทยากรดา้นการจดัอบรมตามคาํสอนของศาสนา

4. ควรมีการศึกษาวิจยัเชิงประยกุตใ์นการนาํรูปแบบฯ ไปทดลองใชใ้นการจดัการเรียนการสอน

ในรายวิชาดา้นปรัชญา คาํสอนคริสตศ์าสนา และการจดัการเรียนการสอนท่ีเก่ียวขอ้งกบัการพฒันาจิตใจ/

จิตวิญญาณตามหลกัคาํสอนของศาสนา

5. ควรมีการศึกษาวิจยัเก่ียวกบัตวัช้ีวดัเพ่ือเป็นแนวทางการประเมินการพฒันามนุษย/์การพฒันา

จิตใจตามคาํสอนคริสตศ์าสนา ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ เพ่ือต่อยอดและเป็นแนวทางท่ีเป็นรูปธรรมใน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

329

การติดตาม ประเมินการพฒันาบุคคลอยา่งเป็นระบบ รวมถึงการพฒันาเคร่ืองมือประเมินการพฒันา

มนุษยท่ี์หลากหลาย สอดคลอ้ง เหมาะสมกบับริบทของสภาพบุคคล

6. ควรมีการพฒันาส่ือท่ีหลากหลายเพ่ือใชป้ระกอบการจดัอบรม โดยเนน้ส่ือท่ีส่งเสริมใหเ้กิด

บรรยากาศของความสงบ ก่อใหเ้กิดสมาธิ และมีความสอดคลอ้ง เหมาะสมกบัสถานการณ์สงัคม และ

สภาพแวดลอ้มของผูเ้ขา้รับการอบรม

7. ควรมีการศึกษาวิจยัเก่ียวกบัการฝึกอบรมวิทยากรตามกระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องคริสตศ์าสนา ท่ีเนน้การพฒันาจิตวิญญาณตามหลกัคาํสอนคริสตศ์าสนา เพ่ือเสริมสร้าง/พฒันาคุณภาพ

วิทยากรใหมี้ความเช่ียวชาญยิง่ข้ึน

8. ควรมีการศึกษาวิจยัเก่ียวกบัการจดับรรยากาศ สภาพแวดลอ้มของการจดัอบรมเพื่อพฒันา

มนุษยต์ามหลกัคาํสอนของศาสนา/คริสตศ์าสนา ซ่ึงถือว่าเป็นส่วนสาํคญัต่อการจดัอบรมเสริมสร้างการ

พฒันาจิตวิญญาณตามคาํสอนคริสตศ์าสนา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

330

รายการอ้างองิ

ภาษาไทย

กมล อารยะประทีป. (2530). พืน้ฐานพระคมัภีร์ภาคพนัธสัญญาเดิม. เชียงใหม่: โรงพิมพป์ระชากร.

กมลรัตน์ หลา้สุวงษ.์ (2523). จติวทิยา. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ.

กระทรวงการพฒันาสงัคมและความมัน่คงของมนุษย.์ ยุทธศาสตร์กระทรวงการพฒันาสังคมและความ

มัน่คงของมนุษย์. (2554). Accessed 15 สิงหาคม 2555. Available from http://www.m-

society.go.th/document/page/page_7147.pdf.

กนิษฐา นาวารัตน์ . (2549). “การพฒันารูปแบบและกลยทุธก์ารส่งเสริมความเป็นศนูยก์ลางการศึกษา

นานาชาติของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้.” วิทยานิพนธ์ปริญญา

ครุศาสตรดุษฏีบณัฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยา.

ก่อ สวสัดิพาณิชย.์ (2539). การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: ชวนการพิมพ.์

กีรติ บุญเจือ. (2522). สารานุกรมปรัชญา. กรุงเทพฯ: ไทยวฒันาพานิช.

___________. (2527). แก่นปรัชญายุคกลาง. กรุงเทพฯ: ไทยวฒันาพานิช.

___________. (2544). “ทาํไมตอ้งมีสมณสาสน์ศรัทธากบัเหตุผล.” แสงธรรมปริทัศน์ 25, 2 ( พ.ค.

– ส.ค.): 65-73.

คณะกรรมการพระคมัภีร์คาทอลิกแห่งประเทศไทย, ผูแ้ปล. (1994). พระคมัภีร์ภาษาไทยฉบบัใหม่.

กรุงเทพฯ: อาํนวยรัตนก์ารพิมพ.์

คนึงนิจ อนุโรจน์. (2551). ปัจจยัที่มอีทิธิพลต่อสมรรถนะของนกัพฒันาทรัพยากรมนุษย์

กองทัพอากาศ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยัรามคาํแหง.

จรัสศรี เพช็รคง. (2552). “การพฒันาทุนมนุษยข์องวิทยาลยัพยาบาล สงักดัสถาบนัพระบรมราช

ชนก.” วิทยานิพนธป์ริญญาปรัชญาดุษฏีบณัฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บณัฑิต

วิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

331

จีระ หงส์ลดารมภ.์ (2550). แนวทางปลูกและเกบ็เกีย่วทุนมนุษย์ ในยุคหลงัวกิฤตมิหาอุทกภัย.

Accessed 5 สิงหาคม 2556. Available from

http://.jobthai.com/file/pdf_drjira_201201.pdf.

ชนสิทธ์ิ สิทธิสูงเนิน. (2553). “การพฒันารูปแบบการจดักระบวนการเรียนรู้ของอาจารยใ์นศนูยก์าร

เรียนรู้โครงการมหาวิทยาลยัชีวิต”. วิทยานิพนธป์ริญญาปรัชญาดุษฏีบณัฑิตหลกัสูตร

และการสอน บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร.

ชาตรี สาํราญ. (2545). ครูรู้ได้อย่างไรว่าเด็กเกดิการเรียนรู้. พิมพค์ร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ: มลูนิธิสดศรี-

สฤษด์ิวงศ.์

ชยัยงค ์ พรหมวงศ.์ (2520). ระบบส่ือการสอน. กรุงเทพฯ: สาํนกัพิมพจุ์ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

เชียรศรี วิวิธศิริ. (2534). จติวทิยาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ.

ดวงใจ รัตนธญัญา. (2547) ความหมายและตวัชี้วดัสุขภาวะทางจติวญิญาณ กรณศึีกษาชุมชนบุญนิยม

สันตอิโศก. ม.ป.ป.

ดงัโตแนล ยงั มารี. (2533). “ความสาํคญัของบุคคลในปรัชญาตะวนัตกปัจจุบนั.” แสงธรรมปริทัศน์

14, 3 (ก.ย. – ธ.ค.) : 60 - 67.

___________. (2551). คุณค่าและความหมายของชีวติ. นครปฐม: วิทยาลยัแสงธรรม.

___________. (2536). “ความหมายของร่างกายในชีวิตมนุษย.์” แสงธรรมปริทัศน์ 17, 3 (ก.ย.–ธ.ค.):

33-41.

___________. (2536). “ปรัชญาช่วยมองคุณค่าของชีวิต.” แสงธรรมปริทศัน์ 17, 2 (พ.ค. – ส.ค.) :

88-97.

ตวงพร สมสมยั และคนอ่ืนๆ. (2554). “การพฒันาคุณภาพชีวิตอยา่งย ัง่ยนืตามหลกัธรรมทิฏฐธมั

มิกตัถประโยชน์ส่ี.” งานวจิยัคณะมนุษยศาสตร์และสงัคมศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฎั

สวนดุสิต.

ถวลัยรั์ฐ วรเทพพุฒิพงษ.์ (2540). การกาํหนดและวเิคราะห์นโยบายสาธารณะ: ทฤษฎีและการ

ประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: สาํนกัพิมพเ์สมาธรรม.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

332

ทิศนา แขมมณี. (2548). รูปแบบการเรียนการสอน: ทางเลอืกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลยั.

___________. (2548). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพือ่การจดักระบวนการเรียนรู้ที่มปีระสิทธิภาพ.

พิมพค์ร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ.์

___________. (2550). 14 วธิีสอนสําหรับครูมอือาชีพ. กรุงเทพฯ: เท็กซ ์แอนด ์เจอร์นลั พบัลิเคชัน่.

ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2545). กระบวนการเรียนรู้ความหมาย แนวทางการพฒันาและปัญหาข้อง

ใจ. กรุงเทพฯ: สถาบนัพฒันาคุณภาพวิชาการ.

ทศัไนย ์ คมกฤส. (2529). เชิญมาอ่านพระคมัภีร์กนัเถอะ. กรุงเทพฯ: พลพนัธก์าร.

___________. (2533). จดหมายในพนัธสัญญาใหม่. นครปฐม: วิทยาลยัแสงธรรม.

___________, ผูแ้ปล. (2534). ท่องพนัธสัญญาเดิม. กรุงเทพฯ: อสัสมัชญั.

___________. (2535ก). เชิญมาอ่านพระคมัภีร์กนัเถอะ เล่ม 2. กรุงเทพฯ: อสัสมัชญั.

___________. (2535ข). ปัญจบรรพ. นครปฐม: วิทยาลยัแสงธรรม.

___________. (2535ค). ปรีชาญาณ. นครปฐม: วิทยาลยัแสงธรรม.

นิรนาม. (ม.ป.ป.). ปัญหานํา้-ปัญหาส่ิงแวดล้อม. Accessed 5 สิงหาคม 2555.

Available from www.web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/pr-watern.htm.

บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวจิยัเบือ้งต้น. พิมพค์ร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: สุวิริยาสาส์น.

ปกรณ์ ปรียากร. (2552). การบริหารการพฒันาชนบท. นนทบุรี: มหาวิทยาลยัสุโขทยัธรรมาธิราช.

ประเวศ วะสี. (2551). จติววิฒัน์. Accessed 5 มกราคม 2551. Available from

http://jitwiwat.blogspot.com.

ปราโมทย ์ อินสว่าง. (2551). การพฒันาทรัพยากรมนุษย์. Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available

from http://saving.egat.co.th/news/member-news/1049/1049-04.pdf.

ปรีชา ชา้งขวญัยนื. (2533). ปรัชญาแห่งอุดมการณ์ทางการเมอืง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

333

ปรีชา เป่ียมพงศส์านต,์ กาญจนา แกว้เทพ และ กนกศกัด์ิ แกว้เทพ. (2543). วถิีใหม่แห่งการพฒันา: วธีี

วทิยาศึกษาสังคมไทย. พิมพค์ร้ังท่ี 6. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

ปรียาพร วงศอ์นุตรโรจน.์ (2546). จติวทิยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศนูยห์นงัสือเสริมกรุงเทพ.

ปาริชาต เทพอารักษ ์และ อมราวรรณ ทิวถนอม. (2550). สุขภาวะของคนไทย จุดเร่ิมต้นของความอยู่

เยน็เป็นสุข. 5 สิงหาคม 2555. Available from

http://www.nesdb.go.th/Portals/0/news/journal/eco_journal/01-01_2550/12.pdf.

ปิยากร หวงัมหาพร. (2552). “นวตักรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสหภาพยโุรป.” โครงการวิจยัของ

ศนูยย์โุรปศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

ปัญญา อุดมระติ. (2521). ระบบเศรษฐกจิเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยัรามคาํแหง.

เผชิญ กิจระการ และสมนึก ภทัทิยธนี. (2545). ดัชนีประสิทธิผล. มหาสารคาม: ภาควิชาเทคโนโลยี

การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยัมหาสารคาม.

พรพจน ์ เป่ียมสมบูรณ์. (2006). เศรษฐกจิพอเพยีง การพฒันาท่ียัง่ยนื และการศึกษาในศตวรรษท่ี 21.

Accessed 15 สิงหาคม 2555. Available from

http://www.csr.chula.ac.th/sufficiency_economy/images/stories/file/article_pornpot.pdf.

พระพรหมคุณาภรณ์. (2550). การพฒันาที่ยัง่ยนื. พิมพค์ร้ังท่ี 6. กรุงเทพฯ: บริษทัสหธรรมิก จาํกดั.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุโต). (2529). การพฒันาที่ยัง่ยนื. กรุงเทพฯ: มลูนิธิพุทธธรรม.

___________. (2542). การศึกษากบัการพฒันาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: มลูนิธิพุทธธรรม.

พิสณุ ฟองศรี. (2549). เทคนิควธิปีระเมนิโครงการ. พิมพค์ร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: หา้งหุน้ส่วนจาํกดั

พิมพง์าม.

พิสิฐ เทพไกรวลั. (2554) “การพฒันารูปแบบเครือข่ายความร่วมมือเพ่ือคุณภาพการจดัการศึกษา ใน

โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเลก็.” วิทยานิพนธป์รัชญาดุษฎีบณัฑิต สาขาวิชาการบริหาร

การศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัขอนแก่น.

พชัรี ดาํรงสุนทรชยั. (2550). “แนวทางการจดัความรู้เพ่ือสุขภาวะชุมชน.” วิทยานิพนธป์ริญญา

ครุศาสตรดุษฏีบณัฑิต สาขาวิชาพฒันศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยา.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

334

พชัรี ศิริมาก. (2554). “การพฒันาทรัพยากรมนุษยต์ามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา.” งานวจิยัสาขาวิชา

การศึกษานอกระบบโรงเรียน ภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

พิชญาภา ยนืยาว. (2552). “รูปแบบการบริหารทรัพยากรบุคคลในสถาบนัอุดมศึกษา.” วิทยานิพนธ์

ปริญญาปรัชญาดุษฏีบณัฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั

ศิลปากร.

ภูวดล ศิริพงษ.์ (2549). “ความสุขมวลรวมประชาชาติกบัการพฒันา” วารสารโรงเรียนนายเรือ 6, 4

(ต.ค. – ธ.ค.): 41–47.

มาลี จุฑา. (2544). การประยุกต์จติวทิยาเพือ่การเรียนรู้. กรุงเทพฯ: หจก.ทิพยวิสุทธ์ิ.

มหาวิทยาลยัราชภฏัเพชรบุรี. (ม.ป.ป.). โครงการสร้างสุขภาวะในมหาวทิยาลยัราชฎัฎเพชรบุรี.

Accessed 15 สิงหาคม 2553. Available from

http://dsd.pbru.ac.th/health/index.php?option=com_content&view=article&id=48&Itemi

d=59.

มหาวิทยาลยัอสัสมัชญั. (ม.ป.ป.). การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร. Accessed 15 สิงหาคม 2553.

Available from

http://www.intranet.au.edu/portal2003/offices/OHRM/AU%20HEALTH/healthprom2.ht

ml.

ยทุธการ โกษากุล. (2555). การจดัการทุนมนุษย์ในมติขิองแรงงานสัมพนัธ์. Accessed 15 สิงหาคม

2555. Available from http://relation.labour.go.th.

ยวุฒัน ์ วุฒิเมธี. (2526). หลกัการพฒันาชุมชนและการพฒันาชนบท. กรุงเทพฯ: ไทยอนุเคราะห์

ไทย.

เยาวดี วิบูลยศ์รี. (2549). การวดัผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์. พิมพค์ร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

รอฮานิ เจะอาแซ, วนัดี สุทธรังสี, กิตติกร นิลมานตั และรัศมี สงัขท์อง. (2553). การทบทวนความรู้

เร่ืองเคร่ืองมอืประเมนิภาวะจติวญิญาณ. Accessed 10 มกราคม 2554. Available from

http://sph.thaissf.org/?module=media&pg=detail&id=102.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

335

ราชบณัฑิตสถาน. (2542). พจนานุกรม พ.ศ. 2542. Accessed 5 สิงหาคม 2555.

Available from www.royin.go.th.

ราชบณัฑิตยสถาน. (2543). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา. กรุงเทพฯ: บ. เท็กซ ์แอนด ์เจอร์นลั

พบัลิเคชัน่ จาํกดั.

รักชนก โสภาพิศ. (2011). การพฒันารูปแบบการเตรียมความพร้อมการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

สาํหรับนกัศึกษาสาขาวิชาการจดัการการท่องเท่ียว. Veridian E-Journal Su. 4, 1 (พ.ค.–

ส.ค.) 468–489.

เลขาธิการสภาการศกึษา. (2549). การศึกษาและสังเคราะห์รูปแบบการบริหารสถานศึกษา การพฒันา

คณะกรรมการสถานศึกษาและสถานศึกษาเครือข่ายของผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบ. กรุงเทพมหานครฯ : สานกังานเลขาธิการสภาการศกึษา.

วรวรรณ วาณิชยเ์จริญชยั. (ม.ป.ป.). วทิยากรกระบวนการ. Accessed 6 กรกฎาคม 2556. Available

from http://www.ns.mahidol.ac.th/english/KM/article/Facilitator.pdf

วารินทร์ รัศมีพรหม. (2542). การออกแบบและพฒันาระบบการสอน. กรุงเทพฯ: คณะศกึษาศาสตร์

มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวโิรฒ.

วาโร เพง็สวสัด์ิ. (2553). “การวจิยัพฒันารูปแบบ.” วารสารมหาวทิยาลยัราชภฎัสกลนคร 2, 4 (ก.ค.–

ธ.ค.): 1–15.

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (ม.ป.ป.). ความหมายของการพฒันา คาํที่มคีวามหมายใกล้เคยีง และแนวคดิ

พืน้ฐานของการพฒันา. Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available from

www.sdc5p.com/showContent.php?id4=22.

วชัรี ทรงประทุม. (ม.ป.ป.). มติใิหม่ในการพฒันาทรัพยากรมนุษย์. Accessed 5 สิงหาคม 2555.

Available from http://www.scribd.com/doc.

วิริยะ สว่างโชติ. (2007). คุณภาพชีวติและการส่งเสริมสุขภาพ: (การพยายาม) หาจุดเช่ือมบนความ

ต่าง. Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available from

http://www.thaingo.org/writer/view.php?id=410.

ศิริชยั กาญจนวาสี. (2537). การเลอืกใช้สถิตทิีเ่หมาะสมสําหรับการวจิยั. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลยั.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

336

ศิริชยั กาญจนวาสี. (2541). คู่มอืการตดิตามและประเมนิโครงการพฒันาในระดับจงัหวดั. กรุงเทพฯ:

สถาบนัดาํรงราชานุภาพ.

___________. (2545). ทฤษฏีการประเมนิ. พิมพค์ร้ังท่ี 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

ศิริวฒัน์ วรนาม. (2540). “ปัจจยัท่ีส่งผลต่อการใชก้ารประเมินในการตดัสินใจของผูบ้ริหารโรงเรียน

มธัยมศึกษาสงักดักรมสามญัศึกษา.” วิทยานิพนธค์รุศาสตร์มหาบณัฑิต สาขาวิชาบริหาร

การศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

ศุภเจตน ์จนัทร์สาส์น. (2554). “คุณภาพชีวิตของคนไทย: นยัจากดชันีการพฒันามนุษย.์” วารสารนกั

บริหาร 31, 4 (ต.ค.–ธ.ค.): 46–54.

สถาบนัการเรียนรู้และพฒันาประชาสงัคม. (2008). วฒันธรรมนําสุข: สุขภาวะสร้างได้ด้วยคนที่มี

หัวใจและมไีฟ. Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available from http://thaicivicnet.com/blog.

สถาบนับณัฑิตพฒันบริหารศาสตร์. (2556). โครงการฝึกอบรมหลกัสูตรการบริหารและพฒันา

ทรัพยากรมนุษย์ไปสู่องค์การยุคใหม่. Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available from

http://www.hrd.nida.ac.th/hrodnida/rtefile/rte_682.pdf.

สภากาชาดไทย. (2556). โครงการอบรมหลกัสูตรการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้บริหาร.

Accessed 10 พฤษภาคม 2556. Available from http://www.hrtrcs.redcross.or.th.

สภาพฒันาเศรษฐกิจและสงัคมแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). สศช. กบัการพฒันาดัชนชีี้วดัความอยู่เยน็เป็นสุข.

Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available from http://www.ryt9.com/s/nesd/54272.

สมคิด พรมจุย้. (2535). “การพฒันาระบบประเมินผลตนเอง สาํหรับศนูยป์ระสานการศึกษานอก

โรงเรียนระดบัอาํเภอ.” วิทยานิพนธป์ริญญาครุศาสตร์มหาบณัฑิต บณัฑิตวิทยาลยั

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

สมคิด สกุลสถาปัตย.์ (2552). “รูปแบบภาวะผูน้าํการเปล่ียนแปลงท่ีมีประสิทธิผลในการปฏิรูป

การศึกษาอยา่งย ัง่ยนื.” วิทยานิพนธป์รัชญาดุษฏีบณัฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร.

สมชยั พิทยาพงศพ์ร และคณะ. (2553). “การพฒันาเคร่ืองมือประเมินและตวัช้ีวดัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการ

พฒันาจิตวิญญาณตามหลกัธรรมคาํสอนคริสตศ์าสนา.” วารสารวชิาการ วทิยาลยัแสง

ธรรม 2, 2 (ก.ค. – ธ.ค.): 30–55.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

337

สมพร กิตติโสภากรู และ สุธิดา แสงทองสุข. (2551). “ความสมัพนัธร์ะหว่างดชันีการพฒันามนุษยก์บั

เป้าหมายทางเศรษฐกิจ.” วารสารวชิาการสมาคมสถาบันอดุมศึกษาเอกชนแห่งประเทศ

ไทย. 14, 2 (พ.ย.): 116–131.

สมหวงั พิธิยานุวฒัน.์ (2544). วธิีวทิยาการประเมนิศาสตร์แห่งคุณค่า. พิมพค์ร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

สิริมา ศิริมาตยนนัท ์ และคะนอง ปาลิภทัรางกรู. (ม.ป.ป.). ภูฎานกบัจุดยนื “ความสุขมวลรวม

ประชาชาต”ิ บนเวทีโลก. Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available from

http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/oct_dec_11/pdf/aw035.pdf

สีลม ไชยเผอืก. (2002). คาํสอนด้านสังคมของพระศาสนจกัรคาทอลกิ. กรุงเทพฯ: อสัสมัชญั.

สุวิมล ว่องวานิช. (2541). ความรู้ชายแดนด้านการประเมนิผลการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลยั.

สุธาวลัย ์ เสถียรไทย. (ม.ป.ป.) การพฒันาที่ยัง่ยนืแนวพุทธกบัเศรษฐกจิสีเขียว.

Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available from

http://www.measwatch.org/sites/default/files/bookfile/169-226_0.pdf.

สุปราณี ศรีฉตัราภิมุข. (2525). การฝึกอบรมและพฒันาบุคคล. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์.

สุมน อมรวิวฒัน.์ (2525). การพฒันาคุณภาพชีวติของคนกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: คณะครุ

ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

สุมิตร สุวรรณ. (2554). รัฐกบัแนวคดิและทฤษฎีการพฒันา. Accessed 15 สิงหาคม 2555.

Available from http://pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/publication/p10.pdf.

เสถียร แป้นเหลือ. (2550). “การพฒันาหลกัสูตรฝึกอบรมเพ่ือเสริมสร้างภาวะผูน้าํสาํหรับผูน้าํองคก์ร

กิจกรรมนกัศึกษามหาวิทยาลยัสงขลานครินทร์.” วิทยานิพนธป์ริญญาการศึกษาดุษฎี

บณัฑิต สาขาวิชาการอุดมศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ.

เสรี พงศพิ์ศ. (2005). การส่ือสารคอืการพฒันา: อยูเ่ยน็เป็นสุข (1) ความสุขมวลรวมประชาติ.

Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available from http://www.phongphit.com.

___________. (2548). สุขภาวะ ความสมดุลที่สร้างได้. Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available from

http://www.phongphit.com.

สญัญา สญัญาวิวฒัน.์ (2526). การพฒันาชุมชน. กรุงเทพฯ: ไทยวฒันาพานิช.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

338

สญัญา สญัญาวิวฒัน.์ (2549). ทฤษฎีและกลยทุธ์การพฒันาสังคม. พิมพค์ร้ังท่ี 6. กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

สาํนกังานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสงัคมแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). แผนพฒันาเศรษฐกจิและ

สังคมแห่งชาต.ิ Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available from

http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395.

สาํนกังานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2550). สุขภาพทางปัญญาของสังคมไทย ความฝันทีย่งัไม่

เป็นจริง. Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available from www.nationalhealth.or.th.

สาํนกังานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2550). พระราชบญัญัตสุิขภาพแห่งชาต ิพ.ศ. 2550.

Accessed 5 สิงหาคม 2555. Available from

http://www.nationalhealth.or.th/mis3_1.html.

สาํนกังานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอนัเน่ืองมาจากพระราชดาํริ. (2550).

หลกัการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. Accessed 22 ธนัวาคม 2550.

Available from http://www.rdpb.go.th.

ส่ือมวลชนคาทอลิกประเทศไทย. (2012). ปฏิทินคาทอลกิ. กรุงเทพฯ: อสัสมัชญั.

อุทุมพร จามรมาน. (2541). “โมเดลคืออะไร”. วารสารวชิาการ 1, 2 (มีนาคม): 22-26.

เอมอร กฤษณะรังสรรค.์ (ม.ป.ป.). กระบวนการเรียนรู้. Accessed 11 มกราคม 2556. Available

from http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Learning_Process.htm

อารี รังสินนัท.์ (2532). ความคิดสร้างสรรค.์ พิมพค์ร้ังท่ี 3. กรุงเทพฯ: แพร่วิทยา.

อจัฉรา สมแสงทรวง. (2547) “คาํสอนดา้นสงัคม : คุณลกัษณะและพฒันาการของพระศาสนจกัร”.

จุลสารเกลอืและแสงสว่างสําหรับสังคมไทย. 2, 2 (ก.ค. – ธ.ค.): 5–14.

ภาษาองักฤษ

Aki Murakami Yonehara. (2006). “Human Development Policy: Theorizing and Modeling” Ph.D.

Dissertation, Indiana University.

Amartya Sen. (1999). Development as Freedom. New York: Anchor Books.

___________. (2004). Rationality and Freedom. MA : Harvard University.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

339

Anonymous. (n.d.). The Philosophy of St.Augustine. Accessed 5 January 2005. Available from

www.radicalacademy.com/philaugustine1.htm.

___________. (2004). Doctrine of Man in the Old Testament. Accessed 5 January 2005.

Available from www.mb-soft.com/believe/txn/manot.htm.

Apostolic Constitution Fidei Depositum. (1994). Catechism of the Catholic Church. London:

Geoffrey Chapman.

Aquinas Thomas. (1969). Summa Theologiae v.2. New York: Garden city.

Augustine, Saint. (n.d.). The City of God [Book xiv]. Accessed 5 January 2005. Available from

www.newadvent.org/fathers/120114.htm.

___________. (n.d.). The City of God. Translated by Gerald G. Walsh S.J. and Demetrius B.

Zema. S.J. New York: A Division of Doubleday & Company, Inc.

Bardo, J. W., & Hartman, J. J. (1982). Urban society : A systematic introduction. New York: F. E.

Peacock.

Batten T.R. (n.d.). Community and Their Development. London: Oxford University Press.

Beltz Michael Ferguson. (1996). Differences in Style: From Saint Augustine to Pope John Paul

II. Accessed 5 January 2005. Available from

www.gustavus.edu/oncampus/academics/philosophy/beltz.html.

Bentham Jeremy. (1960). A Fragment on Government. Oxford: Basil Black Well.

Bower G. H. and Hilgard E R. (1981). Theories of learning. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Brown Raymond E., S.S., Fitzmyer Joseph A., S.J., Murphy Roland E., Carm O. eds. (1989). The

New Jerome Biblical Commentary. New Jersey: Prentice Hall.

Brown, W.B. and Moberg, D.J. (1980). Organization Theory and Management: Macro

Approach. New York: John Wiley and Sons.

Buber Martin. (1958). I and Thou. Edurburgh: T & T Clark.

Buckley Thomas W. (1980). Apostle to the Nations. Boston: St. Paul Editions.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

340

Chambell, D. T., and Stanley, J. C. (1963). Experimental and Quasi-Experimental Designs for

Research. London: Houghton Mifflin Company.

Christian Welzel and Ronald Inglehart. (2010). “Agency, Values, and Well-Being: A Human

Development Model.” Social Indicators Research 97, 1 (January): 43-63.

Clark Mary T., ed. (1972). An Aquinas Reader. Selections from the writings of Thomas

Aquinas. New York: A Division of Doubleday & Company, Inc.

Cleveland, H. and Jacobs, G. (1999). “Human Choice: the genetic code for social development.”

Futures 31, 9 (November): 959-970.

Conley John J. (1993). The Philosophical Foundations of the thought of John Paul II. Rome:

Gregorian University Press.

Copleston Frederick. (1973). Contemporary Philosophy. London: Newman Press.

Dantonel Jean Mary. (2001). Contemporary Western Philosophy. Nakhonpathom: Saengtham

College.

___________. (2002). Social and Political Philosophy. Nakhonpathom: Saengtham College.

David A. Kolb & L.H. Lewis H. (1986). Facilitating experiential learning : Observations and

reflections. San Francisco: Jossey Bass.

Dulles Avery. (1993). The Prophetic Humanism of John Paul II. n.p.

___________. (1995). John Paul II and the Truth about Freedom. Accessed 15 January 2005.

Available from www.firstthings.com/frissues/ft9508/articles/dulles.html.

___________. (2003). The Splendor of Faith. The Theological Vision of Pope John Paul II.

New York: The Crossroad Publishing Company.

Dupuis Jacques, ed. (1995). The Christian Faith: in the doctrinal documents of the catholic

church. New York: Alba House.

Elizabeth A. Stanton. (2007). “Inequality and The Human Development Index.” Ph.D. Dissertation,

The University of Massachusetts Amherst.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

341

Ernst van Koesveld. (2001). The Sustainable Human Development Model Potentials and Pitfalls.

Accessed 5 August 2555. Available from [email protected].

Flannery Austin, ed. (1965). The Documents of Vatican 2, Gaudium et Spes: Pastoral

Constitution on the Church in the Modern World. Grand Rapids Mich: Eerdmans.

___________. (1992). Vatican Council 2. The Conciliar and Post Conciliar Documents.

Indiana: The Liturgical Press.

Gabriel Marcel. (1949). Being and Having. Translated by Katharine Farrer. Westminster, UK:

Dacre Press.

___________. (1995). The Philosophy of Existentialism. Translated by Manya Harari. New York:

Carol Publishing Group.

___________. (1973). Tragic Wisdom and Beyond. Translated by Stephen Jolin and Peter

McCormick. Northwestern: Northwestern University Press.

Gagne, Robert Mills. (1974). Principles of instructional design. New York: Holt Rinchart and

Winston,Inc.

George J. Marlin. (2011). Man, the Social Animal. Accessed 5 August 2012. Available from

www.thecatholicthing.org/columns/2011/man-the-social-animal.html.

George J. Mouly. (1973). The Science of Educational Research. New York: Van Nostrand

Reinhold company.

Gratsch Edward J. (1985). Aquinas’ Summa, An Introduction and Interpretation. New York:

Alba Horse.

Gross National Happiness. (n.d.). Center of Bhutan Study. Accessed 10 September 2010

Available from http://www.bhutanstudies. org.bt/main/index.php.

G. H. Bower & E. R. Hilgard. (1981). Theories of learning. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Hastings Adrean. (1969). A Concise Guide to the Documents of the Second Vatican Council

vol. 2. London: Darton, Longman & Todd Ltd.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

342

James R. Gaines, ed. (1994). Time Person of the Year. Accessed 2 February 2556. Available from

http://en.wikipedia.org/wiki/Time_Person_of_the_Year.

James V. Schall (1997). The Pope on the Human Person. Accessed 5 August 2012. Available

from http://www.ratzingerfanclub.com/JPII/tributes.html

Jeffrey W. Mott. (2009). “The Role of Human and Social Capital in the Perpetuation of Leader

Development” Ph.D. Dissertation, The University of Massachusetts Amherst.

John Paul II, Pope. (1979). Redemptor Hominis. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1981). Familiaris Consortio. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1980). Dives in Misericordia. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1981). Laborem Exercens. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1984). Reconciltatio et Paenitentia. Washington: United States Catholic

Conference.

___________. (1984). Salvifici Doloris. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1986). Dominum et Vivificantem. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1987). Sollicitudo Rei Socialis. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1988). Christifideles Laici. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1991). Centesimus Annus. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1992). Fidei Depositum. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1993). Veritatis Splendor. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1994). Letter to Families. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1995). Evangelium Vitae. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1998). Fides et Ratio. Pasy City: Paulines Publishing House.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

343

J. Keeves, P. (1988). Educational Research Methodology, and Measurement: An International

Handbook. Oxford: Pergamon Press.

___________. (1988). “The Unity of Educational Research.” Interchange 19/1: 14 – 30.

John W. Wies and Joshep C. Bondi. (2011). Curriculum Development a Guide to Practice. 8 th

ed. Boston: Pearson.

Jones Arthur. (2005). “Thelogians See, Experience Downside To John Paul II’s Papacy”. Human

Development 31: 14 - 19.

Joseph Lee Cronbach (1970). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper and Row

Publishers.

Joyce, B. and Weil, M. (1996). Model of Teaching. 5 th ed.. Boston: Alyn and Bacon.

Katherine Feely. (n.d.). The Principle of Human Dignity. Accessed 5 August 2012. Available

from www.educationforjustice.org.

Kenneth J Zula. (2006). “The Development and Initial Assessment of an Instrument for Human

Capital Planning” Ph.D. Dissertation, The Pennsylvania State University.

Kevin E. Miller. (2011). “Mercy, Justice, and Politics: John Paul II on Capital Punishment.” Ph.D.

Dissertation, Marquette University.

Kupczak Jaroslaw. (1999). Destined for Liberty. Washington D.C.: The Catholic University of

America Press.

Levinas Emmanuel. (1969). Totallity and Infinity. Pittsburgh: Duquesne University.

Little Joyce. (1995). The Church and the Culture War. San Francisco: Ignatius Press.

Longman C. (2001). Longman Dictionary of Contemporary English. England: Clay.

Mahbub ul Haq. (1995). Reflections on Human Development. New York: Oxford University.

Mark Vernon. (2008). What is Wellbeing?. Accessed 20 February 2010. Available from

http://podularity.com/2008/10/03/19-what-is-wellbeing.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

344

Maritain Jacques. (1972). The Person and The Common Good. Notre Dame: University of Notre

Dame.

Mckenzie John L. (1976). A Theology of the Old Testament. New York: Doubleday &

Company.

McWilliam Dewart Joanne E. (1986). Death and Resurrection. Wilmington: Michael Glazier.

Medicine Review. (1998). Medical Section. Accessed 5 January 2005. Available from

www.biogate.com/100mag.htm.

Merleau Ponty Mourice. (1962). Phenomenology of Perception. London: Routeledge & Kegan

Paul.

Michelle L. Bodditt and others. (2000). Experiential Learning. Accessed 20 February 2013.

Available from http://www.mmaglobal.org/JAME-Archive/JAME-Winter-

2000/JAMEWinter2000.pdf.

Miller Michael J., ed. (1996). The Encyclicals of John Paul II. Indiana: Our Sunday Visitor, Inc.

Mouly, George J. (1973). The Science of Educational Research. New York: Van Nostrand

Reinhold company.

Mourant John A. (1964). Introduction to the Philosophy of Saint Augustine. Pennsylvania: The

Pennsylvania State University Press.

Peter A. Angeles. (1981). Dictionary of Philosophy. New York: Harper & Row Inc.

Peter C. Harman. (2010). “Towards a Theology of Suffering: The Contribution of Karol

Wojtyla/Pope John Paul II.” Ph.D. Dissertation, The Catholic University of America.

Rahner Karl. On the Theology of Death. Germany: Herder and Herder, 1969.

Rennie, W. H. (2003). The Role of Human Resource Management and the Human Resource

Professional in the New Economy. Pretoria: University of Pretoria.

Ricciotti Giuseppe. (n.d.). Paul The Apostle. Translated by Alba I. Zizzamia) Milwaukee: The

Bruce Publishing Company.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

345

Richardson Alan. (1972). An Introduction to the Theology of the New Testament. London:

SCM Press Ltd.

Richard Eckersley. (2005). What is Wellbeing, and What Promotes It?. Accessed 20 February

2010 Available from http://www.wellbeingmanifesto.net/wellbeing.htm.

Richard M. Rymarz. (2010). “Principles of the New Evangelization : Analysis and Direction.

Ph.D. Dissertation, Australian Catholic University.

Ricoeur Paul. (1965). History and Truth. Evanston: Northwestern University Press.

Robert Mills Gagne. (1974). Principles of Instructional Design. New York: Holt Rinchart and

Winston,Inc.

Roger Crisp. (2008). Well-Being. Accessed 20 February 2010. Available from

http://plato.stanford.edu/entries/well-being.

Schelkle Karl Hermann. (1971). Theology of the New Testament. Minnesota: The liturgical Press.

Schmiesing Kevin. (2003). A History of Personalism. Accessed 10 January 2005. Available

from www.acton.org/research/pubs/papers/history_personalism.html.

Schonborn Christoph. (1995). From Death to Life, The Christian Journey. San Francisco:

Ignaatius Press.

Stumpf Samuel Enoch, ed. (1989). Philosophy, History & Problems. Singapore: McGraw-Hill,

Inc.

Silvio J. Fonseca-Martinez. (2011). “Pope John Paul II’s Understanding of Education in Moral

Values and Its Application to Catholic Secondary Education in Present-Day Nicaragua.”

Ph.D. Dissertation, The Catholic University of America.

Taylor Michael J. (1974). The Mystery of Suffering and Death. New York: Garden city.

United Nations Development Programme. (2010). Human Development Reports 2010. Accessed

5 สิงหาคม 2556. Available from http://hdr.undp.org/en/.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

346

United Nations Development Programme (UNDP). (2010). Human Development Reports 2010.

Accessed 11 January 2011. Available from http://hdr.undp.org/en/.

Van de Kerk, Geurt and Mannel, A.R. (2008). “A Comprehensive Index for a Sustainable Society :

The SSI : the Sustainable Society Index.” Journal of Ecological Economics 66: 228–

242. Accessed 11 January 2011. Available from

http://www.sciencedirect.com/science/article/B6VDY ... 27bb4888810ee86b47bf.

Wansbrough Henry, ed. (1985). The New Jerusalem Bible. London: Cambridge University Press.

Weigel Gustave. (1961). Knowledge Its Values and Limits. Englewood Cliffs: N.J. Prentice Hall.

Weiss, C.H. (2004). Rooting for Evaluation. London: SAAG.

Willer David. (1967). Scientific Sociology: Theory and Method. New Jersey: Prentice Hall.

Wills Susan E. (1998). Pope John Paul II : Leading the Fight for Life. Accessed 10 January

2005. Available from www.nrlc.org/news/1998/nrl11.98/pope.html.

World Commission on Environment and Development (WCED. (1987). Our Common Future.

New York: Oxford University Press.

___________. (2000). Human Development Report 2000; Human Rights and Human

Development. New York: Oxford University Press.

World Health Organization (WHO). (1997). Measuring Quality of Life: The World Health

Organization Quality of Life Instruments. Geneva: World Health Organization.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

ภาคผนวก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

348

ภาคผนวก ก

รายนามผู้เช่ียวชาญตรวจ/ประเมนิเคร่ืองมอื/สัมภาษณ์/วพิากษ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

349

รายนามผู้เช่ียวชาญในการให้สัมภาษณ์ การตรวจคุณภาพเคร่ืองมอืการวิจัย และการวิพากษ์รูปแบบ

รายนามผู้เช่ียวชาญให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลกึ

ไดแ้ก่ คณะกรรมาธิการฝ่ายสังคม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย ซ่ึงมีรายนาม

ดงัต่อไปน้ี

1. ช่ือ – นามสกลุ มุขนายก บรรจง ไชยรา

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ประธานคณะกรรมาธิการฝ่ายสังคม/ประธานคณะกรรมการ

คาทอลิกเพ่ือการพฒันาสังคม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่ง

ประเทศไทย/ ประมุขสังฆมณฑลอุบลราชธานี

2. ช่ือ – นามสกลุ มุขนายก พิบูลย ์ วิสิฐนนทชยั

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสังคม สภา

พระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย/ ประมุขสังฆมณฑล

นครสวรรค ์

3. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงไพรัช ศรีประเสริฐ

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูช่้วยเลขาธิการสภาพระสังฆราชคาทอลิก ฝ่ายสังคม/

ผูอ้าํนวยการแผนกสุขภาพอนามยั กรรมการคาทอลิกเพ่ือการ

พฒันาสังคม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย

4. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงอนุชา ชาวแพรกนอ้ย

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูอ้าํนวยการแผนกพฒันาสังคม กรรมการคาทอลิกเพ่ือการพฒันาสังคม

สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย

5. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงประสิทธ์ิ รุจิรัตน์

ตาํแหน่งหนา้ท่ี รักษาการผูอ้าํนวยการแผนกกลุ่มชาติพนัธุ์ กรรมการคาทอลิกเพ่ือการ

พฒันาสังคม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

350

6. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวง ดร.วีรศกัด์ิ วนาโรจนสุ์วิช

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูอ้าํนวยการแผนกผูป้ระสบภยัและผูล้ี้ภยั กรรมการคาทอลิกเพ่ือการ

อภิบาลสังคม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย

7. ช่ือ – นามสกลุ Rev.Fr. John Patrick Murray

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูอ้าํนวยการแผนกผูอ้พยพยา้ยถิ ่นและผูถู้กคุมขงั/ผูอ้าํนวยการแผนกผู ้

ท่องเท่ียวและผูเ้ดินทะเล กรรมการคาทอลิกเพ่ือการอภิบาลสังคม สภา

พระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย

8. ช่ือ – นามสกลุ ภคินีศรีพิมพ ์ ซาเวียร์

ตาํแหน่งหนา้ท่ี รักษาการผูอ้าํนวยการแผนกสตรี กรรมการคาทอลิก

เพ่ือการพฒันาสังคม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย

9. ช่ือ – นามสกลุ อ.อจัฉรา สมแสงสรวง

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูอ้าํนวยการแผนกยติุธรรมและสันติ กรรมการคาทอลิกเพ่ือการพฒันา

สังคม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย

ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบผลการศึกษาเอกสาร

1. ช่ือ-นามสกุล บาทหลวง ดร. ออกสัติน สุกีโย ปิโตโย, เอส. เจ.

คุณวุฒิ Doctor of Philosophy (Ph.D) สาขาวิชาปรัชญา

สังคมและการเมือง

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อธิการเจา้คณะคณะเยสุอิต แขวงประเทศไทย

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นปรัชญาและศาสนา/ การศึกษาและ

เอกสารทางการของคริสตศ์าสนจกัร

2. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวง ดร. เชิดชัย เลิศจิตรเลขา

คุณวุฒิ Doctor of Philosophy (Ph.D) สาขาวิชาเทววิทยาดา้นศีลธรรม

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อธิการเจา้คณะคามิลเล่ียน แขวงประเทศไทย

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา/เทววิทยา และ

เอกสารทางการของคริสตศ์าสนจกัร

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

351

3. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวง ดร. ชาติชาย พงษศิ์ริ

คุณวุฒิ Doctor of Philosophy (Ph.D) สาขาวิชาบริหาร

การศึกษา

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อธิการบดี วิทยาลยัแสงธรรม

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นปรัชญา/ การบริหารการศึกษา

4. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงชีวิน สุวดินทร์กูร

คุณวุฒิ ศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาหลกัสูตรและการสอน

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูใ้หก้ารปรึกษาดา้นการพฒันาชีวิตดา้นจิตวิญญาณ

วิทยาลยัแสงธรรม

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการจดัอบรม/ผูใ้หก้ารปรึกษาดา้นการพฒันาชีวิต

ตามคาํสอนคริสตศ์าสนา

5. ช่ือ – นามสกลุ อาจารยอ์จัฉรา สมแสงทรวง

คุณวุฒิ Master of Science in Sociology Major in Sociology of

Development

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสันติ สภา

พระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการบริหารการพฒันา/ การวิจยัและ

การจดัอบรมดา้นการพฒันาของคริสตศ์าสนจกัร

ผู้เช่ียวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒติรวจประเมนิคุณภาพเคร่ืองมือ (แนวคาํถามเพ่ือการสัมภาษณ์เชิงลกึ)

1. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวง ดร. เชิดชัย เลิศจิตรเลขา

คุณวุฒิ Doctor of Philosophy (Ph.D) สาขาวิชาเทววิทยาดา้นศีลธรรม

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อธิการเจา้คณะคามิลเล่ียน แขวงประเทศไทย

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา/เทววิทยา และ

เอกสารทางการของคริสตศ์าสนจกัร

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

352

2. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวง ดร. ชาติชาย พงษศิ์ริ

คุณวุฒิ Doctor of Philosophy (Ph.D) สาขาวิชาบริหาร

การศึกษา

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อธิการบดี วิทยาลยัแสงธรรม

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นปรัชญา/ การบริหารการศึกษา

3. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวง ชีวนิ สุวดินทร์กูร

คุณวุฒิ ศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาหลกัสูตร

และการสอน

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูใ้หก้ารปรึกษาดา้นการพฒันาชีวิต

วิทยาลยัแสงธรรม

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการอบรมดา้นการพฒันาจิตวิญญาณ

ตามคาํสอนคริสตศ์าสนา การวดัผล/ประเมินผล

4. ช่ือ – นามสกลุ อาจารย ์ดร.ประทีป ฉตัรสุภางค ์

คุณวุฒิ ปรัชญาดุษฎีบณัฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาพฒันศึกษา

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูช่้วยคณบดีคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลยัมหิดล

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการศึกษา/ การวิจยัและประเมินผล

5. ช่ือ – นามสกลุ อาจารยอ์จัฉรา สมแสงทรวง

คุณวุฒิ Master of Science in Sociology Major in Sociology of

Development

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูอ้าํนวยการแผนกยุติธรรมและสันติ สภา

พระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการบริหารการพฒันา/ การวิจยัและ

การจดัอบรมดา้นการพฒันาของคริสตศ์าสนจกัร

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

353

รายนามผู้เช่ียวชาญในการวพิากษ์กรอบแนวคิดร่างรูปแบบ

กลุ่มผู้เช่ียวชาญด้านการบริหารหน่วยงานการพฒันามนุษย์

1. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงธรรมนูญ จินดาดุจสายชล

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ประธานคณะกรรมการฝ่ายงานสังคม/ ผูอ้าํนวยการศูนยส์ังคมพฒันา

สังฆมณฑลเชียงใหม ่

2. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงประสิทธ์ิ รุจิรัตน ์

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ประธานคณะกรรมาธิการฝ่ายสังคม / ผูอ้าํนวยการศูนยส์ังคมพฒันา

สังฆมณฑลราชบุรี

3. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงเฉลียว วาปีกงั

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ประธานคณะกรรมาธิการฝ่ายการฟ้ืนฟูสังคมมนุษย/์ ผูอ้าํนวยการศูนย์

สังคมพฒันา สังฆมณฑลนครราชสีมา

4. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงสุวฒัน์ เหลืองสอาด

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ประธานคณะกรรมาธิการฝ่ายสังคม/ ผูอ้าํนวยการศนูยส์ังคมพฒันา

สังฆมณฑลสุราษฎร์ธานี

กลุ่มนกัวิชาการด้านปรัชญา คําสอนคริสต์ศาสนาและการศึกษา

1. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา/เทววิทยาดา้นศีลธรรม

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อาจารยป์ระจาํสาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลยัแสงธรรม

2. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงชีวิน สุวดินทร์กูร

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการจดัอบรม/ผูใ้หก้ารปรึกษาดา้นการพฒันาชีวิตตามคาํ

สอนคริสตศ์าสนา

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูใ้หก้ารปรึกษาดา้นการพฒันาชีวติดา้นจิตวิญญาณ (จิตตาภิบาล)

วิทยาลยัแสงธรรม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

354

3. ช่ือ – นามสกลุ รศ.ดร. ประเวศ อินทองปาน

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นปรัชญาและศาสนา

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อาจารยป์ระจาํภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์ บางเขน

4. ช่ือ – นามสกลุ รศ.ดร. สุมาลี จนัทรชลอ

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการศึกษา/การวดัผล/ประเมินผล

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อาจารยป์ระจาํภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ

เทคโนโลยี มหาวิทยาลยัเทคโนโลยพีระจอมเกลา้ธนบุรี

รายนามผู้เช่ียวชาญในการประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบ

กลุ่มผู้เช่ียวชาญด้านการบริหารหน่วยงานการพฒันามนุษย์

1. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงธรรมนูญ จินดาดุจสายชล

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ประธานคณะกรรมการฝ่ายงานสังคม/ ผูอ้าํนวยการศูนยส์ังคมพฒันา

สังฆมณฑลเชียงใหม ่

2. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงประสิทธ์ิ รุจิรัตน ์

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ประธานคณะกรรมาธิการฝ่ายสังคม / ผูอ้าํนวยการศูนยส์ังคมพฒันา

สังฆมณฑลราชบุรี

3. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงสุวฒัน์ เหลืองสอาด

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ประธานคณะกรรมาธิการฝ่ายสังคม/ ผูอ้าํนวยการศนูยส์ังคมพฒันา

สังฆมณฑลสุราษฎร์ธานี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

355

กลุ่มผู้เช่ียวชาญด้านการจัดอบรมการพฒันาจิตวญิญาณตามคาํสอนคริสต์ศาสนา

1. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงชีวิน สุวดินทร์กูร

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูใ้หก้ารปรึกษาดา้นการพฒันาจิตวิญญาณ วิทยาลยัแสงธรรม

2. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงเจริญ ว่องประชานุกลู

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูใ้หก้ารปรึกษาดา้นการพฒันาจิตวิญญาณ วิทยาลยัแสงธรรม

3. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวง ผศ. สมชยั พิทยาพงศพ์ร

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูใ้หก้ารปรึกษาดา้นการพฒันาจิตวิญญาณ วิทยาลยัแสงธรรม

กลุ่มนักวิชาการด้านปรัชญา คาํสอนคริสต์ศาสนาและการศึกษา

1. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวง ดร.เชิดชัย เลิศจิตรเลขา

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา/เทววิทยาดา้นศีลธรรม

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อาจารยป์ระจาํสาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลยัแสงธรรม

2. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวง ดร.ชาติชาย พงษศิ์ริ

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการบริหารศึกษา

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อธิการบดีวิทยาลยัแสงธรรม

3. ช่ือ – นามสกลุ รศ.ดร. ประเวศ อินทองปาน

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นปรัชญาและศาสนา

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อาจารยป์ระจาํภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์ บางเขน

4. ช่ือ – นามสกลุ รศ.ดร. สุมาลี จนัทรชลอ

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการศึกษา/การวดัผล/ประเมินผล

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อาจารยป์ระจาํภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ

เทคโนโลยี มหาวิทยาลยัเทคโนโลยพีระจอมเกลา้ธนบุรี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

356

รายนามผู้เช่ียวชาญประเมนิคุณภาพคู่มือฯ และเคร่ืองมอืประเมนิการพฒันามนุษย์

1. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวง ดร.เชิดชยั เลิศจิตรเลขา

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา/เทววิทยาดา้นศีลธรรม

ตาํแหน่งหนา้ที ่ อาจารยป์ระจาํสาขาวิชาเทววิทยา คณะศาสนศาสตร์ วิทยาลยัแสงธรรม

2. ช่ือ – นามสกลุ บาทหลวงชีวิน สุวดินทร์กูร

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการจดัอบรมดา้นการพฒันาชีวติตามคาํสอนคริสตศ์าสนา

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูใ้หก้ารปรึกษาดา้นการพฒันาชีวติดา้นจิตวิญญาณ วิทยาลยัแสงธรรม

3. ช่ือ – นามสกลุ รศ.ดร. ประเวศ อินทองปาน

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นปรัชญาและศาสนา

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อาจารยป์ระจาํภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์ บางเขน

4. ช่ือ – นามสกลุ รศ.ดร. สุมาลี จนัทรชลอ

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการศึกษา/การวดัผล/ประเมินผล

ตาํแหน่งหนา้ท่ี อาจารยป์ระจาํภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ

เทคโนโลยี มหาวิทยาลยัเทคโนโลยพีระจอมเกลา้ธนบุรี

5. ช่ือ – นามสกลุ ผศ.ดร.วิลาสลกัษณ์ ขวัวลัลี

ความเช่ียวชาญ ผูเ้ช่ียวชาญดา้นการศึกษา/การวดัผล/ประเมินผล

ตาํแหน่งหนา้ท่ี ผูอ้าํนวยการสถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์

มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

ภาคผนวก ข

คู่มอืการใช้รูปแบบการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

358

คาํนํา

คู่มือการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

จดัทาํข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางการจัดอบรมตามรูปแบบการพฒันานมนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ซ่ึงเป็นกระบวนการอบรมเชิงปฏิบัติเพ่ือฟ้ืนฟูจิตใจบนพื้นฐานของ

การศึกษา ปรากฏการณ์ชีวิต และนาํคาํสอนคริสต์ศาสนามาไตร่ตรอง มุ่งให้ผูรั้บการอบรมไดค้น้พบ

รับรู้/ยอมรับและตดัสินใจเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิต เป็นการจดัอบรมท่ีใหค้วามสาํคญัต่อการ

จดับรรยากาศท่ีส่งเสริมใหผู้เ้ขา้รับการอบรมไดไ้ตร่ตรอง ทบทวนการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของ

ตน จึงประกอบด้วยสามขั้นตอนท่ีสําคญั ได้แก่ การทาํความเข้าใจปรากฏการณ์ การทบทวน

ไตร่ตรอง และการออกแบบเคร่ืองมือ/แนวปฏิบติั

อยา่งไรก็ตาม คู่มือฯ น้ีจดัทาํข้ึนเพ่ือนาํไปทดลองใชแ้ก่กลุ่มตวัอย่าง เพ่ือประเมินประสิทธิผล

ของรูปแบบฯ การนาํคู่มือฯ ไปใชจ้าํเป็นตอ้งใหค้วามสาํคญัต่อวิทยากรและกลุ่มผูเ้ขา้รับการอบรมท่ีมี

คุณสมบติัตามท่ีกาํหนด

ผูเ้ขียนขอขอบพระคุณคณาจารย ์ตลอดจนผูเ้ช่ียวชาญทุกท่านท่ีมีส่วนร่วมให้คาํแนะนาํจนทาํ

ใหคู้่มือการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 สาํเร็จ

ข้ึน แต่อย่างไรก็ตาม หากคู่มือเล่มน้ีมีขอ้ผิดพลาด บกพร่อง ผูว้ิจัยขอน้อมรับข้อเสนอแนะ เพ่ือการ

ปรับปรุงแกไ้ขใหส้มบูรณ์ยิง่ๆ ข้ึน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

359

สารบาญ

หนา้

คาํนาํ.............................................................................................................................................. ก

สารบาญ......................................................................................................................................... ข

ตอนท่ี 1 การจดัอบรมเพื่อการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ................... 1

หลกัการและเหตุผล.......................................................................................................... 1

วตัถุประสงคแ์ละกลุ่มเป้าหมาย........................................................................................ 3

กระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2............................... 4

รูปแบบการจดัอบรมเพื่อพฒันามนุษย.์............................................................................. 7

ตอนท่ี 2 แนวทางและแนวปฏิบติัในการจดัอบรม....................................................................... 11

ลกัษณะและแนวปฏิบติัในการจดัสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศการอบรม......................... 11

การดาํเนินการจดัอบรม.................................................................................................. 14

วิธีการจดัอบรม............................................................................................................ 15

ขั้นตอนการจดัอบรม......................................................................................... 16

แผนการจดัอบรม.............................................................................................. 17

หลกัสูตรการจดัอบรม......................................................................... 19

ตารางการจดัอบรม.............................................................................. 23

คุณลกัษณะและบทบาทของวิทยากร ผูเ้ขา้อบรมและผูเ้ก่ียวขอ้ง.................................... 30

ตอนท่ี 3 คู่มือวิทยากร................................................................................................................... 35

ขอ้ควรปฏิบติัก่อนดาํเนินการอบรม................................................................................ 35

แนวทางในการดาํเนินการ................................................................................................ 37

การจดับรรยากาศการอบรม.................................................................................. 37

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

360

หนา้

การจดัท่ีนัง่ การแบ่งกลุ่มและการดาํเนินการประชุมกลุ่ม.................................... 38 การจดัอบรมตามแผนการอบรม............................................................................ 39 เคร่ืองมือ/ส่ือท่ีใชป้ระกอบการจดัอบรม............................................................... 49 เคร่ืองมือสาํหรับประเมินการพฒันามนุษย.์.......................................................... 57

บรรณานุกรม................................................................................................................................... 62

ภาคผนวก : เอกสาร/กรณีศึกษา/ใบงาน/แบบบนัทึกและเคร่ืองมือประเมินการพฒันา ………...... 65

เอกสาร/กรณีศึกษา/ ใบงาน/ แบบบนัทึกฯ สาํหรับประกอบการจดัอบรมในวนัที 1...... 66

เอกสาร/กรณีศึกษา/ ใบงาน/แบบบนัทึกฯ สาํหรับประกอบการจดัอบรมในวนัท่ี 2...... 77

เอกสาร/กรณีศึกษา/ ใบงาน/แบบบนัทึกฯ สาํหรับประกอบการจดัอบรมในวนัท่ี 3...... 83

เอกสาร/กรณีศึกษา/ ใบงาน/แบบบนัทึกฯ สาํหรับประกอบการจดัอบรมในวนัท่ี 4...... 98

เอกสาร/กรณีศึกษา/ ใบงานแบบบนัทึกฯ สาํหรับประกอบการจดัอบรมในวนัท่ี 5....... 104

เอกสาร/กรณีศึกษา/ ใบงาน/แบบบนัทึกฯ สาํหรับประกอบการจดัอบรมในวนัท่ี 6...... 118

เคร่ืองมือประเมินการพฒันา.......................................................................................................... 126

แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ ........................... 126

เฉลยคาํตอบและแนวคาํตอบแบบวดัความรู้ฯ..................................................................... 141

แบบวดัเจตคติการใชเ้สรีภาพตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ 144

แนวคาํตอบแบบวดัเจตคติฯ............................................................................................. 147

แบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ…………... 151

แนวคาํตอบแบบวดัพฤติกรรมฯ....................................................................................... 154

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

361

คู่มอืการใช้รูปแบบการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

สําหรับใช้ประกอบการจดัอบรมเชิงปฏิบัตเิพือ่การฟ้ืนฟูจติใจฯ

คู่มือการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ใช้

สําหรับการจัดอบรมเชิงปฏิบัติเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามกระบวนทัศน์การพัฒนามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 สาํหรับนาํไปทดลองใชแ้ก่กลุ่มตวัอยา่ง ไดแ้ก่ นกัศึกษาสาขาวิชาปรัชญา

และศาสนา ชั้นปีท่ี 2 วิทยาลยัแสงธรรม โดยใชคู้่มือฯ ซ่ึงประกอบดว้ยสามตอน ไดแ้ก่ การจดัอบรม

เพ่ือการพฒันามนุษยฯ์ แนวทาง/แนวปฏิบติัในการจดัอบรม และคู่มือวิทยากร โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี

ตอนท่ี 1 การจดัอบรมเพือ่การพฒันามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

การจดัอบรมเพื่อการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ ประกอบดว้ยส่วน

ต่างๆ ไดแ้ก่ หลกัการและเหตุผล วตัถุประสงคแ์ละกลุ่มเป้าหมาย สาระสาํคญัของกระบวนทศัน์การ

พฒันามนุษยฯ์ และรูปแบบการจดัอบรมฯ ดงัน้ี

หลกัการและเหตุผล

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีหลกัการอยู่บน

ส่งเสริมสิทธิ เสรีภาพ บนพ้ืนฐานของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยต์ามคาํสอนคริสตศ์าสนา

โดยใช้การวิเคราะห์ปรากฏการณ์ชีวิต/สังคม และการไตร่ตรองความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิต

กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีพ้ืนฐานมาจากคาํสอน

คริสตศ์าสนา โดยใชป้รัชญาบุคคลนิยมมาอธิบายคุณค่า ความหมายของมนุษย ์ดว้ยการอธิบายว่ามนุษย์

มีพ้ืนฐานท่ีดีและศกัด์ิสิทธ์ิ เน่ืองจากพระเจา้ทรงสร้างให้เป็นภาพลกัษณ์ของพระองค์ (John Paul II,

1995: 34; 1987: 30; 1986: 37) ทาํใหม้นุษยมี์ลกัษณะพิเศษแตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ กล่าวคือ มนุษย์

เป็นบุคคล ลกัษณะพื้นฐานการเป็นบุคคลคือ ความสาํนึกต่อ เสรีภาพและใชเ้สรีภาพอยา่งถกูตอ้ง เต็มท่ี

ดว้ยความสาํนึก/รับผิดชอบในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์และ

สมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม ในบรรยากาศของสงัคมท่ีเคารพสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล เพ่ือส่งเสริมให้แต่

ละบุคคลมีใจท่ีเป็นอิสระ และใชเ้สรีภาพในตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนินชีวิตไปสู่

การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (John Paul II, 1995: 34; 1994: 8; 1987: 46, 47; 1984: 11, 37; 1981: 37)

อยา่งไรก็ตามสภาพสงัคมปัจจุบนั เต็มดว้ยกลไกและโครงสร้างท่ีเป็นอุปสรรคและเป็นภยัคุกคามชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

362

(John Paul II, 1987: 46) ตามค่านิยมท่ียดึวตัถุ โดยใชค้วามเจริญ/ความมัง่คัง่ทางเศรษฐกิจเป็นตวัช้ีวดั

การพฒันา แทนท่ีมนุษยจ์ะร่วมมือกนัในการพฒันาชีวิตและสังคม มนุษยก์ลบัเบียดเบียน แข่งขนัเพ่ือ

แยง่ชิง เอารัดเอาเปรียบกนัเพ่ือผลประโยชน์ดา้นวตัถุ ส่งผลให้ประสบวิกฤติการณ์พฒันาในรูปแบบ

ต่างๆ ในสงัคม (John Paul II, 1980: 11; 1979: 2, 12)

ดงันั้น จึงมีความจาํเป็นท่ีมนุษยต์อ้งเปล่ียนแปลงเจตคติ (กลบัใจ) จากความเคยชินตามกระแส

สงัคมท่ีเต็มดว้ยกลไกและโครงสร้างท่ีเป็นอุปสรรคและเป็นภยัคุกคามชีวิต ไปสู่การดาํเนินชีวิตดว้ย

ความสาํนึกและรับผิดชอบต่อการใชเ้สรีภาพอย่างถูกต้อง สอดคลอ้งกบัความจริงของชีวิต ร่วมกัน

รับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิต ให้ความสาํคัญต่อการมีความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้นดว้ยการปฏิบัติความรัก

เมตตาแบบท่ีพระเจา้ทรงรัก (Agape) ดว้ยความเคารพในคุณค่าความเป็นบุคคลของตนเองและผูอ่ื้น

เร่ิมต้นในครอบครัว ชุมชน/สังคม ในบริบทของส่ิงแวดลอ้มท่ีสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา อนัเป็น

คุณลกัษณะของสงัคมท่ีสมาชิกมีการดาํเนินชีวิตร่วมกนัแบบหมู่คณะท่ีมุ่งส่งเสริมและพฒันามนุษยสู่์

ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (John Paul II, 1995: 34; 1994: 8; 1991: 43, 46; 1984: 11, 37; 1981: 37)

โดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ (เยาวชน) ซ่ึงเป็นอนาคตของสังคม ให้มีแนวทางและภูมิคุม้กนัในการ

ดาํเนินชีวิตในสงัคม

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะเป็น

กระบวนการฟ้ืนฟจิูตใจ โดยใชก้ารจดัอบรมเชิงปฏิบติั ภายใตส้ภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศของความเป็น

หน่ึงเดียวกันในการปฏิบติัความรัก/เคารพสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล เพ่ือให้ผูรั้บการอบรมได้

ไตร่ตรอง ทบทวนชีวิต ดว้ยการ “ฟัง” เสียงภายในจิตใจของแต่ละบุคคลเก่ียวกบัการใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิต เพ่ือมุ่งไปสู่การคน้พบ รับรู้/ยอมรับ และตัดสินใจเปล่ียนแปลง/พฒันาสภาพชีวิตดว้ย

ตนเอง ใหแ้ต่ละบุคคล ซ่ึงมีพ้ืนฐานอยูบ่นสภาวะดั้ งเดิมท่ีดีงาม ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้

แต่ถกูบดบงั/บิดเบือนดว้ยการยดึมัน่ ถือมัน่ตามค่านิยมท่ีลดทอนคุณค่ามนุษยใ์หเ้ป็นเพียงแค่วตัถุ สสาร

ส่งผลใหบุ้คคลมีเจคติคติท่ีลดทอนคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเองและคนอ่ืน โดยยดึตนเองเป็นศนูยก์ลาง จน

ทาํใหมี้การละเลย ละเมิด/เบียดเบียนคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้มอยู่เสมอ ไปสู่การปรับเปล่ียนเจตคติ (กลบั

ใจ) อย่างต่อเน่ือง ให้ความสาํคัญต่อการมีความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้นดว้ยการปฏิบัติความรักเมตตา ดว้ย

ความเคารพในคุณค่าความเป็นบุคคลของตนเองและผูอ่ื้น รวมถึงการเสริมสร้างอตัลกัษณ์ส่วนบุคคล

ตามบริบทของประวติัศาสตร์ วฒันธรรม อนัเป็นคุณค่าและมรดก ท่ีหล่อหลอมมนุษยใ์ห้พฒันาชีวิตใน

บริบทส่ิงแวดลอ้มท่ีสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา เพ่ือมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้) ซ่ึง

เป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันาชีวิตมนุษยต์ามคาํสอนคริสตศ์าสนา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

363

วตัถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ มีเป้าหมายสูงสุด คือ การเป็นบุคคล

ท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้ในพระเจา้) ซ่ึงเป็นพระกรุณาของพระเจา้ท่ีประทานแก่มนุษย ์(John Paul II,

1995: 2, 34; 1987: 29; 1986: 37) บทบาทของมนุษย ์คือ การมีความสาํนึกในสิทธิ และใชเ้สรีภาพใน

การตอบรับแนวทางของพระเจา้ ดว้ย “การกลบัใจ” หรือการเปล่ียนแปลงเจตคติอย่างต่อเน่ือง จากการ

ดาํเนินชีวิตดว้ยการใชเ้สรีภาพท่ียึดตนเองเป็นศูนยก์ลาง ไปสู่การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ ยอมรับคุณค่า

ศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ซ่ึงเป็นกระบวนการท่ีต่อเน่ือง ต้องใช้เวลาและครอบคลุมตลอดชีวิต

นอกจากนั้น การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ใหค้วามสาํคญัต่อ

การเสริมสร้างคนรุ่นใหม่ (เยาวชน) ให้มีความสาํนึกรับผิดชอบต่อเสรีภาพ และใชเ้สรีภาพอย่าง

ถูกต้อง เต็มท่ี ในการดาํเนินชีวิตร่วมกับคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์และสมดุลกับ

ส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลใชเ้สรีภาพในการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนิน

ชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ดว้ยการเปล่ียนแปลงเจคติการดาํเนินชีวิตอย่างต่อเน่ืองของบุคคล

โดยใชก้ารจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจ โดยมีวตัถุประสงค์เพ่ือพฒันาศกัยภาพผูเ้ขา้รับการ

อบรมตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

อย่างไรก็ตาม เพ่ือความสะดวกในการศึกษาและการประเมินผลการใช้รูปแบบฯ ตาม

วตัถุประสงคข์องการวิจยั จึงกาํหนดเป็นกรณีศึกษา ดว้ยการจดัอบรมแก่เยาวชนท่ีมีความรู้พ้ืนฐานดา้น

คาํสอนคริสตศ์าสนา มีพ้ืนฐานการคิดวิเคราะห์เชิงปรัชญา และมีความสนใจเขา้รับการอบรมการพฒันา

ชีวิตตามคาํสอนคริสตศ์าสนา โดยกาํหนดขอบเขตประชากรเป็นนกัศึกษาวิทยาลยัแสงธรรม ภาคเรียนท่ี

2 ปีการศึกษา 2556 ท่ีผ่านการศึกษาในสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลยัแสงธรรม ตั้ งแต่ 1 ปี

การศึกษาข้ึนไป โดยใช้ระยะเวลาการจดัอบรมจาํนวน 6 วนั (48 ชัว่โมง) ด้วยกระบวนการอบรม

เสริมสร้างความรู้ เจตคติและทกัษะท่ีนาํไปสู่การมีความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของบุคคล

ตามเจตคติการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ เพ่ือพฒันาบุคคลให้เกิดการเปล่ียนแปลงเจตคติ

อยา่งต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ ดงันั้น จึงกาํหนดวตัถุประสงค์

และกลุ่มเป้าหมาย ดงัน้ี

วตัถุประสงค์ :

1. เพ่ือใหผู้เ้ขา้รับการอบรมไดเ้สริมสร้างความรู้เก่ียวกบักระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2. เพ่ือใหผู้เ้ขา้รับการอบรมมีเจตคติการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ตามกระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

364

3. เพ่ือใหผู้เ้ขา้รับการอบรมมีพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติ ตาม

กระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

กลุ่มเป้าหมาย :

นกัศึกษาสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา ชั้นปีท่ี 4 วิทยาลยัแสงธรรม ภาคเรียนท่ี 2 ปี

การศึกษา 2556 จาํนวน 25 คน

กระบวนทัศน์การพฒันามนุษย์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงวิเคราะห์ปรากฏการณ์การพฒันามนุษย ์ โดยใชค้าํสอน

คริสต์ศาสนาเป็นแนวทางในการพฒันา ทรงยืนยนัคาํสอนคริสต์ศาสนาว่ามนุษยเ์ป็นส่ิงประเสริฐ มี

ศกัยภาพท่ีจะบรรลุถึงความจริง มนุษยมี์พ้ืนฐานท่ีดีและศกัด์ิสิทธ์ิ เน่ืองจากพระเจา้ทรงสร้างให้เป็น

ภาพลกัษณ์ของพระองค ์ (John Paul II, 1995: 34; 1987: 30; 1986: 37; 1979: 9) ทาํใหม้นุษยมี์ลกัษณะ

พิเศษแตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ กล่าวคือ มนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีมีเสรีภาพบนพ้ืนฐานของความรู้สาํนึก ใน

การตอบรับแนวทางของพระเจา้ ดว้ยการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพศกัด์ิศรีของตนเองและคนอ่ืน ในบริบท

ของสงัคม บนหลกัความรักเมตตาตามแบบพระเจา้ (John Paul II, 181 : 17; 1979: 15) การให้คุณค่า

ชีวิตเป็นคุณค่าสูงสุด โดยบูรณการทุกมิติของมนุษย ์ทั้งดา้นเศรษฐกิจ สงัคม วฒันธรรมและจิตใจ การ

ส่งเสริมโอกาส คุณภาพชีวิตและความเสมอภาคของบุคคล การคาํนึงถึงความสมดุลระหว่างวิทยาการ

และศีลธรรม ส่งเสริมให้ทุกคน ทุกภาคส่วนร่วมกันสร้างสรรค์สังคมท่ีให้ความเคารพและปกป้อง

ศกัด์ิศรีและเสรีภาพของมนุษย ์ เพ่ือเสริมสร้างความสัมพนัธ์แห่งความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัของ

มนุษยชาติ (John Paul II, 1995: 28; 1991: 29, 36, 47; 1987: 26, 29, 33, 38; 1981: 22; 1979: 13, 15)

ดงันั้น จึงมีความจาํเป็นท่ีแต่ละบุคคลตอ้งหมัน่ไตร่ตรอง ทบทวนปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิต

และสงัคม เพ่ือวิเคราะห์สภาพ/รูปแบบการดาํเนินชีวิต นาํสู่การกาํหนดแนวทางการพฒันาตนเองอย่าง

ต่อเน่ือง โดยมีความเช่ือศรัทธาในศาสนาเป็นภูมิคุม้กนั ภายใตบ้รรยากาศท่ีส่งเสริมการเคารพยอมรับ

สิทธิและเสรีภาพของบุคคล เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคล ซ่ึงมีพ้ืนฐานอยูบ่นสภาวะดั้ งเดิมท่ีดีงาม ในฐานะเป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ แต่ถกูบดบงั/บิดเบือนดว้ยการยดึมัน่ ถือมัน่ตามค่านิยมท่ีลดทอนคุณค่ามนุษย์

ใหเ้ป็นเพียงแค่วตัถุ สสาร ส่งผลใหบุ้คคลมีเจคติคติท่ีลดทอนคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเองและคนอ่ืน โดย

ยดึตนเองเป็นศนูยก์ลาง จนทาํใหมี้การละเลย ละเมิด/เบียดเบียนคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้มอยูเ่สมอ (ค่านิยม

แห่งความตาย) ไปสู่การปรับเปล่ียนเจตคติอยา่งต่อเน่ือง ใหค้วามสาํคญัต่อการมีความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น

ดว้ยการปฏิบติัความรักเมตตา ดว้ยความเคารพในคุณค่าความเป็นบุคคลของตนเองและผูอ่ื้น รวมถึง

การเสริมสร้างอตัลกัษณ์ส่วนบุคคล ตามบริบทของประวติัศาสตร์ วฒันธรรม อนัเป็นคุณค่าและมรดก ท่ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

365

หล่อหลอมมนุษยใ์ห้พฒันาชีวิตในบริบทส่ิงแวดลอ้มท่ีสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา (วฒันธรรมแห่ง

ชีวิต) ส่งผลใหเ้กิดสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศของสงัคมท่ีเอ้ืออาํนวยให้มนุษยพ์ฒันาวุฒิภาวะไดเ้ต็มท่ี

เป็นสงัคมท่ีสมาชิกในสงัคมอยูร่่วมกนัดว้ยเจตคติของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล เป็นสังคมท่ี

แต่ละบุคคลตอ้งร่วมกนัสรรสร้างสังคม ให้เป็นสังคมของบุคคล ให้เป็นสังคมแห่งความยุติธรรมและ

สนัติ ท่ีสมาชิกดาํเนินชีวิตดว้ยจิตสาํนึกของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของตนเองและ

ผูอ่ื้น (John Paul II, 1987: 46, 47) เพ่ือมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้) ซ่ึงเป็นเป้าหมาย

สูงสุดของการพฒันาชีวิตมนุษยต์ามคาํสอนคริสตศ์าสนา

ทั้งน้ีสรุปกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ เป็นแผนภาพได ้ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

366

การใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตที่เคารพ

ตนเอง/ คนอื่น/

สิ่งแวดลอ้ม/พระเจา้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

367

รูปแบบการจดัอบรมเพือ่พฒันามนุษย์

การจดัอบรมเพ่ือการพฒันามนุษยต์ามรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปาฯ มีหลกัการอยูบ่นการเสริมสร้างบุคคลตามคาํสอนคริสตศ์าสนา ดว้ยกระบวนการฟ้ืนฟู

จิตใจเพ่ือใหเ้กิดการคน้พบ การรับรู้/ยอมรับสภาพ นาํสู่การตดัสินใจเปล่ียนรูปแบบการดาํเนินชีวิต

จากการยดึความพึงพอใจ/ประโยชน์ส่วนตวั เป็นศูนยก์ลางในการดาํเนินชีวิต ไปสู่ดาํเนินชีวิตบน

พ้ืนฐานของความสาํนึกรับผดิชอบต่อเสรีภาพ และใชเ้สรีภาพอยา่งถกูตอ้ง เต็มท่ี ในการดาํเนินชีวิต

ร่วมกบัคนอ่ืนอยา่งเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์และสมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือให้แต่ละบุคคลใช้

เสรีภาพในการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

โดยใชก้ระบวนการอบรมท่ีมุ่งส่งเสริมใหผู้เ้ขา้รับการอบรมไดไ้ตร่ตรอง ทบทวนการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิต โดยการศึกษาปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิต/สังคม เพ่ือให้เกิดการท้าทาย/ต่ืนตัว

จากนั้นนาํสู่การไตร่ตรอง ทบทวนชีวิตดว้ยหลกัคาํสอนของศาสนา เพ่ือใหบุ้คคลมีความพร้อม หรือ

อยู่ในสภาวะท่ีจะตอบรับแนวทาง/พระพรของพระ ท่ีจะนาํไปสู่การปรับเปล่ียนเจตคติ ด้วยการ

ออกแบบเคร่ืองมือ/วิถีชีวิตบนพ้ืนฐานของเจตคติการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคลอย่างสอดคลอ้ง

เหมาะสมและสมดุลกบัสถานภาพของชีวิต เพ่ือกาํหนดแนวทางการพฒันาตนเองอย่างต่อเน่ือง ดว้ย

ตวัผูเ้ขา้รับการอบรมเอง

ดงันั้น การจดัอบรมจึงมีลกัษณะเป็นการอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามรูปแบบการ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีมุ่งให้ผูรั้บการอบรมได้

ค้นพบ รับรู้/ยอมรับและตัดสินใจเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิต เป็นการจัดอบรมท่ีให้

ความสาํคญัต่อการจดับรรยากาศท่ีส่งเสริมใหผู้เ้ขา้รับการอบรมไดไ้ตร่ตรอง ทบทวนการใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิตของตน จึงประกอบดว้ยสามขั้นตอนท่ีสาํคญั ไดแ้ก่

1. การทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์

ขั้นตอนน้ี การศึกษาเชิงวิเคราะห์ เพ่ือทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์/ความเป็นจริงของชีวิต

และสงัคม ดว้ยการศึกษากรณีท่ีเกิดข้ึนในสงัคมเพ่ือเปิดมุมมอง ศึกษา ทาํความเขา้ใจในรายละเอียด

ของปรากฏการณ์เก่ียวกบัคุณค่า/ความหมายของชีวิต

2. การทบทวน ไตร่ตรอง

ขั้นตอนน้ี เป็นการไตร่ตรองปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึน เนน้การพิจารณาชีวิต/การฟังเสียง

ภายในจิตใจ/จิตวิญญาณ ภายใตบ้รรยากาศท่ีสงบเงียบและการรําพึงภาวนา เพ่ือการรู้จกั เขา้ใจและ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

368

รับรู้ตนเองเก่ียวกบัการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของบุคคลว่าใชค่้านิยมหรือคุณค่าอะไรเป็น

หลกัในการดาํเนินชีวิต

3. การออกแบบเคร่ืองมือ/แนวปฏิบติั

ขั้นตอนน้ี เป็นการกาํหนดข้อตั้ งใจ หรือแนวปฏิบติัท่ีแสดงถึงความมุ่งมัน่ ตั้ งใจท่ีจะ

“การกลบัใจ” หรือการเปล่ียนแปลงเจตคติจากการดาํเนินชีวิตจากการยึดตนเองเป็นศูนยก์ลาง ตาม

ความเคยชินตามกระแสทาํลายชีวิต ไปสู่การดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้ ดว้ยจิตใจท่ี

เคารพ ยอมรับ ภูมิใจและรับผดิชอบในสิทธิและเสรีภาพ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล ดว้ย

การเสริมสร้างความสมัพนัธก์บัคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้มอยา่ง เหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลกบัการ

เป็นบุคคล

ทั้งน้ี การจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เร่ิมตน้ดว้ยการจดัสภาพแวดลอ้มให้มีบรรยากาศของของการดาํเนิน

ชีวิตแบบหมู่คณะ ท่ีทุกคนมี/ปฏิบติัความรักเมตตาและสาํนึกถึงความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัในการ

เคารพยอมรับสิทธิและเสรีภาพของบุคคล จากนั้ นจึงนําสู่การดําเนินการตามรูปแบบ ซ่ึง

ประกอบด้วยหลกัการ เป้าหมาย จุดหมาย กระบวนการ เง่ือนไข/ปัจจยัการใช้รูปแบบ และการ

ประเมินการพฒันา สรุปเป็นตาราง ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

369

องคป์ระกอบ รายละเอียด

1. หลกัการ การเสริมสร้างบุคคลใหส้าํนึกรับผดิชอบต่อเสรีภาพ/ใชเ้สรีภาพอยา่งถกูตอ้งเต็มท่ี

ในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอยา่งเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์/สมดุลกบั

ส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลใชเ้สรีภาพตอบรับแนวทางของพระเจา้ในการ

ดาํเนินชีวติไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

2. เป้าหมาย การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ หรือความรอดพน้ในพระเจา้ ซ่ึงเป็นพระกรุณาของพระ

เจา้ท่ีประทานแก่มนุษย ์

3. จุดหมาย 1. เพ่ือเสริมสร้างความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของบุคคล ตาม

เจตคติการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

2. เพ่ือพฒันาบุคคลใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอยา่งต่อเน่ืองในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

4. กระบวนการ 1. การคน้พบสภาพชีวติ

1.1 เปิดมุมมอง

1.2 ต่ืนตวั

1.3 ทาํความเขา้ใจ

2. การรับรู้/ยอมรับ

2.1 สงัเกต/รับรู้ความรู้สึก

2.2 ทบทวนไตร่ตรองชีวิต

2.3 รับรู้/ยอมรับตวัตน

3. การตดัสินใจ

3.1 สาํนึกตน

3.2 ตอบรับพระเจา้

3.3 เปล่ียนพฤติกรรม

วิธีการ 1. การอบรมความรู้/

เจตคติ

2. การฝึกปฏิบติัการ

ไตร่ตรองชีวิต

3. การแบ่งปัน/

แลกเปล่ียนเรียนรู้

ขั้นตอน

1.ทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์

1.1 ศึกษาแนวคิด

1.2 สมัผสัชีวิต

1.3 วิเคราะห์เชิงลึก

2. ไตร่ตรองจิตใจ

2.1 สาํรวจความรู้สึก

2.2 รําพึงพระวาจา

2.3 ฟังเสียงภายใน

3. ออกแบบขอ้ปฏิบติั

3.1 เปิดใจ

3.2 มุ่งมัน่/ตั้งใจ

3.3 หาขอ้ปฏิบติั

5.

เง่ือนไข 1. วิทยากรมีจิตตารมย/์ เป็นแบบอยา่ง

2. ผูเ้ขา้รับการอบรม มีพ้ืนฐาน/มีวินยัและความมุ่งมัน่

3. ผูเ้ก่ียวขอ้งตระหนกั/ ส่งเสริม/มีการดาํเนินชีวิตร่วมกนัเป็นหมู่คณะ

ปัจจยั บรรยากาศท่ีเคารพ ยอมรับสิทธิ เสรีภาพ ไวว้างใจและมีส่วนร่วม

6. การประเมิน 1. ความรู้ : กระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ

2. เจตคติ : การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ คุณค่าศกัด์ิศรีบุคคล

3. พฤติกรรม : การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยฯ์

โดยสรุปความสมัพนัธข์ององคป์ระกอบต่างๆ ของรูปแบบ เป็นแผนภาพ ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

370

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

แผนภาพท่ี 7 รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

หลักการ : การเสริมสร้างบุคคลให้สํานึกรับผิดชอบต่อเสรีภาพ/ใช้เสรีภาพอย่างถูกตอ้งเต็มท่ี ในการ

ดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอยา่งเหมาะสม ในบริบทอตัลกัษณ์/สมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม เพื่อให้แต่

ละบุคคลใชเ้สรีภาพตอบรับแนวทางของพระเจา้ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

เป้าหมาย : บุคคลท่ีสมบูรณ์

เงื่อนไข การประเมิน

วิทยากรมีจิตตารมย/์ เป็น

แบบอย่าง

1. ความรู้ : กระบวนทศันก์ารพฒันามนุษย์

ของพระสันตะปาปาฯ

2. เจตคติ : การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

ท่ีเคารพสิทธิ เสรีภาพ คุณค่าศกัด์ิศรีบุคคล

3. พฤติกรรม : การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

ผู้เข้ารับการอบรม มีพ้ืนฐาน/มีวินยั

และความมุ่งมัน่

ผู้เกีย่วข้อง ตระหนกั/ ส่งเสริม/

ดาํเนินชีวิตร่วมกนัเป็นหมู่คณะ

ปัจจัย : บรรยากาศท่ีเคารพ ยอมรับสิทธิ เสรีภาพ ไวว้างใจและมีส่วนร่วม

จุดหมาย : 1. เพื่อเสริมสร้างความสํานึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของบุคคล ตาม

เจตคติการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

2. เพื่อพฒันาบุคคลใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอยา่งต่อเน่ืองในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

สภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศของสังคมท่ีเป็นหน่ึงเดียวกนัในการปฏิบติัความรัก/เคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

กระบวนการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

371

ตอนที่ 2 แนวทางและแนวปฏิบัตใินการจดัอบรม

การจัดอบรมเพ่ือพฒันามนุษยต์ามรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นการจดัอบรมภายใตส้ภาพแวดลอ้มท่ีมีบรรยากาศท่ีส่งเสริมการ

ฟ้ืนฟจิูตใจ บนพ้ืนฐานของกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ โดยมีรายละเอียด

ดงัน้ี

ลกัษณะและแนวปฏิบัตใินการจดัสภาพแวดล้อม/บรรยากาศการอบรม

การจดัอบรมเชิงปฏิบัติเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามกระบวนทัศน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เร่ิมตน้ดว้ยการจัดสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศท่ีเอ้ืออาํนวยให้แต่ละ

บุคคลสามารถพฒันาชีวิตของตนไดเ้ต็มท่ี ดว้ยการจดัสภาพแวดลอ้มในลกัษณะเป็น “สังคมของ

บุคคล” (John Paul II 1987 : 46, 1979 : 16) ซ่ึงเป็นบรรยากาศของของการดาํเนินชีวิตแบบหมู่

คณะ ท่ีทุกคนมี/ปฏิบติัความรักเมตตาและสาํนึกถึงความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัในการเคารพยอมรับ

สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมีรายละเอียดในการอธิบายและแนวปฏิบติัในการจดัสภาพแวดลอ้ม/

บรรยากาศของการจดัอบรม ดงัน้ี

1. ลกัษณะของสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศของการจดัอบรม

การจดัการอบรมจาํเป็นตอ้งเร่ิมตน้ดว้ยการจดัสภาพแวดลอ้มในการอบรมใหมี้ลกัษณะ

เป็นหมู่คณะ/ชุมชนของบุคคลตาม “วฒันธรรมแห่งชีวิต” (John Paul II, 1995: 23) ท่ียกย่องคุณค่า

ความเป็นมนุษยเ์ป็นคุณค่าสูงสุด การจดัสภาพแวดลอ้มการอบรม ตอ้งจดับรรยากาศของท่ีทาํใหผู้รั้บ

การอบรมตระหนกัถึงคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเองและคนอ่ืน ใหผู้เ้ขา้รับการอบรมทุก

คนรู้สึกเป็นอิสระ ไดรั้บการเคารพ ยอมรับ ให้เกียรติและเป็นส่วนหน่ึงของการจัดอบรม เพ่ือ

ส่งเสริมใหแ้ต่ละคนเป็นตวัของตวัเอง สาํนึกในสิทธิและหน้าของตนอย่างครบถว้น (John Paul II,

1987: 46) ทุกคนสาํนึกถึงการมีส่วนร่วมในการจดัการอบรม บนพ้ืนฐานของการเคารพ คุณค่าและ

ศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษย ์ เพ่ือให้แต่ละบุคคลใชเ้สรีภาพดว้ยใจอิสระในการตอบรับพระพร/

แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (John Paul II, 1995: 28; 1991:

29, 36, 47; 1987: 26, 29, 33, 38, 47; 1981: 22; 1979: 13, 15) ในบรรยากาศของการจดัอบรมท่ี

เคารพสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล เพ่ือส่งเสริมให้แต่ละบุคคลมีใจท่ีเป็นอิสระ และใชเ้สรีภาพใน

ตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจ้า ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ด้วยการ

เปล่ียนแปลงเจคติการดาํเนินชีวิตอย่างต่อเน่ืองของบุคคล พึงระมดัระวงัการจดัสวสัดิการท่ีเกิน

พอดี ท่ีเนน้แต่เพียงการส่งเสริมดา้นวตัถุ กายภาพ จนละเลยคุณค่าฝ่ายจิต (John Paul II, 1991: 48)

ในลกัษณะของการส่งเสริมการอยากมี อยากได ้ตอบสนองความตอ้งการในระดบัสญัชาติญาณ ตาม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

372

กระแสบริโภคนิยม และปัจเจกนิยม จนทาํให้ผูรั้บการอบรมขาดความกระตือรือร้น ละเลยการ

พฒันาคุณภาพชีวิตและขาดความรับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิตท่ีพึงมีต่อตนเองและสังคม รวมทั้ ง

การพฒันาคุณค่าฝ่ายจิต ท่ีมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ซ่ึงเป็นความดีของบุคคลอนัเป็นเป้าหมาย

สูงสุดของการพฒันาชีวิต

ดงันั้น การจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 จึงต้องมีการวางแผนการดาํเนินงานอย่างเป็นระบบ ให้

ความสาํคญัต่อการมีส่วนร่วมของผูเ้ก่ียวขอ้งในการดาํเนินการทุกขั้นตอน โดยประยุกต์วิธีการท่ี

เหมาะสมกบัสภาพ/ภูมิหลงับุคคล/กลุ่มบุคคล โดยมีกาํหนดการ/ตารางเวลาและขอ้ตกลงในการ

ปฏิบติัท่ีเหมาะสม ในการจดัสภาพแวดลอ้มท่ีช่วยใหเ้กิดความสงบภายในจิตใจของผูรั้บการอบรม

เพ่ือเปิดโอกาส/พ้ืนท่ีใหมี้การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ในลกัษณะของการมีส่วนร่วม การเป็นอิสระ การ

เคารพ ความไวว้างใจกนั ความสงบ มัน่คงและปลอดภยั เพ่ือเสริมสร้างความสงบของจิตใจ ใน

การรําพึงขอ้ความจากพระคมัภีร์และการอธิษฐานภาวนา ดว้ยความสาํนึกถึงการประทบัอยู่ของพระ

เจา้ในชีวิตของแต่ละบุคคล เพ่ือ “ฟังเสียงภายในจิตใจ” หรือเป็นการฟัง “พระวาจาของพระเจา้” ท่ี

ตรัสเรียกแต่ละบุคคล เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลไดมี้ความสมัพนัธส่์วนบุคคลกบัพระเจา้ ดว้ยการตอบรับ

พระเมตตาและความรักของพระเจา้ในชีวิตของบุคคล โดยมีลกัษณะสาํคญั ดงัน้ี

1.1 บรรยากาศของการมีความสมัพนัธท่ี์ดี มีความเป็นมิตร ปราศจากความหวาดกลวั

หวาดระแวง ระหว่างวิทยากรกบัผูรั้บการอบรม และระหว่างผูรั้บการอบรมดว้ยกนั โดยมีขอ้ตกลง

หรือกติกาท่ีเป็นแนวปฏิบติับนพ้ืนฐานของการเคารพ ยอมรับสิทธิ เสรีภาพของบุคคล

1.2 บรรยากาศท่ีส่งเสริมการแบ่งปัน/แลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ส่วนบุคคล

ระหว่างผูเ้ขา้อบรมกบัผูเ้ช่ียวชาญ/วิทยากรและระหว่างผูรั้บการอบรมดว้ยกนั ดว้ยความสมคัรใจ บน

ความสาํนึกรับผดิชอบ ความมุ่งมัน่และการมีวุฒิภาวะของผูรั้บการอบรม

1.3 บรรยากาศท่ีไม่กดดนัโดยลดกิจกรรมท่ีตอ้งมีการแข่งขนัเพ่ือให้ เกิดผลแพ ้ชนะ

หรือการเป็นท่ีหน่ึงเหนือผูอ่ื้น แต่ส่งเสริมใหทุ้กคนมีโอกาสไดแ้สดงออกเท่าเทียมกนัและไดรั้บการ

ยกยอ่งเหมือนกนั โดยปราศจากการวิพากษว์ิจารณ์การแสดงความคิดเห็นต่างๆ ของผูรั้บการอบรม

1.4 บรรยากาศท่ีส่งเสริมให้ผูรั้บการอบรมมีระบบและระเบียบวินัยบนความสาํนึก

รับผิดชอบในการไตร่ตรองชีวิตของตน รู้จกัควบคุมเอาใจใส่ ไม่ปล่อยตัวตามความพึงพอใจ

ส่วนตวั เพ่ือจะไดใ้ชเ้วลาในการเขา้ร่วมรับการอบรมอยา่งจริงจงั

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

373

1.5 บรรยากาศของความเป็นเจา้ของ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู้

การทาํให้ผูรั้บการอบรมรู้สึกว่าการจัดอบรมน้ี เป็นการจัดอบรมโดยพวกเขาเอง ทุกคนต่างมี

ความสาํคญั มีบทบาทหนา้ท่ีในการจดัอบรม

2. แนวทางการจดัสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศการอบรม

การจดัอบรมใหมี้สภาพแวดลอ้มท่ีนาํสู่บรรยากาศของการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของ

บุคคล ให้แต่ละบุคคลมีใจท่ีเป็นอิสระ และใชเ้สรีภาพในตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ใน

การดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ดว้ยการเปล่ียนแปลงเจคติการดาํเนินชีวิตอยา่งต่อเน่ือง

ของบุคคล จึงมีแนวทางปฏิบติัท่ีเก่ียวขอ้งต่อการเสริมสร้างบรรยากาศของการจดัอบรม ไดแ้ก่

2.1 ดา้นบุคคลและความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคล

บุคคลท่ีเก่ียวขอ้งในการอบรม ทั้งผูจ้ดัการอบรม วิทยากร ผูรั้บการอบรม รวมถึง

ผูป้กครอง/ผูดู้แล/ผูบ้งัคบับญัชาของผูรั้บการอบรม ตอ้งร่วมกนัเสริมสร้างบรรยากาศของการมี

ความสมัพนัธท่ี์ดีต่อกนั ใหค้วามเป็นกนัเอง เร่ิมตน้ดว้ยการส่ือสารท่ีดี ทั้งการใชว้าจา ภาษา ท่าทาง

และการปฏิบติัดว้ยความเคารพ ให้เกียรติกนั พึงระมดัระวงัการช้ีนาํท่ีส่งผลให้ผูรั้บการอบรมขาด

อิสระ จนเกิดบรรยากาศของความตึงเครียด การบงัคบัข่มขู่ ทาํให้ผูรั้บการอบรมอยู่ในภาวะความ

กดดนัจนไม่เป็นตวัของตวัเองในการเขา้ร่วมกระบวนการจดัอบรม ควรมีการนิเทศเพ่ือให้เกิด

ความเขา้ใจแก่ผูเ้ก่ียวขอ้ง ทั้งในส่วนของผูรั้บการอบรมและผูป้กครอง/ผูดู้แล/ผูบ้งัคบับญัชาของผูรั้บ

การท่ีเก่ียวขอ้งในชีวิตของผูรั้บการอบรม ให้รับทราบถึงหลกัการและแนวปฏิบติัของการจดัอบรม

เพ่ือใหเ้กิดความเขา้ใจและนาํสู่การปฏิบติัร่วมกนั

ในกรณีท่ีผูป้กครอง/ผูดู้แล/ผูบ้งัคบับญัชามีความสนใจเขา้ร่วมสังเกตการณ์ ให้

พิจารณาสาเหตุ/แรงจูงใจ เป็นกรณีๆ และควรจดันิเทศเพิ่มเติม เพ่ือเขา้ใจบทบาทและการปฏิบติัตน

ท่ีมุ่งใหผู้รั้บการอบรมรู้สึกกดดนั ในการเขา้รับการอบรม

2.2 ดา้นสถานท่ี/ส่ือ/วสัดุอุปกรณ์ในการจดัอบรม

สถานท่ีในการจดัอบรม ควรมีสภาพแวดลอ้มท่ีสงบ มีบรรยากาศท่ีร่มร่ืนด้วย

สภาพแวดลอ้มท่ีสดช่ืน เป็นธรรมชาติ สะอาด เรียบร้อย สบายตา มีสถานท่ี วสัดุ อุปกรณ์และอาณา

บริเวณท่ีเหมาะสม เพียงพอต่อการจัดกิจกรรมกลุ่ม/ประชุมกลุ่ม และการรําพึง ไตร่ตรอง/พบปะ

ส่วนบุคคล รวมทั้งมีศาสนสถาน (วดั/โบสถ)์ ในบริเวณการจดัอบรม รวมถึงการจดัเตรียมหนังสือ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

374

พระคมัภีร์ และหนงัสือเสริมสร้างความศรัทธา/หนงัสือคาํสอนของศาสนา เพ่ือใหผู้รั้บการอบรมได้

ใชอ่้านประกอบ

2.3 ดา้นตารางเวลา/กาํหนดการ/ขอ้ปฏิบติัในการอบรม

ตารางเวลา/กาํหนดการ/ขอ้ปฏิบติัในการอบรม ควรมีการทาํความเขา้ใจและตกลง

ร่วมกนัระหว่างวิทยากรและผูรั้บการอบรม พึงระวงัการจดัตารางเวลา/กาํหนดการหรือขอ้ปฏิบติัท่ีมี

รายละเอียดมากจนเกินไป ส่งผลให้เกิดบรรยากาศท่ีตึงเครียด หรือภาวะกดดนั อย่างไรก็ตาม ควร

เนน้ใหผู้รั้บการอบรมปฏิบติัตนในเร่ืองการตรงเวลา และงดการใชอุ้ปกรณ์ส่ือสาร หรือการทาํธุรกิจ/

ธุรกรรมต่างๆ ท่ีไม่เก่ียวขอ้งกบักิจกรรมการอบรม ซ่ึงจะทาํให้เกิดความไม่สงบ และขาดสมาธิแก่

ผูรั้บการอบรม ควรให้ผูเ้ขา้อบรมมีส่วนร่วมกนัในการกาํหนดตารางเวลาในรายละเอียด รวมถึง

ขอ้ตกลง ขอ้ปฏิบติัในการอบรม เพ่ือส่งเสริมบรรยากาศของการมีส่วนร่วมในทุกมิติ ทุกขั้นตอน

การดําเนินการจดัอบรม

การอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามรูปแบบการพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นการจัดอบรมเพ่ือเสริมสร้างความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใช้เสรีภาพของ

บุคคล เพ่ือนาํสู่การเปล่ียนแปลงเจตคติอยา่งต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์ ดว้ยการเสริมสร้างความรู้ เจตคติและพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต ตาม

กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีจะนาํสู่การพฒันาบุคคลให้

เกิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอย่างต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

เป็นกระบวนการจดัอบรมฟ้ืนฟจิูตใจซ่ึงประกอบดว้ยกระบวนการท่ีต่อเน่ืองในสามขั้นตอนท่ีสาํคญั

ดงัน้ี

1. การคน้พบสภาพชีวิต หมายถึง การเปิดใจในการพิจารณา/ไตร่ตรองปรากฏการณ์ท่ี

เกิดข้ึนในชีวิตและสงัคมอยา่งละเอียด ในทุกมิติ เพ่ือนาํสู่การคน้พบรูปแบบการใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตของบุคคล

2. การรับรู้/ยอมรับ หมายถึง สภาวะทางจิตใจท่ีรับรู้และเปิดใจท่ีจะยอมรับผลการพิจารณา/

ไตร่ตรองรูปแบบการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของบุคคล

3. การตดัสินใจเปล่ียนแปลง หมายถึง การตดัสินใจเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิต

จากการใชเ้สรีภาพในการปฏิเสธพระเจา้ และการยึดตนเอง (ตวัตน/ปัจเจก) เป็นศูนยก์ลางในการ

ดาํเนินชีวิต ไปสู่การใชเ้สรีภาพตอบรับแนวทางของพระเจา้อยู่เสมอ ดว้ยการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

375

สิทธิ เสรีภาพ ด้วยความสํานึก/รับผิดชอบในการดาํเนินชีวิตร่วมกับคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ใน

บริบทอตัลกัษณ์บุคคลและความสมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม

ทั้งน้ี การฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือมุ่งไปสู่

การคน้พบ รับรู้/ยอมรับและการตดัสินใจเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิตประกอบดว้ย วิธีการ

ขั้นตอน และแผนการจดัอบรม ดงัน้ี

วธิีการจดัอบรม

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ใช้

กระบวนการอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจ ซ่ึงเป็นวิธีการจดัอบรมท่ีนิยมใชใ้นการฝึกปฏิบติั

ฝ่ายจิตวิญญาณทั้งแบบกลุ่มและแบบส่วนบุคคลของผูน้ับถือคริสต์ศาสนา ภายใตก้ารแนะนาํของ

วิทยากรซ่ึงมีความเช่ียวชาญในการใหค้าํปรึกษาดา้นการพฒันาจิตวิญญาณ ในบรรยากาศของความ

สงบ สมาธิ การมีส่วนร่วม การเป็นอิสระ การเคารพ และความไวว้างใจกนั เพ่ือช่วยใหผู้เ้ขา้รับการ

อบรมไดไ้ตร่ตรอง ทบทวนชีวิตดว้ยการภาวนา การรําไตร่ตรอง/ศึกษาขอ้ความจากพระคมัภีร์ การ

ร่วมพิธีกรรม และการแลกเปล่ียนประสบการณ์ชีวิตกบัผูแ้นะนาํดา้นจิตวิญญาณ เพ่ือใหผู้เ้ขา้รับการ

อบรมไดส้าํนึกและไตร่ตรองเจตคติการดาํเนินชีวิตของตนเอง ความสัมพนัธ์กบัพระเจา้และคนอ่ืน

และหาแนวปฏิบัติของชีวิตเพ่ือการพฒันา/เปล่ียนแปลงเจตคติการดาํเนินชีวิตดว้ยตนเอง โดยมี

วิธีการปฏิบติัเป็นสามส่วนท่ีต่อเน่ืองกนั ไดแ้ก่

1. การอบรมเสริมสร้างความรู้ เจตคติและการไตร่ตรอง ทบทวนชีวิต เป็นการนาํเสนอ

สาระความรู้/ความเขา้ใจเก่ียวกบัคุณค่า ความหมายชีวิตตามคาํสอนคริสต์ศาสนาและกระบวนทศัน์

การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ในลกัษณะการแบ่งปันประสบการณ์และ

การเสริมสร้างบรรยากาศของความเคารพและไวว้างใจกัน ทั้งในรูปแบบการสัมผสัชีวิต การ

บรรยาย การอภิปราย กรณีศึกษา การสานเสวนา การประชุมกลุ่ม การศึกษาเอกสาร ฯลฯ รวมถึง

การจดักิจกรรมกลุ่มสมัพนัธ ์ เพ่ือเสริมสร้างบรรยากาศของการมีความสมัพนัธท่ี์ดีต่อกนั

2. การฝึกปฏิบัติการไตร่ตรองชีวิต เป็นการฝึกปฏิบติัทั้ งแบบกลุ่มและแบบส่วนบุคคล

เพ่ือใหผู้รั้บการอบรมไดไ้ตร่ตรอง ทบทวนชีวิตดว้ยความสงบ มีสมาธิ อาศยัการภาวนา การร่วม

พิธีกรรม การทาํสมาธิ การไตร่ตรองข้อความจากพระคมัภีร์ สาระสาํคญัของการฝึกปฏิบติัการ

ไตร่ตรองชีวิต คือ ความสาํนึกถึงความดีงาม (พระเจา้) ท่ีมีอยูใ่นจิตใจของแต่ละคน และ “ฟัง” เสียง

ภายในจิตใจเก่ียวกบัชีวิต

3. การพบปะ/แลกเปล่ียนเรียนรู้กบัวิทยากร/ผูเ้ช่ียวชาญ เป็นการแบ่งปันเร่ืองราวท่ีไดรั้บ

จากการอบรมและการฝึกปฏิบัติ ด้วยการเล่าเร่ือง/ข้อค้นพบเก่ียวกับชีวิตของตนแก่วิทยากร /

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

376

ผูเ้ช่ียวชาญ เพ่ือร่วมกันเรียนรู้และสะท้อนความรู้สึกนึกคิดท่ีมีต่อข้อค้นพบนั้ น การพบปะ /

แลกเปล่ียนเรียนรู้น้ี เป็นการร่วมกนัติดตาม/ประเมินขอ้คน้พบ ระหว่างผูรั้บการอบรมและวิทยากร/

ผูเ้ช่ียวชาญในลกัษณะการแบ่งปัน แลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์

ขั้นตอนการจดัอบรม

การจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีมุ่งให้ผูรั้บการอบรมไดค้น้พบ รับรู้/ยอมรับและตดัสินใจ

เปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิต เป็นการจัดอบรมท่ีให้ความสําคัญต่อการจัดบรรยากาศท่ี

ส่งเสริมให้ผูเ้ขา้รับการอบรมได้ไตร่ตรอง ทบทวนการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของตน จึง

ประกอบดว้ยสามขั้นตอนท่ีสาํคญั ไดแ้ก่

1. การทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์

ขั้นตอนน้ี การศึกษาเชิงวิเคราะห์ เพ่ือทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์/ความเป็นจริงของชีวิต

และสงัคม ไม่ใช่แค่การสงัเกต แต่เป็นการศึกษาวิเคราะห์เชิงลึกของปรากฏการณ์เฉพาะเจาะจง เป็น

รูปธรรมท่ีเกิดข้ึนจริงในสงัคม ดว้ยการลงไปสมัผสัหรือพิจารณาในรายละเอียด ทุกมิติ ดว้ยวิธีการ

ต่างๆ ตามสภาพของบุคคล เพ่ือใหเ้ปิดตวัพิจารณาปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนซ่ึงเก่ียวขอ้ง เช่ือมโยงกบั

ชีวิต เพ่ือใหเ้กิดการต่ืนตวัหรือถกูทา้ทายจากปรากฏการณ์

ดงันั้น ขั้นตอนแรก คือ การทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ จึงมีลกัษณะเป็นการเปิดมุมมอง

เฉพาะปรากฏการณ์/ส่ิงท่ีเกิดข้ึนกบัตนเอง ไปสู่ปรากฏการณ์ของบุคคล/สังคมท่ีเกิดข้ึน เพ่ือเปิด

มุมมอง ศึกษา ทาํความเขา้ใจในรายละเอียดของปรากฏการณ์เก่ียวกบัคุณค่า/ความหมายของชีวิต

2. การทบทวน ไตร่ตรอง

ขั้นตอนน้ี เป็นการไตร่ตรองปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึน มีลกัษณะเป็นการกระตุน้ให้มีการ

พิจารณา/สาํรวจความรู้สึกภายในจิตใจของบุคคลท่ีไดรั้บการทา้ทายจากปรากฏการณ์ชีวิต/สังคม

เนน้การฟังเสียงภายในจิตใจ/จิตวิญญาณ ภายใตบ้รรยากาศท่ีสงบเงียบและการรําพึงภาวนา เพ่ือการ

รู้จกั เขา้ใจและรับรู้ตนเองตามสภาพชีวิตท่ีเป็นจริง โดยปราศจากการปรุงแต่ง หรือความพยายามท่ี

จะหาเหตุผลในการคิด วิเคราะห์ดว้ยสมอง แต่ใชใ้จ (หัวใจ ไม่ใช่หัวสมอง) ใคร่ครวญ ตรึกตรอง

และฟังเสียงภายในใจของแต่ละบุคคลเก่ียวกบัแนวทาง/รูปแบบการดาํเนินชีวิต เพ่ือรู้จกัและเขา้ใจ

ตนเองอยา่งลึกซ้ึง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

377

ดงันั้น ขั้นตอนท่ีสอง คือ การทบทวน ไตร่ตรอง ดว้ยใจท่ีใคร่ครวญ จึงมีลกัษณะเป็น

การ “ฟังเสียงภายในจิตใจ” อาศยัหลกัธรรมคาํสอนของศาสนา โดยเฉพาะขอ้ความจากพระคมัภีร์

เพ่ือพิจารณา รู้จกัและรับรู้สภาพชีวิตของบุคคล ตามดว้ยขอ้คิดท่ีไดรั้บจากการรําพึงหลกัธรรมคาํ

สอน/พระคมัภีร์ของศาสนา การใชเ้วลาเพ่ือฟังเสียงภายในจิตใจ พิจารณาดว้ยความสงบในจิตสาํนึก

ต่อสิทธิและการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของบุคคลว่าใชค่้านิยมหรือคุณค่าอะไรเป็นหลกัใน

การดาํเนินชีวิต

3. การออกแบบเคร่ืองมือ/แนวทางปฏิบติั/วิถีชีวิต

ขั้นตอนน้ี เป็นการส่งเสริมใหผู้รั้บการอบรมการออกแบบเคร่ืองมือหรือกาํหนดแนวทาง

ท่ีเหมาะสมและเป็นไปไดใ้นการปฏิบติัท่ีสอดคลอ้งกบัสภาพบุคคล/กลุ่มบุคคลดว้ยตนเอง เพ่ือนาํสู่

การปรับเปล่ียนเจตคติการดาํเนินชีวิตของบุคคล

ดงันั้น ขั้นตอนท่ีสาม คือ การออกแบบเคร่ืองมือ/แนวทางปฏิบติั/วิถีชีวิต จึงมีลกัษณะ

เป็น “การออกแบบแนวปฏิบติั” เพ่ือพฒันาชีวิต/พฤติกรรม อนัแสดงถึงความมุ่งมัน่และการนาํไป

ปฏิบติัในชีวิตประจาํวนัดว้ยความตั้ งใจท่ีมุ่งมัน่ท่ีจะลด ละ เลิกพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม ซ่ึงเป็น

“การกลบัใจ” หรือการเปล่ียนแปลงเจตคติเพ่ือกลบัไปสู่การมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ ดว้ยความ

สาํนึก/สมัผสัพระเมตตาและความรักท่ีพระเจา้ทรงมีต่อแต่ละบุคคล เพ่ือให้บุคคลตอบรับพระเจา้

ดว้ยการเปล่ียนแปลงชีวิตจากการดาํเนินชีวิตดว้ยความเคยชินตามกระแสทาํลายชีวิต ไปสู่การดาํเนิน

ชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจ้า ดว้ยจิตใจท่ีเคารพ ยอมรับ ภูมิใจและรับผิดชอบในสิทธิและ

เสรีภาพ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล ด้วยการเสริมสร้างความสัมพนัธ์กับคนอ่ืนและ

ส่ิงแวดลอ้มอยา่ง เหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลกบัการเป็นบุคคล มีความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้นดว้ย

การปฏิบติัความรักเมตตาแบบท่ีพระเจา้ทรงรัก (Agape) กล่าวคือ การส่งเสริมความดี บนพ้ืนฐาน

ของความเคารพต่อคุณค่าความเป็นบุคคลของตนเองและผูอ่ื้น เพ่ือมุ่งไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

(ความรอดพน้) ในพระเจา้

แผนการจดัอบรม

การจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจ เพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอย่างต่อเน่ือง

ในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ ยอมรับคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ดว้ยกระบวนการคน้พบ ยอมรับ

และการตดัสินใจเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิต โดยใชก้ารอบรมเสริมสร้างความรู้ เจตคติและ

การไตร่ตรอง ทบทวนชีวิต การฝึกปฏิบติัการไตร่ตรองชีวิต การพบปะ/แลกเปล่ียนเรียนรู้กับ

วิทยากร/ผูเ้ช่ียวชาญ ใหค้วามสาํคญัต่อการเสริมสร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม การเป็นอิสระ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

378

การเคารพ และความไวว้างใจกนับนพ้ืนฐานของการมีปฏิสัมพนัธ์ท่ีดีระหว่างวิทยากรกบัผูเ้ขา้รับ

การอบรมและระหว่างผูรั้บการอบรมดว้ยกนั ซ่ึงจาํเป็นตอ้งมีการวางแผนการดาํเนินงานอย่างเป็น

ระบบ โดยใหค้วามสาํคญัต่อการมีส่วนร่วมของผูเ้ก่ียวขอ้งในการดาํเนินการทุกขั้นตอน รวมถึงการ

มีจิตตารมยข์องการเสริมสร้างบุคคลเป็นพ้ืนฐาน มุ่งสู่ดาํเนินงานท่ียึดเป้าหมายเป็นหลกั การจดั

สาระความรู้และวิธีการท่ีเหมาะสม สอดคลอ้งและมีความเป็นไปไดใ้นบุคคล/กลุ่มบุคคล หรือพ้ืนท่ี

ในการทาํงาน โดยพิจารณาเป็นรายกรณี มีโครงการ/กิจกรรมมารองรับอยา่งเหมาะสมกบัสภาพ/ภูมิ

หลงับุคคล/กลุ่มบุคคล รวมถึงการกาํหนดตารางเวลาท่ีปรับเปล่ียนไดเ้สมอ เพ่ือเปิดโอกาส/พ้ืนท่ี

ให้ผูรั้บการอบรมได้ไตร่ตรองสิทธิ เสรีภาพในการดําเนินชีวิต อาศัยกระบวนการพิจารณา

ปรากฏการณ์ การทบทวน/ไตร่ตรอง เพ่ือการออกแบบชีวิต ในลกัษณะของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ในบรรยากาศของการมีส่วนร่วม การเป็นอิสระ การเคารพ ความไวว้างใจกนั บนพ้ืนฐานของความ

สงบของจิตใจ เพ่ือการรําพึงขอ้ความจากพระคมัภีร์และการอธิษฐานภาวนา ดว้ยความสาํนึกถึงการ

ประทบัอยูข่องพระเจา้ในชีวิตของแต่ละบุคคล เป็นการฟัง “พระวาจาของพระเจา้” ท่ีตรัสเรียกแต่ละ

บุคคล ใหก้ลบัมาสู่ภาวะของการตอบรับพระเมตตาและความรักของพระเจา้ในชีวิตของบุคคล โดยมี

การแลกเปล่ียนเรียนรู้/แบ่งปันประสบการณ์ส่วนบุคคลระหว่างผูเ้ขา้อบรมกบัผูเ้ช่ียวชาญ/วิทยากร

ดว้ยความสมคัรใจของผูรั้บการอบรม

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปาฯ มีเป้าหมายสูงสุด คือ

การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้ในพระเจ้า) ซ่ึงเป็นพระกรุณาของพระเจา้ท่ีประทานแก่

มนุษย ์(John Paul II, 1995: 2, 34; 1987: 29; 1986: 37) บทบาทของมนุษย ์คือ การมีความสาํนึกใน

สิทธิ และใชเ้สรีภาพในการตอบรับแนวทางของพระเจา้ ดว้ย “การกลบัใจ” หรือการเปล่ียนแปลง

เจตคติอยา่งต่อเน่ือง จากการดาํเนินชีวิตดว้ยการใชเ้สรีภาพท่ียดึตนเองเป็นศนูยก์ลาง ไปสู่การดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพ ยอมรับคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ซ่ึงเป็นกระบวนการท่ีต่อเน่ือง ตอ้งใชเ้วลาและ

ครอบคลุมตลอดชีวิต

อยา่งไรก็ตาม เพ่ือความสะดวกในการศึกษาและการประเมินผลการใชรู้ปแบบฯ จึงกาํหนด

เป็นกรณีศึกษา ดว้ยการจดัอบรมแก่เยาวชนท่ีมีความรู้พ้ืนฐานดา้นคาํสอนคริสต์ศาสนา มีพ้ืนฐาน

การคิดวิเคราะห์เชิงปรัชญา และมีความสนใจเข้ารับการอบรมการพฒันาชีวิตตามคาํสอนคริสต์

ศาสนา โดยกาํหนดขอบเขตประชากรเป็นนักศึกษาวิทยาลยัแสงธรรม ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา

2556 ท่ีผา่นการศึกษาในสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลยัแสงธรรม ตั้งแต่ 1 ปีการศึกษาข้ึนไป

โดยใชร้ะยะเวลาการจดัอบรมจาํนวน 6 วนั (48 ชัว่โมง) ดว้ยกระบวนการอบรมเสริมสร้างความรู้

เจตคติท่ีนาํไปสู่การดาํเนินชีวิตดว้ยความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของบุคคลตามเจตคติ

การเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ เพ่ือพฒันาบุคคลให้เกิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอย่าง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

379

ต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ โดยกาํหนดหลกัสูตรและ

กาํหนดการจดัอบรม ดงัน้ี

หลกัสูตรการจดัอบรม

การจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีหลกัสูตรการจดัอบรมโดยแบ่งเป็นสามขั้นตอน ดงัน้ี

ขั้นตอนที่ 1 การทําความเข้าใจปรากฏการณ์

ระยะเวลา : 16 ชัว่โมง

จุดประสงค์ :

1. เพ่ือเสริมสร้างผูรั้บการอบรมใหมี้ความรู้/ ความเขา้ใจกระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2. เพ่ือพฒันาผูรั้บการอบรมใหมี้ความสามารถในการทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ชีวติและ

สงัคม

เนือ้หาสาระ : มนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

แนวทางการดําเนินการ : ในขั้นตอนการทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ เป็นการเสริมสร้างความรู้/

ความเขา้ใจกระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ และการจัดให้ผูเ้ขา้รับการอบรมได้

พิจารณาปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสังคม บนพ้ืนฐานของแนวคิดการพฒันา /การดาํเนินชีวิตตาม

ค่านิยมท่ีสาํคญัของสังคมปัจจุบนัท่ีนาํเสนอผ่านทางส่ือต่างๆ โดยยกกรณีมาศึกษาในรายละเอียด

เก่ียวกบัปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึน ในลกัษณะของการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ในบรรยากาศของการมีส่วน

ร่วม การเป็นอิสระ การเคารพ และความไวว้างใจกนั

เคร่ืองมอื/ส่ือที่ใช้

1. เอกสาร “มนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2”

2. ข่าวจากส่ือส่ิงพิมพ ์สาํหรับใชเ้ป็นกรณีศึกษาปรากฏการณ์การใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตร่วมกบัผูอ่ื้น/สงัคม และการดาํเนินชีวิตร่วมกบัส่ิงแวดลอ้ม อยา่งละ 2 กรณี

3. ใบงาน

4. แบบบนัทึกการประชุมกลุ่ม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

380

5. แบบบนัทึกการเขา้ร่วมอบรมฯ

6. Power Point สรุปสาระ

การประเมนิผล : ประเมินความรู้/ความเขา้ใจและการแยกแยะปรากฏการณ์ชีวติ โดยพจิารณาจาก

การแบ่งปัน/แบบบนัทึกการประชุมกลุ่ม และแบบบนัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการเขา้อบรมฯ

ขั้นตอนที่ 2 การทบทวน ไตร่ตรอง

ระยะเวลา : 16 ชัว่โมง

จุดประสงค์ :

1. เพ่ือเสริมสร้างผูรั้บการอบรมใหมี้ความรู้/ ความเขา้ใจแนวคิดเร่ืองการพฒันามนุษยใ์น

กระแสโลกาภิวฒัน ์

2. เพ่ือพฒันาผูรั้บการอบรมใหมี้ความสามารถในการไตร่ตรอง แยกแยะปรากฏการณ์ชีวิต

เนือ้หาสาระ : การพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ : การวิพากษก์ารพฒันา ตามกระบวนทศันข์อง

พระสนัตะปาปายอห์ ปอล ท่ี 2”

แนวทางการดําเนินการ : ในขั้นตอนการไตร่ตรอง แยกแยะ เป็นการเสริมสร้างความรู้/ความเขา้ใจ

แนวคิดการพฒันาตามกระแสโลกาภิวฒัน์ ตามการวิพากษข์องพระสันตะปาปาฯ การทาํการเขา้ใจ

ปรากฏการณ์โดยใชก้รณีศึกษา ท่ีนาํไปสู่การไตร่ตรองจิตใจของผูรั้บการอบรมดว้ยการฟังเสียง

ภายในจิตใจของตนเอง เป็นการพิจารณา/สาํรวจความรู้สึกภายในจิตใจของบุคคลท่ีไดรั้บการทา้ทาย

จากปรากฏการณ์ชีวิต/สังคม โดยใช้หลักธรรมคาํสอน/ข้อความจากพระคัมภีร์ในการรําพึง

ไตร่ตรอง เน้นการฟังเสียงภายในจิตใจ/จิตวิญญาณ ภายใตบ้รรยากาศท่ีสงบเงียบและการรําพึง

ภาวนา เพ่ือการรู้จกั เขา้ใจและยอมรับตนเองตามสภาพชีวิตท่ีเป็นจริง ขั้นตอนน้ี ถือเป็นขั้นตอน

สาํคญั ท่ีจะใหช่้วยใหผู้เ้ขา้รับการอบรมไดส้าํรวจ พิจารณา เพ่ือรู้จกัและยอมรับตนเองดว้ยความรู้สึก

ภายในจิตใจ พึงระมดัระวงัการช้ีนาํหรือการกระตุน้ใหคิ้ดวิเคราะห์ดว้ยเหตุผล ท่ีเขา้มาปรุงแต่ง จน

บิดเบือนหรือกลบความรู้สึกภายในจิตใจ

เคร่ืองมอื/ส่ือทีใ่ช้ :

1. เอกสาร “การพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ : การวิพากษก์ารพฒันาตามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2”

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

381

2. ข่าวจากส่ือส่ิงพิมพ ์สาํหรับใชเ้ป็นกรณีศึกษาปรากฏการณ์การใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้และการเคารพคุณค่าชีวติของตนเอง อยา่งละ 2 กรณี

3. พระคมัภีร์คริสตศ์าสนา (พระวรสาร)

4. รูปภาพ/วีดีทศัน์ท่ีส่ือถึงการดาํเนินชีวิตตามกระแสการทาํลายชีวิต

5. ใบงาน

6. แบบบนัทึกการประชุมกลุ่ม

7. แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการเขา้อบรมฯ

8. Power Point สรุปสาระ

การประเมนิผล : ประเมินความรู้ ความเขา้ใจและการแยกแยะ/ไตร่ตรอง โดยพิจารณาจากการ

แบ่งปัน/แบบบนัทึกการประชุมกลุ่ม แบบบนัทึกการไตร่ตรองและการออกแบบชีวิต

ขั้นตอนที่ 3 การออกแบบเคร่ืองมอื/แนวปฏิบัต/ิวถิีชีวติ

จุดประสงค์ :

1. เพ่ือเสริมสร้างผูรั้บการอบรมใหมี้ความรู้/ ความเขา้ใจค่านิยมการดาํเนินชีวิตตามกระแส

การทาํลายชีวิตและคุณค่าการดาํเนินชีวติตามวฒันธรรมส่งเสริมชีวิต

2. เพ่ือเสริมสร้างผูรั้บการอบรมให้มีเจตคติในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์

ระยะเวลา : 16 ชัว่โมง

เนือ้หาสาระ : แนวทางการพฒันามนุษยไ์ปสู่การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีมนุษย ์ตาม

กระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

แนวทางการดําเนินการ : ในขั้นตอนการออกแบบเคร่ืองมือ/วิถีชีวิต มีลกัษณะเป็น “การออกแบบ

แนวปฏิบติั” ดว้ยการเสริมสร้างความรู้/ความเขา้ใจกระบวนทศัน์การพฒันามนุษย ์และการพิจารณา

การดาํเนินชีวิตของพระสันตะปาปาฯ ซ่ึงเป็นบุคคลแบบอย่างของการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นบุคคล เพ่ือเป็นแบบอย่างให้ผูรั้บการอบรมได้ออกแบบแนวปฏิบัติ ในการ

เปล่ียนแปลง/พฒันาการดาํเนินชีวิต ท่ีแสดงถึงความมุ่งมัน่และการนาํไปปฏิบติัในชีวิตประจาํวนั

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

382

ดว้ยความตั้ งใจท่ีมุ่งมัน่ท่ีเปล่ียนแปลงพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม ซ่ึงเป็น “การกลบัใจ” หรือการ

เปล่ียนแปลงเจตคติเพ่ือกลบัไปสู่การมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ ดว้ยจิตใจท่ีเคารพ ยอมรับ ภูมิใจ

และรับผิดชอบในสิทธิและเสรีภาพ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล ด้วยการใช้เสรีภาพใน

เสริมสร้างความสมัพนัธก์บัคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้มอยา่ง เหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลกบัการเป็น

บุคคล

ดงันั้น แนวทางการดาํเนินการจึงเน้นบรรยากาศความสงบภายในจิตใจ และให้ผูรั้บการ

อบรมมีอิสระอย่างเต็มท่ีในการออกแบบชีวิต อาศัยการรําพึงข้อความจากพระคัมภีร์และการ

อธิษฐานภาวนา ดว้ยความสาํนึกถึงการประทบัอยู่ของพระเจา้ในชีวิตของแต่ละบุคคล เป็นการฟัง

“พระวาจาของพระเจา้” ท่ีตรัสเรียกแต่ละบุคคล ให้กลบัมาสู่ภาวะของการตอบรับพระเมตตาและ

ความรักของพระเจา้ในชีวิตของบุคคล

เคร่ืองมอื/ส่ือทีใ่ช้ :

1. เอกสาร “แนวทางการพฒันามนุษยไ์ปสู่การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีมนุษย ์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2”

2. วีดีทศัน์ชีวประวติัของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

3. พระคมัภีร์คริสตศ์าสนา (พระวรสาร)

4. ใบงาน

5. แบบบนัทึกการประชุมกลุ่ม

6. แบบบนัทึกการเขา้ร่วมอบรมฯ

7. Power Point สรุปสาระ

การประเมนิผล : 1. ประเมินความรู้ ความเขา้ใจคุณค่าของการดาํเนินชีวิตตามวฒันธรรมส่งเสริม

ชีวิต ตามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปาฯ โดยพจิารณาจากใบงานและแบบบนัทึก

2. ประเมินเจตคติและพฤติกรรมของผูรั้บการอบรม โดยพจิารณาจากแบบบนัทึก

การไตร่ตรองและออกแบบชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

383

ตารางการจดัอบรม

การจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 กาํหนดการจดัอบรม 6 วนั รวม 48 ชัว่โมง โดยกาํหนดตาราง

การจดัอบรม ดงัน้ี

ตารางท่ี 18 แสดงตารางการจดัอบรม

เวลา/จุดหมาย กจิกรรม

วนัที่ 1

8.30 – 9.30 น.

เสริมสร้าง

บรรยากาศ

จดักลุ่มผูรั้บการอบรมเป็นกลุ่มๆ ละ 5 – 8 คน แต่ละกลุ่มหาตวัแทน ทาํ

หนา้ท่ีหวัหนา้กลุ่มและเลขานุการกลุ่ม

นาํเสนอแนวทาง กาํหนดการ/ขอ้ปฏิบติัในการอบรม

9.30 – 12.30 น.

เสริมสร้าง

ความรู้/เขา้ใจ

ใหแ้ต่ละคนศึกษาเอกสาร “มนุษยต์ามกระบวนทศัน์พระสนัตะปาปาฯ”

แต่ละคนสรุปขอ้คิด/สาระท่ีไดรั้บจากการศึกษาเอกสาร

ประชุมกลุ่ม แลกเปล่ียนผลการศกึษาเอกสาร

ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอผลการศึกษาเอกสาร

วิทยากรสรุปผลการศึกษา

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา ในแบบบนัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการอบรมฯ

12.30 – 13.30 น. อาหารเท่ียง-พกั

13.30 – 16.00 น.

ทาํความเขา้ใจ

ปรากฏการณ์

ศึกษากรณีศึกษาปรากฏการณ์การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคน

อ่ืน/สงัคม ใหแ้ต่ละคนวิพากษ ์

แต่ละคนสรุปผลการวิพากษก์รณีศึกษา

ประชุมกลุ่ม แลกเปล่ียนเรียนรู้ผลการวิพากษ ์

ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอผลการวิพากษแ์ก่ผูเ้ขา้ร่วมอบรม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

384

วิทยากรสรุปผลการวิพากษแ์ละสาระสาํคญัของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน/สงัคม ตามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปาฯ

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา ในแบบบนัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการอบรมฯ

16.00-17.00 น.

การไตร่ตรอง

แต่ละคนไตร่ตรอง ทบทวน เก่ียวกบัขอ้คน้พบ/การรับรู้เก่ียวกบัคุณค่า

ความหมายชีวติของแต่ละคน

17.00 – 17.30 น.

การออกแบบ

แต่ละคนหาขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัท่ีส่งเสริมคุณค่า ความหมายชีวิตของแต่ละ

คน

แต่ละคนบนัทึกผลการไตร่ตรองและออกแบบแนวปฏิบติัในแบบบนัทึกฯ

วนัที่ 2

8.30 – 9.30 น.

เสริมสร้าง

บรรยากาศ

-เขา้กลุ่มตามท่ีไดจ้ดัไวใ้นวนัแรก

-ภาวนา/นัง่สมาธิ

-สรุปภาพรวมของการจดัอบรมในวนัท่ีผา่นมา

9.30 – 12.30 น.

ทาํความเขา้ใจ

ปรากฏการณ์

ศึกษากรณีศึกษาปรากฏการณ์การใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตในบริบท

ส่ิงแวดลอ้ม ใหแ้ต่ละคนวิพากษ ์

แต่ละคนสรุปผลการวิพากษก์รณีศึกษา

ประชุมกลุ่ม แลกเปล่ียนเรียนรู้ผลการวิพากษ ์

ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอผลการวิพากษแ์ก่ผูเ้ขา้ร่วมอบรม

วิทยากรสรุปผลการวิพากษแ์ละสาระสาํคญัของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตในบริบทส่ิงแวดส่ิงแวดลอ้มตามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปาฯ

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา ในแบบบนัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการอบรมฯ

12.30 – 13.30 น. อาหารเท่ียง-พกั

13.30 – 16.30 น. การพบปะแลกเปล่ียนเรียนรู้กบัวิทยากร/ท่ีปรึกษาเป็นรายบุคคล สลบักนัการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

385

การไตร่ตรอง

ชีวิต

ไตร่ตรองทบทวนการใชเ้สรีภาพของแต่ละคนในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคน

อ่ืนและความสมัพนัธก์บัส่ิงแวดลอ้ม

16.30 – 17.30

การออกแบบ

แต่ละคนหาขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัท่ีส่งเสริมคุณค่า ความหมายชีวิตของตน ใน

การมีความสมัพนัธก์บัส่ิงแวดลอ้ม

แต่ละคนบนัทึกผลการไตร่ตรองและออกแบบแนวปฏิบติัในแบบบนัทึกฯ

วนัที่ 3

8.30 – 9.30 น.

เสริมสร้าง

บรรยากาศ

-เขา้กลุ่มตามท่ีไดจ้ดัไวใ้นวนัแรก

-ภาวนา/นัง่สมาธิ

-สรุปภาพรวมของการจดัอบรมในวนัท่ีผา่นมา

9.30 – 12.30 น.

เสริมสร้างความรู้

ศึกษาเอกสาร “การพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ฯ”

แต่ละคนสรุปขอ้คิด/สาระท่ีไดรั้บจากการศึกษาเอกสาร

ประชุมกลุ่ม แลกเปล่ียนผลการศกึษาเอกสาร

ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอผลการศึกษาเอกสาร

วิทยากรสรุปผลการศึกษา

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา ในแบบบนัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการอบรมฯ

12.30 – 13.30 พกั-อาหารเท่ียง

13.30 – 16.00 น.

ทาํความเขา้ใจ

ปรากฏการณ์

ศึกษากรณีศึกษาปรากฏการณ์การใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีตอบรับ

แนวทางของพระเจา้ ใหแ้ต่ละคนวิพากษ ์

แต่ละคนสรุปผลการวิพากษก์รณีศึกษา

ประชุมกลุ่ม แลกเปล่ียนเรียนรู้ผลการวิพากษ ์

ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอผลการวิพากษแ์ก่ผูเ้ขา้ร่วมอบรม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

386

วิทยากรสรุปผลการวิพากษแ์ละสาระสาํคญัของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน/สงัคม

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา ในแบบบนัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการอบรมฯ

16.00-17.00 น.

การไตร่ตรอง

แต่ละคนไตร่ตรอง ทบทวน เก่ียวกบัขอ้คน้พบ/การรับรู้เก่ียวกบัการดาํเนิน

ชีวิตตามกระแสโลภาภิวฒัน ์

17.00 – 17.30 น.

การออกแบบ

แต่ละคนหาขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัท่ีส่งเสริมคุณค่า ความหมายชีวิตในกระแส

โลกาภิวฒัน ์

แต่ละคนบนัทึกผลการไตร่ตรองและออกแบบแนวปฏิบติัในแบบบนัทึกฯ

วนัที่ 4

8.30 – 9.30 น.

เสริมสร้าง

บรรยากาศ

-เขา้กลุ่มตามท่ีไดจ้ดัไวใ้นวนัแรก

-ภาวนา/นัง่สมาธิ

-สรุปภาพรวมของการจดัอบรมในวนัท่ีผา่นมา

9.30 – 12.30 น.

ทาํความเขา้ใจ

ปรากฏการณ์

ศึกษากรณีศึกษาปรากฏการณ์การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีของตนเอง ใหแ้ต่ละคนวิพากษ ์

แต่ละคนสรุปผลการวิพากษก์รณีศึกษา

ประชุมกลุ่ม แลกเปล่ียนเรียนรู้ผลการวิพากษ ์

ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอผลการวิพากษแ์ก่ผูเ้ขา้ร่วมอบรม

วิทยากรสรุปผลการวิพากษแ์ละสาระสาํคญัของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเอง ตามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปาฯ

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา ในแบบบนัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการอบรมฯ

12.30 – 13.30 น. อาหารเท่ียง-พกั

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

387

13.30 – 16.30 น.

การไตร่ตรอง

ชีวิต

การพบปะแลกเปล่ียนเรียนรู้กบัวิทยากร/ท่ีปรึกษาเป็นรายบุคคล สลบักนัการ

ไตร่ตรองทบทวนการใช้เสรีภาพของแต่ละคนในการดาํเนินชีวิตตอบรับ

แนวทางของพระเจา้ และการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีตนเอง

16.30 – 17.30

การออกแบบ

แต่ละคนหาขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัท่ีเสริมสร้างความสมัพนัธก์บัพระเจา้ และ

ความสมัพนัธก์บัตนเอง

แต่ละคนบนัทึกผลการไตร่ตรองและออกแบบแนวปฏิบติัในแบบบนัทึกฯ

วนัที่ 5

8.30 – 9.30 น.

เสริมสร้าง

บรรยากาศ

-เขา้กลุ่มตามท่ีไดจ้ดัไวใ้นวนัแรก

-ภาวนา/นัง่สมาธิ

-สรุปภาพรวมของการจดัอบรมในวนัท่ีผา่นมา

9.30 – 12.30 น.

เสริมสร้างความรู้

ศึกษาเอกสาร ““แนวทางการพฒันามนุษยฯ์”

แต่ละคนสรุปขอ้คิด/สาระท่ีไดรั้บจากการศึกษาเอกสาร

ประชุมกลุ่ม แลกเปล่ียนผลการศกึษาเอกสาร

ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอผลการศึกษาเอกสาร

วิทยากรสรุปผลการศึกษา

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา ในแบบบนัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการอบรมฯ

12.30 – 13.30 พกั-อาหารเท่ียง

13.30 – 16.00 น.

ทาํความเขา้ใจ

ปรากฏการณ์

นาํเขา้สู่บรรยากาศของความสงบ ดว้ยการนัง่สมาธิ

เสนอรูปภาพท่ีส่ือถึงการดาํเนินชีวติตามกระแสการทาํลายชีวิต

ใหผู้รั้บการอบรมไตร่ตรอง/สงัเกต “ความรู้สึก” จากการมองภาพท่ีนาํเสนอ

และบนัทึก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

388

16.00 – 17.00 น.

การไตร่ตรอง

นาํเขา้สู่บรรยากาศของความสงบ ดว้ยการนัง่สมาธิ

แต่ละคนอ่านพระคมัภีร์ (พระวรสารนกับุญลกูา บทท่ี 10 : 25 – 36) 2 – 3

รอบ แต่ละรอบใหส้ลบักบัการอยูเ่งียบๆ ในบรรยากาศความสงบ เพ่ือฟัง

เสียงภายในจิตใจ จากการไตร่ตรอง (รําพึง) พระคมัภีร์

แต่ละคนฟังเสียงภายในจิตใจจากการไตร่ตรองพระคมัภีร์ สลบักนัมาพบปะ

แลกเปล่ียนเรียนรู้กบัวิทยากร/ท่ีปรึกษาเป็นรายบุคคล เก่ียวกบัขอ้คน้พบ/รับรู้

ตนเองในการดาํเนินชีวิตตามกระแสทาํลายชีวิต (กระแสโลกาภิวตัน)์

17.00 – 17.30 น.

การออกแบบ

แต่ละคนหาขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัในการดาํเนินชีวติท่ีลด ละ เลิกพฤติกรรม

การดาํเนินชีวิตตามกระแสการทาํลายชีวิตของแต่ละคน

แต่ละคนบนัทึกผลการไตร่ตรองและออกแบบแนวปฏิบติัในแบบบนัทึกฯ

วนัที่ 6

8.30 – 9.30 น.

เสริมสร้าง

บรรยากาศ

-เขา้กลุ่มตามท่ีไดจ้ดัไวใ้นวนัแรก

-ภาวนา/นัง่สมาธิ

-สรุปภาพรวมของการจดัอบรมในวนัท่ีผา่นมา

9.30 – 12.30 น.

การทาํความ

เขา้ใจ

ปรากฏการณ์

ชมวีดีทศัน์ชีวประวติัพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ประชุมกลุ่ม วิพากษก์ารดาํเนินชีวติของพระสนัตะปาปาฯ

ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอผลการประชุมกลุ่ม

วิทยากรสรุปผลการวิพากษแ์ละลกัษณะสาํคญัของการดาํเนินชีวิตของพระ

สนัตะปาปาฯ

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา ในแบบบนัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการอบรมฯ

12.30–13.30 น. พกั-ทานอาหารเท่ียง

13.30-14.30 น.

การไตร่ตรอง

นาํเขา้สู่บรรยากาศของความสงบ ดว้ยการนัง่สมาธิ

แต่ละคนอ่านพระคมัภีร์ (พระวรสารนกับุญมทัธิว บทท่ี 20 : 24 – 28) 2 – 3

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

389

ชีวิต รอบ แต่ละรอบใหส้ลบักบัการอยูเ่งียบๆ เพ่ือฟังเสียงภายในจิตใจ จากการ

ไตร่ตรอง (รําพึง) พระคมัภีร์ พิจารณา (คน้พบ/รับรู้) สภาพชีวิตของแต่ละคน

ในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพตนเอง คนอ่ืน ส่ิงแวดลอ้ม และความสมัพนัธก์บั

พระเจา้

14.30-16.00 น.

การอออกแบบ

แนวปฏิบติั

แต่ละคนฟังเสียงภายในจิตใจจากการไตร่ตรองพระคมัภีร์ สลบักนัมาพบปะ

แลกเปล่ียนเรียนรู้กบัวิทยากร/ท่ีปรึกษาเป็นรายบุคคล แบ่งปัน แลกเปล่ียน

เรียนรู้การคน้พบ/รับรู้ตนเอง เพ่ือนาํสู่การกาํหนดขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติั

แต่ละคนกาํหนดขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัในการดาํเนินชีวิตเพ่ือพฒันา/

เปล่ียนแปลงการดาํเนินชีวิตเพ่ือการเคารพตนเอง คนอ่ืน ส่ิงแวดลอ้มและ

ความสมัพนัธก์บัพระเจา้

แต่ละคนบนัทึกผลการไตร่ตรองและออกแบบแนวปฏิบติัในแบบบนัทึกฯ

16.00-17.00 น.

สรุป/ประเมิน

วิทยากรสรุปสาระ/ภาพรวมการจดัอบรม เพ่ือใหแ้ต่ละคนนาํไปปฏิบติั

ประเมินผลการอบรม

ภาวนาปิดการอบรม

ตารางแสดงระยะเวลา/จุดเนน้ และการดาํเนินการในแต่ละขั้นตอน

หมายเหตุ

1. ก่อนเขา้สู่การอบรม ควรจดัประชุม/พบปะผูเ้ขา้รับการอบรม เพ่ือช้ีแจงกระบวนการ

และทาํแบบวดัความรู้ เจตคติและพฤติกรรม ก่อนการอบรม (Pre-test)

2. ควรมีการพบปะ/มอบเอกสารช้ีแจงกระบวนการอบรมแก่ผูเ้ก่ียวขอ้ง (ผูป้กครอง/ผูดู้แล)

เพ่ือการมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศการจดัอบรม

3. ในแต่ละวนัท่ีมีการจดัอบรม ใหมี้การทาํสมาธิ/ภาวนาเปิดและปิดการจดัอบรมในแต่ละ

วนั และควรใหผู้รั้บการอบรมไดร่้วมพิธีบูชาขอบพระคุณทุกวนั รวมถึงการใชเ้วลาใน

การภาวนา ไตร่ตรอง (รําพึง) ร่วมพิธีกรรมส่งเสริมความศรัทธาตามคาํสอนคริสต์

ศาสนาในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะพิธี (ศีล) อภยับาป

4. หลงัปิดการอบรม มีการจดัทาํแบบสอบถามความคิดเห็นการใชรู้ปแบบฯ และการ

สมัภาษณ์การใชรู้ปแบบฯ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

390

คุณลกัษณะและบทบาทของวทิยากร ผู้เข้าอบรมและผู้เกีย่วข้อง

การจดัอบรมเชิงปฏิบัติเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามกระบวนทัศน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เร่ิมตน้ดว้ยการจดัสภาพแวดลอ้มท่ีสงบ มีสมาธิ ใหผู้เ้ขา้รับการอบรม

ได้มีความสงบภายในจิตใจและเกิดสมาธิในการไตร่ตรองชีวิต เพ่ือเปิดโอกาส/พ้ืนท่ีให้มีการ

แลกเปล่ียนเรียนรู้ ในบรรยากาศของการมีส่วนร่วม การเป็นอิสระ การเคารพ ความไวว้างใจกนั

ความสงบ มัน่คงและปลอดภยั เพ่ือเสริมสร้างความสงบของจิตใจ ในการรําพึงขอ้ความจากพระ

คมัภีร์และการอธิษฐานภาวนา ดว้ยความสาํนึกถึงการประทบัอยูข่องพระเจา้ในชีวิตของแต่ละบุคคล

เพ่ือ “ฟังเสียงภายในจิตใจ” หรือเป็นการฟัง “พระวาจาของพระเจา้” ท่ีตรัสเรียกแต่ละบุคคล เพ่ือให้

แต่ละบุคคลไดมี้ความสมัพนัธส่์วนบุคคลกบัพระเจา้ ดว้ยการตอบรับพระเมตตาและความรักของ

พระเจา้ในชีวิตของบุคคล โดยมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้/แบ่งปันประสบการณ์ส่วนบุคคลระหว่างผูเ้ขา้

อบรมกบัผูเ้ช่ียวชาญ/วิทยากร ดว้ยความสมคัรใจ บนความสาํนึกรับผิดชอบ ความมุ่งมัน่และการมี

วุฒิภาวะของผูรั้บการอบรม โดยประยุกต์วิธีการท่ีเหมาะสมกบัสภาพ/ภูมิหลงับุคคล/กลุ่มบุคคล

โดยมีกาํหนดการ/ตารางเวลาและขอ้ตกลงในการปฏิบัติท่ีเหมาะสม ดงัท่ีนาํเสนอไวแ้ลว้ในเร่ือง

ลกัษณะและแนวทางการจดัสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศการอบรม

นอกจากนั้น องค์ประกอบสาํคญัท่ีเป็นเง่ือนไขการจดัอบรมท่ีสาํคญัในการจดัอบรมและ

ช่วยส่งเสริมใหเ้กิดสภาพแวดลอ้มท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ ไดแ้ก่ บุคคลท่ีเก่ียวขอ้ง

ในการจดัอบรม ซ่ึงประกอบดว้ยวิทยากร ผูเ้ข้ารับการอบรมและผูเ้ก่ียวขอ้งในชีวิตของผูรั้บการ

อบรม ควรมีคุณลกัษณะและบทบาทหนา้ท่ี ดงัน้ี

1. วทิยากร/คณะวทิยากร

วิทยากรในการจดักระบวนการอบรม ถือเป็นส่วนสําคญัท่ีช่วยให้กระบวนการและ

บรรยากาศการจดัอบรมดาํเนินไปไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพ จาํเป็นตอ้งอาศยัวิทยากรท่ีมีความรู้ ความ

เขา้ใจ มีประสบการณ์ มีทกัษะในการจดัอบรม มีจิตตารมยแ์ละเป็นแบบอย่างในการดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล บนพ้ืนฐานของการมีความเช่ือศรัทธาตามคาํสอนคริสต์ศาสนา/ และ

เขา้ใจกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

นอกจากนั้น กระบวนการอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามกระบวนทศัน์การ

พฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ ใหค้วามสาํคญัต่อการไตร่ตรอง ทบทวนชีวิตของผูรั้บการอบรม

เพ่ือเสริมสร้างการมีความสมัพนัธส่์วนบุคคลกบัพระ ซ่ึงเป็นเร่ืองละเอียดอ่อน และซบัซอ้นในหลาย

มิติ จึงจาํเป็นตอ้งใชป้ระสบการณ์และทกัษะของผูเ้ช่ียวชาญในหลายๆ ดา้น ดงันั้น วิทยากรในการ

จดัอบรม จึงมีลกัษณะเป็นคณะทาํงาน/ทีมงานท่ีประกอบดว้ยผูเ้ช่ียวชาญ/บุคลากรทางศาสนา (ศาส

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

391

นบริกร) /ท่ีปรึกษาท่ีมีประสบการณ์เฉพาะดา้นในการให้คาํแนะนาํปรึกษาเก่ียวกบัการไตร่ตรอง

ทบทวนเพ่ือการพฒันาชีวิต รวมทั้ งมีเครือข่ายท่ีเก่ียวขอ้งในการดาํเนินงาน นอกจากนั้น วิทยากร

ตอ้งหมัน่แสวงหาความรู้และทกัษะการจดัอบรมดว้ยเทคนิค วิธีการใหม่ๆ อย่างต่อเน่ือง เพ่ือการ

นาํไปประยกุตใ์นการจดัอบรม

1.1 บทบาทของวิทยากร

ในการจัดการอบรม วิทยากรมีบทบาทท่ีสาํคัญในการสร้างบรรยากาศท่ีเคารพ

ยอมรับสิทธิ เสรีภาพ ไวว้างใจและมีส่วนร่วม โดยวิทยากรมีบทบาท ดงัน้ี

1.1.1 บทบาทในฐานะเป็นวิทยากรกระบวนกร

บทบาทท่ีสาํคญัของวิทยากร คือ การเป็น “กระบวนกร” หรือวิทยากร

กระบวนการ (Facilitator) ท่ีทาํหนา้ท่ีเป็น “คนกลาง” ท่ีช่วยประสานงาน/ดาํเนินงานในบรรยากาศ

ของการมีส่วนร่วม เพ่ือให้มี แลกเปล่ียน และสะท้อนประสบการณ์ หรือปัญหารวมทั้ งแนว

ทางแกไ้ข ช่วยกระตุน้ใหผู้รั้บการอบรมไดไ้ตร่ตรอง ทบทวน แบ่งปันบนพ้ืนฐานของการรับฟังซ่ึง

กนัและกัน ทาํให้ผูเ้ข้ารับการอบรมรู้สึกเป็นอิสระ และสามารถส่ือสารทาํความเข้าใจกันอย่าง

ตรงไปตรงมา ดว้ยการใชเ้ทคนิคและกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเป็นหัวใจสาํคญั นอกจากน้ี

วิทยากรกระบวนการยงัช่วยเสริมสร้างบรรยากาศแห่งมิตรภาพ ความร่วมมือท่ีจริงจงั ดงันั้น วิทยากร

กระบวนการจึงเปรียบเสมือนเป็นทั้งผูจ้ดัการ ผูป้ระสานงาน ผูส้งัเกต ผูก้ระตุน้ ผูส้ร้างบรรยากาศ ผู้

เอ้ืออาํนวยใหเ้กิดการส่ือสาร/การแบ่งปัน และเป็นผูร่้วมเรียนรู้ไปกบัผูรั้บอบรม

1.1.2 บทบาทในฐานะเป็น “ผูใ้ห้ค ําปรึกษาแนะนําด้านการพฒันาจิตใจ/จิต

วิญญาณ”

การจดัอบรมเสริมสร้างความรู้และความสามารถในการเรียนรู้ตามรูปแบบการ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ให้ความสาํคญัต่อการไตร่ตรอง

ทบทวนชีวิตของผูรั้บการอบรม เพ่ือเสริมสร้างการมีความสัมพนัธ์ส่วนบุคคลกบัพระเจา้ ด้วยการ

ไตร่ตรองปรากฏการณ์ชีวิตตามกระแสการทาํลายชีวิตและวฒันธรรมส่งเสริมชีวิต ดงันั้น วิทยากร

จึงตอ้งมีบทบาทในการให้คาํแนะนาํปรึกษาดา้นการพฒันาจิตใจ/จิตวิญญาณเป็นรายบุคคล เพ่ือร่วม

แบ่งปัน/ร่วมเดินทางในการพฒันาชีวิตฝ่ายจิตใจ/จิตวิญญาณในการใหค้าํแนะนาํปรึกษาเป็นรายบุคคล

แก่ผูรั้บการอบรม รวมถึงการส่งเสริมใหผู้รั้บการอบรมไดร่้วมพิธีกรรม โดยเฉพาะพิธี (ศีล) อภยับาป

ซ่ึงเป็นพิธีกรรมสาํคญัในการกลบัคืนดีกบัพระเจา้ ตามคาํสอนคริสตศ์าสนา

1.2 คุณสมบติัของวิทยากร

วิทยากรในการจัดการอบรม นอกจากเป็นบุคคลท่ีมีความรู้ ทกัษะพ้ืนฐานดา้น

จิตวิทยาและกฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ง มีวุฒิภาวะและประสบการณ์การจดัอบรมดา้นการพฒันามนุษย์

ตามคาํสอนคริสตศ์าสนา นอกจากนั้น วิทยากรตอ้งมีจิตตารมยแ์ละเป็นแบบอยา่งในการดาํเนินชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

392

ท่ีเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล บนพ้ืนฐานของการมีความเช่ือศรัทธาตามคาํสอนคริสต์ศาสนา /

และเขา้ใจกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 กล่าวคือ วิทยากร

ตอ้งมีความเช่ือมัน่ศรัทธา และมุ่งมัน่ท่ีจะอุทิศตนเพ่ือการพฒันามนุษย ์ รวมถึงมีรูปแบบการดาํเนินชีวติ

ท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์โดยแสดงออกอยา่งชดัเจนทั้ งดา้นวาจาและการกระทาํท่ีเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรีของบุคคลตามคาํสอนคริสต์ศาสนาและกระบวนทัศน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปาฯ รวมถึงการมีจรรยาบรรณในการปฏิบติัหนา้ท่ี โดยเฉพาะในเร่ืองการรักษาความลบัส่วน

บุคคล การหลีกเล่ียงการมีความสนิทสมัพนัธส่์วนบุคคล โดยมีจรรยาบรรณท่ีสาํคญั ไดแ้ก่ การเคารพ

ในสิทธิ เสรีภาพ รักษาความลบัส่วนบุคคล การยอมรับในศกัยภาพ ไม่ข่มขู่ คุกคาม บงัคบัให้ปฏิบติั

ตาม ส่งเสริมใหมี้การพ่ึง/พฒันาตนเอง ไม่ใช่ยดึติดในตวัวิทยากร ควรแนะนาํท่ีปรึกษา/ผูเ้ช่ียวชาญอ่ืน ๆ

เพ่ือประโยชน์ในการพฒันาชีวิตของผูม้ารับคาํปรึกษา/อบรม การส่งเสริมและเป็นแบบอย่างในการ

ปฏิบติัตนตามกฎหมายและหลกัศีลธรรม ไม่ตดัสิน ประเมินหรือประจานผูม้ารับคาํปรึกษา/อบรม แต่

มุ่งใหเ้กิดการเรียนรู้ดว้ยตนเอง โดยมีคุณสมบติัท่ีสาํคญั ไดแ้ก่

1. เป็นบุคคลท่ีพยายามเปล่ียนแปลง ฝึกฝน พฒันาตนเองอยา่งต่อเน่ือง

2. มีความรู้ ความเขา้ใจ ทกัษะและเจตคติท่ีดีในกระบวนการกลุ่ม

3. มีความสามารถในการจดัใหมี้การใหข้อ้มลูยอ้นกลบั 4. ใหค้วามเอาใจใส่กบักระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้

5. มีความเป็นกลาง อิสระ เป็นธรรม ไม่โอนเอียงหรืออคติ เปิดใจกวา้งและเปิดเผย

6. มีจิตใจรักมนุษย ์มีความสุขกบัการเห็นมนุษยเ์กิดการยกระดบัทางจิตวิญญาณ

และภูมิปัญญา มองโลกในแง่ดี และมีความเช่ือมัน่ในศกัยภาพของมนุษย ์

7. มีจิตใจประชาธิปไตย ใจกวา้ง ใหค้วามสาํคญักบัการมีส่วนร่วม และยอมรับ

ความแตกต่างหลากหลาย ไม่เป็นเผด็จการ เพ่ือใหเ้กิดการปรับวิสยัทศัน์ร่วมกนั

8. มีวิธีคิดแบบองคร์วม ไม่แยกส่วน

9. มีความคิดสร้างสรรค ์ไม่ติดกรอบ พร้อมท่ีจะขยาย ปรับ หรือเปล่ียนแบบแผน

ทางความคิด

10. มีประสาทสมัผสัท่ีดี นอกเหนือจากตาด ูหูฟัง เป็นนกัสงัเกตการณ์ มีความ

ละเอียดอ่อน สามารถรับรู้อารมณ์ความรู้สึกของคนไดง่้าย

11. มีอารมณ์ท่ีดี สมาธิดี ใจเยน็ ไม่ต่ืนตระหนกง่าย ไม่ฉุนเฉียว ไม่เอาแต่ใจตวัเอง

มีความฉลาดทางอารมณ์

12. มีชีวิตชีวา มีความพร้อมตลอดเวลาในการปฏิสมัพนัธ ์และการแลกเปล่ียน

เรียนรู้ของมนุษย ์

13. มีมนุษยสมัพนัธแ์ละทกัษะการส่ือสารท่ีดี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

393

2. ผู้เข้ารับการอบรม

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ เนน้การจดัอบรมแก่

คนรุ่นใหม่ โดยเฉพาะบรรดาเยาวชนซ่ึง เป็นกลุ่มบุคคลท่ีได้รับการเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพ่ือให้มี

ภูมิคุม้กนัและมีหลกัการในการดาํเนินชีวิตในสงัคม ทั้งน้ี ผูเ้ขา้รับการอบรมตอ้งมีใจท่ีมุ่งมัน่ มีความ

เต็มใจ/สมคัรใจและมุ่งมัน่ในการเขา้ร่วมในการเขา้ร่วมรับการอบรม มีพ้ืนฐานความรู้ และการปฏิบติั

ศาสนกิจตามคาํสอนคริสต์ศาสนา มีประสบการณ์ในการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีทักษะและ

ความสามารถในการคิด วิเคราะห์เชิงเหตุผล/ปรัชญา ควรไดรั้บการนิเทศหรือมีประสบการณ์ในการ

รําพึงภาวนา หรือการทาํสมาธิแบบคริสตแ์ละมีความสามารถท่ีรับรู้ความรู้สึกภายในใจ (การมีสติรับรู้

ส่ิงท่ีเกิดข้ึนในใจ) ดงันั้น จึงกาํหนดคุณสมบติัและขอ้เสนออ่ืนๆ ท่ีเก่ียวขอ้งกบัผูรั้บการอบรม ดงัน้ี

2.1 คุณสมบติัพ้ืนฐานของผูเ้ขา้รับการอบรม

1. เป็นเยาวชนคาทอลิก /ผูมี้พ้ืนฐานดา้นคาํสอนคริสตศ์าสนา อายรุะหว่าง 18 – 25 ปี

2. มีความเต็มใจ/สมคัรใจและมุ่งมัน่ในการเขา้ร่วมในการเขา้ร่วมรับการอบรม

3. มีพ้ืนฐานความรู้ และการปฏิบติัศาสนกิจตามคาํสอนคริสตศ์าสนา

4. มีประสบการณ์ในการเรียนรู้อยา่งเป็นระบบ มีทกัษะและความสามารถในการคิด

วิเคราะห์เชิงเหตุผล/ปรัชญา

5. ควรไดรั้บการนิเทศหรือมีประสบการณ์ในการราํพึงภาวนา หรือการทาํสมาธิแบบ

คริสต ์

6. มีความสามารถท่ีรับรู้ความรู้สึกภายในใจ (การมีสติรับรู้ส่ิงท่ีเกิดข้ึนในใจ)

2.2 ขอ้เสนออ่ืนๆ ท่ีเก่ียวขอ้งกบัผูเ้ขา้รับการอบรม

การจดัการอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์อง

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 นอกจากกาํหนดคุณสมบติัพ้ืนฐานของผูเ้ขา้รับการอบรมแลว้ ควรให้

ความเอาใจใส่ในเร่ืองท่ีเก่ียวขอ้งกบัผูเ้ขา้รับการอบรมในเร่ืองต่อไปน้ี

1. กระบวนการ/กิจกรรมกลุ่ม ถือเป็นส่วนสาํคญัในการจดัอบรม ดงันั้น เพ่ือความ

สะดวกในการแบ่งกลุ่ม จาํนวนผูเ้ขา้รับการอบรมท่ีเหมาะสม ควรมีจาํนวนระหว่าง 15 – 30 คน แต่

สามารถรองรับผูเ้ขา้ร่วมอบรมไดเ้พิ่มเติม โดยตอ้งมีผูช่้วยวิทยากร ท่ีเขา้ไปเป็นพ่ีเล้ียง (วิทยากรกระบวน

กร) ในแต่ละกลุ่ม

2. ในกรณีท่ีผูเ้ขา้รับการอบรมมีความหลากหลาย ต่างพ้ืนท่ี ควรเพิ ่มเติมช่วงเวลาของ

การทาํความรู้จกั หรือกิจกรรมสร้างความสมัพนัธ ์(ละลายพฤติกรรม) ก่อนการจดักิจกรรมในแต่ละวนั

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

394

3. การแต่งกาย ควรอยูใ่นชุดสุภาพ เรียบร้อย

3. ผู้เกีย่วข้องในชีวติของผู้เข้ารับการอบรม

การจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 ให้ความสาํคญัต่อมิติของความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคล ซ่ึงส่งผลต่อสภาพแวดลอ้มในการ

ดาํเนินชีวิตของผูรั้บการอบรม เพ่ือใหมี้บรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล ไวว้างใจ และ

การมีส่วนร่วม เพ่ือใหผู้รั้บการอบรมมีใจเป็นอิสระ เป็นตวัของตวัเอง ในการไตร่ตรองทบทวนชีวิต

สอดคลอ้งกบัความเป็นจริงของสภาพชีวิตของแต่ละคน ดงันั้น บุคคลท่ีเก่ียวขอ้งในชีวิตของผูรั้บการ

อบรม ไดแ้ก่ สมาชิกในครอบครัว ผูป้กครอง ผูดู้แล ผูบ้งัคบับญัชา หรือผูเ้ก่ียวขอ้งอ่ืนๆ ในชีวิตของ

ผูรั้บการอบรมตอ้งมีความตระหนกั ไม่แทรกแซง และปล่อยใหผู้เ้ขา้รับการอบรมมีอิสระอยา่งเต็มท่ีใน

การเขา้ร่วมอบรม

ในขณะเดียวกนั เพ่ือการเสริมสร้างเจตคติการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษย ์แก่ผูรั้บการอบรมอย่างต่อเน่ือง จาํเป็นท่ีผูเ้ก่ียวขอ้งในชีวิตของผูรั้บการอบรมตอ้งมีบทบาท

หน้าท่ี และร่วมมือกนัในการเสริมสร้างการเป็นบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะ โดยเฉพาะครอบครัวซ่ึงเป็น

ชุมชนแรก และเป็นพ้ืนฐานในการปลกูฝังคุณค่าของชีวิต ครอบครัวเป็นจุดเร่ิมตน้ของชีวิตและการ

พฒันาชีวิต ครอบครัวมีบทบาทสาํคญัต่อการปลูกฝังเจตคติ และการดาํเนินชีวิตอย่างถูกตอ้งต่อ

คุณค่าพ้ืนฐานและศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของมนุษย ์ รวมถึงสถาบนั/องค์กร/หน่วยงานต่างๆ ใน

ชุมชน/สงัคมมีความเก่ียวขอ้งในการดาํเนินชีวิตของบุคคล เพ่ือร่วมกนัเสริมสร้างสังคมท่ีเป็นอิสระ

บนพ้ืนฐานของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล อนัเป็นคุณลกัษณะของสังคมท่ีสมาชิกมีการ

ดาํเนินชีวิตร่วมกนัแบบหมู่คณะท่ีมุ่งส่งเสริมและพฒันามนุษยสู่์ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ โดยมี

การบริหารจดัการ และการแทรกแซงอย่างถูกตอ้ง บนการประกันความมัน่คง ด้วยวิธีการท่ี

เหมาะสม พึงระมดัระวงัการแทรกแซงในแบบผกูขาด จนทาํลายเสรีภาพของมนุษย ์ พึงระมดัระวงั

การจดัสวสัดิการท่ีเกินพอดี หรือผลประโยชน์ทางการเมือง ท่ีเน้นแต่เพียงการส่งเสริมด้านวตัถุ

กายภาพ จนละเลยคุณค่าฝ่ายจิต หรือการละเลยร่างกาย การส่งเสริมการอยากมี อยากได ้ตอบสนอง

ความตอ้งการในระดบัสญัชาติญาณ หรือการส่งเสริมเสรีภาพแบบเกินเลย ทาํให้มนุษยข์าดความ

รับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิตตนเอง คนอ่ืนและสงัคม รวมทั้งการพฒันาคุณค่าฝ่ายจิตวิญญาณ ท่ีมุ่งสู่

การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ อนัเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันาชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

395

ตอนที่ 3 คู่มอืวทิยากร

การจัดอบรมเชิงปฏิบัติเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามกระบวนทัศน์การพัฒนามนุษยข์องพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 วิทยากรมีบทบาทสาํคญัอย่างยิ ่งในฐานะเป็น “วิทยากรกระบวนกร”

(Facilitator) และ “ผูใ้หค้าํปรึกษาดา้นจิตใจ” (Spiritual counselor) ท่ีจะทาํเกิดสภาพแวดลอ้มของการจดั

อบรมมีบรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล เพ่ือส่งเสริมใหแ้ต่ละบุคคลมีใจท่ีเป็นอิสระ

และใชเ้สรีภาพในตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจ้า ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์ ดว้ยการเปล่ียนแปลงเจคติการดาํเนินชีวิตอยา่งต่อเน่ืองของบุคคล ผา่นทางกระบวนการจดั

อบรม

ข้อควรปฏิบัตก่ิอนดําเนินการอบรม

1. ศึกษารายละเอียดในส่วนต่างๆ ของคู่มือการใชรู้ปแบบฯ

1.1 ศึกษารายละเอียดของการจดัอบรมเพื่อการพฒันามนุษยฯ์ ซ่ึงประกอบดว้ย หลกัการ

และเหตุผล วตัถุประสงคแ์ละกลุ่มเป้าหมาย สาระสาํคญัของกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยฯ์ และ

รูปแบบการจดัอบรมฯ เพ่ือจะไดเ้ขา้ใจหลกัการ แนวคิด/กระบวนทศัน์และรูปแบบการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปาฯ ซ่ึงจะช่วยให้เห็นภาพรวม เห็นความสัมพันธ์ของ

องคป์ระกอบต่างๆ ของรูปแบบการอบรม รวมทั้งมีความเขา้ใจในศพัทเ์ฉพาะต่างๆ

1.2 ศึกษาแนวทางและแนวปฏิบติัในการจดัอบรม เพ่ือเขา้ใจการดาํเนินการจดัอบรม ซ่ึง

ประกอบด้วยลกัษณะและแนวปฏิบัติในการจัดสภาพแวดลอ้ม/บรรยากาศการอบรม วิธีการ

ขั้นตอน แผนการจดัอบรม คุณลกัษณะและบทบาทของวิทยากร ผูเ้ขา้รับการอบรม และผูเ้ก่ียวขอ้ง

เพ่ือจะได้เขา้ใจแนวทางท่ีนําไปสู่การดาํเนินการปฏิบัติในการจัดอบรม ทั้ งน้ี การอบรมตาม

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ เนน้การเสริมสร้างความสัมพนัธ์

ระหว่างบุคคล ดงันั้น จึงใหค้วามสาํคญัต่อการจดัสภาพแวดลอ้มใหมี้บรรยากาศของความเป็นหน่ึง

เดียวกนัในกระบวนการจดัอบรม ในลกัษณะของการมีส่วนร่วม ทั้งในส่วนของผูจ้ดัการอบรม

วิทยากร ผูเ้ขา้รับการอบรมและผูเ้ก่ียวขอ้งในชีวิตของผูรั้บการอบรม ในลกัษณะการสานเสวนา

ตัดสินใจและรับผิดชอบร่วมกัน เพ่ือมุ่งไปสู่การพฒันารูปแบบการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรี/ ความดีงามของบุคคล โดยมีลกัษณะ ดงัน้ี

1.2.1 วิธีการและขั้นตอนการจดัอบรม มีลกัษณะเป็นบูรณการในทุกวนัของการจดัอบรม

ทั้งน้ี ข้ึนกบัสภาพ/ความพร้อมของผูรั้บการอบรมเป็นหลกั

1.2.2 แผนการจดัอบรม ซ่ึงประกอบดว้ย หลกัสูตรและตารางการจัดอบรม สามารถ

ยืดหยุ่น/ปรับเปล่ียน/เพิ่มเติมได ้ โดยพิจารณาพ้ืนฐาน/ความพร้อมของผูรั้บการอบรมเป็นสาํคัญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

396

นอกจากนั้น ในระหว่างการจดัอบรม ควรมีการ ติดตามและประเมินการจดัอบรมทุกวนั ภายใตก้าร

มีส่วนร่วมของผูจ้ดัอบรม วิทยากร ผูรั้บการอบรมและผูเ้ก่ียวขอ้ง เพ่ือร่วมกนัพิจารณาและหาแนว

ปฏิบติัเพ่ือเพิ่มเติมในรายละเอียดของการจดัอบรมในแต่ละวนั

1.2.2.1 แผนการจัดอบรม (หลักสูตรและตารางการจัดอบรม) ได้เสนอ

องคป์ระกอบของการจดัอบรมในแต่ละขั้นตอน ไดแ้ก่ ระยะเวลา จุดประสงค์ เน้ือหาสาระ แนว

ทางการดาํเนินการ เคร่ืองมือ/ส่ือท่ีใช ้ การประเมินผล และตารางการจดัอบรม โดยคาํนึงถึงความ

เหมาะสม สอดคลอ้งกบัผูรั้บการอบรมเป็นหลกั เพ่ือให้ผูรั้บการอบรมไดศึ้กษา แลกเปล่ียนเรียนรู้

นาํสู่การไตร่ตรองและการออกแบบแนวปฏิบติัดว้ยตวัผูรั้บการอบรมเอง ดงันั้น จึงให้ความสาํคญั

ต่อพิจารณาบริบทและสภาพชีวิตของผูรั้บการอบรม และปรับปรุงรายละเอียดของแผนการจดัอบรม

ทั้งน้ี วิทยากรสามารถปรับเปล่ียน/สลบักิจกรรม/ตารางการจดัอบรมไดต้ามสมควร

1.2.2.2 แผนการจดัอบรม เป็นการเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ใจปรากฏการณ์ชีวิต/

สงัคม ท่ีนาํไปสู่การไตร่ตรองชีวิต และการออกแบบแนวปฏิบติัเพ่ือพฒันาชีวิตดว้ยตวัของผูรั้บการ

อบรม บนพ้ืนฐานของการมีความสัมพนัธ์ท่ีดีระหว่างผูจ้ ัดอบรม วิทยากร ผูรั้บการอบรมและ

ผูเ้ก่ียวขอ้ง ซ่ึงจะนาํสู่บรรยากาศของความไวว้างใจซ่ึงกนัและกนั กิจกรรมการจดัอบรม จึงเป็นทั้ ง

กิจกรรมกลุ่มและกิจกรรมส่วนบุคคล เพ่ือให้ผูรั้บการอบรมไดค้น้พบ รับรู้/ยอมรับ และตดัสินใจ

เปล่ียนแปลงชีวิตดว้ยตนเอง ดงันั้นกิจกรรมการจดัอบรมในแต่ละวนั จึงประกอบดว้ยสามส่วน

สาํคญั คือ การอบรมเสริมสร้างความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ และ

การพฒันาความสามารถในการวิพากษ์/แยกแยะรูปแบบการดาํเนินชีวิตท่ีเหมาะสม การฝึก

ปฏิบติัการไตร่ตรองชีวิตดว้ยความสงบเงียบ/สมาธิ เพ่ือฟังเสียงภายในจิตใจจากการอ่าน/ไตร่ตรอง

(รําพึง) ขอ้ความในพระคัมภีร์ และการพบปะ แลกเปล่ียนเรียนรู้กบัวิทยากรเป็นรายบุคคล ดว้ย

ความสมคัรใจของผูรั้บการอบรม

1.2.3 เคร่ืองมือ/ส่ือประกอบการจดัอบรม สามารถปรับเปล่ียนไปตามบริบทของผูรั้บ

การอบรม ทั้งน้ี ควรใชส่ื้อท่ีเรียบง่าย ไม่เนน้ความทนัสมยั ตอ้งใชเ้วลาในการจดัเตรียม หรือเกินการ

ดูแล ควบคุมโดยวิทยากร เพ่ือให้ขั้นตอนการจดัอบรมเป็นไปดว้ยความราบร่ืน ส่งเสริมความสงบ

และสมาธิ

2. จดัเตรียมส่ิงท่ีจาํเป็นสาํหรับการอบรม เม่ือไดศึ้กษาส่วนต่างๆ ในคู่มือการใชรู้ปแบบฯ

ครบแลว้ ควรดาํเนินการก่อนการอบรม ดงัน้ี

2.1 ศึกษาแผนการอบรมอยา่งละเอียดอีกคร้ังหน่ึง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

397

2.2 ศึกษาและจดัเตรียมส่ือ/เคร่ืองมือการจดัอบรมตามแนวทางท่ีเสนอไวใ้นแผนการจดั

อบรม หรือท่ีมีการปรับเปล่ียนตามความเหมาะสมและสอดคลอ้งกบัผูรั้บการอบรม ให้เพียงพอแก่

ผูรั้บการอบรม วิทยากรควรศึกษาคาํช้ีแจงการใชใ้บงาน/แบบบนัทึกต่างๆ เพ่ือให้มีความเขา้ใจและ

สามารถถ่ายทอดไดต้รงกบัเน้ือหาของเคร่ืองมือต่างๆ

2.3 ศึกษาและจดัเตรียมเคร่ืองมือสาํหรับการวดัและประเมินการจดัอบรม ตามตวัอย่าง

แบบวดัความรู้ เจตคติและพฤติกรรมการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปาฯ

รวมถึงใบงานและแบบบนัทึกต่างๆ ให้ความสาํคญัต่อการให้ผูรั้บการอบรมไดพิ้จารณา/ประเมิน

ตนเอง เพ่ือช่วยใหผู้เ้ขา้รับการอบรมไดไ้ตร่ตรอง เขา้ใจ รับรู้ความรู้สึกนึกคิดของตนและบนัทึกผล

การไตร่ตรองตนเองแก่วิทยากร/ผูเ้ช่ียวชาญ เป็นการพบปะพูดคุยเป็นรายบุคคลหรือการบนัทึกผล

การไตร่ตรองตนเอง ในแบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้ากการเขา้อบรมฯ

2.4 ในกรณีท่ีตอ้งการจดัอบรมตามเน้ือหาท่ีเสนอไวต้ามแผนการสอน วิทยากรสามารถ

นาํตวัอยา่งใบงาน แบบบนัทึกและแบบวดัความรู้ เจตคติและพฤติกรรมการพฒันามนุษย ์ ในคู่มือน้ี

ไปใชไ้ดเ้ลย โดยศึกษาวิธีใชต้ามคาํช้ีแจงท่ีใหไ้ว ้และเตรียมเอกสารตามจาํนวนท่ีตอ้งการใช ้

แนวทางในการดําเนินการ

เม่ือไดศึ้กษาและจดัเตรียมส่ิงท่ีจาํเป็นต่างๆ ไวพ้ร้อมแลว้ ก็ดาํเนินการตามแผนการจดั

อบรมท่ีเตรียมไว ้ ทั้งน้ี มีขอ้ควรเอาใจใส่เป็นพิเศษ ดงัน้ี

1. การจดับรรยากาศการอบรม

วิทยากรมีบทบาทสาํคญัต่อการจดับรรยากาศท่ีส่งเสริมการเคารพสิทธิ เสรีภาพของ

บุคคล โดยมีการดาํเนินการ ดงัน้ี

1.1 วิทยากรควรช้ีแจงกระบวนการจัดอบรมแก่ผู ้เข้าร่วมอบรม ก่อนเข้า สู่

กระบวนการจดัอบรมตามรูปแบบฯ เพ่ือให้ทราบหลกัการ ตารางเวลา และหาขอ้ตกลงเป็นแนว

ปฏิบติั เพ่ือความเขา้ใจตรงกนัและส่งเสริมบรรยากาศของการมีส่วนร่วม นอกจากนั้น ในระหว่าง

กระบวนการอบรมฯ ควรมีการเชิญตัวแทนแต่ละกลุ่ม มาร่วมประชุมติดตามและประเมิน

บรรยากาศการอบรม

1.2 วิทยากร ตอ้งเป็นแบบอย่างของการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล โดย

แสดงออกทั้งการพดู กิริยาท่าทางต่างๆ ท่ีให้เกียรติผูเ้ขา้อบรม หลีกเล่ียงการพูดจาท่ีทาํให้เกิดการ

เปรียบเทียบ หรือการแข่งขนัในระหว่างผูรั้บการอบรม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

398

1.3 วิทยากร ควรให้ความเป็นกนัเองกบัผูรั้บการอบรม เพ่ือทาํให้เกิดบรรยากาศ

ของความไวว้างใจ และความสมัพนัธ์ท่ีดี ภายใตก้ารเคารพให้เกียรติซ่ึงกนัและกนั ส่งเสริมให้ทุก

คนมีโอกาสได้แสดงออกเท่าเทียมกันและได้รับการยกย่องเหมือนกัน โดยปราศจากการ

วิพากษว์ิจารณ์การแสดงความคิดเห็นต่างๆ ของผูรั้บการอบรม

1.4 วิทยากร ตอ้งกระตุน้ให้ผูรั้บการอบรมไดศึ้กษาเรียนรู้ ไตร่ตรองชีวิตดว้ยตัว

ผูรั้บการอบรม มีการให้คาํแนะนํา/ขอ้มูลเพ่ือเป็นแนวทาง ไม่ใช่ในลกัษณะการช้ีแนะ หรือการ

กดดนั จนทาํใหผู้รั้บการอบรมขาดการเป็นตวัของตวัเอง

1.5 วิทยากร ต้องดาํเนินการจดัอบรมตามแผนการสอน ในลกัษณะของการสาน

เสวนา กล่าวคือ วิทยากรตั้ งประเด็น/หัวขอ้ และให้ผูเ้ขา้รับการอบรมไดร่้วมแบ่งปัน อภิปรายจาก

ความรู้เดิมท่ีผูเ้ขา้รับการอบรมมีอยูแ่ลว้ และนาํสู่การสรุป/เพิ่มเติมสาระจากวิทยากร

1.6 วิทยากรตอ้งรักษาความลบัส่วนบุคคลของผูรั้บการอบรม โดยเฉพาะขอ้มูลจาก

การแบ่งปัน/พบปะส่วนบุคคลระหว่างผูรั้บการอบรมกบัวิทยากร รวมถึงขอ้มูลจากแบบบนัทึกส่วน

บุคคล ตอ้งไม่มีการนาํไปเผยแพร่ หรือนาํขอ้มลูไปแจง้ใหค้นอ่ืนทราบ

1.7 ในกรณีท่ีผูรั้บการอบรมมีพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม ไม่เคารพ ไม่ให้เกียรติผูเ้ขา้

รับการอบรมดว้ยกนั วิทยากรควรเรียกพบเป็นรายบุคคล เพ่ือการปรับเปล่ียนพฤติกรรม

2. การจดัท่ีนั่ง การแบ่งกลุ่มและการดําเนินการประชุมกลุ่ม

2.1 การจดัท่ีนั ่งในการอบรม ให้เป็นลกัษณะการสนทนากนั จึงควรจดัท่ีนั ่งเป็น

แบบคร่ึงวงกลม ใหว้ิทยากรอยูด่า้นหนา้ และใหแ้ต่ละคนสามารถเห็นผูเ้ขา้ร่วมอบรมดว้ยกนัได ้และ

มีพ้ืนท่ีว่างสาํหรับการเดินเขา้ออก การแจกเอกสาร และการประชุมกลุ่มยอ่ย

2.2 การจดัผูเ้ขา้อบรมเขา้กลุ่มยอ่ยในการดาํเนินกิจกรรมการอบรม แต่ละกลุ่มควร

มีจาํนวนสมาชิก 4 – 8 คน เพ่ือความสะดวกในการแบ่งปัน แลกเปล่ียนเรียนรู้ และใหอิ้สระแก่ผูเ้ขา้

อบรมในการจดักลุ่ม

2.3 ในการประชุมกลุ่ม ใหว้ิทยากรย ํ้ าเตือนแก่ผูรั้บการอบรมใหด้าํเนินการประชุม

กลุ่มดว้ยการเคารพ ใหมี้การแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่ม โดยปราศจากการวิพากษ/์วิจารณ์ส่ิงท่ีสมาชิก

ในกลุ่มนาํเสนอ ในขณะท่ีสมาชิกคนหน่ึงนาํเสนอ ใหส้มาชิกอ่ืนๆ เป็นผูฟั้งท่ีดี ให้เลขานุการกลุ่ม

จดบนัทึกทุกประเด็นท่ีสมาชิกในกลุ่มนาํเสนอ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

399

3. การจดัอบรมตามแผนการอบรม

แผนการอบรมตามรูปแบบฯ แบ่งการอบรมออกเป็นหกวนั (48 ชัว่โมง) แต่ละวนั

ประกอบดว้ยขั้นตอนท่ีสาํคญั ไดแ้ก่ การศึกษาปรากฏการณ์ การไตร่ตรองชีวิต และการออกแบบ

แนวปฏิบัติ มีจุดเน้นท่ีสําคัญ คือ ในขั้ นตอนการศึกษา จะเน้นให้ใช้ความคิด เพ่ือเข้าใจ

ปรากฏการณ์ ดว้ยการศึกษาเอกสารและวิพากษ์กรณีศึกษา ส่วนในขั้นตอนการไตร่ตรองและการ

ออกแบบแนวปฏิบัติ จะเน้นบรรยากาศของความสงบ เพ่ือให้ผูเ้ข้าอบรมได้สํารวมจิตใจ เพ่ือ

ไตร่ตรองและออกแบบชีวิตดว้ยการฟังเสียงภายในจิตใจ ทั้งน้ี ในช่วงเร่ิมตน้ของการจดัอบรมใน

แต่ละวนั ควรมีการส่งเสริมการจดับรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพ การมีส่วนร่วมและความ

ไวว้างใจ โดยมีรายละเอียดของการดาํเนินการตามแผนการจดัอบรม ดงัตารางท่ี 18 ดงัน้ี

ตารางท่ี 19 แสดงรายละเอียดการจดัอบรม

เวลา จุดมุ่งหมาย กจิกรรม แนวทาง/เคร่ืองมอื/ส่ือ

วนัที่ 1

8.30 –

9.30 น.

การเสริมสร้าง

บรรยากาศของ

การเคารพสิทธิ

เสรีภาพ การมี

ส่วนร่วมและ

ความไวว้างใจ

จดักลุ่มผูรั้บการอบรมเป็นกลุ่มๆ ละ 5

– 8 คน แต่ละกลุ่มหาตวัแทน ทาํ

หนา้ท่ีหวัหนา้กลุ่มและเลขานุการ

กลุ่ม

ใหอิ้สระในการจดักลุ่ม/

จาํนวน 4 กลุ่ม (กรณีผูเ้ขา้

อบรม 25 คน)

พิจารณากาํหนดการ ตารางเวลาและ

ขอ้ปฏิบติัในการอบรม

วิทยากรเสนอร่าง

กาํหนดการ/ขอ้ปฏิบติั ผู้

เขา้อบรมร่วมแสดงความ

คิดเห็น/สรุปเป็นขอ้

ปฏิบติั

9.30 -

10.30 น.

การเสริมสร้าง

ความรู้/เขา้ใจ

กระบวนทศัน์

เร่ืองมนุษยข์อง

พระสนัตะปาปา

ศึกษาเอกสารกระบวนทศัน์เร่ือง

มนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ

มอบเอกสารใหแ้ต่ละคน

ศึกษาและสรุปขอ้คิด (45

นาที)

เอกสารกระบวนทศัน์ฯ

และใบงาน 1

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

400

10.30 –10.45 น. พกั-อาหารว่าง

10.45 –

12.30 น.

ประชุมกลุ่มยอ่ย

เสนอผลการประชุมกลุ่ม

สรุปผลการศึกษา

แบบบนัทึกประชุมกลุ่ม 1

ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอ

วิทยากรสรุป

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 1

12.30 – 13.30 น. อาหารเท่ียง/พกั

13.30 –

16.00 น.

การทาํความ

เขา้ใจ

ปรากฏการณ์การ

ดาํเนินชีวติ

ร่วมกบัคนอ่ืน

วิพากษก์รณีศึกษาการดาํเนินชีวิต

ร่วมกบัคนอ่ืน/สงัคม

มอบเอกสารกรณีศึกษาให้

แต่ละคนวิพากษ ์(45

นาที)

กรณีศึกษาชุดท่ี 1/1 และ

ใบงาน 2/1 ใหส้มาชิก

กลุ่ม 1 และ 2 กรณีศึกษา

ชุดท่ี 1/2 และใบงาน 2/2

ใหส้มาชิกกลุ่ม 3 และ 4

ประชุมกลุ่มยอ่ย แบบบนัทึกประชุมกลุ่ม 2

เสนอผลการประชุมกลุ่ม ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอ

สรุปผลการศึกษา วิทยากรสรุปสาระ

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 1

16.00 – 16..15 น. พกั/ทานของว่าง

16.15 –

17.00 น.

การไตร่ตรอง

ชีวิต

-ไตร่ตรองการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคน

อ่ืน/สงัคม

แต่ละคนไตร่ตรองชีวิต

และสลบักนัมาพบ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

401

- พบปะวิทยากรเป็นรายบุคคล วิทยากรเป็นรายบุคคล

17.00 –

17.30 น.

การออกแบบ

แนวปฏิบติั

กาํหนดขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัท่ีส่งเสริม

คุณค่าความหมายชีวิตของแต่ละคน

แต่ละคนหาขอ้ตั้งใจ/แนว

ปฏิบติัท่ีส่งเสริมคุณค่า

ความหมายชีวติของตน

บนัทึกผลการไตร่ตรองชีวิตและแนว

ปฏิบติั

แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 1

วนัที่ 2

8.30 –

9.30 น.

การเสริมสร้าง

บรรยากาศฯ

เขา้กลุ่ม

ภาวนา/ทาํสมาธิ ใชบ้ทเพลงบรรเลง

สรุปภาพรวมของการจดัอบรมใน

วนัท่ีผา่นมา

ใหผู้เ้ขา้อบรมไดร่้วม

อภิปรายและวิทยากรสรุป

9.30 –

10.30 น.

การทาํความ

เขา้ใจ

ปรากฏการณ์การ

ดาํเนินชีวติ

ร่วมกบั

ส่ิงแวดลอ้ม

วิพากษก์รณีศึกษาการดาํเนินชีวิต

ร่วมกบัส่ิงแวดลอ้ม

มอบเอกสารกรณีศึกษาให้

แต่ละคนวิพากษ ์(45

นาที)

กรณีศึกษาชุดท่ี 2/1 และ

ใบงาน 3/1 ใหส้มาชิก

กลุ่ม 1 และ 2 กรณีศึกษา

ชุดท่ี 2/2 และใบงาน 3/2

ใหส้มาชิกกลุ่ม 3 และ 4

10.30 –10.45 น. พกั-อาหารว่าง

10.45 –

12.30 น.

ประชุมกลุ่มยอ่ย แบบบนัทึกประชุมกลุ่ม 3

เสนอผลการประชุมกลุ่ม ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอ

สรุปผลการศึกษา วิทยากรสรุปสาระ

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

402

การอบรม 2

12.30 – 13.30 น. อาหารเท่ียง/พกั

13.30 –

16.00 น.

การไตร่ตรอง

ชีวิต

-ไตร่ตรองการดาํเนินชีวิตร่วมกบั

ส่ิงแวดลอ้ม

- พบปะวิทยากรเป็นรายบุคคล

แต่ละคนไตร่ตรองชีวิต

และสลบักนัมาพบ

วิทยากรเป็นรายบุคคล

16.00 – 16.15 น. พกั/ของว่าง

16.15 –

17.30 น.

การออกแบบ

แนวปฏิบติั

กาํหนดขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัท่ีส่งเสริม

คุณค่าความหมายชีวิตของแต่ละคน

แต่ละคนหาขอ้ตั้งใจ/แนว

ปฏิบติัท่ีส่งเสริมคุณค่า

ความหมายชีวติของตน

บนัทึกผลการไตร่ตรองชีวิตและแนว

ปฏิบติั

แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 2

วนัที่ 3

8.30 –

9.30 น.

การเสริมสร้าง

บรรยากาศฯ

เขา้กลุ่ม

ใชด้นตรี/บทเพลงบรรเลง ภาวนา/ทาํสมาธิ

สรุปภาพรวมของการจดัอบรมใน

วนัท่ีผา่นมา

ใหผู้เ้ขา้อบรมไดร่้วม

อภิปรายและวิทยากรสรุป

9.30 -

10.30 น.

การเสริมสร้าง

ความรู้/เขา้ใจ

ศึกษาเอกสาร “การพฒันามนุษยต์าม

กระแสโลกาภิวตันฯ์”

มอบเอกสารใหแ้ต่ละคน

ศึกษาและสรุปขอ้คิด (45

นาที)

เอกสารการพฒันาฯ และ

ใบงาน 4

10.30 –10.45 น. พกั-อาหารว่าง

10.45 – ประชุมกลุ่มยอ่ย แบบบนัทึกประชุมกลุ่ม 4

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

403

12.30 น. เสนอผลการประชุมกลุ่ม

สรุปผลการศึกษา

ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอ

วิทยากรสรุป

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 3

12.30 – 13.30 น. อาหารเท่ียง/พกั

13.30 –

16.00 น.

การทาํความ

เขา้ใจ

ปรากฏการณ์การ

ดาํเนินชีวติท่ี

สมัพนัธก์บัพระ

เจา้

วิพากษก์รณีศึกษาการดาํเนินชีวิตท่ี

สมัพนัธก์บัพระเจา้

มอบเอกสารกรณีศึกษาให้

แต่ละคนวิพากษ ์(45

นาที)

กรณีศึกษาชุดท่ี 3/1 และ

ใบงาน 5/1 ใหส้มาชิก

กลุ่ม 1 และ 2 กรณีศึกษา

ชุดท่ี 3/2 และใบงาน 5/2

ใหส้มาชิกกลุ่ม 3 และ 4

ประชุมกลุ่มยอ่ย แบบบนัทึกประชุมกลุ่ม 5

เสนอผลการประชุมกลุ่ม ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอ

สรุปผลการศึกษา วิทยากรสรุปสาระ

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 3

16.00 – 16..15 น. พกั/ทานของว่าง

16.15 –

17.00 น.

การไตร่ตรอง

ชีวิต

-ไตร่ตรองการดาํเนินชีวิตท่ีสมัพนัธ์

กบัพระเจา้

- พบปะวิทยากรเป็นรายบุคคล

แต่ละคนไตร่ตรองชีวิต

และสลบักนัมาพบ

วิทยากรเป็นรายบุคคล

17.00 –

17.30 น.

การออกแบบ

แนวปฏิบติั

กาํหนดขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัท่ีส่งเสริม

คุณค่าความหมายชีวิตของแต่ละคน

แต่ละคนหาขอ้ตั้งใจ/แนว

ปฏิบติัท่ีส่งเสริมคุณค่า

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

404

ความหมายชีวติของตน

บนัทึกผลการไตร่ตรองชีวิตและแนว

ปฏิบติั

แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 3

วนัที่ 4

8.30 –

9.30 น.

การเสริมสร้าง

บรรยากาศฯ

เขา้กลุ่ม

ภาวนา/ทาํสมาธิ ใชบ้ทเพลงบรรเลง

สรุปภาพรวมของการจดัอบรมใน

วนัท่ีผา่นมา

ใหผู้เ้ขา้อบรมไดร่้วม

อภิปรายและวิทยากรสรุป

9.30 –

10.30 น.

การทาํความ

เขา้ใจ

ปรากฏการณ์การ

ดาํเนินชีวติท่ี

เคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษยข์องตนเอง

วิพากษก์รณีศึกษาการดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพคุณค่าของตนเอง

มอบเอกสารกรณีศึกษาให้

แต่ละคนวิพากษ ์(45

นาที)

กรณีศึกษาชุดท่ี 4/1 และ

ใบงาน 6/1 ใหส้มาชิก

กลุ่ม 1 และ 2 กรณีศึกษา

ชุดท่ี 4/2 และใบงาน 6/2

ใหส้มาชิกกลุ่ม 3 และ 4

10.30 –10.45 น. พกั-อาหารว่าง

10.45 –

12.30 น.

ประชุมกลุ่มยอ่ย แบบบนัทึกประชุมกลุ่ม 6

เสนอผลการประชุมกลุ่ม ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอ

สรุปผลการศึกษา วิทยากรสรุปสาระ

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 4

12.30 – 13.30 น. อาหารเท่ียง/พกั

13.30 – การไตร่ตรอง -ไตร่ตรองการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ แต่ละคนไตร่ตรองชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

405

16.00 น. ชีวิต คุณค่าของตนเอง

- พบปะวิทยากรเป็นรายบุคคล

และสลบักนัมาพบ

วิทยากรเป็นรายบุคคล

16.00 – 16.15 น. พกั/ของว่าง

16.15 –

17.30 น.

การออกแบบ

แนวปฏิบติั

กาํหนดขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัท่ีส่งเสริม

คุณค่าความหมายชีวิตของแต่ละคน

แต่ละคนหาขอ้ตั้งใจ/แนว

ปฏิบติัท่ีส่งเสริมคุณค่า

ความหมายชีวติของตน

บนัทึกผลการไตร่ตรองชีวิตและแนว

ปฏิบติั

แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 4

วนัที่ 5

8.30 –

9.30 น.

การเสริมสร้าง

บรรยากาศฯ

เขา้กลุ่ม

ภาวนา/ทาํสมาธิ ใชบ้ทเพลงบรรเลง

สรุปภาพรวมของการจดัอบรมใน

วนัท่ีผา่นมา

ใหผู้เ้ขา้อบรมไดร่้วม

อภิปรายและวิทยากรสรุป

9.30 -

10.30 น.

การเสริมสร้าง

ความรู้/เขา้ใจ

ศึกษาเอกสาร “แนวทางการพฒันา

มนุษยฯ์”

มอบเอกสารใหแ้ต่ละคน

ศึกษาและสรุปขอ้คิด (45

นาที)

เอกสารแนวทางฯ และ/

ใบงาน 7

10.30 –10.45 น. พกั-อาหารว่าง

10.45 –

12.30 น.

ประชุมกลุ่มยอ่ย

เสนอผลการประชุมกลุ่ม

สรุปผลการศึกษา

แบบบนัทึกประชุมกลุ่ม 7

ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอ

วิทยากรสรุป

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

406

ใหแ้ต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 5

12.30 – 13.30 น. อาหารเท่ียง/พกั

13.30 –

16.00 น.

การทาํความ

เขา้ใจ

ปรากฏการณ์ฯ

นาํเขา้สู่บรรยากาศความสงบ

เสนอรูปภาพท่ีส่ือถึงการดาํเนินชีวติ

ตามกระแสทาํลายชีวิต

นัง่สมาธิ

วิทยากรเสนอรูปภาพ

สงัเกต “ความรู้สึก” จากการมองภาพ

ท่ีนาํเสนอและบนัทึก

ใบงาน 8

16.00 – 16..15 น. พกั/ทานของว่าง

16.15 –

17.00 น.

การไตร่ตรอง

ชีวิต

- นาํเขา้สู่บรรยากาศของความสงบ

- ไตร่ตรอง (รําพึง) พระคมัภีร์

- พบปะวิทยากรเป็นรายบุคคล

อ่านพระวรสารนกับุญลู

กา บทท่ี 10 : 25 – 36 2 –

3 รอบ แต่ละรอบใหส้ลบั

กบัการอยูเ่งียบๆ ใน

บรรยากาศความสงบ เพ่ือ

ฟังเสียงภายในจิตใจ จาก

การไตร่ตรอง (รําพึง)

พระคมัภีร์

17.00 –

17.30 น.

การออกแบบ

แนวปฏิบติั

กาํหนดขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัท่ีส่งเสริม

คุณค่าความหมายชีวิตของแต่ละคน

แต่ละคนหาขอ้ตั้งใจ/แนว

ปฏิบติัท่ีส่งเสริมคุณค่า

ความหมายชีวติของตน

บนัทึกผลการไตร่ตรองชีวิตและแนว

ปฏิบติั

แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 5

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

407

วนัที่ 6

8.30 –

9.30 น.

การเสริมสร้าง

บรรยากาศฯ

เขา้กลุ่ม

ภาวนา/ทาํสมาธิ ใชบ้ทเพลงบรรเลง

สรุปภาพรวมของการจดัอบรมใน

วนัท่ีผา่นมา

ใหผู้เ้ขา้อบรมไดร่้วม

อภิปรายและวิทยากรสรุป

9.30 –

10.30 น.

การทาํความ

เขา้ใจ

ปรากฏการณ์ฯ

ชมวีดีทศัน์ชีวประวติัพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

วีดีทศัน์ “ผูน้าํสนัติ”

10.30 – 10.45 น. พกั/ของว่าง

10.45 –

12.30 น.

ประชุมกลุ่ม วิพากษก์ารดาํเนินชีวติ

ของพระสนัตะปาปาฯ

แบบบนัทึกการประชุม

กลุ่ม 8

เสนอผลการประชุมกลุ่ม ตวัแทนกลุ่มนาํเสนอ

สรุปผลการศึกษา วิทยากรสรุป

แต่ละคนบนัทึกผลการศึกษา แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 6

12.30 – 13.30 น. อาหารเท่ียง/พกั

13.30-

14.30 น.

การไตร่ตรอง

สภาพชีวิตของ

แต่ละคนในการ

ดาํเนินชีวติท่ี

เคารพตนเอง คน

อ่ืน ส่ิงแวดลอ้ม

และ

ความสมัพนัธก์บั

- นาํเขา้สู่บรรยากาศของความสงบ

- ไตร่ตรอง (รําพึง) พระคมัภีร์

ทาํสมาธิ/อ่านพระวรสาร

นกับุญมทัธิว บทท่ี 20 :

24 – 28 2 – 3 รอบ แต่ละ

รอบใหส้ลบักบัการอยู่

เงียบๆ ในบรรยากาศ

ความสงบ เพ่ือฟังเสียง

ภายในจิตใจ จากการ

ไตร่ตรอง (รําพึง) พระ

คมัภีร์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

408

พระเจา้

14.30-

16.00 น.

การอออกแบบ

แนวปฏิบติัเพ่ือ

พฒันาพฤติกรรม

การดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพตนเอง คน

อ่ืน ส่ิงแวดลอ้ม

และ

ความสมัพนัธก์บั

พระเจา้

- ไตร่ตรอง (รําพึง) พระคมัภีร์

- พบปะวิทยากรเป็นรายบุคคล

แต่ละคนฟังเสียงภายใน

จิตใจจากการไตร่ตรอง

พระคมัภีร์ สลบักนัมา

พบปะแลกเปล่ียนเรียนรู้

กบัวิทยากร/ท่ีปรึกษาเป็น

รายบุคคล แบ่งปัน

แลกเปล่ียนเรียนรู้การ

คน้พบ/รับรู้ตนเอง เพ่ือ

นาํสู่การกาํหนดขอ้ตั้งใจ/

แนวปฏิบติั

แต่ละคนกาํหนดขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติั

ในการดาํเนินชีวิตเพ่ือพฒันา/

เปล่ียนแปลงการดาํเนินชีวิตเพ่ือการ

เคารพตนเอง คนอ่ืน ส่ิงแวดลอ้มและ

ความสมัพนัธก์บัพระเจา้

แต่ละคนไตร่ตรองใน

บรรยากาศความสงบ เพ่ือ

ฟังเสียงภายในจิตใจ จาก

การไตร่ตรอง (รําพึง)

พระคมัภีร์

แต่ละคนบนัทึกผลการไตร่ตรองและ

ออกแบบแนวปฏิบติัในแบบบนัทึก

แบบบนัทึกส่ิงท่ีไดจ้าก

การอบรม 6

16.00-

17.00 น.

สรุป/ประเมิน สรุปสาระ/ภาพรวมการจดัอบรม วิทยากรนาํเสนอ

ประเมินผล แบบวดัความรู้ เจตคติ

พฤติกรรมฯ

หมายเหตุ 1. มีการลงทะเบียนเขา้ร่วมอบรมเฉพาะวนัแรก เวลา 8.15 – 8.30 น.

2. มีการทาํแบบวดัความรู้ เจตคติและพฤติกรรมฯ ก่อนและหลงัการอบรม

3. หลงัปิดการอบรม มีการจดัทาํแบบสอบถามความคิดเห็นการใชรู้ปแบบฯ และ

การสมัภาษณ์การใชรู้ปแบบฯ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

409

4. เคร่ืองมอื/ส่ือท่ีใช้ประกอบการจดัอบรม

เคร่ืองมือ/ส่ือท่ีใชป้ระกอบการจดัอบรมตามรูปแบบฯ ไดแ้ก่ เอกสาร กรณีศึกษา

รูปภาพ วีดีทศัน์ ขอ้ความจากพระคมัภีร์ ใบงานและแบบบนัทึกต่างๆ ดงัน้ี

4.1 เอกสาร

ในช่วงแรกของการจัดอบรมในแต่ละวนั เป็นการศึกษา/ทาํความเข้าใจการ

อธิบายมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดว้ยการ

มอบเอกสารให้ผูรั้บการอบรมไปศึกษา โดยให้เวลาในการศึกษาชุดละ 30-45 นาที และสรุปเป็น

ขอ้คิดท่ีไดจ้ากการศึกษาเป็นส่วนบุคคล มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่มย่อย และแบ่งปันแก่กลุ่ม

ใหญ่ เพ่ือเป็นแนวทางในการพิจารณาคุณค่า ความหมายและแนวทางการดาํเนินชีวิตของตนเอง

สาระสาํคญัของเอกสาร (รายละเอียดดูภาคผนวก) ดงัน้ี

4.1.1 เอกสาร “มนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2” สรุปความไดว้่า มนุษยเ์ป็นส่ิงประเสริฐ (ดีและศกัด์ิสิทธ์ิ) ท่ีพระเจา้ทรงสร้างให้เป็นภาพลกัษณ์ของ

พระเจา้ ทาํใหม้นุษยเ์ป็น “บุคคล” ท่ีส่วนร่วมและสามารถบรรลุถึงการเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระ

เจา้ ดว้ยความสาํนึกและใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์อง

ตนเอง คนอ่ืน/สงัคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการ

ดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ดงันั้น วิถีชีวิตมนุษยจึ์งไม่ใช่มุ่งพฒันาส่ิงท่ีมนุษยต์อ้งการ

ดา้นร่างกายเท่านั้น (Having) แต่ตอ้งมุ่งพฒันาลกัษณะภายในจิตใจ (Being) โดยคาํนึงถึงศกัด์ิศรี

ของความเป็นมนุษยเ์หนือสรรพส่ิงทั้งหลาย

4.1.2 เอกสาร “การพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ : การวิพากษ์การพฒันาตาม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2” สรุปความไดว้่า พระสันตะปาปาฯ ทรงช่ืน

ชมและยอมรับว่าความเจริญกา้วหน้าของสังคม ท่ีอาํนวยความสะดวกและนาํผลประโยชน์สู่ชีวิต

มนุษย ์ เป็นผลมาจากการพฒันา ซ่ึงใชเ้ศรษฐกิจเป็นตวักาํหนดแนวทางการพฒันาสังคมผ่านทาง

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสังคมนิยมแบบมาร์กซ์ อย่างไรก็ตาม ระบบเศรษฐกิจดงักล่าว

สนใจมนุษยแ์ต่เพียงด้านวัตถุหรือด้านความต้องการของร่างกายมากเกินไป จนทาํให้ละเลย

ความสาํคญัและคุณค่าของจิตใจท่ีเป็นลกัษณะพิเศษของมนุษย ์

4.1.3 เอกสาร “แนวทางการพฒันามนุษยไ์ปสู่การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีมนุษย ์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2” สรุปความได้ว่าพระ

สนัตะปาปาฯ เสนอแนวทางการพฒันาบนพ้ืนฐานของความเขา้ใจว่า มนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีมีเสรีภาพ

บนความสาํนึกรับผดิชอบ ท่ีจะตอ้งดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้งกบัการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ดว้ย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

410

การตอบรับแนวทางของพระเจา้ โดยปรับเปล่ียน/พฒันาเจตคติในการดาํเนินชีวิต ท่ีมิไดมุ่้งพฒันาแต่

เพียงวตัถุกายภาพ ตามค่านิยมท่ีเนน้เศรษฐกิจเป็นหลกั แต่สาํนึกและใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง คนอ่ืน/สังคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการ

ตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

4.2 กรณศึีกษา การจดัอบรมตามรูปแบบฯ ใหค้วามสาํคญัต่อการศึกษาปรากฏการณ์ชีวิต/สงัคม

ในสองวนัแรกของการอบรม โดยใชก้รณีศึกษาท่ีเป็นข่าว/เร่ืองราวของสังคม เป็นการศึกษาสภาพ

ชีวิตของบุคคลหรือสงัคมเป็นกรณีๆ การศึกษาปรากฏการณ์โดยใชก้รณีศึกษา นอกจากจะเป็นการ

ทาํความขา้ใจปรากฏการณ์ชีวิตและสังคมแลว้ ยงัมีจุดประสงค์ เพ่ือพฒันาความคิดเชิงวิพากษ์/

แยกแยะความเหมาะสมของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

4.2.1 หลกัในการพิจารณากรณีศึกษา

การจดัเตรียมกรณีศึกษา ควรใช้กรณีศึกษาท่ีเป็นประเด็นข่าวท่ีอยู่ใน

ความสนใจของสงัคมท่ีมีแนวโนม้เป็นตวัอยา่งท่ีดี ในขณะเดียวกนัสามารถนาํไปวิพากษ์ แยกแยะ

ความเหมาะสมต่อการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต (ความสัมพนัธ์กบัตนเอง คนอ่ืน ส่ิงแวดลอ้ม

และพระเจา้) เพ่ือนาํสู่การสรุปสาระสาํคญัของรูปแบบการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของ

ตนเอง คนอ่ืน การมีความสัมพนัธ์กบัส่ิงแวดลอ้มและความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ตามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

4.2.2 วิธีการ

การใชก้รณีศึกษา เป็นการทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ ดว้ยการวิพากษ ์และ

เป็นการพฒันาความคิดเชิงวิพากษ์แยกแยะความเหมาะสมของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

ดงันั้น จึงควรใหผู้รั้บการอบรมไดมี้การวิพากษ์แยกแยะเป็นรายบุคคล การแบ่งปันแก่สมาชิกใน

กลุ่มย่อย และการนาํเสนอในกลุ่มใหญ่ เพ่ือเปิดมุมมองในการวิพากษ์ ทั้งน้ี วิทยากรควรอธิบาย

ลกัษณะของการวิพากษแ์ยกแยะ เพ่ือเป็นตวัอยา่งการวิพากษ์ ซ่ึงจะช่วยให้ผูอ้บรมไดมี้ทบทวน/มี

พ้ืนฐานของหลกัในการวิพากษ ์

4.2.3 รูปแบบและตวัอยา่งกรณีศึกษา

กรณีศึกษาจะแบ่งออกเป็น 4 กรณีๆ ละ 2 เร่ือง ซ่ึงในคู่มือไดจ้ดัเตรียมไว้

เป็น เร่ิมดว้ยการศึกษาปรากฏการณ์การดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน และส่ิงแวดลอ้ม ในวนัแรก และ

การศึกษาปรากฏการณ์การดาํเนินชีวิตท่ีมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ และการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเองในวนัท่ีสอง เป็นการจดัเรียงลาํดบักรณีศึกษา โดยมีเจตนา

เพ่ือมุ่งไปสู่การคน้พบ รับรู้/ยอมรับ และการตดัสินใจเปล่ียนแปลงเจตคติในการดาํเนินชีวิต จากการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

411

พิจารณาปรากฏการณ์การดําเนินชีวิตท่ีความสัมพันธ์กับคนอ่ืน /ส่ิ งแวดล้อม นําไปสู่การมี

ความสมัพนัธก์บัพระเจา้และความสมัพนัธก์บัตนเอง ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานสาํคญัของการเปล่ียนแปลงเจต

คติในการดาํเนินชีวิต โดยมีตวัอย่างกรณีศึกษา แนวทางการวิพากษ์และการสรุปสาระสาํคญัของ

กรณีศึกษา ดงัน้ี

1. กรณีศึกษาปรากฏการณ์ชีวิตของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีมี

ความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน/สงัคม เป็นท่าที/พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตดว้ยความเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ของคนอ่ืนในฐานะเป็นมนุษย ์เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า ไม่มุ่งดาํเนินชีวิตแบบต่างคนต่างอยู ่

(ปัจเจก) สนใจแต่เพียงไม่ทาํใหค้นอ่ืนเดือนร้อน หรือเอาแต่ประโยชน์/ใชค้นอ่ืนเป็นเคร่ืองมือเพ่ือ

ความสําเร็จ/ผลประโยชน์ส่วนตัว จนเมินเฉย ละเลยหรือละเมิดสิทธิ เสรีภาพของคนอ่ืน การ

ดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน/สังคม เป็นลกัษณะการดาํเนินชีวิตเป็นหมู่คณะ (John Paul II, 1995: 48,

76; 1988: 40; 1981: 10) ในครอบครัว ชุมชน/สงัคม ท่ีทุกคนสาํนึกรับผดิชอบชีวิตของคนอ่ืน (John

Paul II, 1991: 49; 1981: 17) เพ่ือความดีของบุคคล ตามบทบาท/สถานภาพในสังคม การมีนํ้ าใจ

เอ้ือเฟ้ือเผือ่แผ/่แบ่งปัน ความพร้อมท่ีจะเสียสละเพ่ือผูอ่ื้น แทนท่ีจะเอาเปรียบผูอ่ื้น และพร้อมท่ีจะรับ

ใชผู้อ่ื้นแทนท่ีจะกดข่ีผูอ่ื้นเพ่ือผลประโยชน์ส่วนตน (John Paul II, 1987: 38, 39, 46) ทั้งน้ี ในการ

จดัอบรมฯ ไดจ้ดัเตรียมเสนอกรณีตวัอยา่ง จาํนวนสองกรณี ดงัน้ี

1.1 นายตาํรวจ ระดมเงินเพ่ือเป็นขวญัและกาํลงัใจแก่นักกีฬาแชมป์

โลก ในการสร้างช่ือเสียงใหป้ระเทศชาติ มีแนวการวิพากษ์ไดว้่าการกระทาํของนายตาํรวจใหญ่ มี

ความเหมาะสม เน่ืองจากเป็นการส่งเสริมบุคคลท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดีในการมุมานะ จนประสบ

ความสาํเร็จ นอกจากนั้นยงัเป็นการกระตุน้จิตสาํนึกสังคม ให้ยกย่องเชิดชูคนท่ีเป็นตวัอย่างท่ีดีแก่

สงัคม ในขณะเดียวกนั วิพากษไ์ดว้่าเป็นการกระทาํท่ีไม่เหมาะสม เน่ืองจาก การมอบเงินท่ีมาจาก

การระดมเงินผ่านทางนายตาํรวจใหญ่ คนท่ีให้อาจไม่เต็มใจ หรือให้เพราะขดัไม่ได ้ นอกจากนั้น

การจดักิจกรรมดงักล่าว มีลกัษณะเป็นการเกาะกระแสคนดงั เพ่ือทาํให้ตนเองดูดีในสายตาคนอ่ืน

เป็นตน้

จากกรณีศึกษาดังกล่าว ท่ีแสดงถึงปรากฏการณ์การยกย่อง

ส่งเสริมบุคคลท่ีเป็นตัวอย่างของการพัฒนาตนเองด้วยการพัฒนาทักษะ/ความสามารถตาม

บุคลิกภาพของสมาชิกในสังคม อย่างไรก็ตาม พึงระวงัการส่งเสริมแต่เพียงดา้นการสร้างช่ือเสียง

(ในฐานะเป็นแชมป์โลก) แต่ควรเน้นในเร่ืองของความการดาํเนินชีวิตดว้ยความวิริยะ อุตสาหะ

ขยนัหมัน่เพียร การฝึกซอ้ม การมีระเบียบวินัยในชีวิต ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานสาํคญัของบุคคลในการมุ่งสู่

เป้าหมายของชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

412

1.2 พระขอบิณฑบาต ให้ตาํรวจปล่อยตัวคนท่ีขโมยเงินบริจาคไป

เล้ียงครอบครัว มีแนวการวิพากษไ์ดว้่า การกระทาํของพระ มีความเหมาะสมเน่ืองจาก เป็นการแสดง

จิตเมตตาแก่ผูก้ระทาํผิดด้วยสถานการณ์ความยากลาํบากของชีวิต และการให้โอกาสคน ใน

ขณะเดียวกนั การกระทาํของพระ ไม่เหมาะสม เน่ืองจากเป็นการส่งเสริมให้เกิดการผ่อนปรน หรือ

การยอมความในการกระทาํผดิท่ีผดิกฎหมาย และอาจทาํใหเ้กิดแรงจูงใจในการกระทาํผิดท่ีหนักข้ึน

ในลาํดบัต่อไป

จากกรณีศึกษาดงักล่าว ท่ีแสดงถึงปรากฏการณ์การแสดงความ

เมตตา/ใหค้วามช่วยเหลือคนท่ีเดือดร้อนในรูปแบบต่างๆ สงัคมตอ้งช่วยส่งเสริมใหส้มาชิกในสังคม

มีคุณภาพชีวิตท่ีเหมาะสม ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานสําคัญให้บุคคลสามารถพึ่งตนเอง มีหน้าท่ีการงานท่ี

สามารถเล้ียงครอบครัวตนเองไดอ้ย่างเหมาะสม บนพ้ืนฐานของความภาคภูมิใจในชีวิต ไม่ใช่ใน

ลกัษณะการสงเคราะห์ แต่เป็นการส่งเสริมใหเ้กิดการพฒันาบนความภาคภูมิใจในชีวิต ถูกตอ้งตาม

หลกักฎหมายและศีลธรรม

2. กรณีศึกษาปรากฏการณ์ชีวิตของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีมี

ความสัมพนัธ์กับส่ิงแวดล้อม เป็นท่าที/พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตของบุคคลท่ีตระหนักถึง

ความสาํคญัของส่ิงแวดลอ้มตามระบบนิเวศวิทยา ในฐานะท่ีส่ิงแวดลอ้ม เป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้าง

ให้มนุษย ์ร่วมกนัดูแลรักษาและใชส่ิ้งแวดลอ้มเพ่ือเสริมสร้างความดีของบุคคล/สังคมและชนรุ่น

หลงั บนพ้ืนฐานของความสาํนึกในคุณค่าของส่ิงแวดลอ้มใหอ้ยูใ่นภาวะสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา

(John Paul II, 1991: 38; 1987: 26, 34) ทั้งน้ี ในการจดัอบรมฯ ไดจ้ดัเตรียมกรณีตวัอย่างจาํนวน

สองกรณี สาํหรับใชใ้นการศึกษา ดงัน้ี

2.1 เจา้อาวาสวดัเล้ียงเสือโคร่งในเขตวดั มีแนวการวิพากษว์่าเป็นการ

กระทาํท่ีเหมาะสม เน่ืองจากเป็นการแสดงความเมตตาต่อสตัว ์ซ่ึงวดัไดจ้ดัสถานท่ี มีการดูแลเล้ียงดู

อยา่งดี และเสือท่ีเล้ียง เป็นเสือท่ีชาวบา้นนาํมาถวายใหว้ดัตั้งแต่ยงัเล็ก รวมถึงไดจ้ดทะเบียนกบัทาง

ราชการอยา่งถกูตอ้ง ในขณะเดียวกนั วิพากษไ์ดว้่าเป็นการกระทาํท่ีไม่เหมาะสม เน่ืองจาก วดัเป็น

สถานท่ีปฏิบติัธรรม ไม่ควรเล้ียงสตัวดุ์ร้าย ท่ีอาจทาํร้ายคนท่ีมาปฏิบติัธรรมได ้เป็นตน้

จากกรณีศึกษาดงักล่าว ท่ีแสดงใหเ้ห็นปรากฏการณ์การนาํสตัวป่์า

มาเล้ียง ดว้ยเหตุผลเพ่ือการศึกษา การดูแลรักษาสตัวท่ี์เจ็บป่วย การอนุรักษ์สัตวท่ี์อยู่ในภาวะเส่ียง

ต่อการสูญพนัธุ ์ หรือดว้ยเหตุผล/ความจาํเป็นต่างๆ ตอ้งมีการดูแลเอาใจดว้ยความรอบคอบ ดว้ยการ

สงวนรักษาใหส้ตัวห์รือส่ิงมีชีวิตต่างๆ ท่ีอยู่ในความดูแลคงรักษาสภาวะตามธรรมชาติของส่ิงนั้น

ไม่ใช่นาํมากกัขงั ทรมาน หรือนาํมาเป็นสตัวเ์ล้ียงเพื่อความบนัเทิง จนทาํใหส้ตัวน์ั้นๆ ไม่เป็นไปตาม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

413

ธรรมชาติของตวัมนัเอง ทั้งน้ี ควรอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ง ไม่ใช่การ

ดาํเนินการ/การจดัการกนัเอง

2.2 ชาวบา้นรวมตวักนัปกป้องป่า จนปะทะนายทุนท่ีอา้งกรรมสิทธ์ิ

ครอบครอง มีแนวทางการวิพากษ์ว่าเป็นการกระทาํท่ีเหมาะสม เน่ืองจากเป็นการปกป้องพ้ืนท่ี

สาธารณะประโยชน์ของชุมชน ซ่ึงไม่ควรถกูครอบครองโดยบุคคลใดบุคคลหน่ึง และถา้ไม่ทาํการ

ลอ้มร้ัว ป้องกันการบุกรุก จะทาํให้เกิดการทาํลายป่าจากคนท่ีอ้างกรรมสิทธ์ิครอบครอง ใน

ขณะเดียวกัน วิพากษ์ไดว้่าเป็นการกระทาํท่ีไม่เหมาะสม เน่ืองจาก เป็นการใช้กฎหมู่มาแทนท่ี

กฎหมาย รวมถึงการใชค้วามรุนแรงในการแกปั้ญหาการบุกรุกทาํลายป่า

จากกรณีศึกษาดงักล่าว ท่ีแสดงถึงการแสดงออกของการรวมตวั

กนัรักษาอนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้มต่างๆ ถือเป็นบทบาทหน้าท่ีของทุกคน ทุกภาคส่วนท่ีต้องช่วยกัน

อนุรักษ์ บาํรุงรักษาส่ิงแวดลอ้มให้คงความสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา ด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม

หลีกเล่ียงความรุนแรง จาํเป็นตอ้งมีมาตรการทางกฎหมายและการปฏิบติัตามอย่างเคร่งครัด เพ่ือ

ป้องกนัและปราบปราม เพ่ือการอนุรักษส่ิ์งแวดลอ้มใหค้งความสมดุลแก่คนรุ่นหลงัต่อไป

3. กรณีศึกษาปรากฏการณ์การใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตท่ีมี

ความสมัพนัธก์บัพระเจา้ เป็นท่าที/พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตท่ีสาํนึกถึงพระกรุณาธิคุณของพระเจา้

ท่ีโปรดใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมในความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (John Paul II, 1995: 2, 37; 1986: 34) ทาํ

ใหบุ้คคล “ตอบรับ” แนวทางของพระเจา้ ไม่ใช่ดว้ยความกลวั หรือรู้สึกถกูบงัคบัจนหมดความเป็น

ตวัของตวัเอง แต่เป็นการสาํนึกในความรักของพระเจ้าท่ีต่อมนุษย์ สํานึกว่าคุณค่า ความหมาย

แทจ้ริงของชีวิตคือ การมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ ดว้ยความเช่ือศรัทธาอย่างมีสติ มีเหตุผลในการ

ปฏิบติัตามหลกัคาํสอนของศาสนา มีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิตท่ีมุ่งสู่ความดีงามของ

บุคคลและสงัคม (John Paul II, 1993: 73; 1991: 29) ทั้งน้ี ในการจดัอบรมฯ ไดจ้ดัเตรียมเสนอกรณี

ตวัอยา่ง จาํนวนสองกรณี ดงัน้ี

3.1 นักร้องดัง ทิ้งวงการเพลง สู่เส้นทางแห่งศรัทธาในพระเจ้า มี

แนวทางการวิพากษ์ว่าเป็นการกระทําท่ี เหมาะสม เน่ืองจากเป็นการแสดงถึงการตัดสินใจ

เปล่ียนแปลงวิถีชีวิอยา่งสิ้นเชิง หลงัจากไดค้น้พบและตอบรับพระเจา้ดว้ยความเช่ือศรัทธา จึงนาํสู่

การละทิ้งวิถีชีวิตท่ีตนเองพบว่าไม่ใช่ความสุขแท ้ จึงละทิ้งอย่างสิ้นเชิง เพ่ืออุทิศตนรับใชพ้ระเจา้

ดว้ยการรับใชส้งัคม ในขณะเดียวกนั วิพากษไ์ดว้่าเป็นการกระทาํท่ีไม่เหมาะสม เน่ืองจากอาจทาํให้

เกิดอคติ/ ความเขา้ใจว่าการเป็นนักร้อง (ศิลปิน) เป็นวิถีชีวิตซ่ึงเป็นอุปสรรค (ควรละทิ้ง) ถา้จะมุ่ง

ไปสู่การดาํเนินชีวิตดว้ยความเล่ือมใสศรัทธาต่อพระเจา้ เป็นตน้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

414

จากกรณีศึกษาดงักล่าว ท่ีแสดงถึงการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตอย่าง

สิ้นเชิง หลงัจากไดค้น้พบและตอบรับพระเจา้ ดว้ยการใชเ้สรีภาพตอบรับการเช้ือเชิญของพระเจา้ท่ี

จะมีความสัมพนัธ์กบัพระในชีวิตประจาํวนั การมีความสัมพนัธ์กับพระเจ้า ต้องก่อให้เกิดการ

เปล่ียนแปลงในชีวิต จากการดาํเนินชีวิตท่ียดึตนเองเป็นศนูยก์ลาง ไปสู่การดาํเนินชีวิตท่ีมุ่งไปสู่พระ

เจา้ และปฏิบติัความรักต่อเพ่ือนมนุษย ์ดว้ยการรับใชค้นอ่ืน เพ่ือความดีของบุคคล

3.2 นกัร้อง นกัแต่งเพลงช่ือดงัประสบอุบติัเหตุ แต่เช่ือว่าพระช่วยให้

รอดชีวิต จะแต่งเพลงขอบคุณพระในอลับั้มใหม่ของตน มีแนวทางการวิพากษ์ว่าเป็นการกระทาํท่ี

เหมาะสม เน่ืองจากเป็นการแสดงออกภายนอกใหค้นอ่ืนไดรั้บรู้ ถึงความสาํนึกในความเช่ือศรัทธาท่ี

ต่อพระ ผา่นทางบทบาท/อาชีพ หรือความสามารถพิเศษของบุคคล ในขณะเดียวกนั วิพากษ์ไดว้่า

เป็นการกระทาํท่ีไม่เหมาะสม เน่ืองจาก อาจทาํใหค้นอ่ืนเขา้ใจหรือยึดติดว่าพระเจา้ เป็นเหมือนกบั

ส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิท่ีคอยคุม้ครอง ใหค้วามปลอดภยัดา้นร่างกาย มากกว่าท่ีมุ่งเสริมสร้างความสัมพนัธ์กบั

พระ ดว้ยการปฏิบติัตนรับใชเ้พ่ือนมนุษย ์

จากกรณีศึกษาดังกล่าว ท่ีแสดงออกมาภายนอกถึงความสาํนึก

ภายในจิตใจท่ีเช่ือศรัทธาต่อพระอยูเ่สมอในสถานการณ์ของชีวิตประจาํวนั ความสัมพนัธ์กบัพระ

เป็นความสมัพนัธส่์วนบุคคลท่ีแต่ละคนตอบรับดว้ยใจอิสระ ในความเป็นตวัของตวัเอง (อตัลกัษณ์)

และแสดงออกมาภายนอกให้เป็นท่ีประจกัษ์ในการดาํเนินชีวิตตามบทบาท หน้าท่ีตามสถานภาพ

ของสงัคม

4. กรณีศึกษาปรากฏการณ์การใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรีของบุคคล (ตนเอง) เป็นท่าที/พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษยข์องตนเอง ว่าเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ท่ีมีภารกิจและศกัยภาพไปสู่ความเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์ในพระเจา้ เช่ือมัน่ ภูมิใจและสาํนึกรับผิดชอบในการดาํเนินชีวิตดว้ยการเสริมสร้างและ

พฒันาตนเองในบริบทวฒันธรรม ภูมิปัญญา และประเพณีอนัดีงามท่ีหล่อหลอมให้แต่ละคนเป็น

บุคคลท่ีมีอตัลกัษณ์ (John Paul II, 1991: 50) ในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม

(John Paul II, 1998: 25; 1995: 40, 48; 1994: 41) ทั้งน้ี ในการจดัอบรมฯ ไดจ้ดัเตรียมเสนอกรณี

ตวัอยา่ง จาํนวนสองกรณี ดงัน้ี

4.1 หนุ่มวยั 15 ปี ผ่านการทาํศลัยกรรมใบหน้า 16 คร้ัง จากเงินท่ีหา

ไดด้ว้ยนํ้ าพกันํ้ าแรงของตนเอง มีแนวทางการวิพากษว์่ามีความเหมะสม เน่ืองจากเป็นการเสริมแต่ง/

ขจดัส่ิงท่ีตนเองรู้สึกเป็นปมดอ้ย เพ่ือใหเ้กิดความเช่ือมัน่ยิง่ข้ึนในการดาํเนินชีวิต รวมถึงการใชเ้งินท่ี

เป็นรายไดท่ี้หามาได้ดว้ยตนเองในการดาํเนินการ ในขณะเดียวกัน วิพากษ์ไดว้่าไม่เหมาะสม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

415

เน่ืองจากเป็นการกระทาํท่ีมุ่งตอบสนองความพึงพอใจเพื่อใหต้นเอง/คนอ่ืนมองว่าตนเองดูดี (ความ

งาม) แต่เพียงภายนอก ท่ีไม่มีวนัสิ้นสุด แมจ้ะใชเ้งินท่ีหาไดด้ว้ยตนเอง แต่เงินดงักล่าว ควรเก็บไว้

สาํหรับการศึกษา การช่วยเหลือครอบครัว/คนท่ีเดือดร้อน มากกว่าท่ีนาํไปใชเ้พ่ือตอบสนองความ

พอใจส่วนตวั

กรณีศึกษาดงักล่าว แสดงถึงปรากฏการณ์ของกระแสสังคมท่ีช่ืน

ชมคนโดยพิจารณาจากรูปร่าง หน้าตาภายนอก การดูแลเอาใจร่างกาย (กายภาพ) เป็นส่ิงท่ีควร

กระทาํ ไม่ใช่เพ่ือใหดู้ดีภายนอก หรือดูสวยงามในสายตาคนอ่ืน แต่มุ่งเสริมสร้างสุขภาพ/สุขภาวะ

แบบองค์รวม มีความสมดุลของร่างกายและจิตใจ/จิตวิญญาณ การเคารพชีวิตตอ้งเป็นการเคารพ

คุณค่าความเป็นมนุษยซ่ึ์งเป็นคุณค่าทางจิตใจ ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีของชีวิต

4.2 สาวนอ้ยนกัสู ้แมป้ระสบอุบติัเหตุจนพิการ แต่มุมานะจนเขา้เรียน

มหาวิทยาลยั ไดเ้ขา้ประกวดจนไดต้าํแหน่งดาวคณะ และดาวมหาวิทยาลยั มีแนวทางการวิพากษ์ว่า

การเขา้ร่วมประกวดต่างๆ เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสม เน่ืองจาก เป็นการปลุกจิตสาํนึกและให้ความ

เช่ือมัน่แก่คนพิการ (และคนปกติทัว่ไป) ว่ามีศกัยภาพและสามารถเข้าร่วมกิจกรรมกบัสังคมได้

เหมือนคนปกติทัว่ไป ในขณะเดียวกนั วิพากษ์ไดว้่าไม่เหมาะสมท่ีจะเขา้ประกวด เน่ืองจากการ

ประกวด เป็นการแข่งขนัหาผูช้นะ ซ่ึงเป็นการส่งเสริมพฤติกรรมการแข่งขนักนัแสดงความสามารถ

เพ่ือใหไ้ดม้าซ่ึงรางวลั/ผูช้นะ

กรณีศึกษาดงักล่าว แสดงปรากฏการณ์ท่ีแสดงถึงการเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีของตนเอง บนแนวทางการแบ่งปันสู่ความดีของบุคคล ไม่ใช่แข่งขัน หรือเปรียบเทียบ

ประเมินชีวิตของตนเองกบัคนอ่ืน เพ่ือยกยอ่งคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเองว่าดีกว่าคนอ่ืน แต่มุ่งรักและ

รับใชค้นอ่ืน บนพ้ืนฐานของความเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเอง

4.3 รูปภาพที่แสดงถงึการดําเนนิชีวติตามกระแสการทําลายชีวติ

การจดัอบรม มีการจัดเตรียมรูปภาพท่ีแสดงถึงการดาํเนินชีวิตตามกระแสการ

ทาํลายชีวิต ซ่ึงเป็นภาพข่าวท่ีแสดงถึงการพฒันา/ฝึกคน เขา้สู่การแข่งขนั เพ่ือเอาชนะคนอ่ืน โดยใช้

วิธีการท่ีไม่คาํนึงถึงคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ มีจุดประสงค์เพ่ือกระตุน้ความรู้สึก และให้

ผูรั้บการอบรมไดส้งัเกตความรู้สึกนึกคิดของตนเอง จากการพิจารณาภาพข่าวดงักล่าว (ดูตวัอย่าง

ภาพในภาคผนวก) เพ่ือนาํสู่การรับรู้ความรู้สึกและการคน้พบความรู้สึกในจิตใจจากการพิจารณา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

416

ปรากฏการณ์ผ่านทางภาพข่าว ดงันั้น ก่อนท่ีจะให้ผูเ้ขา้อบรมไดพิ้จารณาภาพข่าว ควรให้ผูเ้ข้า

อบรมไดท้าํสมาธิ เพ่ือจะไดมี้ความสงบในการสงัเกตความรู้สึกของตนจากการพิจารณาภาพนั้น

4.4 วดีีทัศน์ชีวประวตัพิระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

วีดีทศัน์ชีวประวติัของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นส่ือประกอบการ

นาํเสนอแนวทางการดาํเนินชีวิตท่ีสาํนึกและใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษยข์องตนเอง คนอ่ืน/สงัคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการตอบรับพระพร/แนวทาง

ของพระเจ้า ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ โดยใชว้ีดีทัศน์เร่ือง “ผูน้าํสันติ” ท่ี

เสนอสงัเขปชีวประวติัของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีทรงปฏิบติัตนเป็นแบบอย่างของการ

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยใ์นรูปแบบ/สถานการณ์ต่างๆ แมพ้ระสนัตะปาปาฯ ตอ้งประสบ

กบัสถานการณ์ท่ียากลาํบากต่างๆ ของชีวิต แต่พระองคท์รงยดึมัน่และปฏิบติัตามความเช่ือศรัทธาใน

คาํสอนคริสต์ศาสนา ในเฉพาะการให้อภยัแก่คนท่ีลอบปลงพระชนม์ชีพของพระองค์ หรือการ

เสด็จไปเยีย่มเยยีน พบปะ/ตอ้นรับประชาชนดว้ยไมตรีจิตท่ีดี โดยไม่เลือกปฏิบติัแก่คนทุกเพศ ทุกวยั

หรือทุกสถานภาพของชีวิต

วีดีทัศน์ชุดน้ี ผลิตโดยส่ือมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย ซ่ึงสามารถดาวน์

โหลดไดจ้าก http://www.youtube.com ผูน้าํสนัติ (Part 1 -3) ซ่ึงใชเ้วลาในการชม ราว 45 นาที

4.5 ข้อความจากพระคมัภีร์

การจดัอบรมตามรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปา

เป็นการจดัอบรมท่ีมีพ้ืนฐานบนความเช่ือศรัทธาในคริสต์ศาสนา ท่ีส่งเสริมให้ผูรั้บการอบรมมี

ความสมัพนัธก์บัพระเจา้ โดยนาํขอ้ความจากพระคมัภีร์คริสตศ์าสนา มาไตร่ตรอง เพ่ือให้แต่ละคน

ออกแบบแนวปฏิบติัของชีวิต โดยฟังเสียงของพระท่ีตรัสในใจของแต่ละคน การจดัเตรียมขอ้ความ

พระคมัภีร์ จึงเนน้การนาํคาํสอนของพระเยซูเจา้ท่ีสอนเก่ียวกบัแนวปฏิบติัในการดาํเนินชีวิตท่ีมุ่งสู่

การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ดว้ยการปฏิบติัความรักเมตตากบัเพ่ือนมนุษย ์ตามบญัญติัแห่งความ

รัก ซ่ึงเป็นคาํสอนสาํคญัของคริสตศ์าสนา (ดูตวัอยา่งขอ้ความจากพระคมัภีร์ในภาคผนวก)

4.6 ใบงานและแบบบนัทึก

ใบงานและแบบบันทึก เป็นเคร่ืองมือสําคัญสาํหรับการจัดกิจกรรมกลุ่มและ

กิจกรรมส่วนบุคคล รวมทั้ งเป็นข้อมูลเพ่ือให้ผูรั้บการอบรมได้ประเมินตนเอง และการพบปะ

แลกเปล่ียนเรียนรู้กบัวิทยากรเป็นรายบุคคล วิทยากรควรช้ีแจงให้ผูรั้บการอบรมไดจ้ดัทาํใบงาน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

417

และแบบบนัทึกต่างๆ อย่างครบถว้น โดยใชส้ํานวนภาษาท่ีเรียบง่าย ตรงไปตรงมาโดยไม่ต้อง

คาํนึงถึงหลกัไวยากรณ์ หรือความสวยงามของสาํนวนภาษา

ใบงานและแบบบนัทึกท่ีใชใ้นการจดัอบรม แบ่งออกเป็นสามประเภท ไดแ้ก่ ใบ

งาน แบบบนัทึกการประชุมกลุ่ม และแบบบนัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการเขา้ร่วมอบรม ซ่ึงควรจดัเรียง

เพ่ือความสะดวกในการใชง้านแต่ละวนั (ดูตวัอยา่งจากภาคผนวกของคู่มือ)

5. เคร่ืองมอืสําหรับประเมนิการพฒันามนุษย์

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มุ่ง

เสริมสร้างความสาํนึกของบุคคลใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงเจตคติการดาํเนินชีวิตอยา่งต่อเน่ือง ดว้ยการ

พิจารณาปรากฏการณ์ชีวิตและสงัคม เพ่ือนาํสู่การทบทวนการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของผูรั้บ

การอบรม อาศยัการไตร่ตรองขอ้ความจากพระคมัภีร์คริสต์ศาสนา มีลกัษณะเป็นเป็นกระบวนการ

เปล่ียนแปลงจิตใจ ซ่ึงเป็นท่าทีภายใน/ความสาํนึกส่วนบุคคล ต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิต นาํสู่การตดัสินใจเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้ง เหมาะสมกบัอตั

ลกัษณ์บุคคลในบริบทส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือให้มีจิตใจท่ีเป็นอิสระต่อการตอบรับแนวทางของพระเจา้

ไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

อยา่งไรก็ตาม เพ่ือความสะดวกในการศึกษาและการประเมินผลการใชรู้ปแบบฯ จึง

กาํหนดเป็นกรณีศึกษา ดว้ยการจดัอบรมแก่เยาวชนท่ีมีความรู้พ้ืนฐานดา้นคาํสอนคริสต์ศาสนา มี

พ้ืนฐานการคิดวิเคราะห์เชิงปรัชญา และมีความสนใจเขา้รับการอบรมการพฒันาชีวิตตามคาํสอน

คริสต์ศาสนา โดยกาํหนดขอบเขตประชากรเป็นนักศึกษาวิทยาลยัแสงธรรม ภาคเรียนท่ี 1 ปี

การศึกษา 2556 ท่ีผ่านการศึกษาในสาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลยัแสงธรรม ตั้ งแต่ 1 ปี

การศึกษาข้ึนไป โดยใชร้ะยะเวลาการจดัอบรมจาํนวน 6 วนั (48 ชัว่โมง) ดว้ยกระบวนการอบรม

เสริมสร้างความรู้ และเจตคติท่ีนาํไปสู่การมีพฤติกรรมในการดาํเนินชีวิตดว้ยความสาํนึกต่อเสรีภาพ

และการใชเ้สรีภาพของบุคคลตามเจตคติการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ เพ่ือพฒันาบุคคล

ใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอยา่งต่อเน่ืองในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

ดงันั้น การประเมินผลการพฒันาดว้ยการจดัอบรมตามรูปแบบฯ มีวตัถุประสงค์เพ่ือ

พฒันาศกัยภาพผูเ้ข้ารับการอบรมตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 แต่

เน่ืองจากเป็นกรณีศึกษาท่ีใชร้ะยะเวลาในการอบรมเพียง 48 ชัว่โมง (6 วนั) จึงใหค้วามสาํคญัต่อการ

ให้ผูรั้บการอบรมไดพิ้จารณา/ประเมินตนเองทั้ งด้านความรู้ เจตคติและแนวโน้มของพฤติกรรม

ดว้ยการทดสอบดว้ยแบบวดัความรู้ เจตคติและพฤติกรรมการดาํเนินชีวิต เพ่ือประเมินความรู้ เจตคติ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

418

และพฤติกรรมท่ีมีแนวโน้มไปสู่การดาํเนินชีวิตดว้ยความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพตนเอง คนอ่ืน/สงัคม ส่ิงแวดลอ้มและการตอบรับความสมัพนัธ/์แนวทางของ

พระเจา้ โดยใชแ้บบวดัต่างๆ ดงัน้ี

5.1 แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี

2 มีจุดประสงค์เพ่ือใชว้ดัความสามารถทางสติปัญญา/ความรู้ (ด้านความจาํ ความเข้าใจ การ

นาํไปใช ้การวิเคราะห์ การสงัเคราะห์และการประเมินค่า) ของผูเ้ขา้รับการอบรมฯ ก่อน (Post-test)

และหลงั (Pre-test) การจัดอบรมเชิงปฏิบัติเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 แบบวดัความรู้ฯ แบ่งออกเป็นสองตอน ดงัน้ี

5.1.1 ตอนท่ี 1 แบบวดัความรู้ฯ ในลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ (ปรนัย) 4

ตวัเลือก จาํนวน 50 ข้อ กาํหนดเวลาในการทาํแบบวดัความรู้ฯ 30 นาที มีจุดประสงค์เพ่ือใชว้ดั

ความรู้ดา้นความจาํ ความเขา้ใจ การนาํไปใช ้การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ กระบวนทศัน์การ

พฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2โดยครอบคลุมกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์อง

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

พ้ืนฐาน/กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปาฯ 15 ขอ้ (ขอ้ 1 – 15)

ความหมาย/คุณลกัษณะการพฒันามนุษย ์ 15 ขอ้ (ขอ้ 16 – 30)

แนวทาง/กระบวน/ทิศทางการพฒันามนุษย ์ 20 ขอ้ (ขอ้ 31 – 50)

5.1.2 ตอนท่ี 2 แบบวัดความรู้ฯ ในลักษณะการยกกรณีศึกษาและแสดง

ความเห็นถึงความเหมาะสมของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต ในแบบความเรียง (อตันยั) จาํนวน

2 กรณี กาํหนดเวลาในการทาํแบบวดัความรู้ฯ 10 นาที (กรณีละ 5 นาที) มีจุดประสงค์เพ่ือใชว้ดั

ความรู้ดา้นการประเมินค่า โดยมีแนวการใหค้ะแนน ดงัน้ี

1. ใชก้ารวิเคราะห์เน้ือหา เพ่ือพิจารณาความสอดคลอ้ง ในแต่ละประเด็น

ท่ีนาํเสนอ โดยเทียบเคียงกบัประเด็น/คาํสาํคญั/สาระสาํคญัจากการพิจารณาของผูเ้ช่ียวชาญ

2. กาํหนดการใหค้ะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubrics) แบบแยกประเด็น

โดยกาํหนดเกณฑก์ารใหค้ะแนน ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

419

ประเด็นการประเมิน ระดบัคุณภาพ

3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

1. ความถกูตอ้งใน

การประเมินการ

กระทาํของบุคคลใน

กรณีศึกษา

ประเมินการกระทาํ

ของบุคคลใน

กรณีศึกษาอยา่ง

ถกูตอ้ง บนพ้ืนฐาน

การเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษย ์

ประเมินการกระทาํ

ของบุคคลใน

กรณีศึกษาอยา่งถกูตอ้ง

บนพ้ืนฐานการเคารพ

คุณค่าศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษย ์

ประเมินการกระทาํของ

บุคคลในกรณีศึกษาอยา่ง

ถกูตอ้ง บนพ้ืนฐานการ

เคารพคุณค่าศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษย ์

2. การเสนอเหตุผล

ประกอบการประเมิน

ท่ีแสดงถึงการใช้

เสรีภาพในการ

ดาํเนินชีวติบน

พ้ืนฐานของการ

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษย ์

แสดงเหตุผล

ประกอบการประเมิน

การกระทาํของบุคคล

ในกรณีศึกษาท่ีแสดง

ถึงการเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษยอ์ยา่งถกูตอ้ง

ครบถว้น และตรง

ประเด็น

แสดงเหตุผล

ประกอบการประเมิน

การกระทาํของบุคคล

ในกรณีศึกษาท่ีแสดง

ถึงการเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย์

อยา่งถกูตอ้ง อยา่งนอ้ย

สองประเด็น

แสดงเหตุผล

ประกอบการประเมิน

การกระทาํของบุคคลใน

กรณีศึกษาท่ีแสดงถึงการ

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษยอ์ยา่ง

ถกูตอ้งอยา่งนอ้ยหน่ึง

ประเด็น และมีบางส่วน

ผดิพลาด

5.2 แบบวดัเจตคติดา้นการใชเ้สรีภาพตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีจุดประสงค์เพ่ือวดัระดบัเจตคติต่อการใชเ้สรีภาพตามกระบวนทศัน์

ของพระสันตะปาปาฯ ของผูรั้บการอบรมเชิงปฏิบติั เพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามกระบวนทศัน์การ

พฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อนและหลงัการอบรม แบ่งออกเป็น 5 ระดบั

ตามแบบของลิเคิร์ท (Likert Scale) จาํนวน 25 ข้อ ครอบคลุมส่ีองค์ประกอบ ได้แก่ การใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง การใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่าง

เหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม และการใชเ้สรีภาพในการตอบรับแนวทางของพระเจา้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

420

5.2.1 การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์อง

ตนเอง หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดท่ีเคารพ ยอมรับในคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง ใน

ฐานท่ีเป็นเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ เช่ือมัน่ ภูมิใจและสาํนึกรับผดิชอบในการดาํเนินชีวิตดว้ยการ

เสริมสร้างและพฒันาตนเองในบริบทวฒันธรรม ภูมิปัญญา และประเพณีอนัดีงามท่ีหล่อหลอมให้

แต่ละคนเป็นบุคคลท่ีมีอตัลกัษณ์ ในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน

5.2.2 การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์อง

คนอ่ืน หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดท่ีเคารพคุณค่า ศักด์ิศรีของคนอ่ืนในฐานะเป็นมนุษย์ เป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ไม่มุ่งดาํเนินชีวิตแบบต่างคนต่างอยู่ (ปัจเจก) หรือเอาแต่ประโยชน์/ใชค้น

อ่ืนเป็นเคร่ืองมือเพ่ือความสาํเร็จ/ผลประโยชน์ส่วนตวั จนเมินเฉย ละเลยหรือละเมิดสิทธิ เสรีภาพ

ของคนอ่ืน การดาํเนินชีวิตร่วมกับคนอ่ืน/สังคม เป็นลกัษณะการดาํเนินชีวิตเป็นหมู่คณะ ใน

ครอบครัว ชุมชน/สังคม ท่ีทุกคนสํานึกรับผิดชอบชีวิตของคนอ่ืน เพ่ือความดีของบุคคล ตาม

บทบาท/สถานภาพในสงัคม การมีนํ้ าใจเอ้ือเฟ้ือเผือ่แผ/่แบ่งปัน ความพร้อมท่ีจะเสียสละเพ่ือผูอ่ื้น

5.2.3 การใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม

หมายถึงความรู้สึกนึกคิดของบุคคลท่ีสาํนึกถึงความสาํคญัของส่ิงแวดลอ้มตามระบบนิเวศวิทยา ซ่ึง

เป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้าง ท่ีมนุษยมี์ส่วนร่วมกนัดูแลรักษาและใชส่ิ้งแวดลอ้มเพ่ือเสริมสร้างความดี

ของบุคคล/สังคมและชนรุ่นหลงั บนพ้ืนฐานของความสาํนึกในคุณค่า ส่ิงแวดลอ้มให้อยู่ในภาวะ

สมดุลตามระบบนิเวศวิทยา

5.2.4 การใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจ้า หมายถึง

ความรู้สึกนึกคิดท่ีสาํนึกถึงพระกรุณาธิคุณของพระเจา้ ท่ีโปรดให้มนุษยมี์ส่วนร่วมในความเป็น

บุคคลท่ีสมบูรณ์ ทาํให้บุคคล “ตอบรับ” แนวทางของพระเจา้ ไม่ใช่ดว้ยความกลวั หรือรู้สึกถูก

บงัคบัจนหมดความเป็นตวัของตวัเอง แต่เป็นการสาํนึกในความรักของพระเจา้ท่ีต่อมนุษย ์สาํนึกว่า

คุณค่า ความหมายแทจ้ริงของชีวิตคือ การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ดว้ยความเช่ือศรัทธาอย่างมีสติ

มีเหตุผลในการปฏิบติัตามหลกัคาํสอนของศาสนา มีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิตท่ีมุ่งสู่

ความดีงามของบุคคลและสงัคม

5.3 แบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะเป็นแบบสอบความเรียง มีจุดประสงค์เพ่ือวดัพฤติกรรมการใชก้ารใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิต ดว้ยการยกสถานการณ์/กรณีตวัอย่างท่ีเกิดข้ึนในสังคมจาํนวน 3 กรณี ให้ผูเ้ขา้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

421

รับการอบรมเสนอแนวทางและข้อตั้ งใจการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตของบุคคล แบบวดั

พฤติกรรมฯ ใชว้ดัก่อนและหลงัการจดัอบรมฯ ทั้งน้ี กาํหนดเกณฑก์ารใหค้ะแนน ดงัน้ี

1. ใหส้มมติบทบาทเป็นบุคคลในกรณีศึกษา และเสนอพฤติกรรมท่ีตั้งใจจะปฏิบติั

ต่อการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตของบุคคลในกรณีศึกษาในแบบความเรียง ครอบคลุมส่ี

องคป์ระกอบ ไดแ้ก่ 1. การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์อง

ตนเอง 2. การใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคนอ่ืน/ความสัมพนัธ์กับคนอ่ืน 3. การใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตในบริบท/ความสัมพนัธ์กบัส่ิงแวดลอ้ม 4. การใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตตอบรับ/ความสมัพนัธก์บัพระเจา้ ภายในเวลา 30 นาที/กรณีละ 10 นาที

2. ใช้การวิเคราะห์เน้ือหา เพ่ือพิจารณาความสอดคลอ้ง ในแต่ละประเด็นท่ี

นาํเสนอ โดยเทียบเคียงกบัประเด็น/คาํสาํคญั/สาระสาํคญัท่ีไดจ้ากการทดลองใชเ้คร่ืองมือกบักลุ่ม

ทดลองท่ีไม่ใช่กลุ่มตวัอยา่ง (Try out) ตามหลกัความคิดหลายทาง/การคิดแบบอเนกนัย (Divergent

Thinking) ของกิลฟอร์ด (Guilford, 1959: 389) และผ่านความเห็นชอบประเด็น/คาํสาํคญัจาก

ผูเ้ช่ียวชาญ

3. กาํหนดการให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubrics) แบบแยกประเด็น โดย

กาํหนดเกณฑก์ารใหค้ะแนน ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

422

ประเด็นการประเมิน ระดบัคุณภาพ

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

เสนอพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตบน

พ้ืนฐานของการเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

ครอบคลุมส่ีดา้น ไดแ้ก่

1. พฤติกรรมท่ีแสดงถึงการ

ดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า/ศกัด์ิศรี

ของตนเอง 2. พฤติกรรมท่ีแสดง

ถึงการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า/

ศกัด์ิศรี/การมีความสมัพนัธค์น

อ่ืน/สงัคม 3. พฤติกรรมท่ีแสดง

ถึงการดาํเนินชีวิตอยา่งเหมาะสม

ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม และ

4. พฤติกรรมท่ีแสดงถึงการ

ดาํเนินชีวติตอบรับการมี

ความสมัพนัธก์บัพระเจา้

เสนอ

พฤติกรรมการ

ดาํเนินชีวติท่ี

แสดงถึงการ

เคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์

อยา่งถกูตอ้ง

ครบถว้น และ

ตรงประเด็น

เสนอ

พฤติกรรม

การดาํเนิน

ชีวิตท่ีแสดง

ถึงการเคารพ

คุณค่า

ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์

อยา่งถกูตอ้ง

อยา่งนอ้ย

สามในส่ี

ประเด็น

เสนอ

พฤติกรรม

การดาํเนิน

ชีวิตท่ีแสดง

ถึงการเคารพ

คุณค่า

ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์

อยา่งถกูตอ้ง

อยา่งนอ้ย

สองในส่ี

ประเด็น

เสนอ

พฤติกรรม

การดาํเนิน

ชีวิตท่ีแสดง

ถึงการเคารพ

คุณค่า

ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์

อยา่งถกูตอ้ง

อยา่งนอ้ย

หน่ึงประเด็น

และมี

บางส่วน

ผดิพลาด

อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากรูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีจุดหมาย คือ การเปล่ียนแปลงเจตคติ (การกลบัใจ) ซ่ึงเป็นมิติฝ่ายจิต

วิญญาณตามหลกัคาํสอนคริสต์ศาสนา ท่ีเช่ือมโยงไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ จึงไม่สามารถ

กาํหนดการประเมินได้แบบเจาะจง ต้องมีการพิจารณาเป็นรายกรณี ตามสภาพของบุคคล

จาํเป็นตอ้งอาศยัผูเ้ช่ียวชาญเฉพาะดา้นในการร่วมพิจารณา และการให้ความสาํคญัต่อการพบปะ

แบ่งปัน/แลกเปล่ียนประสบการณ์/ผลการไตร่ตรอง ทบทวนชีวิตกบัผูเ้ช่ียวชาญ ซ่ึงควรมีการศึกษา/

พฒันาตวัช้ี และกาํหนดแนวทาง/เคร่ืองมือในการประเมินเชิงคุณภาพในลาํดบัต่อไป

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

423

บรรณานุกรม

กองบรรณาธิการมติชนออนไลน.์ (ม.ป.ป.). เผยภาพโหด! กว่าจะคว้าเหรียญโอลมิปิก. Accessed

5 สิงหาคม 2555. Available from http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid

กองบรรณาธิการคมชดัลึกออนไลน.์ (2556). ศิษย์วดัถูกเสือกดั. Accessed 15 สิงหาคม 2556.

Available fromhttp://www.komchadluek.net/detail/

คณะกรรมการพระคมัภีร์คาทอลิกแห่งประเทศไทย, ผูแ้ปล. (1994). พระคมัภีร์ภาษาไทยฉบบัใหม่.

กรุงเทพฯ: อาํนวยรัตนก์ารพิมพ.์

ชาตรี สาํราญ. (2545). ครูรู้ได้อย่างไรว่าเด็กเกดิการเรียนรู้. พิมพค์ร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ:

มลูนิธิสดศรี-สฤษด์ิวงศ.์

ทิศนา แขมมณี. (2548). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลอืกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

ปรียาพร วงศอ์นุตรโรจน.์ (2544). จติวทิยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศนูยห์นงัสือเสริมกรุงเทพ.

มาลี จุฑา. (2544). การประยุกต์จติวทิยาเพือ่การเรียนรู้. กรุงเทพฯ: หจก.ทิพยวิสุทธ์ิ.

ไม่ระบุช่ือ. (ม.ป.ป.). ชาวบ้านปะทะนายทุน...ปกป้องป่า. Accessed 15 สิงหาคม 2556.

Available from http://www.innnews.co.th/

ไม่ระบุช่ือ. (ม.ป.ป.). นกัร้อง นักแต่งเพลงช่ือดงัประสบอุบัตเิหตุ แต่เช่ือว่าพระช่วยให้รอดชีวติ.

Accessed 15 สิงหาคม 2556. Available from http://entertainment.th.msn.com/news2.

ไม่ระบุช่ือ. (ม.ป.ป.). นกัร้องวงร็อคระดบัหัวกะทิของประเทศไทย ที่หันหลงัให้กบัวงการดนตรี

และเสียงเพลง สู่เส้นทางแห่งความศรัทธาในพระเจ้า. Accessed 15 สิงหาคม 2556.

Available from http://tv.truelife.com/content/

ไม่ระบุช่ือ. (ม.ป.ป.). พระขอบิณฑบาตปล่อยคนขโมยเงนิวดั. Accessed 15 สิงหาคม 2556.

Available from http://hilight.kapook.com/

ไม่ระบุช่ือ. (ม.ป.ป.). ระดมเงินมอบ... ที่สร้างช่ือเสียงให้ประเทศ. Accessed 15 สิงหาคม 2556.

Available from http://www.naewna.com/sport/

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

424

ไม่ระบุช่ือ. (ม.ป.ป.). สาม-ีภรรยา ถูกรางวลัลอตเตอร่ี 18 ล้านบาท เผยเคลด็ลบัถูกหวยเพราะ

ชอบทําบุญ. Accessed 15 สิงหาคม 2556. Available from

http://www.luangporpakdang.net/2013/03/18.html/

ไม่ระบุช่ือ. (ม.ป.ป.). หนุ่มวยั 15 ปี ผ่านการทําศัลยกรรม 16 คร้ัง. Accessed 15 สิงหาคม 2556.

Available from http://hilight.kapook.com/

เยาวดี วิบูลยศ์รี. (2549). การวดัผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์. พิมพค์ร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ :

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั.

วารินทร์ รัศมีพรหม. (2542). การออกแบบและพฒันาระบบการสอน . กรุงเทพฯ: ภาควิชา

เทคโนโลยทีางการศึกษา คณะศกึษาศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ.

อารี รังสินนัท.์ (2532). ความคดิสร้างสรรค์. พิมพค์ร้ังท่ี 3. กรุงเทพฯ: แพร่วิทยา.

เอมอร กฤษณะรังสรรค.์ (ม.ป.ป.). กระบวนการเรียนรู้. Accessed 11 มกราคม 2556. Available

from http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Learning_Process.htm

Bower G H & Hilgard E R. (1981). Theories of Learning. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall,

Gagne, Robert Mills. (1974). Principles of Instructional Design. New York: Holt Rinchart and

Winston,Inc.

John Paul II, Pope. (1979). Redemptor Hominis. Washington: United States Catholic

Conference.

___________. (1980). Dives in Misericordia. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1981). Laborem Exercens. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1987). Sollicitudo Rei Socialis. Washington: United States Catholic

Conference.

___________. (1991). Centesimus Annus. Washington: United States Catholic Conference.

___________. (1995). Evangelium Vitae. Washington: United States Catholic Conference.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

425

ภาคผนวก

เคร่ืองมือประกอบการอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจ

ตามกระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

และเคร่ืองมือประเมินการพฒันามนุษย ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

426

เอกสาร/กรณศึีกษา/ ใบงาน/แบบบันทกึการประชุม/แบบบนัทึกฯ

สําหรับประกอบการจดัอบรมในวนัท่ี 1

เอกสาร “มนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2”

พระสนัตะปาปาฯ ทรงใหค้วามสาํคญัใน การอธิบายคุณค่า และความหมายของชีวิตมนุษย ์

เอกสารทางการของพระองค ์เป็นการเสนอแนวคิดและคาํสอนท่ีเก่ียวขอ้งกบัปรากฏการณ์ชีวิตของ

มนุษยร่์วมสมยั ทรงยนืยนัคาํสอนคริสตศ์าสนาท่ีว่ามนุษยเ์ป็นส่ิงประเสริฐ มีศกัยภาพท่ีจะบรรลุถึง

ความจริง เน่ืองจากพระเจา้ทรงสร้างให้เป็นภาพลกัษณ์ของพระองค์ (John Paul II 1987: 29, 33)

พระเจ้าเอาใจใส่มนุษยเ์ป็นพิเศษ เพ่ือให้มนุษยมี์ชีวิตอยู่ในโลกและมีความเป็นอยู่เหมาะสมกับ

ศกัด์ิศรีน้ี (John Paul II, 1987: 47) ส่งผลให้พระสันตะปาปาฯ จึงให้ความสาํคญัต่อการอธิบาย

“ความพิเศษ” ของมนุษย ์

เอกสารทางการต่างๆ ของพระองค์ ทรงเร่ิมตน้ดว้ยการตั้ งประเด็นคาํถามท่ีเก่ียวขอ้งกับ

เหตุการณ์ในชีวิตจริง และหาคาํตอบโดยอาศยัเทววิทยา ปรัชญาและระเบียบต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้งใน

ประเด็นนั้น ๆ ทรงเนน้ความพิเศษของมนุษยเ์หนือสรรพส่ิง มนุษยมี์ศกัยภาพท่ีจะรู้และบรรลุถึง

ความจริง เน่ืองจากเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ พระเจ้าโปรดให้มนุษยมี์ศกัยภาพภายใน ไดแ้ก่

ความรู้สํานึกและเสรีภาพ ท่ีจะพัฒนาตนเอง ด้วยการดาํเนินชีวิตร่วมกับผูอ่ื้น ในบริบทของ

ส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือพฒันาชีวิตสู่ความบูรณ์ มนุษยมี์เสรีภาพในการตดัสินใจท่ีถูกตอ้งท่ีจะยืนอยู่ขา้ง

พระเจา้ คุณค่าและความหมายแทจ้ริงของชีวิตอยูภ่ายในตวัมนุษยเ์อง (Being) ไม่ใช่ส่ิงของภายนอก

ท่ีเขามี (Having) แต่ไม่ไดเ้ป็นการปฏิเสธคุณค่าของส่ิงภายนอกท่ีมนุษยมี์ เน่ืองจากพระองค์ทรง

คิดว่าการมีกรรมสิทธ์ิในส่ิงของต่าง ๆ เป็นส่ิงท่ีจาํเป็นและถกูตอ้งในระดบัหน่ึง แต่คุณค่าของการ

เป็นมนุษยมี์ความสาํคญัยิง่กวา่ส่ิงต่าง ๆ ท่ีมนุษยค์รอบครอง (John Paul II, 1991: 22, 30; 1987: 29,

33, 47; 1981: 13) จึงสรุปกระบวนทศัน์เร่ืองมนุษย ์ไดด้งัน้ี

1. กระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะเป็นปรัชญา

บุคคลนิยมท่ียดึมนุษยเ์ป็นศนูยก์ลางตามแนวคิดแบบคาทอลิก โดยเน้นให้เคารพคุณค่าและศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษย ์

แนวคิดของพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะเป็นปรัชญาบุคคลนิยมท่ียึด

มนุษยเ์ป็นศนูยก์ลางตามแนวคิดแบบคาทอลิก (Schall, 1984) กล่าวคือ เป็นการอธิบายความหมาย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

427

ของชีวิตมนุษยโ์ดยนาํปรัชญาบุคคลนิยม (Personalism) มาอธิบายคาํสอนคริสต์ศาสนา ทรงให้

ความสาํคญัต่อการอธิบายมนุษยใ์นฐานะท่ีเป็นบุคคล (Person) ท่ีมีอยู่จริงในประวติัศาสตร์ ดงัท่ี

ทรงกล่าวในเอกสาร Redemptor Hominis ว่า “เราไม่พูดถึงมนุษยท่ี์เป็นนามธรรม แต่พูดถึงมนุษย์

จริง ๆ ท่ีเป็นรูปธรรมและมีอยูจ่ริงในประวติัศาสตร์... มนุษยท่ี์เป็นมนุษยแ์ทอ้ยา่งท่ีไม่มีเหมือนซํ้ ากนั

สองคน... ซ่ึงตอ้งไดรั้บความเคารพในดา้นคุณค่าและศกัด์ิศรีแห่งความเป็นมนุษย”์ (John Paul II,

1979: 13) พระองค์วิจารณ์ทั้ งแนวคิดเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและลทัธิมาร์กซ์ท่ีแพร่หลายอยู่ใน

ความคิดปัจจุบนัว่ามีขอ้บกพร่อง เพราะมองคุณค่าและความหมายชีวิตในแง่วตัถุสสารมากเกินไป

และเป็นระบบท่ีมุ่งใหม้นุษยมี์การครอบครองวตัถุส่ิงของ (Having) มากกว่ามุ่งให้มนุษยเ์ป็นส่ิงท่ีมี

คุณภาพภายใน (Being) เป็นการส่งเสริมให้มนุษยเ์ป็น “ปัจเจก” (Individual) ละเลยต่อการเป็น

“บุคคล” (Person) ซ่ึงเป็นการลดคุณค่าจนลืมความหมายและเป้าหมายแทจ้ริงของชีวิตมนุษยอ์นัมา

จากพระเจา้ พระสนัตะปาปาฯ เสนอความคิดว่า นอกเหนือจากท่ีมนุษยม์าจากพระเจา้แลว้ “พระเจา้

ยงัใหม้นุษยเ์ป็นบุคคล ๆ ท่ีเป็นตวัของตวัเองและควบคุมตนเองได ้ ยิ ่งกว่านั้น ในฐานะท่ีเขาเป็นตวั

ของตวัเอง เขาจึงสามารถใหต้วัเขาเองแก่ผูอ่ื้นซ่ึงต่างก็มาจากพระเจา้” (Schall, 1984: 2)

2. คุณค่าและศกัด์ิศรีมนุษย ์คือ การเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ มนุษยจึ์งมีศกัยภาพท่ีจะ

บรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ได ้

พระสนัตะปาปาฯ ทรงสอนว่าแก่นแทข้องมนุษยอ์ยูท่ี่ศกัด์ิศรี ในฐานะท่ีพระเจา้สร้างให้

เป็นภาพลกัษณ์และเป็นความเหมือนกบัพระเจา้ดว้ยกนัทุกคน และเห็นไดว้่าคุณค่าและความหมาย

ของมนุษยจึ์งอยู่ท่ีการเป็นมนุษยท่ี์มาจากพระเจา้และมุ่งสู่พระเจา้ (John Paul II, 1987: 29, 33)

มนุษยมี์วิญญาณและร่างกายรวมเป็นหน่ึงเดียวกนั มีศกัยภาพท่ีสามารถบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์

(ชีวิตนิรันดร) ในพระเจา้ โดยอาศยัความรู้สาํนึก เสรีภาพ และความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้น ซ่ึงเป็นลกัษณะ

พิเศษท่ีบ่งบอกว่ามนุษยแ์ตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ ทั้งหมดน้ีคือคุณลกัษณะพื้นฐานของมนุษยต์าม

แนวคิดของพระสนัตะปาปาฯ อยา่งไรก็ตามมนุษยไ์ม่ใช่พระเจา้ แต่ไดรั้บการเช้ือเชิญและไดรั้บพระ

พรใหด้าํเนินชีวิตในความรักของพระเจา้ มนุษยมี์ขอบเขตจาํกดั จาํเป็นตอ้งไดรั้บความช่วยเหลือ

จากพระเจา้ ดว้ยการตอบรับวิถีทางในการมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ คนอ่ืนและส่งแวดลอ้มอย่าง

สอดคลอ้ง เหมาะสมและสมดุล ตามแนวทางของพระเจา้

3. มนุษยคื์อ บุคคลผูมี้เสรีภาพ บนพ้ืนฐานของความสาํนึกรู้ และการมีความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้น

สาระสาํคญัในการอธิบายมนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ คือ การอธิบายความหมายของ

เสรีภาพ ซ่ึงพระองค์ไดผ้สานแนวคิดเร่ืองเสรีภาพกบัสถานะของมนุษยใ์นฐานะท่ีเป็นภาพลกัษณ์

ของพระเจา้ เสรีภาพจึงมีความหมายในฐานะเป็นลกัษณะพิเศษของมนุษยท่ี์ต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

428

พระสนัตะปาปาฯ ทรงเนน้ความสมัพนัธร์ะหว่างเสรีภาพและธรรมชาติของมนุษย ์ พระองค์ไม่เห็น

ด้วยกับแนวคิดเร่ืองเสรีภาพแบบเกินเลย ปฏิเสธความเป็นจริงของมนุษย์ การท่ีมนุษย์เป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ แสดงถึงการท่ีมนุษยต์อ้งข้ึนกบัพระเจา้และมีจุดมุ่งหมายท่ีสมบูรณ์ของชีวิต

ในพระเจา้เท่านั้น พระองคไ์ม่เห็นดว้ยกบัแนวคิดว่ามนุษยมี์เสรีภาพแบบสมบูรณ์ สามารถเลือกท่ีจะ

ทาํอะไรก็ได ้ โดยท่ีพระสนัตะปาปาฯ เห็นว่า “เสรีภาพไม่ไดห้มายถึงใบอนุญาตท่ีจะทาํอะไรก็ได้

อย่างไม่มีขอบเขตจาํกดั” (John Paul II, 1994: 14) หรือการอธิบายเสรีภาพแต่เพียงผิวเผิน ซ่ึงเป็น

เพียงการเลือกส่ิงท่ีเราอยากจะทาํหรือไม่อยากทาํอย่างใดอย่างหน่ึงเท่านั้ น พระองค์ทรงคิดว่า

“เสรีภาพเป็นสิทธิตามธรรมชาติท่ีมีเหตุผลของความเป็นมนุษย ์ท่ีทาํให้มนุษยส์ามารถตดัสินใจ

เก่ียวกบัตวัเขาเองตามความเขา้ใจและความรู้สาํนึก” (Wojtyla [John Paul II], 1981: 21-24, cited in

Dulies, 2003: 194)

4. ลกัษณะเด่นของกระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ คือ การอธิบายมนุษย์

ตามคาํสอนคริสตศ์าสนา ดว้ยปรัชญาบุคคลนิยมท่ีเนน้ “การเป็นมนุษย”์

ลกัษณะเด่นของความคิดเร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ คือ การนาํแนวคิดบุคคลนิยม

ซ่ึงเป็นปรัชญาสมยัปัจจุบนัมาช่วยอธิบายคริสตศาสนาเหมือนกบัท่ีนักบุญออกัสตินและนักบุญ

โทมสั อาไควนัสเคยนําปรัชญากรีกมาใช้ แนวปรัชญามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ ไม่ใช่นํา

ปรัชญายุคกรีกหรือยุคปัจจุบันมาเป็นคาํสอน แต่นําปรัชญามาช่วยอธิบายคาํสอน กล่าวคือ นํา

ปรัชญามาเป็นเคร่ืองมือเพ่ืออธิบายคาํสอน ไม่ใช่เปล่ียนคาํสอนหรือแนวคิดเพ่ือให้เขา้กบัปรัชญา

แต่เป็นการประยกุตบ์างส่วนของปรัชญามาใชอ้ธิบายคริสตศาสนาใหช้ดัเจน มีเหตุผลมากข้ึน เพราะ

ส่ิงท่ีพระสนัตะปาปาฯ ทรงย ํ้ าไม่ใช่เร่ืองของการใชเ้หตุผลในระดบัสติปัญญาของมนุษย ์ แต่ส่ิงทรง

ย ํ้ าคือ การดาํเนินชีวิตท่ีถูกตอ้งสู่ความดีแทข้องมนุษยชาติ ซ่ึงมีลกัษณะเป็น “หลกัคาํสอนเดิม ใน

รูปแบบใหม่” (John Paul II, 1981: 10) พระองค์ทรงแยกให้เห็นความแตกต่างระหว่างคุณค่าของ

การมีทรัพยสิ์นส่ิงของกบัคุณค่าของการเป็นมนุษยแ์ละทรงย ํ้ าว่าการมีวตัถุส่ิงของ มิไดท้าํใหม้นุษยดี์

พร้อม เวน้แต่การมี ไวเ้พ่ือสนบัสนุนความเจริญเติบโตและความสมบูรณ์ของความเป็นมนุษยเ์ท่านั้น

กล่าวคือ วตัถุส่ิงของท่ีมนุษยมี์ตอ้งมีส่วนในการทาํใหม้นุษยบ์รรลุเป้าหมายสูงสุดของชีวิต

ดงันั้น จึงสรุปไดว้่า พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงยืนยนัการวิเคราะห์มนุษยต์ามคาํ

สอนคริสตศาสนาโดยใชป้รัชญาบุคคลนิยม ทรงอธิบายว่ามนุษยเ์ป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้างให้เป็น

ภาพลกัษณ์ของพระองค์ จากการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้น่ีเอง ทาํให้มนุษยมี์ลกัษณะพิเศษ

แตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ กล่าวคือ พระเจา้โปรดใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมในชีวิตนิรันดรของพระองค ์

พระเจา้ประทานศกัยภาพให้มนุษยบ์รรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระองค์อาศยัความรู้สาํนึก เสรีภาพ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

429

และความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้น น้ีคือคุณลกัษณะพื้นฐานของมนุษยต์ามแนวคิดของพระสันตะปาปาฯ

อยา่งไรก็ตามมนุษยไ์ม่ใช่พระเจา้ แต่ไดรั้บการเช้ือเชิญและไดรั้บพระพรให้ดาํเนินชีวิตในความรัก

ของพระเจ้า วิถีชีวิตมนุษยจึ์งไม่ใช่มุ่งพฒันาส่ิงท่ีมนุษยต์อ้งการดา้นร่างกายเท่านั้น แต่ตอ้งมุ่ง

พฒันาลกัษณะภายในจิตใจ โดยคาํนึงถึงศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษยเ์หนือสรรพส่ิงทั้ งหลาย

กล่าวคือ มนุษยต์อ้งสาํนึกและรับผิดชอบในฐานะเป็นส่วนหน่ึงของสังคม ดงันั้น จึงตอ้งเอาใจใส่

ชีวิตตนเองและปฏิสมัพนัธก์บัคนอ่ืนดว้ย เพ่ือมุ่งหน้าสู่จุดหมายปลายทางของชีวิตซ่ึงเป็นส่ิงท่ีพระ

เจา้ทรงกาํหนดไว ้ อยา่งไรก็ตามแนวคิดเร่ืองมนุษยแ์บบบุคคลนิยมของพระสันตะปาปาฯ ซ่ึงยึด

มนุษยเ์ป็นศนูยก์ลางน้ีก็ยงัไม่ไดล้ะทิ้งแนวคาํสอนเดิมของคริสตศาสนา โรมนัคาทอลิก ท่ีกล่าวว่า

มนุษยมี์ความจาํกดั เน่ืองจากเป็นส่ิงสร้างใหเ้ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ และดว้ยพระกรุณาของพระ

เจา้ มนุษยจึ์งมีศกัยภาพ ท่ีกา้วพน้ขอบเขตโลกผสัสะ สู่การมีส่วนร่วมในชีวิตของพระเจา้ได ้

ใบงาน 1

แบบสรุปข้อคดิ/สาระจากการศึกษาเอกสาร

มนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

คาํช้ีแจง

1. ใหแ้ต่ละคนศึกษาเอกสาร “มนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2”

2. หลงัการศึกษาเอกสาร ใหส้รุปขอ้คิดท่ีไดรั้บจากการศึกษาเอกสารดงักล่าว

--------------------------------

หลงัจากศึกษาเอกสาร ท่านไดข้อ้คิดจากการอธิบาย “มนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนั

ตาปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

430

แบบบันทกึการประชุมกลุ่ม 1

ผลท่ีไดจ้ากการศึกษาเอกสารมนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

คาํช้ีแจง

1. ใหจ้ดัการประชุมกลุ่ม โดยใหส้มาชิกไดแ้บ่งปัน แลกเปล่ียนเรียนรู้ขอ้คิด/ส่ิงท่ีไดจ้าก

การศึกษาเอกสารมนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2. ใหมี้การแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่ม โดยปราศจากการวิพากษ/์วิจารณ์ส่ิงท่ีสมาชิกในกลุ่ม

นาํเสนอ ในขณะท่ีสมาชิกคนหน่ึงนาํเสนอ ใหส้มาชิกอ่ืนๆ เป็นผูฟั้งท่ีดี

3. ใหเ้ลขานุการกลุ่มจดบนัทึกทุกประเด็นท่ีสมาชิกในกลุ่มนาํเสนอ

4. ใหส้รุปสาระสาํคญัจากการประชุมกลุ่ม เพ่ือเตรียมนาํเสนอต่อผูเ้ขา้ร่วมอบรม

ประเด็นท่ีสมาชิกกลุ่มนาํเสนอจากการศึกษาเอกสาร

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

สรุปสาระสาํคญั/ขอ้คน้พบจากการประชุมกลุ่ม

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

431

กรณศึีกษา ชุดท่ี 1 : ความสัมพนัธ์กบัคนอืน่/สังคม

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติร่วมกบัคนอืน่/สังคม ที่ 1/1

นายตาํรวจใหญ่ไดม้อบเงินสดจาํนวน 7 แสนบาท เพ่ือเป็นขวญัและกาํลงัใจในการสร้างช่ือเสียง

ใหป้ระเทศชาติแก่แชมป์โลกชาวไทย พร้อมชมเชยว่าเป็นเยาวชนตวัอยา่งท่ีอยากใหส้งัคมยกยอ่ง

เชิดชู ทั้งน้ี เงินสดท่ีนาํมามอบให ้นายตาํรวจใหญ่กล่าวว่า “เงินจาํนวนน้ี ไม่ใช่ของผมคนเดียว แต่

ผมโทรศพัทห์าพรรคพวกใหช่้วยกนัหา เขาก็ถามว่าจะตั้งยอดไวเ้ท่าไหร่ ผมบอกไปว่าอยากไดส้กั 7

แสนบาท เขาก็ไปหาพวกพ่อคา้ พรรคพวกเพ่ือนฝงู ซ่ึงต่างก็ยนิดีจะช่วยเหลือ”

สรุปจาก http://www.naewna.com/sport/ สืบคน้ วนัท่ี 15 สิงหาคม 2556

ใบงาน 2/1

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติร่วมกบัคนอืน่/สังคม ที่ 1/1

คาํช้ีแจง

หลงัจากไดพิ้จารณากรณีศึกษา ขอให้ท่านวิพากษ์ การกระทาํของนายตาํรวจใหญ่ ท่ีจัด

กิจกรรมเพ่ือเป็นขวญัและกาํลงัใจในการสร้างช่ือเสียงให้แก่ประเทศชาติแก่แชมป์โลกแบดมินตนั

ดว้ยการมอบเงินให้ โดยระดมเงินทุนจากพรรคพวก ว่าเป็นการกระทาํท่ีเหมาะสม/ไม่เหมาะสม

อยา่งไร?

1. การกระทาํของนายตาํรวจใหญ่ท่ีมอบเงินสด/ชมเชย เพ่ือเป็นขวญัและกาํลงัใจในการสร้าง

ช่ือเสียงใหป้ระเทศชาติแก่แชมป์โลกแบดมินตนัหญิงชาวไทย เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสม ต่อ

การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของคนอ่ืน/สงัคม เน่ืองจาก

1. ………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………

3. ………………………………………………………………………………………………

4. ………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

432

2. การกระทาํของนายตาํรวจใหญ่ท่ีมอบเงินสด/ชมเชย เพ่ือเป็นขวญัและกาํลงัใจในการสร้าง

ช่ือเสียงใหป้ระเทศชาติแก่แชมป์โลกแบดมินตนัหญิงชาวไทย เป็นการกระทาํท่ีไม่มคีวาม

เหมาะสม ต่อการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของคนอ่ืน/สงัคม เน่ืองจาก

1. ………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………

3. ………………………………………………………………………………………………

4. ………………………………………………………………………………………………

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติร่วมกบัคนอืน่/สังคม ที่ 1/2

พระครูเจา้อาวาสวดั.... ไดเ้ดินทางไปสถานีตาํรวจ เพ่ือขอบิณฑบาต ปล่อยตวั นาง ก. ท่ี

ขโมยเงินบริจาคในบาตรพระประจาํวนั ท่ีหน้าโบสถ ์ เน่ืองจากพบว่า นาง ก. ซ่ึงก่อนหน้าน้ีเคย

ทาํงานเป็นพนักงานโรงงานแห่งหน่ึง แลว้ประสบอุบัติเหตุถูกรถบสัรับส่งพนักงานเฉ่ียวชนจน

ไดรั้บบาดเจ็บ ตอ้งนอนรักษาตวัและออกจากงาน และเม่ือไม่นานมาน้ีสามีป่วยไม่สามารถไปทาํงาน

ได ้ตนจึงตอ้งคอยดูแลและออกหางานรับจา้งทัว่ไปทาํ เน่ืองจากตอ้งเล้ียงดูลูกอีก 3 คน จนกระทัง่

หมดปัญญาท่ีจะหาเงินมาซ้ือขา้วใหล้กูและสามีรับประทาน จึงไดข่ี้รถจกัรยานยนตพ์าลกูสาวคนเล็ก

อาย ุ4 ขวบเศษ ไปท่ีวดัและขโมยเงิน แต่ถูกตาํรวจจบัตวัได ้ (สรุปจาก http://hilight.kapook.com/

สืบคน้ วนัท่ี 15 สิงหาคม 2556)

ใบงาน 2/2

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติร่วมกบัคนอืน่/สังคม ที่ 1/2

คาํช้ีแจง

หลงัจากไดพิ้จารณากรณีศึกษา ขอให้ท่านวิพากษ์ การกระทาํของพระครู.... ท่ีขอให้

ตาํรวจปล่อยตวัผูห้ญิงท่ีขโมยเงินบริจาคของวดัไปเล้ียงครอบครัว ว่าเป็นการกระทาํท่ีเหมาะสม/ไม่

เหมาะสมอยา่งไร?

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

433

1. การกระทาํของเจา้อาวาส.... ท่ีขอบิณฑบาต ไม่ติดใจเอาความ (ขอใหป้ล่อยตวั) นาง ก. ท่ีขโมย

เงินบริจาคของวดั เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสม ต่อการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของคน

อ่ืน/สงัคม เน่ืองจาก

1. ………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………

3. ………………………………………………………………………………………………

4. ………………………………………………………………………………………………

2. การกระทาํของเจา้อาวาส.... ท่ีขอบิณฑบาต ไม่ติดใจเอาความ (ขอใหป้ล่อยตวั) นาง ก. ท่ีขโมย

เงินบริจาคของวดั เป็นการกระทาํท่ีไม่เหมาะสม ต่อการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของ

คนอ่ืน/สงัคม เน่ืองจาก

1. ………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………

3. ………………………………………………………………………………………………

4. ………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

434

แบบบันทกึการประชุมกลุ่ม 2

คาํช้ีแจง

1. ใหด้าํเนินการประชุมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่ม จากการท่ีแต่ละคนวิพากษ์

พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตจากกรณีศึกษา

2. ในขณะท่ีสมาชิกคนหน่ึงนาํเสนอ ใหส้มาชิกอ่ืนๆ เป็นผูฟั้งท่ีดี ไม่วิพากษ/์วจิารณ์ส่ิงท่ี

สมาชิกในกลุ่มนาํเสนอ

3. ใหเ้ลขานุการกลุ่มจดบนัทึกการประชุมและหาตวัแทนนาํเสนอ

-----------------------------

1. พฤติกรรมจากกรณีศึกษา แสดงถึงความเหมาะสมในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคนอ่ืน เน่ืองจาก

……………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

2. พฤติกรรมจากกรณีศึกษา แสดงถึงความไม่เหมาะสมในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคนอ่ืน เน่ืองจาก

……………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

3. หลกัคิด/หลกัการในการพิจารณาการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของคน

อ่ืน (ความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน/สงัคม)

……………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

4. ขอ้ควรปฏิบติัท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของคนอ่ืน ใน

กรณีศึกษาดงักล่าว

……………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

435

แบบบันทกึส่ิงที่ได้รับจากการอบรม 1

คาํช้ีแจง

1. แบบบนัทึกฯ น้ี เป็นแบบบนัทึกส่วนบุคคล เพ่ือใชบ้นัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการเขา้อบรมเชิง

ปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

วนัท่ีหน่ึง

2. ใหแ้ต่ละคนไตร่ตรอง ทบทวนในบรรยากาศของความสงบ ฟังเสียงภายในจิตใจ

---------------

1. ข้อค้นพบจากการศึกษา/ทําความเข้าใจปรากฏการณ์ชีวติ

1.1 ขอ้คน้พบ/สาระสาํคญัจากการศึกษากระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

1.2 ขอ้คน้พบจากกรณีศึกษา : หลกัคิดการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

436

2. ข้อค้นพบจากการไตร่ตรองชีวติ

จากการไตร่ตรองกระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ และการศึกษาปรากฏการณ์

(กรณีศึกษา) ช่วยใหท่้านคน้พบคุณค่าและความหมายชีวิตของท่าน ดงัต่อไปน้ี

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………….…

3. ข้อค้นพบจากการออกแบบแนวปฏิบัต ิ

จากการไตร่ตรองกระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ และการศึกษา

ปรากฏการณ์ (กรณีศึกษา) ท่านมีขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัเพ่ือส่งเสริมคุณค่าและความหมายชีวิตของ

ท่าน ดงัต่อไปน้ี

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

437

เอกสาร/กรณศึีกษา/ ใบงาน/แบบบันทกึการประชุม/แบบบนัทึกฯ

สําหรับประกอบการจดัอบรมในวนัท่ี 2

กรณศึีกษา ชุดท่ี 2 : ความสัมพนัธ์กบัส่ิงแวดล้อม

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติร่วมกบัส่ิงแวดล้อม ที่ 2/1

ตาํรวจพร้อมพนกังานสอบสวน เดินทางมายงัวดัแห่งหน่ึง...พร้อมกบัผูส่ื้อข่าว พบว่าบริเวณ

ดา้นหลงัวดั ท่ีเป็นท่ีอยูข่องพระสงฆ ์มีกรงเสือขนาดใหญ่บนพ้ืนท่ีประมาณ 1 งาน มีเสือโคร่ง

ลายพาดกลอนขนาดใหญ่อยูห่ลายตวั นอนอยูอ่ยา่งสงบ แต่เม่ือเห็นมีคนเขา้มามุงดกู็ลุกข้ึนมาเดินวน

ไปวนอยา่งน่ากลวั นอกจากน้ียงัพบว่าดา้นหนา้กรงมีตุ่มใส่นํ้ าตั้งอยูเ่ป็นจาํนวนมาก อีกทั้งยงัมีเชือก

กวางกั้นอยูอี่กชั้นหน่ึง และมีป้ายกระดาษติดไวท่ี้เชือก เขียนไวว้่า “ หา้มเขา้ใกลโ้ดยเด็ดขาด หากฝ่า

ฝืนจะไม่รับผดิชอบใด ๆ ทั้งสิ้น”

เจา้อาวาสวดั.... กล่าวว่า แรก ๆ นั้นมีเสืออยู ่4 ตวั ตายไป 1 และต่อมาออกลกูมาอีก 2 ตวั

รวมเป็น 5 ซ่ึงเป็นเสือท่ีลกูศิษยน์าํมาถวาย ตั้งแต่ตวัเลก็ ๆ และเล้ียงกนัมาเป็นเวลา 6 ปี แลว้ ไดจ้ด

ทะเบียนต่อทางราชการอยา่งถกูตอ้ง โดยท่ีผา่นมาก็มีผูถ้กูเสือกดัมาแลว้ แต่ไดรั้บบาดเจ็บเพียง

เลก็นอ้ยเท่านั้น จึงไม่เป็นเร่ืองเป็นราวใหญ่โต และสาเหตุท่ีลกูศิษยถ์กูเสือกดัคาดว่าคงอยากสมัผสั

โดยไม่คิดว่าเสือจะทาํร้าย ซ่ึงอาจจะยืน่แขนเขา้ไปในกรงเอามือลบูตวัเสือ จึงทาํใหถ้กูเสือกดั

ดงักล่าว (สรุปจาก http://www.komchadluek.net/detail/สืบคน้ วนัท่ี 15 สิงหาคม 2556)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

438

ใบงาน 3/1

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติร่วมกบัส่ิงแวดล้อม 2/1

คาํช้ีแจง

หลงัจากไดพิ้จารณากรณีศึกษา ขอใหท่้านวิพากษว์่าการกระทาํของเจา้อาวาส....ท่ีเล้ียงเสือ

โคร่งลายพาดกลอนในเขตวดั เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสม/ไม่เหมาะสมอยา่งไร?

1. การกระทาํของเจา้อาวาส..... ท่ีช่วยเล้ียงเสือโคร่งลายพาดกลอนในเขตวดั เป็นการกระทาํท่ี

เหมาะสมในการดาํเนินชีวติร่วมกบัส่ิงแวดลอ้ม เน่ืองจาก

1. ………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………

3. ………………………………………………………………………………………………

4. ………………………………………………………………………………………………

2. การกระทาํของเจา้อาวาส..... ท่ีช่วยเล้ียงเสือโคร่งลายพาดกลอนในเขตวดั เป็นการกระทาํท่ีไม่

เหมาะสมในการดาํเนินชีวติร่วมกบัส่ิงแวดลอ้ม เน่ืองจาก

1. ………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………

3. ………………………………………………………………………………………………

4. ………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

439

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติร่วมกบัส่ิงแวดล้อม ที่ 2/2

ชาวบา้น..... พากนัตดัไมไ้ผเ่ขา้ไปลอ้มร้ัว รอบเนินเขากลางหมู่บา้น ซ่ึงเคยมีสภาพเป็นป่า

และต่อมามีการอา้งสิทธ์ิจบัจอง ถือครองจากหลายบุคคล โดยชาวบา้น ระบุว่า ตอ้งการใหเ้นินเขาผนื

ดงักล่าวเป็นของชุมชนหมู่บา้น โดยไม่เป็นของคนใดคนหน่ึง เน่ืองจากเคยใชป้ระโยชน์ร่วมกนัมา

นาน ในอดีตท่ีดินและเนินเขาบริเวณดงักล่าว เป็นป่าเขาและท่ีสาธารณประโยชน์ ซ่ึงชาวบา้นรายใด

รายหน่ึงไม่ไดเ้ขา้ไปถือครองโดยตรง แต่จะใชร่้วมกนั ช่วงหลงัพบว่า ไดมี้นายทุนจากต่างพ้ืนท่ีเขา้

ไปจบัจองพ้ืนท่ีเป็นบริเวณกวา้งมากข้ึน และบางแปลงถึงขั้นมีการออกโฉนดท่ีดิน แมจ้ะเป็นท่ีริมนํ้ า

ผาสูงชนั หรือบนเขา กระทัง่ลุกลามมาถึงเนินเขากลางหมูบ่า้นป่าออ้ดงักล่าว ซ่ึงมีประมาณ 70 ไร่

โดยเม่ือประมาณ 30 ปีก่อน ก็เร่ิมเขา้ไปซ้ือขายกนัโดยไม่มีโฉนดท่ีดิน แต่ก็ปล่อยทิ้งเอาไวน้านถึง

27 ปี ซ่ึงชาวบา้นกคิ็ดว่าคงไม่ใครเขา้ไปยดึครองเพิ่ม จึงใชพ้ื้นท่ีดงักล่าวใชเ้ล้ียงสตัวแ์ละหาของป่า

ร่วมกนัเร่ือยมา จนมาเกิดเหตุข้ึนในวนัน้ี ทาํใหช้าวบา้นไดล้งความความเห็นพากนัเดินทางมาลอ้ม

ร้ัวเพ่ือเป็นการอนุรักษป่์าน้ีไว ้

อยา่งไรก็ตาม ช่วงท่ีชาวบา้นกาํลงัเขา้ไปลอ้มร้ัว ปรากฏว่า ไดมี้รถแบคโฮท่ีมีนายทุนว่าจา้ง

พยายามจะเขา้ไปปรับพ้ืนท่ี ทาํใหเ้กิดมีปากเสียงกนัอยูพ่กัใหญ่ จนเกิดเหตุปะทะกนัข้ึน จน

เจา้หนา้ท่ีตาํรวจ ไดเ้ขา้มาระงบัเหตุปะทะกนัระหวา่งชาวบา้นกบักลุ่มนายทุน (สรุปจาก

http://www.innnews.co.th/ สืบคน้วนัท่ี 15 สิงหาคม 2556)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

440

ใบงาน 3/2

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติร่วมส่ิงแวดล้อม 2/2

คาํช้ีแจง

หลงัจากไดพิ้จารณากรณีศึกษา ขอใหท่้านวิพากษว์่าการกระทาํของชาวบา้นท่ีรวมตวักนั

ป้องกันการตัดไมท้ําลายป่าจากนายทุน ซ่ึงเป็นเจ้าของกรรมสิทธ์ิท่ีดินนั้ น เป็นการกระทําท่ี

เหมาะสม/ไม่เหมาะสมอยา่งไร?

-----------------------------

1. การกระทาํของชาวบา้น ท่ีรวมตวักนัขบัไล่นายทุน เพ่ือปกป้องป่า เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสมใน

การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า/การมีความสมัพนัธก์บัส่ิงแวดลอ้ม เน่ืองจาก

1. ………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………

3. ………………………………………………………………………………………………

4. ………………………………………………………………………………………………

2. การกระทาํของชาวบา้น ท่ีรวมตวักนัขบัไล่นายทุน เพ่ือปกป้องป่า เป็นการกระทาํท่ีไม่เหมาะสม

ในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า/การมีความสมัพนัธก์บัส่ิงแวดลอ้ม เน่ืองจาก

1. ………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………

3. ………………………………………………………………………………………………

4. ………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

441

แบบบันทกึการประชุมกลุ่ม 3

คาํช้ีแจง

1. ใหด้าํเนินการประชุมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่ม จากการท่ีแต่ละคนวิพากษ์

พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตจากกรณีศึกษา

2. ในขณะท่ีสมาชิกคนหน่ึงนาํเสนอ ใหส้มาชิกอ่ืนๆ เป็นผูฟั้งท่ีดี ไม่วิพากษ/์วจิารณ์ส่ิงท่ี

สมาชิกในกลุ่มนาํเสนอ

3. ใหเ้ลขานุการกลุ่มจดบนัทึกการประชุมและหาตวัแทนนาํเสนอ

-----------------------------

1. พฤติกรรมจากกรณีศึกษา แสดงถึงการดําเนินชีวิตท่ีเหมาะสมในการมีความสัมพนัธ์กับ

ส่ิงแวดลอ้ม เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

2. พฤติกรรมจากกรณีศึกษา แสดงถึงการดาํเนินชีวิตท่ีไม่เหมาะสมในการมีความสัมพนัธ์กับ

ส่ิงแวดลอ้ม เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

3. หลกัคิด/หลกัการในการพิจารณาการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัส่ิงแวดลอ้ม

(ความสมัพนัธก์บัส่ิงแวดลอ้ม)

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

4. ขอ้ควรปฏิบติัท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติร่วมกบัส่ิงแวดลอ้ม ในกรณีศึกษา

ดงักล่าว

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

442

แบบบันทกึส่ิงที่ได้รับจากการอบรม 2

คาํช้ีแจง

1. แบบบนัทึกฯ น้ี เป็นแบบบนัทึกส่วนบุคคล เพ่ือใชบ้นัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการเขา้อบรม

เชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 วนัท่ีสอง

2. ใหแ้ต่ละคนไตร่ตรอง ทบทวนในบรรยากาศของความสงบ ฟังเสียงภายในจิตใจ

---------------

1. ข้อค้นพบจากการศึกษา/ทําความเข้าใจปรากฏการณ์ชีวติ

ขอ้คน้พบจากกรณีศึกษา : หลกัคิดการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอยา่งเหมาะสมในบริบท

ส่ิงแวดลอ้ม

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

2. ข้อค้นพบจากการไตร่ตรองชีวติ

จากการไตร่ตรองกระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ และการศึกษาปรากฏการณ์

(กรณีศึกษา) ช่วยใหท่้านคน้พบคุณค่าและความหมายชีวิตของท่าน ดงัต่อไปน้ี

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

443

3. ข้อค้นพบจากการออกแบบแนวปฏิบัต ิ

จากการไตร่ตรองกระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ และการศึกษาปรากฏการณ์

(กรณีศึกษา) ท่านมีขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัเพ่ือส่งเสริมคุณค่าและความหมายชีวิตของท่าน

ดงัต่อไปน้ี

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

เอกสาร/กรณศึีกษา/ ใบงาน/แบบบันทกึการประชุม/แบบบนัทึกฯ

สําหรับประกอบการจดัอบรมในวนัท่ี 3

เอกสาร “การพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ : การวพิากษ์การพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์ ปอล ที่ 2”

พระสนัตะปาปาฯ ทรงเร่ิมตน้การเสนอแนวคิดการพฒันา ตามแนวปรัชญาบุคคลนิยม ท่ี

เร่ิมตน้ดว้ยการนาํเสนอปรากฏการณ์ของการพฒันาชีวิตมนุษยแ์ละสงัคม ทรงวิเคราะห์ทั้ งผลดีและ

ผลเสียของการพฒันา ตามแนวทางการพฒันาท่ีใช ้“เศรษฐกิจ” เป็นหลกั โดยเฉพาะอย่างยิ ่ง การ

พฒันาตามแนวคิดของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสังคมนิยมแบบมาร์กซ์ ท่ีมีการนําไป

ประยุกต์ใช้ในการจัดการพฒันาในภาคส่วนต่างๆ ของโลก โดยเฉพาะในช่วงเร่ิมต้นการดาํรง

ตาํแหน่งประมุขพระศาสนจกัรคาทอลิกของพระองค์ ทรงวิเคราะห์ปรากฏการณ์ดา้นการพฒันา

มนุษยใ์นสงัคมร่วมสมยัท่ีพระองคด์าํรงตาํแหน่งประมุขพระศาสนจกัรฯ ทรงนาํเสนอทั้งผลดี (นิมิต

หมายท่ีดีของการพฒันา) ผลเสีย (ปัญหา/ผลกระทบ) ของการพฒันา รวมถึงการวิเคราะห์สาเหตุของ

ปัญหา ดงัน้ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

444

ปรากฏการณ์ของการพฒันา

1. ผลดี/นิมิตหมายท่ีดีของการพฒันา

การพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ ส่งผลให้มนุษยชาติมีความเจริญก้าวหน้าทาง

วิทยาการต่างๆ ส่งผลใหม้นุษยด์าํเนินชีวิตอย่างสะดวก สบายมากข้ึน มนุษยชาติในปัจจุบนัต่ืนตวั

และเอาใส่ใจต่อการแกปั้ญหาดา้นศีลธรรมและโครงสร้างของสงัคม โดยเฉพาะการดาํเนินการดว้ย

ความเพียรพยายามของกลุ่มบุคคลท่ีอุทิศตนในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน การแกไ้ขปัญหาความ

รุนแรง โดยเฉพาะการก่อตั้ งและการดาํเนินการขององค์การสหประชาชาติ (UN) ท่ีกาํหนดแนว

ทางการพฒันาท่ีเนน้ “มิติมนุษยแ์ละสงัคม” บนหลกัการของความเสมอภาค ขจดัความยากจน การ

กระจายผลของการพฒันาใหเ้สมอภาค คุณภาพชีวิตดา้นต่างๆ ตลอดจนการส่งเสริมการมีส่วนร่วม

ในการพฒันา (John Paul II, 1987) ซ่ึงเป็น “ความพยายามเชิงสร้างสรรค์ท่ีจะลดความเส่ียงของ

สงคราม” (John Paul II, 1987: 20) “ความสาํนึกและความเคารพในศกัด์ิศรีและสิทธิของมนุษยทุ์ก

คน” (John Paul II, 1987: 26) “ความเอาใจใส่ต่อสันติภาพและความมัง่คัง่ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีดี” (John

Paul II, 1991: 27) “เอกลกัษณ์ทางวฒันธรรมได้รับการส่งเสริมการปฏิบัติอย่างเสรีและการ

สนับสนุน” (John Paul II, 1987: 26) “ความห่วงใยต่อนิเวศวิทยา” (John Paul II, 1987: 26) พระ

สันตะปาปาฯ ทรงช่ืนชมต่อจิตสํานึกและการอุทิศตนในความพยายามของการส่งเสริมสิทธิ

มนุษยชน รวมทั้งความสาํนึกต่อเอกภาพของสงัคมมนุษย ์ (John Paul II, 1991: 21; 1987: 26)

2. ปัญหา/ผลกระทบจากการพฒันาในกระแสโลกาภิวฒัน ์

พระสันตะปาปาฯ ทรงวิเคราะห์ปรากฏการณ์ของชีวิตมนุษย์และสังคมภายใต้

กระบวนทศัน์การพฒันาในยคุโลกาภิวฒัน์ ท่ีใชเ้ศรษฐกิจเป็นตวัช้ีวดัและเป้าหมายของการพฒันา

ส่งผลให้เกิดปัญหาและผลกระทบ กล่าวคือ มนุษยชาติยงัคงประสบกบัภาวะดอ้ยพฒันาในหลาย

ภูมิภาค ปัญหาความยากจน ช่องว่างในสงัคม การขาดโอกาส ความไม่เสมอภาค ความเหล่ือมลํ้ าใน

สังคม ส่งผลให้เกิดการแบ่งชนชั้นของมนุษยชาติ อนัเป็นปัญหา/ผลกระทบของการพฒันาท่ียึด

เศรษฐกิจเป็นหลกั (John Paul II, 1991: 33, 61; 1987: 13, 14)

นอกจากนั้น ปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตมนุษยแ์ละสังคม ภายใตก้ระบวนทศัน์

การพฒันาท่ีใชเ้ศรษฐกิจเป็นหลกั ไดป้รากฏร่องรอยท่ีแสดงถึงความลม้เหลวของการพฒันาตาม

กระบวนทศัน์ดงักล่าว ไดแ้ก่ ปัญหาเร่ืองการไม่รู้หนังสือ การขาดการมีส่วนร่วม การถูกกดข่ีใน

รูปแบบต่างๆ การถูกลิดรอนสิทธิขั้นพ้ืนฐาน การว่างงาน ปัญหาหน้ีสิน และปัญหาด้านความไม่

เสมอภาค การขาดโอกาส ปัญหายาเสพติดและปัญหาความไม่ยุติธรรมซ่ึงยงัคงปรากฏให้เห็นใน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

445

สงัคมอยา่งต่อเน่ือง (John Paul II, 1991: 33, 36; 1987: 15, 18, 19, 28) รวมถึงปัญหาการเบียดเบียน

และทาํลายส่ิงแวดลอ้มโดยขาดความรับผดิชอบ (John Paul II, 1991: 37)

สาเหตุและผลท่ีตามมาของปัญหาการพฒันามนุษย์ในสังคมร่วมสมยั

พระสันตะปาปาฯ ทรงวิเคราะห์สาเหตุปัญหาการพฒันามนุษยใ์นสังคมร่วมสมยัของ

พระองค์ ว่ามีสาเหตุสาํคัญท่ีเช่ือมโยงกัน ได้แก่ สาเหตุทางเศรษฐกิจ สาเหตุทางการเมืองและ

สาเหตุทางศีลธรรม (John Paul II, 1987: 15–37) จนก่อให้เกิดปัญหาการพฒันาชีวิตในสังคม ซ่ึง

พระองคใ์ชค้าํว่า “บาป/โครงสร้างของบาปทางสงัคม” ทรงวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ดงัน้ี

1. สาเหตุของปัญหาการพฒันา

1.1 สาเหตุทางเศรษฐกิจ

สาเหตุสาํคญัของปัญหาท่ีเกิดข้ึนในการพฒันามนุษยใ์นสังคมร่วมสมยั เป็นผลมา

จากความเขา้ใจท่ีไม่ถูกตอ้ง ไม่ครบถว้นในการพิจารณาคุณค่า ความหมายชีวิตมนุษย ์แต่เพียงมิติ

ดา้นเศรษฐกิจ ทาํใหมี้แนวคิดว่าการแกไ้ขหรือการพฒันามนุษยเ์ป็นเพียงแค่การตอบสนองความ

จาํเป็นดา้นเศรษฐกิจ ว่าจะสามารถทาํใหเ้กิดการพฒันาในชีวิตมนุษยไ์ด ้ จึงส่งผลให้เกิด “ช่องว่าง”

หรือความเหล่ือมลํ้ าในภาคส่วนต่างๆ ของสงัคม (John Paul II, 1987: 15–16)

1.2 สาเหตุทางการเมือง

อุดมการณ์ทางการเมือง นาํสู่ระบบการปกครอง อนัทาํใหเ้กิดการแข่งขนั การ

เผชิญหนา้ในลกัษณะ “สงครามเยน็” หลงัสงครามโลกคร้ังท่ีสอง ท่ีนาํแนวคิดการพฒันาโดยใช้

เศรษฐกิจเป็นหลกั ในรูปแบบท่ีต่างกนัระหว่างอุดมการณ์ทางการเมืองแบบทุนนิยมเสรี และสงัคม

นิยมแบบมาร์กซ ์ส่งผลใหเ้กิดความตึงเครียด การทาํลายลา้ง สงครามตวัแทน ทาํใหย้ิง่ส่งผลใหเ้กิด

ช่องว่างและความแบ่งแยกระหว่างประเทศ ตามอุดมการณ์ทางการเมืองของประเทศนั้นๆ (John

Paul II, 1987: 20, 21 )

1.3 สาเหตุทางศีลธรรม

สาเหตุสาํคญัอีกประการหน่ึงของปัญหาการพฒันาในสังคมร่วมสมยั คือ การมุ่ง

ไปสู่ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ละเลยศีลธรรม ขาดความสาํนึก ขาดความรับผิดชอบ หรือละเลย

บทบาทหนา้ท่ีในการพฒันาชีวิตและสงัคม (John Paul II, 1987: 16, 17) “จาํเป็นตอ้งกล่าวถึงสาเหตุ

ทางศีลธรรม เพราะเก่ียวข้องกับการปฏิบัติของมนุษยแ์ต่ละคน พิจารณาในฐานะบุคคลผูรู้้จัก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

446

รับผิดชอบ (รู้จกัชัว่ดี) สาเหตุทางศีลธรรมเป็นอุปสรรคทาํให้การพฒันาช้าลง และมิให้บรรลุผล

(John Paul II, 1987: 35)

2. ผลท่ีตามมาคือ บาปส่วนบุคคลและโครงสร้างขอบบาป (บาปสงัคม)

ผลท่ีตามมาของการพฒันาท่ีไม่ไดมี้พ้ืนฐานบนความสาํนึกดีชัว่และความรับผดิชอบตาม

หลกัทางศีลธรรม ยึดแต่เพียงผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ละเลยบทบาทหน้าท่ีในการส่งเสริม

ช่วยเหลือกนัในการพฒันา นาํไปสู่การแข่งขนัในแบบเอารัดเอาเปรียบกนัตามผลประโยชน์ท่ีไดรั้บ

ในดา้นเศรษฐกิจ มีการแบ่งแยกโลกออกเป็นสองค่าย ตามอุดมการณ์ของระบบเศรษฐกิจแบบทุน

นิยมและสงัคมนิยมแบบมาร์กซ ์ ทาํใหเ้กิดบรรยากาศของความตึงเครียดในการแข่งขนัเพ่ือเอาชนะ

หรือมีอาํนาจเหนือกนัและกนั ในลกัษณะสงครามตวัแทน ดว้ยการแบ่งมนุษยชาติเป็นสองฝ่าย นาํสู่

การแตกแยกของมนุษยชาติ ท่ีพระสันตะปาปาฯ ทรงใชค้าํว่า “บาป” (Sin) และ “โครงสร้างของ

บาป” (Structures of sin) กล่าวคือ แทนท่ีมนุษยชาติจะช่วยเหลือเก้ือกูลกนัในการพฒันาชีวิต กลบั

แก่งแยง่แข่งขนั เอาเปรียบกนัและกนัเพ่ือการไดม้าซ่ึงประโยชน์ส่วนตน การกดข่ี เอารัดเอาเปรียบท่ี

ประเทศท่ีมีความเขม้แข็งในดา้นเศรษฐกิจ เอาเปรียบประเทศท่ีอ่อนแอและยากจนกว่า จนเป็นความ

เคยชิน และค่อยๆ แทรกซึมเข้าไปในสังคม ทาํให้สังคมอยู่ในบรรยากาศท่ีเป็นอุปสรรคต่อการ

พฒันาชีวิตมนุษย ์(John Paul II, 1987: 36, 37)

กลไก/โครงสร้างของบาป (บาปสังคม) เป็นผลมาจากท่าทีของมนุษย์ท่ีขัดกับ

คุณลกัษณะของมนุษย ์กล่าวคือ มนุษยมี์ลกัษณะเป็น “ภาวะทางสังคม” อนัเป็นพระประสงค์ของ

พระเจา้ ท่ีกาํหนดใหม้นุษยด์าํเนินชีวิตเก้ือกลูกนัในสังคม แต่มนุษยก์ลบั “ทาํขดัพระประสงค์ของ

พระเจา้” โดยปฏิเสธหรือละเลยการช่วยเหลือเก้ือกูล เพ่ือ “ความดีของเพ่ือนมนุษย”์ (John Paul II,

1987: 37) ดว้ยการเมินเฉย ละเลยต่อการช่วยเหลือเก้ือกลูคนอ่ืน เพ่ือความดีของคนอ่ืนในการพฒันา

ชีวิต จนสะสม แทรกซึมในการดาํเนินชีวิตร่วมกันในสังคม จนเป็นส่วนหน่ึงของสังคม และมี

อิทธิพลต่อการดาํเนินชีวิตของแต่ละคนในชีวิตประจาํวนั (John Paul II, 1987: 36)

3. ปัญหาการพฒันาในสงัคมร่วมสมยัเป็นผลมาจากการพฒันาท่ียดึเศรษฐกิจเป็นหลกั : การ

วิจารณ์การพฒันาตามอุดมการณ์ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสงัคมนิยมแบบมาร์กซ ์

พระสนัตะปาปาฯ ไม่ไดท้รงตั้งตนเป็นศตัรูต่อแนวคิดของระบบเศรษฐกิจทั้ งสองน้ี แต่

พระองค์ทรงเห็นว่าอุดมการณ์ทางระบบเศรษฐกิจทั้ งสองน้ีมีความคิดพ้ืนฐานเก่ียวกบัมนุษยไ์ม่

สมบูรณ์ เพราะสนใจมนุษยแ์ต่เพียงดา้นวตัถุหรือดา้นความตอ้งการของร่างกายมากเกินไป จนทาํให้

ละเลยความสาํคญัและคุณค่าของจิตใจท่ีเป็นลกัษณะพิเศษของมนุษย ์ พระองค์ทรงนาํแนวคิดของ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

447

ของกาเบรียล มาแซล (Gabriel Marcelม ค.ศ. 1889-1973) นักปรัชญาบุคคลนิยมท่ีอธิบายเร่ือง

“Being and Having” (1949) มาใชด้ว้ยการเสนอว่า “การอยากมีชีวิตท่ีดีข้ึน ไม่ผิดอะไร ส่ิงท่ีผิดคือ

วิถีชีวิต ซ่ึงเขา้ใจว่าดีข้ึนเม่ือมนัมุ่งไปสู่ “การมี” มากกว่า “การเป็น” (John Paul II, 1991: 36)

จากการไดพิ้จารณาวิเคราะห์แนวคิดทุนนิยมซ่ึงเน้นปัจเจกนิยม และแนวคิดของมาร์กซ์

ซ่ึงเนน้สงัคมนิยม พระสันตะปาปาฯ ทรงคิดว่าแนวความคิดของทั้ งสองระบบมีขอ้บกพร่องทั้ งคู่

เพราะมองชีวิตมนุษยแ์ต่เพียงแง่เศรษฐกิจ ในฐานะเป็นร่างกายวตัถุและมุ่งส่งเสริมการพฒันามนุษย์

เพียงแค่ระดบัวตัถุสสารเท่านั้น “ระบบเศรษฐกิจท่ีใชอ้ยู่ในปัจจุบนั (ทุนนิยมและสังคมนิยมแบบ

มาร์กซ)์ ส่งผลเสียต่อการพฒันา” (John Paul II, 1987: 43) เน่ืองจาก

3.1 ทุนนิยมและลทัธิสงัคมนิยมของมาร์กซเ์นน้มนุษยเ์ฉพาะในมิติร่างกาย/วตัถุสสาร

แมว้่าลทัธิทุนนิยมและลทัธิสงัคมนิยมของมาร์กซ ์จะมุ่งส่งเสริมมนุษยแ์ละมีมนุษย์

เป็นศนูยก์ลางการพฒันา แต่ในการปฏิบติัจริงแลว้ทั้งสองลทัธิต่างเน้นในการพฒันามนุษยแ์ต่เพียง

ในแง่ของร่างกายวตัถุสสารเท่านั้น โดยส่งเสริมเศรษฐกิจดว้ยกรรมสิทธ์ิส่วนบุคคลระบบทุนนิยม

และส่งเสริมความเสมอภาคในการครอบครองกรรมสิทธ์ิในระบบสังคมนิยมของมาร์กซ์ ดงันั้ น

คุณค่ามนุษยจึ์งอยู่ท่ี “ความสามารถในการตอบสนองความต้องการด้านร่างกาย ชีวิตมนุษยมี์

พ้ืนฐานอยู่บนการวดัคุณค่าของสินคา้” (John Paul II, 1981: 13) ซ่ึงเป็นการเน้นความสาํคญัของ

การครอบครองวตัถุส่ิงของเพ่ือตอบสนองความตอ้งการของร่างกายมากกว่าการเนน้ความสาํคญัของ

คุณค่าภายในจิตใจของมนุษย ์ ความคิดเช่นน้ีเป็นการพิจารณามนุษยใ์นฐานะเป็นร่างกายวตัถุ มนุษย์

เป็นเพียงผูบ้ริโภคท่ีมีความตอ้งการเฉพาะส่ิงท่ีตอบสนองความตอ้งการของร่างกายเท่านั้น ดงันั้น

แนวคิดลทัธิทุนนิยมและลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์จึง “ให้ความสาํคญัสูงสุดแก่วตัถุทั้ งทางตรง

และทางออ้ม และให้ความสําคัญแก่จิตใจและบุคคลอยู่ภายใตอิ้ทธิพลของวตัถุ” (John Paul II,

1981: 13)

3.2 แนวคิดลทัธิทุนนิยมและลทัธิสงัคมนิยมของมาร์กซต่์างลดคุณค่าของมนุษยใ์หเ้ป็นเพียงส่วนประกอบของสงัคม

พระสันตะปาปาฯ ทรงคิดว่าความผิดพลาดท่ีสาํคญัอีกประการหน่ึงของลทัธิทุน

นิยมและลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์ คือ การพิจารณามนุษยใ์นฐานะเป็นเพียง “ผูท้าํงาน” หรือ

“ผูผ้ลิตสินค้า” ซ่ึงเป็นการเน้นบทบาทของมนุษยใ์นฐานะเป็นผูท้าํประโยชน์แก่สังคมเท่านั้ น

มนุษยเ์ป็นเพียงปัจจยัอยา่งหน่ึงในการผลิตสินคา้และบริการ “บุคคลเป็นเพียงส่วนประกอบอนัหน่ึง

เป็นโมเลกุลของสังคม” (John Paul II, 1991: 13) มนุษยต์ามความคิดของทั้ งสองระบบน้ีจึง

กลายเป็นทาสของระบบเศรษฐกิจ มนุษยมี์ไวเ้พ่ือการทาํงาน คุณค่าและศกัด์ิศรีของมนุษยอ์ยู่ท่ีการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

448

ทาํงาน ไม่ใช่อยูท่ี่การเป็นมนุษย ์ มนุษยจึ์งไม่มีคุณค่าในตวัเอง แต่มีคุณค่าเพราะเขาเป็นส่วนหน่ึง

ของสงัคมและทาํตวัเป็นประโยชน์ต่อสงัคมในแง่เศรษฐกิจ มนุษยจึ์งหมดโอกาสท่ีจะตดัสินใจเลือก

กระทาํอย่างเสรีตามความคิดริเร่ิมของตัวเอง เพราะมีกลไกทางสังคมเป็นตวักาํหนดวิถีชีวิตและ

ตดัสินใจแทนมนุษยแ์ต่ละคน

3.3 แนวคิดลทัธิทุนนิยมและลทัธิสงัคมนิยมของมาร์กซเ์ปล่ียนวิถีและเป้าหมายชีวิต

ลทัธิทุนนิยมและลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์ตีกรอบคุณค่ามนุษยเ์พียงแค่ “การ

ทาํงาน” หรือ “การมีผลประโยชน์ใหค้นอ่ืน” ดงันั้น แทนท่ีการทาํงานจะเป็นเคร่ืองมือพฒันาชีวิต

แต่ตวัมนุษยเ์องกลบักลายเป็นเคร่ืองมือเพ่ือการพฒันาและผลิตวตัถุส่ิงของและความกา้วหน้าของ

สงัคม การทาํงานหรือการมีผลประโยชน์แก่คนอ่ืนกลบักลายเป็นเป้าหมายของชีวิต เป้าหมายของ

ชีวิตแทนท่ีจะเป็นการพฒันาตนสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ “กลบัถูกเปล่ียนเป็นการทาํงานเพ่ือความกา้วหน้า

ของสงัคม (Means) เพียงดา้นเดียว” (John Pual II, 1991: 36)

3.4 แนวคิดทุนนิยมส่งเสริมการพฒันาท่ีเกินความจาํเป็น

แนวคิดลัทธิทุนนิยมส่ง เสริมให้มีการพัฒนา ท่ี เ กินความจําเ ป็น (Super

development) กล่าวคือ “การพฒันาใหมี้ทรัพยสิ์นทุกอย่างเกินความตอ้งการ” (John Paul II, 1987:

28) ทาํใหเ้อ้ือประโยชน์เฉพาะกลุ่มชนบางกลุ่ม “ทาํให้ประชาชนตกเป็นทาสของการเป็นเจา้ของ

ทรัพยส์มบติั” (Possession) (John Paul II, 1987: 28) พยายามทาํทุกวิถีทางเพ่ือจะไดมี้ทรัพยส์มบติั

มากข้ึนหรือหาส่ิงอ่ืนท่ีดีกว่ามาทดแทนส่ิงท่ีตนมีอยู่แลว้ พยายามส่งเสริมให้มนุษยไ์ด้รับการ

ตอบสนองดา้นสญัชาตญาณ “พยายามเฟ้นหาความตอ้งการใหม่ ๆ และวิธีการใหม่ ๆ เพ่ือตอบสนอง

ความตอ้งการเหล่านั้น” (John Paul II, 1991: 36) อนันาํสู่ไปการทิ้งขวา้งส่ิงของหรือบุคคลท่ีตนคิด

ว่าไม่มีประโยชน์สาํหรับตนเองอีกต่อไป

3.5 แนวคิดลทัธิสงัคมนิยมของมาร์กซป์ฏิเสธเจตจาํนงเสรีอนัเป็นลกัษณะท่ีสาํคญัของมนุษย ์ในการเลือกวิถีชีวติ

แนวคิดลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์นั้ น มองมนุษยเ์ป็นเพียงวตัถุ ละเลยคุณค่า

ภายในจิตใจโดยปฏิเสธความเป็นอิสระของบุคคล มนุษยเ์ป็นเพียงสัตว์เศรษฐกิจท่ีมุ่งตอบสนอง

ความตอ้งการทางร่างกายเท่านั้น จึงเนน้การพฒันาโดยการใชเ้ศรษฐกิจเป็นตวับ่งช้ีและละเลยหรือ

มองข้ามลกัษณะเฉพาะพิเศษของมนุษย ์อนัได้แก่คุณค่าทางจิตใจท่ีทาํให้มนุษยแ์ตกต่างจากส่ิง

ทั้งหลาย ตามความคิดของลทัธิสังคมนิยมของมาร์กซ์น้ีคิดว่าชีวิตมนุษยต์อ้งปรับตนเองตามแผน

เศรษฐกิจและตามผลประโยชน์ของสงัคม และคิดว่าส่ิงท่ีดีท่ีสุดเพียงอยา่งเดียวสาํหรับมนุษยคื์อ การ

กินดีอยูดี่ จึงเนน้การมีเคร่ืองมือเคร่ืองใชต่้าง ๆ เพ่ือตอบสนองความตอ้งการทางร่างกาย จนกระทัง่

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

449

“มองขา้มหรือยอมแลกศกัด์ิศรีของชีวิตจิตวิญญาณเพ่ือวตัถุ” (John Paul II, 1991: 36) รวมถึงการ

ลดทอนสิทธิอนัชอบธรรมต่อการครอบครองกรรมสิทธ์ิของบุคคล (John Paul II, 1991: 12)

พระสนัตะปาปาฯ ทรงวิเคราะห์สาเหตุท่ีลทัธิสงัคมนิยมแบบมาร์กซ์ลดทอนแต่ละคน

เป็นส่วนประกอบของสงัคม เน่ืองจากการปฏิเสธพระเจา้ บนพ้ืนฐานของแนวคิดลทัธิอเทวนิยม ท่ี

ปฏิเสธพระเจา้ทาํใหบุ้คคลขาดพ้ืนฐานทางจิตใจ จึงเป็นผลทาํให้เกิดการจดัระเบียบใหม่ในระบบ

สงัคมโดยไม่คาํนึงถึงศกัด์ิศรีและความรับผิดชอบของบุคคล (John Paul II, 1991: 13) ส่งผลให้ทั้ ง

สองลทัธิวิเคราะห์มนุษยว์่าเป็นเพียงวตัถุสสาร ละเลยคุณค่าของจิตใจอนัเป็น “ลกัษณะพิเศษเฉพาะ

มนุษย”์ คุณค่าของมนุษยเ์ป็นไปตามกรอบของวตัถุ ดาํเนินชีวิตเพ่ือการกินดีอยูดี่ดา้นร่างกาย “ทั้ง

สองลทัธิต่างก็ละเลยคุณค่าฝ่ายจิต” (John Paul II, 1991: 19, 36; 1979: 15, 16) ไม่ใส่ใจชีวิตฝ่ายจิต

วิญญาณท่ีจะพฒันาบุคคลในฐานะเป็นผูมี้ความรู้สาํนึก มีเสรีภาพและความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้น อนัเป็น

วิถีทางสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ของมนุษย ์ แต่กลบัลดคุณค่าของมนุษยเ์ป็นเพียงระดับสัญชาตญาณ มุ่ง

ตอบสนองความต้องการของร่างกายโดยยึดตนเองเป็นศูนยก์ลาง และส่งเสริมค่านิยมท่ีเน้น

ผลประโยชน์เป็นหลกัในการดาํเนินชีวิต แทนท่ีจะส่งเสริมคุณค่าของมนุษยใ์นฐานะท่ีเขาเป็นบุคคล

แต่กลบัส่งเสริมใหม้นุษยอ์ยูเ่พ่ือตนเอง เพ่ือความสุขเพลิดเพลินและความสะดวกสบายดา้นร่างกาย

มองคนอ่ืนและส่ิงอ่ืนเพ่ือยึดมาเป็นประโยชน์ส่วนตวัเป็นหลกั ส่งผลให้มนุษยเ์กิดภาวะสับสนใน

จิตใจ เกิดความกลวัภยัคุกคามจากผลงานท่ีมนุษยส์ร้างข้ึน ปัญหา “ช่องว่าง” ในสังคม และการใช้

เสรีภาพในทางท่ีไม่ถกูตอ้ง แมม้นุษยแ์ละสงัคมจะมีความกา้วหนา้ดา้นกายภาพ ประชาชนจาํนวน

มากขาดแคลนแมแ้ต่ส่ิงท่ีเป็นความจาํเป็นพ้ืนฐานเพ่ือการดาํเนินชีวิต รวมถึงการถูกคุกคามและ

ตกตํ่าในดา้นคุณค่าความเป็นมนุษย ์ ส่งผลใหม้นุษยแ์ทนท่ีจะร่วมมือกนัในการพฒันาชีวิต มนุษย์

กลบัเบียดเบียน แข่งขันเพ่ือแย่งชิงผลประโยชน์ จนทาํให้ภาวะเศรษฐกิจย ํ่าแย่ในภาพรวม และ

ส่ิงแวดลอ้มถกูทาํลาย (John Paul II, 1991: 20; 1987: 13, 14; 1979: 16) ทาํให้มนุษยป์ระสบภาวะ

แห่งความทุกขย์าก “และยงัไม่หยดุความทุกขย์ากท่ีขยายกวา้งออกไป พร้อมกบัความทุกขร้์อน ความ

ผดิหวงัและความขมข่ืน” (John Paul II, 1979: 16) มนุษยถ์กูลดทอนคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

และรู้สึกว่าตนเองไม่มีเสรีภาพในการดาํเนินชีวิต (John Paul II, 1980: 11)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

450

ใบงาน 4

แบบสรุปข้อคดิ/สาระจากการศึกษาเอกสาร

“การพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ : การวพิากษ์การพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์ ปอล ที่ 2”

คาํช้ีแจง

1. ใหแ้ต่ละคนศึกษาเอกสาร “การพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ : การวิพากษก์ารพฒันามนุษย ์

ตามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์ ปอล ท่ี 2”

2. หลงัการศึกษาเอกสาร ใหส้รุปขอ้คิดท่ีไดรั้บจากการศึกษาเอกสารดงักล่าว

--------------------------------

หลงัจากศึกษาเอกสาร ท่านไดข้อ้คิดจากการอธิบาย “การพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ :

การวิพากษก์ารพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์ ปอล ท่ี 2” ดงัน้ี

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

451

แบบบันทกึการประชุมกลุ่ม 4

ผลท่ีไดจ้ากการศึกษาเอกสาร “การพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ : การวิพากษก์ารพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์ ปอล ท่ี 2”

คาํช้ีแจง

1. ใหจ้ดัการประชุมกลุ่ม โดยใหส้มาชิกไดแ้บ่งปัน แลกเปล่ียนเรียนรู้ขอ้คิด/ส่ิงท่ีไดจ้าก

การศึกษาเอกสาร “การพฒันาตามกระแสโลกาภิวตัน์ : การวิพากษก์ารพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์ ปอล ท่ี 2”

2. ใหมี้การแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่ม โดยปราศจากการวิพากษ/์วิจารณ์ส่ิงท่ีสมาชิกใน

กลุ่มนาํเสนอ ในขณะท่ีสมาชิกคนหน่ึงนาํเสนอ ใหส้มาชิกอ่ืนๆ เป็นผูฟั้งท่ีดี

3. ใหเ้ลขานุการกลุ่มจดบนัทึกทุกประเด็นท่ีสมาชิกในกลุ่มนาํเสนอ

4. ใหส้รุปสาระสาํคญัจากการประชุมกลุ่ม เพ่ือเตรียมนาํเสนอต่อผูเ้ขา้ร่วมอบรม

ประเด็นท่ีสมาชิกกลุ่มนาํเสนอจากการศึกษาเอกสาร

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

สรุปสาระสาํคญั/ขอ้คน้พบจากการประชุมกลุ่ม

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

452

กรณศึีกษา ชุดท่ี 3 : ความสัมพนัธ์กบัพระเจ้า

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติตอบรับแนวทาง/ความสัมพนัธ์กบัพระเจ้า ที่ 3/1

นกัร้องดงั ท่ีรู้จกักนัในนามของ “ต” นักร้องวงร็อค ระดบัหวักะทิของประเทศไทย ท่ีหนั

หลงัใหก้บัวงการดนตรีและเสียงเพลง สู่เสน้ทางแห่งความศรัทธาในพระเจา้ วนัน้ี เขากลบัมาพร้อม

กบัความเป็น “ต” คนใหม่ ท่ีคน้พบตวัเอง และทุ่มศรัทธาต่อพระเจา้ ในการทาํคุณงามความดีเพ่ือ

สงัคม “ผมไปบรรยายเร่ืองปัญหายาเสพตดิให้เยาวชน 3 จงัหวดัชายแดนภาคใต้ฟัง หลายคนเปลีย่น

ชีวติ เปลีย่นความคดิได้ ทาํให้ผมรู้สึกว่าตวัเองมคีุณค่ามากกว่าตอนมช่ืีอเสียงซะอกี....เหตุผลท่ีตอ้ง

ถอนตวัออกมาจากวงการคือความผดิหวงัท่ีไม่สามารถจะถ่ายทอดความรู้ ความจริง ผา่นดนตรีได ้

พอเร่ิมรู้ว่าดนตรีมนัถ่ายทอดเร่ืองชีวิตไม่ได ้ถ่ายทอดความถกูตอ้ง อะไรถกูผดิไม่ได ้ไม่สามารถทาํ

ใหค้นคิดดีทาํดีได ้ก็ผดิหวงั จากนั้นก็เร่ิมหาวิธีว่าความจริงคืออะไร ผมก็ถอยออกมาคิดดูชีวิตตวัเอง

ก่อนว่า จริงๆ แลว้เราคือใคร เกิดมาทาํไม ใครสร้างเรา ศาสนาคืออะไร ศาสนาอ่ืนๆ เป็นอยา่งไร

และศาสนาของเราเป็นอยา่งไร มนัเร่ิมจากความสงสยั ตอนหมดสญัญาค่ายเพลง ผมจึงเบนเข็ม

ออกมา เปล่ียนสู่ศาสนา ช่ือเสียงเป็นเร่ืองมายา ไม่ย ัง่ยนื เคยไปอยูท่ี่จุดนั้นแลว้แต่ชีวิตก็ไม่ไดมี้

ความสุข จนมาวนัน้ีไดเ้รียนรู้ว่าการทาํบางอยา่งท่ีดีๆ แมส้งัคมไม่รู้แต่ตวัเรากลบัรู้สึกดี รู้สึกว่าตวัเอง

มีคุณค่าสาํหรับผม น่ีคือความสุขท่ีแทจ้ริงครับ"… (สรุปจาก http://tv.truelife.com/content/ สืบคน้

วนัท่ี 15 สิงหาคม 2556)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

453

ใบงาน 5/1

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติตอบรับแนวทาง/ความสัมพนัธ์กบัพระเจ้า ที่ 3/1

คาํช้ีแจง

หลงัจากไดพิ้จารณากรณีศึกษา ขอให้ท่านวิพากษ์ว่าการกระทาํของ “ต” หลงัจากมี

ประสบการณ์สมัผสัพระเจา้ ไดท่ี้ทิ้งชีวิตการเป็นนักดนตรี และอุทิศรับใชส้ังคม เป็นการกระทาํท่ี

เหมาะสม/ไม่เหมาะสมอยา่งไร?

-------------------

1. การกระทาํของ “ต.” ท่ีทิ้งชีวิตการเป็นนกัร้อง ไปทาํงานรับใชพ้ระเจา้ดว้ยการรับใชส้งัคม เป็น

การกระทาํท่ีเหมาะสม ต่อการดาํเนินชีวิตตอบรับ/การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้ เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

2. การกระทาํของ “ต.” ท่ีทิ้งชีวิตการเป็นนกัร้อง ไปทาํงานรับใชพ้ระเจา้ดว้ยการรับใชส้งัคม เป็น

การกระทาํท่ีไม่เหมาะสม ต่อการดาํเนินชีวิตตอบรับ/การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้ เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

454

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติที่มคีวามสัมพนัธ์กบัพระเจ้า ที่ 3/2

บ. นักร้อง นกัแต่งเพลงช่ือดงัประสบอบุัตเิหตุ แต่เช่ือว่าพระช่วยให้รอดชีวติ จะแต่งเพลง

ขอบคุณพระในอลับั้มใหม่ของตน

นกัร้องและนกัแต่งเพลงช่ือดงั “บ.” ประสบอุบติัเหตุท่ีสหรัฐ ขณะขบัรถไปซ้ือของท่ี

ซุปเปอร์มาร์เก็ต มีรถพุ่งเขา้มาชนอยา่งแรง “บ.” เผยว่า “ผมเช่ือว่าพระเจา้คุม้ครองผม ระหว่างท่ี

รถพุ่งมาห่างกนัประมาณสองเมตร อยา่งแรก คือ ผมว่าพระเจา้ทรงกั้นเราไวจ้ากรถท่ีเขา้มาชน

เพราะว่าของในรถก็พงันะครับแต่ว่าคนไม่เป็นไร" นอกจากนั้น ยงันาํเร่ืองราวน้ีมาแต่งเพลงเพ่ือ

ขอบคุณพระเจา้ในอลับั้มใหม่ของตน (สรุปจาก http://entertainment.th.msn.com/news2 สืบคน้

วนัท่ี 15 สิงหาคม 2556

ใบงาน 5/2

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติที่มคีวามสัมพนัธ์กบัพระเจ้า ที่ 3/2

คาํช้ีแจง

หลงัจากไดพิ้จารณากรณีศึกษา ขอใหท่้านวิพากษว์่าการกระทาํของ “บ” ท่ีเช่ือว่าพระเจา้

คุม้ครองจากการประสบอุบติัเหตุ และจะแต่งเพลงเก่ียวกบัเหตุการณ์ดงักล่าวในอลับั้มใหม่ของตน

เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสม/ไม่เหมาะสมอยา่งไร?

-------------------

1. การกระทาํของ “บ.” ท่ี สาํนึกว่าพระเจา้ช่วยใหร้อดพน้จากอนัตราย จึงแต่งเพลงเก่ียวกบั

เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนเพ่ือขอบคุณพระเจา้ในอลับั้มใหม่ของตน เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสม ต่อการ

ดาํเนินชีวติตอบรับ/การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้ เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

455

2. กระทาํของ “บ.” ท่ีสาํนึกว่าพระเจา้ช่วยใหร้อดพน้จากอนัตราย จึงแต่งเพลงเก่ียวกบัเหตุการณ์ท่ี

เกิดข้ึนเพ่ือขอบคุณพระเจา้ในอลับั้มใหม่ของตน เป็นการกระทาํท่ีไม่เหมาะสม ต่อการดาํเนิน

ชีวิตตอบรับ/การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้ เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

แบบบันทกึการประชุมกลุ่ม 5

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติที่มคีวามสัมพนัธ์กบัพระเจ้า

คาํช้ีแจง

1. ใหด้าํเนินการประชุมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่ม จากการท่ีแต่ละคนวิพากษ์

พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตจากกรณีศึกษา

2. ในขณะท่ีสมาชิกคนหน่ึงนาํเสนอ ใหส้มาชิกอ่ืนๆ เป็นผูฟั้งท่ีดี ไม่วิพากษ/์วจิารณ์ส่ิงท่ี

สมาชิกในกลุ่มนาํเสนอ

3. ใหเ้ลขานุการกลุ่มจดบนัทึกการประชุมและหาตวัแทนนาํเสนอ

--------------------------

1. พฤติกรรมจากกรณีศึกษา แสดงถึงการดาํเนินชีวิตท่ีเหมาะสมในการมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้

เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

2. พฤติกรรมจากกรณีศึกษา แสดงถึงการดาํเนินชีวิตท่ีไม่เหมาะสมในการมีความสัมพนัธ์กบัพระ

เจา้ เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

456

3. หลกัคิด/หลกัการในการพิจารณาการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีตอบรับ/การมีความสมัพนัธ์

กบัพระเจา้

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

4. ขอ้ควรปฏิบติัท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ีตอบรับ/การมีความสมัพนัธก์บัพระ

เจา้ ในกรณีศึกษาดงักล่าว

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

แบบบันทกึส่ิงที่ได้รับจากการอบรม 3

คาํช้ีแจง

1. แบบบนัทึกฯ น้ี เป็นแบบบนัทึกส่วนบุคคล เพ่ือใชบ้นัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการเขา้อบรม

เชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 วนัท่ีสาม

2. ใหแ้ต่ละคนไตร่ตรอง ทบทวนในบรรยากาศของความสงบ ฟังเสียงภายในจิตใจ

---------------

1. ข้อค้นพบจากการศึกษา/ทําความเข้าใจปรากฏการณ์ชีวติ

1.1 ขอ้คน้พบ/สาระสาํคญัจากการศึกษาเอกสารการพฒันามนุษยต์ามกระแสโลภาภิวฒันฯ์

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………….

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

457

1.2 ขอ้คน้พบจากกรณีศึกษา : หลกัคิดการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ีตอบรับแนวทาง/

การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

2. ข้อค้นพบจากการไตร่ตรองชีวติ

จากการไตร่ตรองการวิพากษก์ารพฒันามนุษยต์ามกระแสโลกาภิวฒันข์องพระสนัตะปาปาฯ

และการศึกษาปรากฏการณ์ (กรณีศึกษา) ช่วยใหท่้านคน้พบคุณค่าและความหมายชีวติของท่าน

ดงัต่อไปน้ี

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………….…

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

458

3. ข้อค้นพบจากการออกแบบแนวปฏิบัต ิ

จากการไตร่ตรองการวิพากษก์ารพฒันามนุษยใ์นกระแสโลกาภิวฒัน์ของพระสนัตะปาปาฯ

และการศึกษาปรากฏการณ์ (กรณีศึกษา) ท่านมีขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัเพ่ือส่งเสริมคุณค่าและ

ความหมายชีวติของท่าน ดงัต่อไปน้ี

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

เอกสาร/กรณศึีกษา/ ใบงาน/แบบบันทกึการประชุม/แบบบนัทึกฯ

สําหรับประกอบการจดัอบรมในวนัท่ี 4

กรณศึีกษา ชุดท่ี 4 : ความสัมพนัธ์ต่อตนเอง

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีของตนเอง ที่ 4/1

“ช.” สาวนอ้ย "นกัสู"้ ท่ีเปรียบเธอเป็นสาวนกัสู ้เพราะสาวคนน้ี ไม่ไดพิ้การแต่กาํเนิด แต่

เพิ่งมาเดินไม่ไดเ้ม่ืออาย ุ16 ปี แมจ้ะเสียใจ แต่ดว้ยจิตใจท่ีเขม้แข็ง เธอนอนร้องไหอ้ยูเ่พียงวนัเดียว

ก็ลุกข้ึนสูอี้กคร้ัง ตั้งหนา้ตั้งตารักษาตวัใหห้าย และกลบัไปเรียนหนงัสืออีกคร้ัง พยายามทาํทุกอยา่ง

ใหไ้ดเ้หมือนท่ีคนปกติทาํ แมพ่้อแม่จะแยกทางกนัตั้งแต่เดก็ แต่เธอก็โตมากบัคุณยาย คุณยา่ และ

ญาติๆ ของทั้งสองฝ่ายท่ีใหค้วามรักความเอาใจใส่อยา่งใกลชิ้ด จนสามารถสอบเขา้เรียนต่อใน

สถาบนัอุดมศึกษาชั้นนาํของประเทศไทยไดส้าํเร็จ สมคัรเขา้ประกวดจนไดต้าํแหน่งดาวคณะและ

ดาวมหาวิทยาลยั รวมถึงการเขา้ร่วมประกวดนางงามตามเวทีต่างๆ ท่ีเปิดโอกาสใหค้นพิการเขา้

ประกวดได ้(สรุป/ดดัแปลงจาก http://www.matichon.co.th/news_detail.php? สืบคน้วนัท่ี 15

สิงหาคม 2556)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

459

ใบงาน 6/1

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีของตนเอง ที่ 4/1

คาํช้ีแจง

หลงัจากไดพิ้จารณากรณีศึกษา ขอให้ท่านวิพากษ์ว่าการกระทาํของ “ช” สาวพิการท่ีเขา้

ประกวดชิงตาํแหน่งนางงามตามเวที/ตาํแหน่งต่างๆ เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสมหรือไม่ อยา่งไร

------------------------------

1. การกระทาํของ “ช” สาวพิการท่ีเขา้ประกวดชิงตาํแหน่งนางงามตามเวที/ตาํแหน่งต่างๆ เป็นการ

กระทาํท่ีเหมาะสมในการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเอง เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

2. การกระทาํของ “ช” สาวพิการท่ีเขา้ประกวดชิงตาํแหน่งนางงามตามเวที/ตาํแหน่งต่างๆ เป็นการ

กระทาํท่ีไม่เหมาะสมในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเอง เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

460

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีของตนเอง ที่ 4/2

หนุ่มวยั 15 ปี ผ่านการทําศัลยกรรม 16 คร้ัง จากเงินทีห่าได้ด้วยนํา้พกันํา้แรงของตนเอง

เผยชีวิต นาย ก. หนุ่มวยั 15 ปี ผา่นการทาํศลัยกรรมใบหนา้ นบัคร้ังไม่ถว้น เพราะไม่พอใจ

ในรูปร่างหนา้ตาของตวัเอง อีกทั้งยงัโดนเพื่อนลอ้จนกลายเป็นปมดอ้ย ทาํใหเ้ด็กหนุ่มในวยั 15 ปี

ตดัสินใจเดินทางสู่ถนนสายศลัยกรรมและตลอดช่วงเวลา 2 ปีที่ผ่านมา เขาผ่านการทําศัลยกรรม

มาแล้วทั้งหมด 16 คร้ัง!!! ใช้งบประมาณไปทั้งส้ินกว่า 2.5 แสนบาท ... ชายหนุ่มคนดงักล่าว ไดเ้ล่า

ว่าแต่ก่อนตอนเรียนอยูเ่พ่ือน ๆ ชอบลอ้เก่ียวกบัหนา้ตาของตน จนรู้สึกว่าเป็นปมดอ้ยตลอดมา จึง

อยากมีหนา้ตาดี จากนั้นตนก็ทาํงานหารายไดพิ้เศษ เก็บเงิน และศึกษาหาคลินิกท่ีทาํศลัยกรรมอยา่ง

จริงจงั การทาํศลัยกรรมคร้ังหน่ึงนั้นตอ้งใชเ้งินมากมาย แต่ก็ใชเ้งินท่ีหาไดด้ว้ยนํ้ าพกันํ้ าแรงของ

ตนเอง ดว้ยการรับจา้งทาํเวปไซต ์ ทาํใหช่้วงนั้นมีรายได ้ตกประมาณเดือนละ 10,000 - 30,000 บาท

และในตอนนั้นตนก็สามารถซ้ือ โทรศพัทมื์อถือ โนต้บุ๊ก แถมยงัจ่ายค่าเทอมไดด้ว้ยตวัเอง จนตอนน้ี

ตนสามารถซ้ือรถเป็นของตวัเองไดแ้ลว้ (สรุปจาก http://hilight.kapook.com/ สืบคน้วนัท่ี 15

สิงหาคม 2556)

ใบงาน 6/2

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีของตนเอง ที่ 4/2

คาํช้ีแจง

หลงัจากได้พิจารณากรณีศึกษา ขอให้ท่านวิพากษ์ว่าการกระทาํของ “ก” ในการ

ทาํศลัยกรรมใบหนา้ตนอยา่งอยา่งต่อเน่ือง เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสมหรือไม่ อยา่งไร

------------------------------

1. การกระทาํของ นาย ก. ใชเ้งินสะสมส่วนตวั ไปทาํศลัยกรรมผา่ตดั ใบหนา้ของตนอยา่งต่อเน่ือง

เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสมในการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเอง เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

461

2. การกระทาํของ นาย ก. ใชเ้งินสะสมส่วนตวั ไปทาํศลัยกรรมผา่ตดั ใบหนา้ของตนอยา่งต่อเน่ือง

เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสมในการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเอง เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

แบบบันทกึการประชุมกลุ่ม 6

กรณศึีกษาการใช้เสรีภาพในการดําเนนิชีวติที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีของตนเอง

คาํช้ีแจง

1. ใหด้าํเนินการประชุมกลุ่ม วิพากษก์ารกระทาํของบุคคลท่ีปรากฏในกรณีศึกษา ใน

ประเด็นการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเอง

2. ใหส้มาชิกในกลุ่มร่วมกนัสรุปสาระสาํคญัจากการประชุมกลุ่ม

3. ใหเ้ลขานุการกลุ่มจดบนัทึก และหาตวัแทนนาํเสนอต่อผูเ้ขา้ร่วมอบรม

--------------------------------

1. พฤติกรรมจากกรณีศึกษา แสดงถึงการดาํเนินชีวิตท่ีเหมาะสมในการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติ

ท่ีเคารพตนเอง เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

2. พฤติกรรมจากกรณีศึกษา แสดงถึงการดาํเนินชีวิตท่ีไม่เหมาะสมในการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพตนเอง เน่ืองจาก

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

462

3. หลกัคิด/หลกัการในการพิจารณาการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของ

ตนเอง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

4. ขอ้ควรปฏิบติัท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเอง ใน

กรณีศึกษาดงักล่าว

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

แบบบันทกึส่ิงที่ได้รับจากการอบรม 4

คาํช้ีแจง

1. แบบบนัทึกฯ น้ี เป็นแบบบนัทึกส่วนบุคคล เพ่ือใชบ้นัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการเขา้อบรมเชิงปฏิบติั

เพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

วนัท่ีส่ี

2. ใหแ้ต่ละคนไตร่ตรอง ทบทวนในบรรยากาศของความสงบ ฟังเสียงภายในจิตใจ

---------------

1. ข้อค้นพบจากการศึกษา/ทําความเข้าใจปรากฏการณ์ชีวติ

ขอ้คน้พบจากกรณีศึกษา : การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษยข์องตนเอง

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

463

2. ข้อค้นพบจากการไตร่ตรองชีวติ

จากการไตร่ตรองการวิพากษก์รณีศึกษา ช่วยใหท่้านคน้พบคุณค่าและความหมายชีวติของท่าน

ดงัต่อไปน้ี

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

3. ข้อค้นพบจากการออกแบบแนวปฏิบัต ิ

จากการไตร่ตรองการวิพากษก์รณีศึกษา ท่านมีขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัเพ่ือส่งเสริมคุณค่าและ

ความหมายชีวติของท่าน ดงัต่อไปน้ี

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

464

เอกสาร/กรณศึีกษา/ ใบงาน/แบบบันทกึการประชุม/แบบบนัทึกฯ

สําหรับประกอบการจดัอบรมในวนัท่ี 5

เอกสาร “แนวทางการพฒันามนุษย์ไปสู่การดําเนนิชีวติที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีมนุษย์

ตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2”

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีพ้ืนฐานแนวคิดตามคาํสอนคริสตศ์าสนาท่ีอธิบายว่า

มนุษย์เป็นส่ิงประเสริฐ มีศักยภาพท่ีจะบรรลุถึงความจริง เน่ืองจากพระเจ้าทรงสร้างให้เป็น

ภาพลกัษณ์ของพระองค ์ ทาํให้มนุษยมี์ลกัษณะพิเศษแตกต่างจากส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ กล่าวคือ มนุษย์

เป็นบุคคล (Person) ท่ีมีความรู้สาํนึก เสรีภาพ มนุษยเ์ป็นตวัของตวัเองและมีศกัยภาพท่ีจะควบคุม

ตนเองได ้ ลกัษณะพื้นฐานของมนุษยคื์อ การท่ีมนุษยส์ามารถมี (และตอ้งมี) ความสัมพนัธ์กบัคน

อ่ืนในแบบอุทิศตนเพ่ือผูอ่ื้นเพ่ือจะไดรู้้จกัตนเองและพฒันาตนสู่การเป็นมนุษยท่ี์สมบูรณ์ยิ ่ง ๆ ข้ึน

อย่างไรก็ตาม ความรู้สาํนึกและเสรีภาพของมนุษยย์งัมีความจาํกดั แทนท่ีมนุษยจ์ะใชเ้สรีภาพท่ี

สอดคลอ้งกบัธรรมชาติมนุษย ์ในการตอบรับการเช้ือเชิญดว้ยการปฏิบติัตามแนวทางของพระเจา้

มนุษยก์ลบัใชเ้สรีภาพ เลือกท่ีอยูแ่ละมุ่งสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ดว้ยตนเอง โดยตดัความสัมพนัธ์กบัพระเจา้

ทาํใหชี้วิตมนุษยไ์ม่กลมกลืนกบัตนเอง คนอ่ืนและส่ิงอ่ืน อนัเป็นท่ีมาของความตกตํ่าและความมวั

หมองของชีวิต

พระสนัตะปาปาฯ ทรงเร่ิมตน้ดว้ยการวิเคราะห์ปรากฏการณ์การพฒันามนุษยใ์นสงัคม

ร่วมสมยั ว่า แมจ้ะมีความเจริญกา้วหนา้ดา้นวิทยาการและเทคโนโลยี แต่ยิ ่งกลบัทาํให้มนุษยอ์ยู่ใน

ภาวะตกตํ่าและดอ้ยพฒันา เน่ืองจากมนุษยต์กอยูใ่น “กระแสการทาํลายชีวิต” ซ่ึงเป็นผลมาจากการท่ี

มนุษยใ์ห้ความสาํคญัแต่เพียงการตอบสนองความตอ้งการดา้นร่างกาย และปฏิเสธคุณค่าภายใน

จิตใจ ดงัท่ีปรากฏผา่นทางค่านิยมต่างๆ ในสังคม โดยเฉพาะกระแสวตัถุนิยม บริโภคนิยม ปัจเจก

นิยม ฯลฯ ซ่ึงมีพ้ืนฐานอยู่บนการให้ความสาํคญัแก่มนุษยแ์ต่เพียงระดบักายภาพ มุ่งตอบสนองแต่

เพียงความตอ้งการดา้ยวตัถุสสาร ท่ีเน้นเศรษฐกิจเป็นหลกัในการพฒันามนุษยใ์นสังคม ส่งผลทาํ

ใหส้งัคมอยูใ่นบรรยากาศท่ีไม่เอ้ืออาํนวยต่อการพฒันาชีวิตของบุคคล เป็นสังคมท่ี “มุ่งไปสู่การมี

(วตัถุส่ิงของ) มากกว่ามุ่งสู่การเป็นมนุษย”์ (John Paul II, 1991: 36)

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงคิดว่าการพฒันาสู่ความเจริญท่ีแทจ้ริงของชีวิต

ตอ้งมีพ้ืนฐานอยูก่ารส่งเสริมบุคคลใหด้าํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ในฐานะท่ี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

465

มนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ และพระเจา้ทรงเรียกร้องมนุษยใ์ห้เขา้มามีส่วนใน

ความจริงและความดีซ่ึงก็คือพระเจา้เอง มนุษยจึ์งตอ้งเคารพศกัด์ิศรีพิเศษของการเป็นภาพลกัษณ์น้ี”

(John Paul II, 1993: 86; 1987: 29, 33) ดงันั้น การพฒันามนุษย ์จึงมุ่งเสริมสร้างแนวทางการดาํเนิน

ชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในสงัคมโดยมีแนวคิดหลกัว่า “จงเป็นในส่ิงท่ีท่านเป็นเถิด” (John

Paul II, 1981: 17) ซ่ึงสรุปความหายและหลกัการพฒันามนุษยไ์ปสู่การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ดงัน้ี

ความหมายการพฒันามนุษย์

การพฒันามนุษย ์คือ การพฒันาท่ีทาํให้มนุษยเ์ป็นมนุษยม์ากข้ึน กล่าวคือ เป็นการ

พฒันาอย่างรอบคอบสอดคลอ้งกบัคุณค่า ความหมายชีวิตท่ีแทจ้ริงของมนุษย ์ การพฒันาตอ้งมุ่ง

เสริมสร้างใหม้นุษยเ์ป็นบุคคลยิง่ข้ึน ดงันั้น การพฒันามนุษยจึ์งหมายถึง การเปล่ียนแปลงเจตคติจาก

การดาํเนินชีวิตท่ีใชเ้สรีภาพท่ียดึตนเองเป็นศูนยก์ลาง ไปสู่เจตคติการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของ

ตนเองและผูอ่ื้น การส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเหมาะสม โดยมีเป้าหมายสูงสุดของการพฒันา คือ การ

มุ่งสู่ชีวิตสมบูรณ์ อนัเป็นภารกิจท่ีพระเจา้ทรงมอบแก่มนุษยใ์นการตอบรับแนวทาง/พระพรของพระ

เจา้ ไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระองค ์

พระสนัตะปาปาฯ เสนอความหมายและหลกัการพฒันาว่าเป็น “การพฒันามนุษยแ์บบ

บูรณการ” (Integral human development) (John Paul II, 1987: 32) หมายถึงการพฒันาท่ีครอบคลุม

ทุกมิติของชีวิตมนุษยแ์ละการพฒันาชีวิตในสังคม ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วฒันธรรมและจิตใจ

รวมถึงโอกาส คุณภาพและความเสมอภาคของทุกภาคส่วนในสังคม โดยให้ความสาํคญัต่อการ

ไตร่ตรอง ทบทวนการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต เพ่ือใหเ้กิดการเปล่ียนแปลง/พฒันาเจตคติการใช้

เสรีภาพในการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้อย่างต่อเน่ือง โดยมีหลกัศาสนาและศีลธรรม

เป็นแนวทาง การพฒันาเป็นกระบวนการสากล ครอบคลุมทุกคน ทุกสถานภาพ และต่อเน่ืองจน

ตลอดชีวิต มีการจัดลาํดบัคุณค่าให้ “คน” มาก่อนและอยู่เหนือวตัถุส่ิงของ หรือการพฒันาทาง

กายภาพ บนพ้ืนฐานของบริบท/อตัลกัษณ์บุคคล เพ่ือมุ่งไปสู่เป้าหมายสูงสุด คือ การเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์

หลกัการพฒันามนุษย์

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง จึงสรุปเป็นหลกัในการพิจารณาการ

พฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

1. การพฒันาท่ีมุ่งเสริมสร้างการเป็นบุคคล

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

466

การพฒันามนุษย ์ตอ้งมีพ้ืนฐานอยูบ่นหลกัการเป็นบุคคลของมนุษย ์ท่ีเช่ือมโยงกบั

พระเจ้า ในฐานะบุคคลท่ีสมบูรณ์ ลกัษณะพ้ืนฐานท่ีแสดงถึงความเป็นบุคคลของมนุษย ์ว่า

ประกอบดว้ยความรู้สาํนึกและเสรีภาพ ท่ีควบคู่กนั อนัเป็น “ศกัยภาพภายใน” ท่ีมนุษยไ์ดรั้บจากพระ

เจา้ ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระองค์ เพ่ือพฒันาชีวิตดว้ยการสร้างความสัมพนัธ์กับ

ผูอ่ื้น ดว้ยเหตุน้ี การมีความรู้สาํนึกและเสรีภาพ จึงเป็นหลกัการพ้ืนฐานของการเป็นบุคคลของ

มนุษย ์ในการพฒันาชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนในสังคม ในฐานะเป็นบุคคลท่ีตอ้งมีการติดต่อสัมพนัธ์กบั

ผูอ่ื้น ตอ้งมีการอุทิศตวัให้ผูอ่ื้นและในเวลาเดียวกนัก็ตอ้งรับการติดต่อสมาคมกบัผูอ่ื้นท่ีหยิบยื่น

ไมตรีจิตใหเ้ช่นกนั พระสนัตะปาปาฯ ทรงใหค้วามสาํคญัต่อครอบครัวเป็นพิเศษ ในฐานะเป็นหมู่

คณะแรก และเป็นพ้ืนฐานในการปลูกฝังคุณค่าของชีวิต ครอบครัวเป็นจุดเร่ิมตน้ของชีวิตและการ

พฒันาชีวิต ครอบครัวมีบทบาทสาํคญัต่อการปลูกฝังเจตคติ และการดาํเนินชีวิตอย่างถูกต้องต่อ

คุณค่าพ้ืนฐานและศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของมนุษย ์

นอกจากนั้น พระสันตะปาปาฯ ทรงย ํ้ าถึง “อตัลกัษณ์ส่วนบุคคล” (John Paul II,

1979: 13, 14) ท่ีไม่ซํ้ าแบบกนั ในฐานะท่ีมนุษยด์าํเนินชีวิตและพฒันาชีวิตของตนตามบริบทและ

ประวติัศาสตร์ของแต่ละคน ให้ความสาํคญัต่อวฒันธรรม อนัเป็นคุณค่าและมรดก ท่ีหล่อหลอม

มนุษยใ์หพ้ฒันาชีวิตตามอตัลกัษณ์ของตน

2. การพฒันาบุคคลใหมี้จิตสาํนึกต่อเสรีภาพ ในสงัคมท่ีเป็นอิสระ

เป้าหมายสูงสุดของการพฒันามนุษย ์คือ การบรรลุถึงการเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

ดว้ยเหตุน้ี การพฒันาจึงตอ้งมุ่งสู่การบรรลุจุดหมาย คือ การเป็นบุคคลท่ีเต็มดว้ยสาํนึกอย่างถูกตอ้ง

ต่อเสรีภาพ อนัเป็นสภาพของบุคคลท่ีมีเสรีภาพอยา่งเต็มท่ี มีใจท่ีเป็นอิสระและสาํนึกรับผดิชอบท่ีจะ

พฒันาตัวเองร่วมกบัคนอ่ืน ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม ท่ีต้องควบคู่กับการดาํเนินชีวิตในสังคมท่ีมี

บรรยากาศและสภาพแวดลอ้มท่ีส่งเสริมใหม้นุษยเ์ป็นตวัของตวัเอง สาํนึกในสิทธิและหน้าของตน

อยา่งครบถว้น มีความมุ่งมัน่ในการสร้างสนัติภาพ มีระบบกฎหมายท่ีเป็นธรรม และมีสวสัดิการท่ี

เหมาะสมมารองรับบนพ้ืนฐานของสิทธิมนุษยชน เพ่ือมนุษย ์จะไดพ้ฒันาตนเองไดอ้ย่างเต็มท่ี ดว้ย

การใชเ้สรีภาพ บนพ้ืนฐานของความรู้สาํนึก ดว้ยการสร้างความสัมพนัธ์กบัผูอ่ื้น โดยมุ่งสู่การเป็น

บุคคลท่ีสมบูรณ์

3. การพฒันามนุษยด์ว้ยเจตคติของการเคารพความเป็นบุคคล

การจดัการพฒันามนุษยต์อ้งมีการปรับเปล่ียนเจตคติบนพ้ืนฐานของความเคารพต่อ

ความเป็นมนุษยท่ี์ทุกคนมีเท่าเสมอกนั และนาํสู่การปฏิบติัดว้ยการให้โอกาส และความร่วมมือใน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

467

ทุกภาคส่วน ทั้งระดบับุคคล สงัคมและทุกประเทศ ทั้งจากผูช่้วยเหลือ/ผูรั้บความช่วยเหลือ รวมถึง

ประเทศท่ีตอ้งไดรั้บความช่วยเหลือ/ประเทศท่ีทาํการช่วยเหลือ บนพ้ืนฐานของความเคารพใน

คุณค่าและศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์ทั้งในระดบัเจตคติท่ีถกูตอ้งและนาํไปสู่การปฏิบติัอย่างรอบคอบ

เหมาะสม บนพ้ืนฐานของการเคารพในศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษย ์

4. การพฒันาดว้ยการส่งเสริม สนบัสนุนใหเ้กิดการพฒันาร่วมกนั

แนวทางการพฒันามนุษยมี์ลกัษณะเป็นกระบวนการเสริมสร้าง สนับสนุนซ่ึงกัน

และกนั เน้นความเป็นปึกแผ่นหน่ึงเดียวกนั บนความสํานึกของการเป็นพ่ีน้องเพ่ือนมนุษย ์ เป็น

กระบวนการแบ่งปันดว้ยจิตตารมยค์วามรัก เป็นแนวทางท่ีพระสันตะปาปาฯ ทรงนาํเสนอ เพ่ือการ

พฒันามนุษย ์ทั้งในระดบับุคคลและระดบัประเทศ/สงัคม โดยทุกคน ทุกภาคส่วนตอ้งมีส่วนร่วมกนั

เสริมสร้างบรรยากาศแห่งการพ่ีนอ้งเพ่ือนมนุษย ์ เปล่ียนจากบรรยากาศของความไม่ไวใ้จกนัมาเป็น

ความร่วมมือกนั และใหค้วามสนใจเร่ืองคุณค่าทางศาสนาและศีลธรรม เพ่ือนาํสู่การปรับเปล่ียนเจต

คติ พฤติกรรม และโครงสร้างต่างๆ ซ่ึงจะทาํใหเ้กิดบรรยากาศ/สภาพแวดลอ้มของความเป็นพ่ีน้อง

กนัอยา่งแทจ้ริง ระหว่างแต่ละบุคคล และประเทศต่างๆ อนัจะส่งผลให้เกิดสันติภาพอย่างย ัง่ยืนใน

สงัคมมนุษยชาติ

ดงันั้น การพฒันาตอ้งมีพ้ืนฐานอยูบ่นคุณค่าของชีวิต ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์

ของพระเจา้ มนุษยจึ์งตอ้งสนองพระประสงค์พระเจา้และดาํเนินชีวิตร่วมกบัเพ่ือนมนุษยอ่ื์น ๆ ใน

สงัคม หลกัการพฒันาท่ีดีนั้นตอ้งมุ่งส่งเสริมใหม้นุษยมี์ความสมัพนัธท่ี์ดีกบัพระเจา้ และดาํเนินชีวิต

ร่วมกบัเพ่ือนสมาชิกในสงัคม กล่าวคือ “การพฒันาท่ีแทจ้ริงจะตอ้งมีพ้ืนฐานอยู่บนความรักในพระ

เจา้และในเพ่ือนมนุษย ์และตอ้งช่วยส่งเสริมสัมพนัธภาพระหว่างบุคคลกบัสังคมบนพ้ืนฐานของ

ความจริงและการปฏิบติัต่อตนเอง คนอ่ืน สงัคมและส่ิงแวดลอ้มดว้ยความเอาใจใส่ท่ีจะดาํเนินชีวิต

ร่วมกนั” (John Paul II, 1995: 6; 1987: 33) ซ่ึงพระสนัตะปาปาฯ ทรงใหค้วามสาํคญัต่อการทาํงาน

ในฐานะเป็นการพฒันาชีวิตในสังคมสู่ความเจริญกา้วหน้าของบุคคล การทาํงานจึงเป็นกิจกรรมท่ี

มนุษยทุ์กคนตอ้งเขา้มามีส่วนร่วมตามบทบาทหน้าท่ีท่ีไดรั้บมอบหมายจากสังคม พระองค์ทรง

เรียกร้องใหมี้ระบบศีลธรรมการทาํงาน “เพ่ือใหม้นุษยท์าํงานอย่างผูมี้คุณธรรม และช่วยให้มนุษยผ์ู ้

ทาํงานมีความเป็นมนุษยส์มบูรณ์มากยิ ่งข้ึน” (John Paul II, 1981: 9) ดงัท่ีพระองค์เสนอว่า การ

ทาํงาน คือการท่ีมนุษยอุ์ทิศตนไม่เพียงแต่เพ่ือตนเอง แต่มนุษยย์งัทาํเพ่ือผูอ่ื้นและทาํงานเพื่อเล้ียงดู

ครอบครัวของเขา ชุมชนของเขา ชาติของเขา ท่ีสุด เพ่ือมนุษยชาติเองทั้ งหมด และเป็นการขยาย

ความสมัพนัธแ์ห่งความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัของมนุษยชาติ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

468

แนวทางการพฒันา : การเสริมสร้างสังคมบนพืน้ฐานของ “วฒันธรรมแห่งชีวติ”

พระสันตะปาปาฯ ทรงเสนอให้มีการสร้างสรรค์ให้สังคม เป็นสังคมของบุคคล บน

พ้ืนฐาน “วฒันธรรมแห่งชีวิต” (John Paul II, 1995: 23) กล่าวคือ การเสริมสร้างบรรยากาศ/

สภาพแวดลอ้มของสงัคม บนพ้ืนฐานของการส่งเสริมคุณค่าและศกัด์ิศรีของความเป็นมนุษย ์ท่ีมุ่งสู่

การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์/ชีวิตนิรันดรในพระเจา้ ท่ีทุกคนและทุกภาคส่วนตอ้งมีส่วนร่วมรับผดิชอบ

ต่อการสร้างสงัคม ใหเ้ป็นสงัคมท่ีดาํเนินชีวิตเป็นหมู่คณะ (John Paul II, 1995: 28; 1991: 29, 36, 47;

1987: 26, 29, 33, 38, 47; 1981: 22; 1979: 13, 15) ท่ีบุคคลในสังคมดาํเนินชีวิตดว้ยจิตสาํนึกบน

พ้ืนฐานของสิทธิและหนา้ท่ีตามสิทธิบุคคลท่ีครอบคลุมทั้งดา้นการพฒันาร่างกายและจิตวิญญาณ ใน

ฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นบุคคลท่ีมีศกัยภาพในการพฒันาชีวิตในสงัคม และมีศกัยภาพท่ีจะพฒันาชีวิตของ

ตนไปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระเจ้า ท่ีเกินขอบเขตของโลกทางกายภาพ ซ่ึงเป็นเป้าหมายของการ

พฒันาชีวิตอยา่งแทจ้ริง ดว้ยเหตุน้ี จึงมีความจาํเป็นตอ้งกาํหนดคุณค่าท่ีเป็นพ้ืนฐาน เพ่ือเป็นแนวทาง

ในการปฏิบติั (John Paul II, 1991: 28, 29, 44, 52; 1987: 33) โดยมีจิตสาํนึกต่อการเคารพสิทธิท่ีจะ

มีชีวิตในทุกขั้นตอนและทุกมิติของชีวิต (John Paul II, 1991: 36; 1987: 33) รวมถึงการเคารพใน

เอกลกัษณ์ทางประวติัศาสตร์และวฒันธรรมของชนชาติ ไม่ใช่เป็นเพียงแค่ลายลกัษณ์อกัษร แต่ตอ้ง

นาํไปสู่การปฏิบติับนความสาํนึกรับผดิชอบตามหลกัศีลธรรม อนัเป็นจิตสาํนึกท่ีนาํสู่การปฏิบติัตาม

เจตนารมณ์ (จิตตารมณ์) ตามคุณค่าดงักล่าว (John Paul II, 1979: 16, 17)

วฒันธรรมแห่งชีวิต จึงเป็นรากฐานของการสร้างสังคมของบุคคล กล่าวคือ การ

ส่งเสริมคุณค่าของความเป็นบุคคล อนัเป็นคุณค่าทางจิตใจ/จิตวิญญาณ บนพ้ืนฐานของความเป็น

บุคคล ท่ีมีความรู้สาํนึก เสรีภาพ ท่ีควบคู่กนั เพ่ือพฒันาชีวิตดว้ยการสร้างความสมัพนัธก์บัผูอ่ื้น ดว้ย

การเคารพในคุณค่า ศกัด์ิศรีของมนุษยส่์วนบุคคลท่ีตอ้งมีความสาํคญักว่าวตัถุส่ิงของ การเป็น

บุคคลน้ีเร่ิมตน้ตั้งแต่วินาทีแรกของการปฏิสนธิในครรภม์ารดาท่ีตอ้งไดรั้บความเคารพในแบบล่วง

ละเมิดไม่ได ้(John Paul II, 1995: 60, 77) และการเป็นบุคคลน้ีมีพ้ืนฐานมาจากการเป็นพระบุคคล

ของพระเจ้า ซ่ึงเป็นความเป็นจริงสูงสุด ท่ีโปรดให้มนุษยมี์ส่วนร่วมในการเป็นพระบุคคลของ

พระองค ์(John Paul II, 1995: 3, 5, 6; 1993: 38, 86; 1988: 37; 1986: 34, 37; 1981: 37)

การพฒันามนุษยด์ว้ยการเสริมสร้างการเป็นบุคคลตามวฒันธรรมแห่งชีวิต เรียกร้อง

ใหใ้ชว้ิธีการท่ีความเหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลกบัคุณค่า ความหมายชีวิตท่ีแทจ้ริงของมนุษย ์

เป็นการพฒันาแบบบูรณการทุกมิติของชีวิตมนุษย ์และสังคม ทั้งดา้นเศรษฐกิจ สังคม วฒันธรรม

และจิตใจ รวมถึงโอกาส คุณภาพและความเสมอภาคของทุกภาคส่วนในสังคม โดยคาํนึงถึงความ

สมดุลระหว่างวิทยาการและศีลธรรม (John Paul II, 1987: 32, 33; 1991: 36) พระสันตะปาปาฯ ให้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

469

ความสาํคญัต่อการทาํงานในฐานะเป็นการพฒันาชีวิตในสงัคมสู่ความเจริญกา้วหนา้ของบุคคล การ

ทาํงาน คือ การท่ีมนุษยอุ์ทิศตนไม่เพียงแต่เพ่ือตนเอง แต่มนุษยย์งัทาํเพ่ือผูอ่ื้นและทาํงานเพื่อเล้ียงดู

ครอบครัวของเขา ชุมชนของเขา ชาติของเขา ท่ีสุด เพ่ือมนุษยชาติเองทั้ งหมด และเป็นการขยาย

ความสมัพนัธแ์ห่งความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนัของมนุษยชาติ (John Paul II, 1991: 43)

การพฒันาต้องมุ่งไปสู่การปรับเปลีย่นเจตคตขิองบุคคล

พระสนัตะปาปาฯ ทรงวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาการพฒันา คือ การพฒันาบนพ้ืนฐาน

ของแนวคิดวตัถุนิยม ท่ีมีความเขา้ใจว่ามนุษยเ์ป็นเพียงวตัถุสสาร ปฏิเสธหรือละเลยคุณค่าของจิตใจ/

จิตวิญญาณ มีการพฒันามนุษยแ์ต่เพียงมิติเดียว คือ การตอบสนองความตอ้งการทางกายภาพ โดยใช้

เศรษฐกิจเป็นหลกั ส่งผลใหม้นุษยมี์แนวโนม้ท่ีจะดาํเนินชีวิตท่ียึดแต่ผลประโยชน์และความสุขใน

ระดบักายภาพ ปฏิเสธหรือละเลยการพฒันาชีวิตในสังคมร่วมกบัคนอ่ืน มุ่งพฒันาชีวิตแต่เพียงการ

ส่งเสริมความมัง่คัง่ทางดา้นวตัถุ จนละเลยความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคล (John Paul II, 1995: 23)

รวมถึงความเขา้ใจผดิเร่ืองเสรีภาพ ดว้ยการแยกเสรีภาพออกจากการยอมรับความจริง อนัส่งผลให้

แยกเสรีภาพออกจากหน้าท่ีท่ีจะตอ้งเคารพสิทธิของผูอ่ื้น นาํมาซ่ึงเสรีภาพในแบบหลงรักตนเอง

จนกระทัง่ดูหมิ่นและปฏิเสธคนอ่ืน รวมถึงการปฏิเสธพระเจา้ในชีวิตของตน (John Paul II, 1995:

21-22; 1991: 17; 1988: 5) การยกย่องและให้ความสาํคญัอย่างผิดๆ ต่อตนเองว่าอยู่เหนือทุกส่ิง

(John Paul II, 1995: 19; 1994: 14) นาํสู่การเบียดเบียนคนอ่ืน จาํกดัเสรีภาพคนอ่ืน ทาํให้คนอ่ืนและ

ส่ิงแวดลอ้มตกเป็นเหยื่อของการพฒันาตามปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสังคม จึงมีความจาํเป็นตอ้ง

เปล่ียนแปลงโครงสร้างชีวิตเศรษฐกิจ ซ่ึงไม่ใช่เร่ืองทาํไดง่้ายๆ เวน้แต่การเปล่ียนแปลงจิตใจของ

บุคคล (John Paul II, 1979: 16)

ดงันั้น การพฒันามนุษยไ์ปสู่การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

ตอ้งเร่ิมตน้ท่ีแต่ละบุคคล ดว้ยการปรับเปล่ียนเจตคติ และท่าทีการดาํเนินชีวิต ซ่ึงพระองค์ทรงใชค้าํ

ว่า “การกลบัใจส่วนบุคคล” กล่าวคือ การเปล่ียนแปลงการดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้งกบัธรรมชาติของ

มนุษย ์ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ท่ีมนุษยมี์ส่วนและมุ่งสู่ความดี ความสมบูรณ์ในพระเจา้

(John Paul II, 1995: 34; 1994: 8; 1984: 11, 37; 1981: 37) เร่ิมตน้ดว้ยการปรับเปล่ียนเจตคติ ให้

ถูกต้อง และนาํสู่การเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิต สู่การพฒันาชีวิตให้สมดุลทั้ งมิติดา้น

ร่างกายและจิตวิญญาณ เพ่ือนาํสู่การใชเ้สรีภาพท่ีถกูตอ้งในการพฒันาชีวิต การมีเสรีภาพท่ีถกูตอ้งน้ี

ตอ้งมีพ้ืนฐานอยู่บนความจริงเก่ียวกับชีวิตของตน ความสัมพนัธ์กับผูอ่ื้นและส่ิงแวดลอ้มอย่าง

ถกูตอ้ง (John Paul II, 1987: 38) ดว้ยการตอบรับแนวทางของพระเจา้ ดว้ยการดาํเนินชีวิตดว้ยความ

เคารพศกัด์ิศรีของตนเองและคนอ่ืน ในบริบทของสังคม บนหลกัความรักเมตตาตามแบบพระเจา้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

470

ดงันั้น การพฒันามนุษย ์ตอ้งมุ่งส่งเสริมการเป็นบุคคล ดว้ยการเปล่ียนแปลงเจตคติจากการดาํเนิน

ชีวิตท่ีใชเ้สรีภาพท่ียดึตนเองเป็นศนูยก์ลาง ไปสู่เจตคติการเคารพสิทธิ และเสรีภาพของตนเองและ

ผูอ่ื้น การส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเหมาะสม โดยมีเป้าหมายสูงสุดของการพฒันา คือ การมุ่งสู่ชีวิต

สมบูรณ์ อนัเป็นภารกิจท่ีพระเจา้ทรงมอบแก่มนุษยใ์นการตอบรับแนวทาง/พระพรของพระเจา้ ไปสู่

การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระองค์ (John Paul II, 1995: 7, 34; 1991: 29) โดยให้ความสาํคญัต่อ

การไตร่ตรอง ทบทวนการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต เพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลง/พฒันาเจตคติ

การใชเ้สรีภาพในการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจ้าอย่างต่อเน่ือง โดยมีหลกัศาสนาและ

ศีลธรรมเป็นแนวทาง การพฒันาเป็นกระบวนการสากล ครอบคลุมทุกคน ทุกสถานภาพ และ

ต่อเน่ืองจนตลอดชีวิต มีการจดัลาํดบัคุณค่าให้ “คน” มาก่อนและอยู่เหนือวตัถุส่ิงของ หรือการ

พฒันาทางกายภาพ บนพ้ืนฐานของบริบท/อตัลกัษณ์บุคคล เพ่ือมุ่งไปสู่เป้าหมายสูงสุด คือ การเป็น

บุคคลท่ีสมบูรณ์ (John Paul II, 1995: 2, 34; 1987: 29; 1986: 37)

การพฒันามนุษยไ์ปสู่การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 จึงเป็นกระบวนการพฒันาต่อเน่ือง ไม่หยุดนิ่ง

บนพ้ืนฐานของจิตสาํนึกของบุคคลท่ีหมัน่ไตร่ตรอง ทบทวนชีวิตดว้ยปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิต

และสงัคมอยูเ่สมอ เพ่ือเขา้ใจและพฒันาตนเองอย่างต่อเน่ือง โดยมีความเช่ือศรัทธาในศาสนาเป็น

ภูมิคุม้กนั เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคล ซ่ึงมีพ้ืนฐานอยูบ่นสภาวะดั้งเดิมท่ีดีงาม ในฐานะเป็นภาพลกัษณ์ของ

พระเจา้ แต่ถกูบดบงั/บิดเบือนดว้ยการยดึมัน่ ถือมัน่ต่อค่านิยมท่ีลดทอนคุณค่ามนุษยใ์หเ้ป็นเพียงแค่

วตัถุ สสาร ส่งผลให้บุคคลมีเจคติคติท่ีลดทอนคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเองและคนอ่ืน ให้ตกตํ่า การ

พฒันามนุษยจึ์งเนน้การท่ีแต่ละบุคคลปรับเปล่ียนเจตคติในการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีต่อสิทธิ เสรีภาพ

และความรับผดิชอบต่อชีวิตของตน ร่วมกบัคนอ่ืน อย่างต่อเน่ือง ตลอดชีวิต เพ่ือให้แต่ละบุคคลมี

จิตสาํนึกและใชเ้สรีภาพ ท่ีพระเจา้ประทานให ้เพ่ือมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้) ดว้ย

การเสริมสร้างความสมัพนัธก์บัพระเจา้ โดยการดาํเนินชีวิตดว้ยความรักและรับใชค้นอ่ืน ดว้ยความ

เคารพในคุณค่าศกัด์ิศรีของตนเองและผูอ่ื้น ในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

471

ใบงาน 7

แบบสรุปข้อคดิ/สาระจากการศึกษาเอกสาร

แนวทางการพฒันามนุษยไ์ปสู่การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีมนุษย ์ตามกระบวนทศันข์อง

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

คาํช้ีแจง

1. ใหแ้ต่ละคนศึกษาเอกสาร “แนวทางการพฒันามนุษยไ์ปสู่การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีมนุษย ์ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2”

2. หลงัการศึกษาเอกสาร ใหส้รุปขอ้คิดท่ีไดรั้บจากการศึกษาเอกสารดงักล่าว

--------------------------------

หลงัจากศึกษาเอกสาร ท่านไดข้อ้คิดดงัน้ี

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

472

แบบบันทกึการประชุมกลุ่ม 7

ผลท่ีไดจ้ากการศึกษาเอกสาร “แนวทางการพฒันามนุษยไ์ปสู่การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีมนุษย ์ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2”

คาํช้ีแจง

1. ใหจ้ดัการประชุมกลุ่ม โดยใหส้มาชิกไดแ้บ่งปัน แลกเปล่ียนเรียนรู้ขอ้คิด/ส่ิงท่ีไดจ้ากการศึกษา

เอกสารมนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2. ใหมี้การแลกเปล่ียนเรียนรู้ในกลุ่ม โดยปราศจากการวิพากษ/์วจิารณ์ส่ิงท่ีสมาชิกในกลุ่มนาํเสนอ

ในขณะท่ีสมาชิกคนหน่ึงนาํเสนอ ใหส้มาชิกอ่ืนๆ เป็นผูฟั้งท่ีดี

3. ใหเ้ลขานุการกลุ่มจดบนัทึกทุกประเด็นท่ีสมาชิกในกลุ่มนาํเสนอ

4. ใหส้รุปสาระสาํคญัจากการประชุมกลุ่ม เพ่ือเตรียมนาํเสนอต่อผูเ้ขา้ร่วมอบรม

ประเด็นท่ีสมาชิกกลุ่มนาํเสนอจากการศึกษาเอกสาร

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

สรุปสาระสาํคญั/ขอ้คน้พบจากการประชุมกลุ่ม

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………….

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

473

ภาพ “การฝึกซ้อมกีฬา เพือ่การเป็นเจ้าเหรียญทอง”

(ท่ีมา http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

474

ใบงาน 8

แบบบันทกึความรู้สึกจากการพจิารณาภาพท่ีนําเสนอ

คาํช้ีแจง

ใหผู้เ้ขา้อบรมพิจารณาภาพ “การฝึกซอ้มกีฬาเพ่ือมุ่งเหรียญทอง” และสงัเกต “ความรู้สึก”

ท่ีปราศจากการปรุงแต่ง/การคิดวิเคราะห์ อนัเป็นผลท่ีเกิดข้ึนจากการมองภาพท่ีนาํเสนอ และบนัทึก

“ความรู้สึก” ในหวัขอ้ต่างๆ ดงัน้ี

1. ท่านรู้สึกอยา่งไร ต่อภาพท่ีท่านเห็น?

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

2. ความรู้สึกดงักล่าว เกิดข้ึนจากอะไร?

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

3. ส่ิงท่ีท่านคน้พบเก่ียวกบัตวัท่านเอง จากการสงัเกตความรู้สึกตนเองจากการชมภาพท่ี

นาํเสนอ

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

475

ข้อความจากพระคมัภีร์ 1

คาํช้ีแจง

ใหอ่้านขอ้ความจากพระวรสารนกับุญลกูา บทท่ี 12 : 15 – 21 จาํนวน 2 – 3 รอบ สลบักบั

การอยูเ่งียบๆ ในบรรยากาศของความสงบ เพ่ือฟังเสียงภายในจิตใจ จากการไตร่ตรอง (รําพึง) พระ

คมัภีร์

ข้อความจากพระวรสารนักบุญลูกา บทท่ี 12 : 15 – 21

แลว้พระองคต์รัสกบัคนเหล่านั้นว่า 'จงระวงัและรักษาตวัไวใ้หพ้น้จากความโลภทุกชนิด

เพราะชีวิตของคนเราไม่ข้ึนกบัทรัพยส์มบติัของเขา แมว้่าเขาจะมัง่มีมากเพียงใดก็ตาม'

พระองคย์งัตรัสอุปมาเร่ืองหน่ึงใหเ้ขาทั้งหลายฟังอีกว่า 'เศรษฐีคนหน่ึงมีท่ีดินท่ีเกิดผลดีอยา่ง

มาก

เขาจึงคิดว่า "ฉนัจะทาํอยา่งไรดี? ฉนัไม่มีท่ีพอจะเก็บพืชผลของฉนั"

เขาคิดอีกว่า "ฉนัจะทาํอยา่งน้ี จะร้ือยุง้ฉางเก่าแลว้สร้างใหม่ใหใ้หญ่โตกว่าเดิม จะไดเ้ก็บขา้ว

และสมบติัทั้งหมดไว ้

แลว้ฉนัจะพดูกบัตนเองว่า "ดีแลว้ เจา้มีทรัพยส์มบติัมากมายเก็บไวใ้ชไ้ดห้ลายปี จงพกัผอ่น

กินด่ืมและสนุกสนานเถิด"

แต่พระเจา้ตรัสกบัเขาว่า "คนโง่เอ๋ย! คืนน้ี เขาจะเรียกเอาชีวิตเจา้ไป แลว้ส่ิงท่ีเจา้ไดเ้ตรียมไว้

จะเป็นของใครเล่า?

คนท่ีสะสมทรัพยส์มบติัไวส้าํหรับตนเองและไม่เป็นคนมัง่มีเฉพาะพระพกัตร์ของพระเจา้ ก็

จะเป็นเช่นน้ี"

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

476

แบบบันทกึส่ิงที่ได้รับจากการอบรม 5

คาํช้ีแจง

1. แบบบนัทึกฯ น้ี เป็นแบบบนัทึกส่วนบุคคล เพ่ือใชบ้นัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการเขา้อบรม

เชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ในวนัท่ีหา้ของการอบรม

2. ใหแ้ต่ละคนไตร่ตรอง ทบทวนในบรรยากาศของความสงบ ฟังเสียงภายในจิตใจ

---------------

ข้อค้นพบจากการศึกษา/ทําความเข้าใจปรากฏการณ์ชีวติ

1. ขอ้คน้พบ/สาระสาํคญัจากการศึกษา “แนวทางการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์อง

พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2”

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

2. ขอ้คน้พบจากการกรณีศึกษา (การพิจารณาภาพท่ีนาํเสนอ)

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

477

ข้อค้นพบจากการไตร่ตรองชีวติ

จากการไตร่ตรอง “แนวทางการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์

ปอล ท่ี 2” การศึกษาปรากฏการณ์ (กรณีศึกษา) การไตร่ตรอง (รําพึง) พระคมัภีร์ และการพบปะ

วิทยากร/ท่ีปรึกษา ช่วยใหท่้านคน้พบพฤตกิรรมการดําเนนิชีวติตามกระแสการทําลายชีวติ

ดงัต่อไปน้ี

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

ข้อค้นพบจากการออกแบบแนวปฏิบัต ิ

จากการไตร่ตรอง “แนวทางการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์

ปอล ท่ี 2” การศึกษาปรากฏการณ์ (กรณีศึกษา) การไตร่ตรอง (รําพึง) พระคมัภีร์ และการพบปะ

วิทยากร/ท่ีปรึกษา รวมถึงการคน้พบพฤติกรรมการดาํเนินชีวิตตามกระแสการทาํลายชีวิต ท่านจึง

กาํหนดข้อตั้งใจ/แนวปฏิบัติเพื่อ ลด ละ เลิกพฤติกรรมการดําเนินชีวิตตามกระแสการทําลายชีวิต

ดงัน้ี

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………….……………………

……………………………………………………………………….………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

478

เอกสาร/กรณศึีกษา/ ใบงาน/แบบบันทกึการประชุม/แบบบนัทึกฯ

สําหรับประกอบการจดัอบรมในวนัท่ี 6

แบบบันทกึการประชุมกลุ่ม 8

คาํช้ีแจง

1. ใหส้มาชิกกลุ่ม ชมวีดีทศัน์ “ชีวประวติัพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2”

2. ใหจ้ดัการประชุมกลุ่ม โดยใหส้มาชิกไดแ้บ่งปัน แลกเปล่ียนเรียนรู้ขอ้คิด/ส่ิงท่ีไดจ้าก

การชมวดีีทศัน์สงัเขปชีวติของพระสนัตะปาปาฯ

3. ใหเ้ลขานุการกลุ่มจดบนัทึกทุกประเด็นท่ีสมาชิกในกลุ่มนาํเสนอ

4. ใหส้รุปสาระสาํคญัจากการประชุมกลุ่ม เพ่ือเตรียมนาํเสนอต่อผูเ้ขา้ร่วมอบรม

-------------------------

1. ขอ้คิด/ความประทบัใจจากการชมวดีีทศัน์ ท่ีสมาชิกกลุ่มนาํเสนอ

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

479

2. สาระสาํคญัของการประชุมกลุ่ม

2.1 สถานการณ์สําคญัในชีวิตของพระสนัตะปาปาฯ และส่ิงที่พระสันตะปาปาฯ ปฏิบัต ิเม่ือ

เผชิญกบัสถานการณ์สาํคญัในชีวิตของพระองค ์(การเคารพตนเอง คนอ่ืน/สงัคม ส่ิงแวดลอ้ม และ

ความสมัพนัธก์บัพระเจา้)

สถานการณ์ ส่ิงที่พระสันตะปาปาฯ ปฏิบัต ิ

การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพตนเอง

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพ/ การมีความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน/สงัคม

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

การดาํเนินชีวิตร่วมกบัส่ิงแวดลอ้ม

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

การดาํเนินชีวิตท่ีสมัพนัธก์บัพระเจา้

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

480

2.2 ข้อค้นพบเก่ียวกบัความสํานึกและการใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง คนอ่ืน/สงัคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการตอบรับพระพร/

แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ จากการวิพากษ์แบบอย่างการ

ดําเนินชีวติของพระสันตะปาปาฯ ผา่นทางวีดีทศัน์ท่ีนาํเสนอ

1. ลกัษณะ/สาระสาํคญัของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษยข์องตนเอง

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

2. ลกัษณะ/สาระสาํคญัของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษยข์องคนอ่ืน (ความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน)

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

3. ลกัษณะ/สาระสาํคญัของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติในบริบท (ความสมัพนัธก์บั)

ส่ิงแวดลอ้ม

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

4. ลกัษณะ/สาระสาํคญัของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติตอบรับแนวทาง/การมี

ความสมัพนัธก์บัพระเจา้

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

481

ข้อความจากพระคมัภีร์ 2

คาํช้ีแจง

ใหอ่้านขอ้ความจากพระวรสารนกับุญมทัธิว บทท่ี 20 : 25 – 28 จาํนวน 2 – 3 รอบ สลบักบั

การอยูเ่งียบๆ ในบรรยากาศของความสงบ เพ่ือฟังเสียงภายในจิตใจ จากการไตร่ตรอง (รําพึง) พระ

คมัภีร์

พระวรสารนักบุญมทัธิว บทท่ี 20 : 25 - 28

พระเยซูเจา้จึงทรงเรียกทุกคนมาพบ ตรัสว่า 'ท่านทั้งหลายยอ่มรู้ว่าคนต่างชาติท่ีเป็นหวัหนา้

ยอ่มเป็นเจา้นาย เหนือผูอ่ื้น และผูใ้หญ่ยอ่มใชอ้าํนาจบงัคบั

แต่ท่านทั้งหลายไม่ควรเป็นเช่นนั้น ผูท่ี้ปรารถนาจะเป็นใหญ่ จะตอ้งทาํตนเป็นผูรั้บใชผู้อ่ื้น

และผูใ้ดท่ีปรารถนาจะเป็นคนท่ีหน่ึงในบรรดาท่านทั้งหลาย ก็จะตอ้งทาํตนเป็นผูรั้บใช ้

เหมือนกบัท่ีบุตรแห่งมนุษยมิ์ไดม้าเพ่ือใหผู้อ่ื้นรับใช ้ แต่มาเพ่ือรับใชผู้อ่ื้น และมอบชีวิตของ

ตนเป็นสินไถ่เพ่ือมวลมนุษย ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

482

แบบบันทกึส่ิงที่ได้รับจากการอบรม 6

คาํช้ีแจง

1. แบบบนัทึกฯ น้ี เป็นแบบบนัทึกส่วนบุคคล เพ่ือใชบ้นัทึกส่ิงท่ีไดรั้บจากการเขา้อบรม

เชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟจิูตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ในวนัท่ีหกของการอบรม

2. ใหท่้านไตร่ตรอง ทบทวนในบรรยากาศของความสงบ ฟังเสียงภายในจิตใจและบนัทึก

ขอ้คน้พบต่างๆ ตามหวัขอ้ของแบบบนัทึกฯ

---------------

ข้อค้นพบจากการศึกษา/ทําความเข้าใจปรากฏการณ์ชีวติ

ขอ้คน้พบ/สาระสาํคญัจากการศึกษาตวัอยา่งการดาํเนินชีวติของพระสนัตะปาปาฯ ผา่นทางวี

ดีทศัน์ท่ีนาํเสนอ

…………………………………………………………………………………………………….…

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

ข้อค้นพบจากการไตร่ตรองชีวติ

จากการไตร่ตรองตวัอยา่งการดาํเนินชีวิตของพระสันตะปปาฯ ผ่านทางวีดีทศัน์ และการ

ไตร่ตรอง (รําพึง) พระคมัภีร์ ทาํใหท่้านคน้พบการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของตนเอง ดงัน้ี

1. การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของตนเอง

1.1 พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตของท่าน ท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพ/ให้เกยีรตคุิณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตวัท่านเอง

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

483

1.2 พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตของท่าน ท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ีไม่

เคารพ/ไม่ให้เกยีรตคุิณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตวัท่านเอง

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

2. การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของคนอ่ืน (ความสมัพนัธก์บัคน

อ่ืน)

2.1 พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตของท่าน ท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพ/ให้เกยีรตคุิณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน (การมีความสมัพนัธท่ี์เหมาะสม

กบัคนอ่ืน)

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

2.2 พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตของท่าน ท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ีไม่

เคารพ/ไม่ให้เกยีรต ิคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน (การมีความสมัพนัธท่ี์ไม่

เหมาะสมกบัคนอ่ืน)

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

ขอ้คน้พบการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าของส่ิงแวดลอ้ม

2.2 พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตของท่าน ท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีมี

ความสมัพนัธอ์ยา่งเหมาะสมกบัส่ิงแวดลอ้ม

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

484

2.3 พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตของท่าน ท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีมี

ความสมัพนัธอ์ยา่งไม่เหมาะสมกบัส่ิงแวดลอ้ม

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

4. ขอ้คน้พบการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับ/การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้

4.1 พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตของท่าน ท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ี

ตอบรับ/ การมีความสมัพนัธท่ี์เหมาะสมกบัพระเจา้

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

4.2 พฤติกรรมการดาํเนินชีวิตของท่าน ท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ี

ปฏิเสธ/การมีความสมัพนัธท่ี์ไม่เหมาะสมกบัพระเจา้

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………

ข้อค้นพบจากการออกแบบแนวปฏิบัตใินการดําเนนิชีวติ

จากการไตร่ตรองชีวิต ดว้ยการศึกษากระบวนทศัน์เร่ืองมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยข์อง

พระสันตะปาปยอห์น ปอล ท่ี 2 การศึกษาปรากฏการณ์ (กรณีศึกษา) การชมภาพท่ีแสดงถึงการ

พฒันามนุษยต์ามกระแสโลกาภิวตัน์ การชมวีดีทศัน์การดาํเนินชีวิตของพระสนัตะปาปาฯ และการ

ไตร่ตรองพระคมัภีร์และการพบปะวิทยากร/ท่ีปรึกษา ท่านจึงกาํหนดขอ้ตั้ งใจ/แนวปฏิบติัเพ่ือ

พฒันาท่าทีของการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพตนเอง และการดาํเนินชีวิตท่ีมีความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน/คนอ่ืน

ส่ิงแวดลอ้มและพระเจา้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

485

1. ขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัในการพฒันาการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์อง

ตนเอง

……………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

2. ขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัเพ่ือพฒันาความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

3. ขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัในการพฒันาความสมัพนัธก์บัส่ิงแวดลอ้ม

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

4. ขอ้ตั้งใจ/แนวปฏิบติัเพ่ือพฒันาความสมัพนัธก์บัพระเจา้

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

486

เคร่ืองมอืประเมนิการพฒันา

แบบวดัความรู้กระบวนทัศน์การพฒันามนุษย์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

คาํอธิบาย

1. แบบวดัความรู้ฯ มีจุดประสงค์เพ่ือใชว้ดัความสามารถทางสติปัญญา/ความรู้ (ดา้นความจาํ

ความเขา้ใจ การนาํไปใช ้การวิเคราะห์ การสงัเคราะห์และการประเมินค่า) ของผูเ้ขา้รับการ

อบรมฯ ก่อน (Post-test) และหลงั (Pre-test) การจดัอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตาม

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2. แบบวดัความรู้ฯ แบ่งออกเป็นสองตอน ดงัน้ี

ตอนที่ 1 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะเป็นแบบเลือกตอบ (ปรนัย) 4 ตวัเลือก จาํนวน 50 ขอ้

มีจุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นความจาํ ความเขา้ใจ การนาํไปใช ้การวิเคราะห์

และการสงัเคราะห์ กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2โดยครอบคลุมกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 ดงัน้ี

ตอนที่ 2 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะการยกกรณีศึกษาและแสดงความเห็นถึงความ

เหมาะสมของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติ ในแบบความเรียง (อตันยั) จาํนวน

2 กรณี มีจุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นการประเมินค่า

-----------------------------------

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

487

ตอนที่ 1 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะเป็นแบบเลือกตอบ (ปรนัย) 4 ตัวเลือก จาํนวน 50 ข้อ มี

จุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นความจาํ ความเขา้ใจ การนาํไปใช ้การวิเคราะห์และการ

สงัเคราะห์ กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

คาํช้ีแจง

1. แบบวดัความรู้ ฯ เป็นแบบปรนยัชนิดเลือกตอบ 4 ตวัเลือก จาํนวน 50 ขอ้ๆ ละ 1 คะแนน

คะแนนเต็ม 50 คะแนน

2. ใหท่้านเลือกคาํตอบท่ีถกูตอ้งท่ีถกูเพียงขอ้เดียว แลว้ทาํเคร่ืองหมายวงกลมรอบหวัขอ้นั้น ๆ

3. เวลาท่ีใชใ้นการทาํแบบทดสอบ 30 นาที

1. การอธิบายมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นการอธิบายคาํ

สอนคริสตศ์าสนา โดยใชแ้นวคิด/วิธีการใดในการวิเคราะห์

ก. แนวคิดท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคล/วิธีบูรณการมนุษย ์สงัคมและส่ิงแวดลอ้มอยา่งย ัง่ยนื

ข. แนวคิดท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคล/วิธีการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ชีวิตและสงัคม

ค. แนวคิดท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคล/วิธีบูรณการวิทยาการ/ศาสตร์แขนงต่างๆ

ง. แนวคิดท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคล/วิธีการตีความท่ีหลากหลาย

2. ขอ้ใดไม่ใช่แนวคิดของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีอธิบายลกัษณะของมนุษย ์

ก. มนุษยมี์พ้ืนฐานท่ีดี สามารถพฒันาเป็นบุคคลความสมบูรณ์ไดด้ว้ยตนเอง

ข. มนุษยมี์พ้ืนฐานชีวิตท่ีดี แต่ถกูบิดเบือน คุกคามดว้ยกระแสการทาํลายชีวิต

ค. มนุษยมี์พ้ืนฐานท่ีดีและศกัด์ิสิทธ์ิ เน่ืองจากพระเจา้ทรงสร้างใหเ้ป็นภาพลกัษณ์ของพระองค ์

ง. มนุษยเ์ป็นส่ิงประเสริฐ มีศกัยภาพท่ีจะบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ดว้ยการตอบรับแนวทางของ

พระเจา้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

488

3. ขอ้ใดแสดงลกัษณะเด่นในการอธิบายการพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. นายแดงปลกูฝังลกูๆ ใหข้ยนัทาํงาน เพ่ือใหมี้ฐานะการงานท่ีดี มีการกินดีอยูดี่ในชีวิต

ข. นางเขียวพาลกูๆ ไปร่วมงานสืบสานประเพณี ไทย เพ่ือใหล้กูๆ ไดภ้าคภูมิใจในความเป็นคน

ไทย

ค. นายดาํใหค้วามเอาใจใส่ต่อการจดัสวสัดิการแก่พนักงาน เพ่ือให้มีคุณภาพชีวิตท่ีเหมาะสม

ในการดาํเนินชีวิต

ง. ครูม่วง หมัน่ติดตาม/เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ เสมอ เพ่ือนาํใช้ในการสอนคุณธรรมและ

ความรู้แก่นกัเรียน

4. ขอ้ใดแสดงความหมายของการทาํงาน ตามแนวคิดการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ขยนัทาํมาหากินเพ่ือเล้ียงดูครอบครัว

ข. หมัน่ประกอบอาชีพ เพ่ือความอยูร่อดในสงัคม

ค. ใส่ใจทาํกิจกรรมทุกอยา่งเพ่ือการพฒันาคุณภาพชีวิต

ง. อุทิศตนทาํหนา้ท่ีในสงัคมเพ่ือพฒันาสงัคมใหเ้จริญกา้วหนา้

5. ขอ้ใดไม่ใช่คุณลกัษณะสาํคญัของการเป็นบุคคลตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

ก. มนุษยต์อ้งมีความสมัพนัธก์บัคนอ่ืนในแบบสานเสวนา

ข. มนุษยมี์สติปัญญาในการแสวงหาและเขา้ใจความจริง

ค. มนุษยส์ามารถปรับตวัเขา้กบักระแสสงัคม

ง. มนุษยมี์เสรีภาพในการเลือกวิถีชีวิต

6. พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ยนืยนัคาํสอนคริสตศ์าสนาว่ามนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้

เป็นการย ํ้ าเตือนปรากฏการณ์ในการพฒันามนุษยใ์นเร่ืองใดเป็นพิเศษ

ก. ขา้พเจา้มุ่งมัน่อุทิศตนบาํเพญ็ประโยชน์ต่อสงัคม

ข. ขา้พเจา้จะใชเ้วลาพิจารณาพฤติกรรมการดาํเนินชีวิตในแต่ละวนั

ค. ขา้พเจา้จะไตร่ตรองพระคมัภีร์ เพ่ือจะไดด้าํเนินชีวิตตามแนวทางของพระ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

489

ง. ขา้พเจา้หมัน่ศึกษาและดาํเนินชีวิตตามแบบอยา่งพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

7. กระบวนทศัน์มนุษย/์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะ “ตรงกัน

ข้าม” กบัขอ้ใด

ก. การใหค้วามสาํคญัต่อการอนุรักษส่ิ์งแวดลอ้ม

ข. การดาํเนินชีวิตตามหลกัเศรษฐกิจพอเพียง

ค. การพฒันามนุษย ์ไปสู่การเป็นคนทนัสมยั

ง. การส่งเสริมการสานเสวนาของชาติต่างๆ

8. กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ให้ขอ้คิดใดในการดาํเนิน

ชีวิต

ก. ตอ้งไม่แทรกแซงเสรีภาพของแต่ละบุคคล

ข. แต่ละคนตอ้งรับผดิชอบต่อการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

ค. ตอ้งส่งเสริมเสรีภาพเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันามนุษย ์

ง. ตอ้งส่งเสริมจิตสาํนึกต่อเสรีภาพ ควบคู่กบัสิทธิและหนา้ท่ีของความเป็นบุคคล

9. ขอ้ใดไม่มีอิทธิพลโดยตรงต่อแนวคิดการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

ข. คาํสอนคริสตศ์าสนา

ค. ปรัชญาบุคคลนิยม

ง. ทฤษฏีภาวะทนัสมยั

10. สถานการณ์ใดแสดงถึงเป้าหมายการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

ก. ชาวบา้นมัง่คัง่ รํ่ ารวย

ข. คนในหมู่บา้นมีชีวิตท่ีปลอดภยั

ค. นายดาํ รักษาความสมดุลของส่ิงแวดลอ้ม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

490

ง. เขามีจิตสาํนึกและรับผดิชอบต่อการใชเ้สรีภาพในส่ิงท่ีเขาทาํ

11. ขอ้ใดแสดงความสาํคญัของเสรีภาพตามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. เสรีภาพเป็น “ปัจจยั” ทาํใหม้นุษยก์า้วไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

ข. เสรีภาพเป็น “ศกัยภาพ” ท่ีทาํใหม้นุษยต์อ้งพฒันาตนเองอยูเ่สมอ

ค. เสรีภาพเป็น “แรงจูงใจ” ท่ีทาํใหม้นุษยต่์างจากสตัวท์ัว่ไป

ง. เสรีภาพเป็น “เง่ือนไข” ท่ีทาํใหม้นุษยส์ามารถดาํเนินชีวิตได ้

12. พระสนัตะปาปายอห์นปอล ท่ี 2 วิจารณ์ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมและสงัคมนิยมแบบมาร์กซ ์ ว่ามี

ขอ้บกพร่องอยา่งไร

ก. เป็นการพฒันาท่ีมุ่งไปสู่ความมัง่คัง่ แต่ละเลยคุณค่าดา้นจิตใจ

ข. เป็นการพฒันาท่ีมุ่งไปสู่ความเจริญของสงัคม แต่ละเลยส่ิงแวดลอ้ม

ค. เป็นการพฒันาท่ีมุ่งไปสู่คุณภาพชีวิตท่ีดีของมนุษย ์แต่ละเลยคุณธรรม

ง. เป็นการพฒันาท่ีมุ่งไปสู่ความเจริญทางเศรษฐกิจ แต่ละเลยความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคล

13. ขอ้ใดไม่ใช่ขอ้สรุปพ้ืนฐานกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การนาํคาํสอนคริสตศ์าสนามาอธิบายโดยใชก้ารวิเคราะห์ปรากฏการณ์

ข. การนาํปรัชญาบุคคลนิยมมาเป็นคาํสอนเร่ืองมนุษยข์องคริสตศ์าสนา

ค. การอธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนา ดว้ยปรัชญาร่วมสมยั

ง. การใชรู้ปแบบใหม่ๆ ในการอธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนา

14. ขอ้ใดเป็นการวิจารณ์แนวคิดลทัธิเหตุผลนิยมของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ในการอธิบาย

คุณค่า ความหมายของชีวิตมนุษย ์

ก. การใหค้วามสาํคญัต่อจิตมนุษย ์จนละเลยความสาํคญัของร่างกาย

ข. การยกยอ่งความสูงส่งของจิตมนุษย ์จนปฏิเสธการมีอยูข่องส่ิงแวดลอ้ม

ค. การเนน้ความเป็นอมตะของจิตของปัจเจก จนปฏิเสธการดาํเนินชีวิตในสงัคม

ง. การเนน้อธิบายความแตกต่างระหว่างมนุษยแ์ละสตัว ์ จนทาํใหเ้ขา้ใจว่ามนุษยส์ามารถทาํ

อะไรก็ไดก้บัส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

491

15. ขอ้ใดแสดงการอธิบายความหมายมนุษยใ์นฐานะเป็น “ภาพลกัษณ์ของพระเจา้” ได้ชัดเจนที่สุด

ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. จงมุ่งมัน่ท่ีจะบาํรุงรักษาส่ิงแวดลอ้ม

ข. จงหมัน่ติดตามขอ้มลูข่าวสารอยูเ่สมอ

ค. จงมุ่งมัน่ปรับปรุงพฤติกรรมการดาํเนินชีวิตของตนอยูเ่สมอ

ง. จงมุ่งมัน่ท่ีจะดาํเนินชีวิตดว้ยความเช่ือศรัทธาต่อพระเจา้โดยไม่ตอ้งสงสยั

16. ขอ้ใดแสดงความหมายการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ด.ญ. นิด อ่านพระคมัภีร์ใหเ้พ่ือนๆ ฟัง

ข. ด.ช. นอ้ยทาํการบา้นดว้ยตนเองทุกคร้ัง

ค. นางนากไปเยีย่มเพื่อนบา้นท่ีป่วยเสมอ

ง. นายมาก ร่วมรณรงคเ์พ่ือสิทธิผูอ้พยพ

17. ขอ้ใดเป็นการพฒันามนุษย์แบบบูรณการตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ผูใ้หญ่เหลือง ติดตามขอ้มลูข่าวสาร เพ่ือพฒันาหมู่บา้น

ข. ด.ช. แดง หมัน่เรียนรู้และปฏิบติัคุณธรรมตามหลกัศาสนา

ค. นายดาํ พาบิดาไปตรวจสุขภาพ และพาไปร่วมกิจกรรมผูสู้งอาย ุ

ง. นายเขียว ร่วมกิจกรรมพบปะสงัสรรคก์บัเพ่ือนๆ ในโอกาสต่างๆ

18. ขอ้ใดแสดงท่ีมาของกระแสการทาํลายชีวิตตามกระบวนทศัน์พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ทาํตามเขาไป...เด๋ียวก็ “เป็น” ไปเอง

ข. ถา้ไม่มีใครรู้... แสดงว่าไม่ผดิ

ค. ไม่เป็นไร...พรุ่งน้ีค่อยทาํ

ง. ชีวิตของเรา... ใชซ้ะ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

492

19. ขอ้ใดแสดงถึงลกัษณะสาํคญัของการดาํเนินชีวิตตามวฒันธรรมส่งเสริมชีวิตตามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ใหเ้งินแก่ขอทาน

ข. ร่วมพิธีกรรมทางศาสนา

ค. ร่วมกิจกรรมบาํเพญ็ประโยชน์

ง. ติวขอ้สอบใหเ้พ่ือน เพราะถา้สอบผา่นจะไดฉ้ลองกนั

20. จุดหมายการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 คือการ

เปล่ียนแปลงประเภทใด

ก. การเปล่ียนแปลงเจตคติดว้ยการเปล่ียนแปลงความประพฤติ

ข. การเปล่ียนแปลงเจตคติดว้ยการเปล่ียนแปลงความรู้สึกนึกคิด

ค. การเปล่ียนแปลงเจตคติดว้ยการเปล่ียนแปลงสามญัสาํนึก

ง. การเปล่ียนแปลงเจตคติดว้ยการเปล่ียนแปลงจิตใจ

21. ข้อใดแสดงถึงลกัษณะสําคัญของเสรีภาพ ตามกระบวนทัศน์การพัฒนามนุษย์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การติดสินใจท่ีจะละทิ้งความสุขส่วนตวั และอุทิศตนเพ่ือประโยชน์สุขของสงัคม

ข. การตดัสินใจละทิ้งชีวิตในรูปแบบเดิมๆ และหนักลบัไปสู่การมีความสมัพนัธก์บัพระเจา้

ค. การติดสินใจดว้ยความรับผดิชอบ ท่ีจะมุ่งมัน่ในความเพียรพยายามไปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ใน

พระเจา้ ดว้ยศกัยภาพทั้งหมดของตนเอง

ง. การตดัสินใจดว้ยใจอิสระและรับผิดชอบ ท่ีจะตอบรับแนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนิน

ชีวิตดว้ยความเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและคนอ่ืน

22. ขอ้ใดไม่ตรงกบัการอธิบายคุณค่าและความหมายของการทาํงานตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. พฒันาคน ดว้ยการทาํงาน

ข. ค่าของคน อยูท่ี่ผลของงาน

ค. การทาํงาน คือ ทุกกิจกรรมท่ีแสดงถึงการอุทิศตนเพ่ือคนอ่ืนและสงัคม

ง. การทาํงาน คือ การพฒันาชีวิตในมิติของความสมัพนัธใ์นสงัคม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

493

23. อตัลกัษณ์บุคคลมีความสาํคญัอยา่งไรต่อการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ช่วยพฒันาบุคลิกภาพของบุคคล

ข. ช่วยใหมี้ภูมิคุม้กนัในการดาํเนินชีวิต

ค. ช่วยใหมี้ความมัน่ใจในการดาํเนินชีวิต

ง. ช่วยเสริมสร้างความเป็นตวัของตวัเอง

24. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตตามกระแสทําลายชีวติตามกระบวนทศัน์พระสันตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2

ก. ขา้พเจา้ร่วมเชียร์นกักีฬาทีมชาติ เพ่ือใหไ้ดเ้หรียญทอง

ข. ขา้พเจา้จะไม่ใชสิ้นคา้ของบริษทัท่ีหลีกเล่ียงการชาํระภาษี

ค. ขา้พเจา้ไปเยีย่มญาติท่ีประสบอุบติัเหตุ แมไ้ม่สนิทกนั

ง. ขา้พเจา้ใหเ้พ่ือนท่ีขดัสนยมืเงิน โดยไม่คิดดอกเบ้ีย

25. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตตามวฒันธรรมส่งเสริมชีวิตตามกระบวนทศัน์พระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

ก. ร่วมชุมนุมประทว้งรัฐบาลท่ีสัง่ระงบัละครทีวีท่ีชอบด ู

ข. สบทบเงินรางวลัแก่นกักีฬาทีมชาติท่ีไดเ้หรียญรางวลั

ค. รับฟังขอ้เสนอแนะจากบุคคลท่ีมีอายแุละประสบการณ์นอ้ยกว่า

ง. ปฏิบติัตามกฎเกณฑท์างศาสนาอยา่งเคร่งครัด แมจ้ะไม่ค่อยเขา้ใจในบางขอ้

26. ขอ้ใดเป็นลกัษณะเฉพาะของการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ขา้พเจา้เขา้ร่วมกิจกรรม/ร่วมรณรงคเ์ร่ืองสิทธิมนุษยชนอยูเ่สมอ

ข. ขา้พเจา้หมัน่ดูแลสุขภาพตนเอง และหมัน่บาํเพญ็ประโยชน์ต่อสงัคมอยูเ่สมอ

ค. ขา้พเจา้หมัน่ไตร่ตรองเสรีภาพในการดาํเนินชีวิต ในการมีความสมัพนัธ์กบัพระเจา้ ตนเอง

คนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้มอยูเ่สมอ

ง. ขา้พเจา้แบ่งปัน/ รับฟังขอ้เสนอแนะจากครอบครัว เพ่ือนๆ และคณาจารย ์เพ่ือปรับปรุง

ตนเองในการดาํเนินชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

494

27. ขอ้ใดแสดงลกัษณะของการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. อยา่อยู ่อยา่งอยาก

ข. เขา้เมืองตาหลิ่ว ตอ้งหลิ่วตาตาม

ค. ทาํตามเขาไป เด๋ียวก็เป็นไปเอง

ง. ถา้อยูก่นัไม่ได ้ก็จงแยกกนัอยู ่

28. ขอ้ใดเป็นการสรุปความหมายการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์พระสนัตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2

ก. การเสริมสร้างการกินดีอยูดี่ของบุคคล

ข. การเสริมสร้างบุคลิกภาพของบุคคล

ค. การเสริมสร้างวุฒิภาวะของบุคคล

ง. การเสริมสร้างคุณธรรมของบุคคล

29. ขอ้ใดเป็นหลกัการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การพฒันาท่ีเนน้คุณธรรมบนพ้ืนฐานของคาํสอนของศาสนา

ข. การพฒันาท่ีเหมาะสม สอดคลอ้ง สมดุลกบัอตัลกัษณ์บุคคล

ค. การพฒันาท่ีเปิดโอกาสใหทุ้กคน ไดแ้สดงความคิดเห็นและทาํตามเสียงเสียงใหญ่

ง. การพฒันาท่ีส่งเสริมใหทุ้กคนประพฤติ ปฏิบติัตนตามกฎหมายและหลกัศาสนา

30. ขอ้ใดแสดงถึงความหมายการทาํงานตามกระบวนทศันข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การจ่ายเงินเดือนและโบนสัตามขอ้ตกลง

ข. การจดัสวสัดิการแก่ลกูจา้งตามกฎหมาย

ค. การไปเยีย่มลกูจา้งท่ีเจ็บป่วย

ง. การจดังานพบปะประจาํปี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

495

31. ขอ้ใดเป็นการพฒันามนุษยแ์บบบูรณการตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ร่วมงานลอยกระทงทุกๆ ปี เพ่ือสืบสานประเพณีไทย

ข. จดังานร่ืนเริง หลงัเหน็ดเหน่ือยจากการสอบปลายภาค

ค. เท่ียวต่างประเทศ เพ่ือเรียนรู้วฒันธรรมต่างชาติ

ง. พาคุณยา่ไปวดัและไปร่วมกิจกรรมผูสู้งอาย ุ

32. ขอ้ใดเป็นการใชเ้สรีภาพอยา่งเหมาะสมในการเคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของตนเอง

ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ถา้มีคนวิจารณ์งานท่ีทาํ ขา้พเจา้จะนาํไปพิจารณาตามความเหมาะสม

ข. ถา้คนอ่ืนบอกว่าขา้พเจา้ไม่สามารถทาํงานนั้นได ้ขา้พเจา้จะไม่ทาํ

ค. ถา้มีคนชมเชยผลงาน ขา้พเจา้จะยิง่ขยนัทาํงานยิง่ข้ึน

ง. ถา้ไม่มีใครเห็นดว้ย ขา้พเจา้จะไม่ทาํส่ิงนั้น

33. ขอ้ใดแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอยา่งเหมาะสมในการเคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความ

เป็นมนุษย์ของคนอืน่/สังคม ตามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ถา้เพ่ือนทาํผดิ จะเตือนเพ่ือนทุกคร้ัง

ข. ถา้เพ่ือนมาขอโทษ จะใหอ้ภยัเพ่ือน

ค. ถา้เพ่ือนไม่มีเงิน จะใหเ้งินเพ่ือนใช ้

ง. ถา้เพ่ือนขอใหช่้วยทาํงาน จะช่วยเพ่ือนเสมอ

34. ขอ้ใดแสดงถึงการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดล้อมตามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. เม่ือพบงูท่ีบา้น จะตีใหต้าย

ข. เม่ือจาํเป็นตอ้งตดัตน้ไม ้จะปลกูทดแทน

ค. เม่ือพบชา้งเร่ร่อน จะบริจาคเงินช่วยเหลือ

ง. เม่ือพบกลว้ยไมป่้า จะนาํกลบัมาท่ีบา้น เพ่ือขยายพนัธุ ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

496

35. ข้อใดแสดงถึงการใช้เสรีภาพท่ีตอบรับแนวทางของพระเจ้าตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. นายดาํสวดขอพระมากเป็นพิเศษ เม่ือธุรกิจประสบภาวะขาดทุน

ข. นายเขียว ไม่กล่าวโทษพระ แมธุ้รกิจจะประสบภาวะลม้ละลาย

ค. นายขาวไปแกบ้นตามวดัต่างๆ เม่ือรอดชีวิตจากอุบติัเหตุคร้ังสาํคญัในชีวิต

ง. นายแดงมกัไปขอพรพระตามท่ีต่างๆ เม่ือตอ้งออกเดินทางไปทาํธุรกิจต่างประเทศ

36. ขอ้ใดเป็นท่าทีการมีความสมัพนัธก์บัคนอ่ืน ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2

ก. ขา้พเจา้หมัน่ทาํบุญแก่คนยากจน

ข. ขา้พเจา้ร่วมรณรงคช่์วยผูป้ระสบภยั

ค. ขา้พเจา้บริจาคโลหิตทุกคร้ังท่ีมีโอกาส

ง. ขา้พเจา้รู้สึกดีใจท่ีเพ่ือนๆ ประสบความสาํเร็จ

37. การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีใหค้วามสาํคญักบัการมีส่วนร่วมของทุก

คน ทุกภาคส่วน มีความหมายเก่ียวขอ้งกบัเร่ืองใด

ก. การพฒันาตามอตัลกัษณ์บุคคล

ข. การพฒันาแบบประชาธิปไตย

ค. การพฒันาแบบพ่ึงพาอาศยักนั

ง. การพฒันาตามความตอ้งการของบุคคล

38. ขอ้ใดมีผลต่อการส่งเสริมการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี

2 มากที่สุด

ก. ผูบ้ริหารโรงเรียน พาคณะครู นกัเรียนไปบาํเพญ็ประโยชน์ต่อส่วนรวมเสมอ

ข. เจา้อาวาสวดั ก. ออกมาตอ้นรับชาวบา้นท่ีมาร่วมพิธีกรรมดว้ยตนเอง

ค. นายกรัฐมนตรี สัง่ปลดขา้ราชการท่ีไม่ตอบสนองนโยบาย

ง. พ่อแม่พาลกูๆ ไปเยีย่มญาติท่ีเจ็บป่วย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

497

39. กระบวนทัศน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีท่าทีอย่างไรในเร่ือง

วฒันธรรม

ก. ขา้พเจา้พยายามชกันาํเพ่ือนต่างชาติ ใหด้าํเนินชีวิตตามวฒันธรรมไทย

ข. ขา้พเจา้พยายามทาํความเขา้ใจ เรียนรู้วฒันธรรมของเพ่ือนต่างชาติ

ค. ขา้พเจา้ใหค้วามร่วมมือในการจดักิจกรรมสืบสานประเพณี วฒันธรรมไทย

ง. ขา้พเจา้พยายามชกันาํเพ่ือนต่างศาสนาใหด้าํเนินชีวติตามวฒันธรรมคริสต ์

40. พระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ใหค้วามสาํคญัต่อการไตร่ตรอง ทบทวน “เสรีภาพ” ในเร่ืองใด

ก. เสรีภาพเป็นเป้าหมายของการพฒันา

ข. การส่งเสริมใหบุ้คคลมีเสรีภาพยิง่ๆ ข้ึน

ค. เสรีภาพเป็นบ่อเกิด/เป้าหมายของการพฒันา

ง. ความสาํนึก/การใชเ้สรีภาพอยา่งถกูตอ้ง เต็มท่ี

41. ขอ้ใดเป็นจุดเน้นของกระบวนการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

ก. นายแดง ร่วมประทว้งรัฐบาลท่ีสัง่คุมขงันกัศึกษาท่ีมีความคิดเห็นต่างจากรัฐบาล

ข. ทุกๆ วนั นายเขียว จะทบทวน ไตร่ตรองสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตและสงัคมอยูเ่สมอ

ค. กระทรวงศึกษาธิการเอาจริงเอาจงัในการปฏิรูปการจดัการศึกษา เพ่ือส่งเสริมบุคคลให้เป็น

คนดี คนเก่งและมีความสุขในการดาํเนินชีวิต บนพ้ืนฐานของหลกัธรรมคาํสอนของศาสนา

ง. รัฐบาลมุ่งมัน่ท่ีจะเปล่ียนแปลงโครงสร้างและกลไกของสังคม เพ่ือมุ่งไปสู่สังคมท่ีเต็มดว้ย

บรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล

42. ขอ้ใดเป็นแนวทางการพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การปลกูฝังเด็กๆ ช่วยงานสงัคมสงเคราะห์

ข. การปลกูฝังเด็กๆ ใหบ้ริจาคทานแก่คนจน

ค. การปลกูฝังเด็กๆ ใหรู้้จกัใหอ้ภยัคนอ่ืน

ง. การปลกูฝังเด็กๆ ใหเ้ขา้วดั ปฏิบติัธรรม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

498

43. “สงัคมแห่งความยติุธรรมและสนัติ” มีความเก่ียวขอ้งต่อเสรีภาพของบุคคลอยา่งไร

ก. ช่วยใหแ้ต่ละคนดาํเนินชีวิตในบรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของคนอ่ืน

ข. ช่วยใหแ้ต่ละคนไดมี้โอกาสเรียกร้องสิทธิ เสรีภาพอยา่งเต็มท่ี

ค. ช่วยใหแ้ต่ละคนไดพ้ฒันาคุณภาพชีวิตทดัเทียมกบัคนอ่ืน

ง. ช่วยใหแ้ต่ละคนดาํเนินชีวิตท่ีไม่เอาเปรียบคนอ่ืน

44. ขอ้ใดเป็นแนวทางการพฒันามนุษยบ์นหลกัของความเป็นปึกแผน่นํ้ าหน่ึงใจเดียวกนั

ก. จิตสาํนึกถึงความเป็นพ่ีนอ้งร่วมครอบครัวมนุษยชาติ

ข. จิตอาสาในการสงเคราะห์เพ่ือนมนุษยโ์ดยไม่หวงัผลตอบแทน

ค. จิตตารมยส์งเคราะห์คนยากจนใหมี้คุณภาพชีวิตเท่าเทียมกบัคนรํ่ ารวย

ง. อุดมการณ์ท่ีกระตุน้ประเทศรํ่ ารวยใหค้วามช่วยเหลือประเทศท่ียากจน

45. ขอ้ใดแสดงถึง “เจตคติการเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย”์ ตามกระบวนทศัน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. แมมี้เงินมาก แต่ไม่ดูถกูคนท่ีมีฐานะท่ีดอ้ยกว่า

ข. แมเ้ป็นเด็ก แต่ทุกคนก็สนใจฟังความตอ้งการของเขา

ค. แมเ้ป็นคนพิการ แต่ไดรั้บการยอมรับใหเ้ป็นผูน้าํหมู่บา้น

ง. แมมี้บุคลิกภาพท่ีต่างกนั แต่เท่าเทียมกนัในความเป็นมนุษย ์

46. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวติท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง ตามกระบวนบวน

ทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. แมป่้วยเพียงเลก็นอ้ย แต่ขา้พเจา้ก็จะไปใหแ้พทยต์รวจ

ข. แมค้นอ่ืนทว้งติงส่ิงท่ีขา้พเจา้ทาํ แต่ขา้พเจา้ก็ไม่สนใจ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

499

ค. แมพ้บว่าทาํผดิ แต่ขา้พเจา้จะไม่ซํ้ าเติมตนเอง

ง. แมมี้อาการไข ้แต่ขา้พเจา้ยงัคงออกกาํลงักาย

47. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตท่ีมีความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืน ตามกระบวนบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ต่อไปน้ี...ขา้พเจา้จะหาเพ่ือนใหม่ๆ ใหม้ากข้ึน

ข. ต่อไปน้ี... ขา้พเจา้จะฟังเพ่ือนๆ ใหม้ากข้ึน

ค. ต่อไปน้ี.. ขา้พเจา้จะแบ่งของกินใหเ้พ่ือน

ง. ต่อไปน้ี... ขา้พเจา้จะไม่ตาํหนิเพ่ือน

48. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตท่ีมีความสัมพนัธ์กบัส่ิงแวดลอ้ม ตามกระบวนบวนทศัน์การพฒันา

มนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. เม่ือพบขยะท่ีสนาม จะเดินไปเก็บใส่ถงัขยะ

ข. เม่ือพบชาวบา้นนาํสตัวป่์ามาขาย จะซ้ือมาเล้ียง

ค. เม่ือพบตน้ไมแ้ปลกๆ ในป่า จะนาํมาปลกูท่ีบา้น

ง. เม่ือพบชา้งเร่ร่อน จะซ้ืออาหารเล้ียงชา้งเหล่านั้น

49. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตท่ีมีความสมัพนัธ์กบัพระเจา้ ตามกระบวนบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. สวดภาวนามากข้ึนเป็นพิเศษ เม่ือตอ้งตดัสินใจในเร่ืองสาํคญัๆ ของชีวิต

ข. อ่านพระคมัภีร์ทุก

ค. ไม่หลบัในขณะร่วมพิธีกรรม

ง. ปฏิบติัตามกฎเกณฑข์องศาสนาอยา่งเคร่งครัด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

500

50. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตตามรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอลท่ี 2

ก. ช่วยทาํความสะอาดวดั

ข. ไปเยีย่มคนไขท่ี้โรงพยาบาล

ค. ไปรดนํ้ าตน้ไมใ้นบริเวณท่ีพกั

ง. ไตร่ตรองพฤติกรรมการดาํเนินชีวิตประจาํวนั

----------------

ตอนที่ 2 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะการยกกรณีศึกษาและแสดงความเห็นถึงความ

เหมาะสมของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติ ในแบบความเรียง (อตันยั) จาํนวน 2 กรณี มี

จุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นการประเมินค่า

คาํช้ีแจง

1. ใหป้ระเมินความเหมาะสมและเสนอเหตุผลในแบบความเรียง (อตันยั) ท่ีเสนอและอธิบาย

เหตุผลของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติจากกรณีศึกษา

2. เวลาท่ีใชใ้นการทาํ กรณีละ 5 นาที รวม 10 นาที

กรณศึีกษาที่ 1

สามฟ้ีองหย่าภรรยา หลงัพบว่าทําศัลกรรมก่อนแต่งงาน

สามีไดห้นีออกจากบา้น และดาํเนินเร่ืองฟ้องหยา่ภรรยา หลงัพบว่า ลกูสาวท่ีเกิดมาหนา้ตา

อปัลกัษณ์มาก ไม่เหมือนตนเองหรือภรรยาเลย เขาถึงไดรู้้ความจริงว่า ภรรยาของตนท่ีมีใบหนา้ท่ี

สวยวามนั้น ท่ีแทภ้รรยาไปศลัยกรรมทั้งหนา้ เปล่ียนไปเป็นคนละคนและมาแต่งงานกบัเขา โดยท่ี

ไม่เคยบอกความจริงเร่ืองศลัยกรรมใบหนา้แก่สามี จึงไดป้ฏิเสธความรับผดิชอบต่อลกูท่ีเกิดมา และ

ฟ้องหยา่โดยไม่เคยสอบถามหรือรับฟังการช้ีแจงจากภรรยาเลย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

501

ข้อคาํถาม

สามีท่ีปฏิเสธความรับผดิชอบต่อลูกและดาํเนินการฟ้องหย่าจากภรรยา เน่ืองจากพบว่า

ภรรยาไปทาํศลัยกรรมก่อนท่ีจะพบและแต่งงานกบัตน เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสมในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเองและคนอ่ืน ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 หรือไม่ อยา่งไร?

การกระทาํของสามี เป็นการกระทาํท่ี.....................................ต่อการใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์เน่ืองจาก

1.........................................................................................................................................

2.........................................................................................................................................

3.........................................................................................................................................

4.........................................................................................................................................

กรณศึีกษาที่ 2

บวชป่า สร้างศรัทธาเลกิตดัไม้

ผูใ้หญ่บา้น ข. เรียกประชุมชาวบา้น เพ่ือป้องกนัปัญหาการตดัไมท้าํลายป่า โดยตกลงกนัว่า

จะร่วมกนัเป็นเจา้ภาพทาํพิธีบวชป่า (ตน้ไม)้ ในเขตหมู่บา้น เพ่ือถวายป่าไมแ้ก่ส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิท่ี

ชาวบา้นเคารพนบัถือ โดยมีชาวบา้นใหค้วามสนใจและร่วมในพิธีจาํนวนมาก

ข้อคาํถาม

การกระทาํของ “ผูใ้หญ่บา้น ข.” ใชค้วามเช่ือศรัทธาต่อส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิ (การบวชป่า ถวาย

ป่าต่อส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิ) เพ่ือป้องกนัการตดัไมท้าํลายป่า เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสมในการดาํเนินชีวิต

อย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม และความสัมพนัธ์กบัพระเจ้า ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 หรือไม่ อยา่งไร?

การกระทาํของผูใ้หญ่บา้น ข. เป็นการกระทาํท่ี.....................................ต่อการใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์เน่ืองจาก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

502

1.........................................................................................................................................

2.........................................................................................................................................

3.........................................................................................................................................

4.........................................................................................................................................

เฉลยคาํตอบและแนวคาํตอบแบบวดัความรู้ฯ

ตอนท่ี 1 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะเป็นแบบเลือกตอบ (ปรนยั) 4 ตวัเลือก จาํนวน 50 ขอ้

ขอ้ เฉลย ขอ้ เฉลย ขอ้ เฉลย ขอ้ เฉลย ขอ้ เฉลย

1. ข 11. ข 21. ง 31. ง 41. ข

2. ก 12. ก 22. ข 32. ก 42. ค

3. ข 13. ข 23. ง 33. ข 43. ก

4. ค 14. ก 24. ก 34. ข 44. ก

5. ค 15. ค 25. ค 35. ข 45. ง

6. ข 16. ค 26. ค 36. ง 46. ค

7. ค 17. ค 27. ก 37. ก 47. ข

8. ง 18. ง 28. ค 38. ง 48. ก

9. ง 19. ค 29. ข 39. ข 49. ก

10. ง 20. ง 30. ค 40. ง 50. ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

503

ตอนท่ี 2 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะการยกกรณีศึกษาและแสดงความเห็นถึงความเหมาะสมของ

การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

แนวคาํตอบกรณทีี่ 1 สามฟ้ีองหย่าภรรยา หลงัพบว่าทําศัลกรรมก่อนแต่งงาน

การกระทาํของ นาย ก. (สามี) เป็นการกระทาํท่ีไม่เหมาะสมต่อการใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์เน่ืองจาก

1. การไม่เคารพ ไม่ยอมรับสภาพชีวิตท่ีเกิดข้ึนกบัตนเอง ไม่กลา้เผชิญหน้าปัญหาท่ี

เกิดข้ึนกบัตนเองและครอบครัว โดยแสดงออกดว้ยการหนีจากบา้น หนีจากปัญหาแทนท่ีจะ

เผชิญหนา้กบัปัญหา

2. การตดัสินใจโดยยดึตนเองเป็นหลกั/ศนูยก์ลางในการดาํเนินชีวิต ดว้ยการฟ้องหย่า

โดยไม่สอบถาม ไม่ฟังเหตุผลของภรรยา

3. การไม่เคารพภรรยา ดว้ยการไม่สอบถาม ไม่ฟังคาํอธิบายของภรรยา แสดงให้เห็น

ว่าขาดการเคารพคนอ่ืน (ภรรยา) ในฐานะท่ีเป็นคนๆ หน่ึงท่ีย่อมมีเหตุผล/ขอ้ผิดพลาดใน

การดาํเนินชีวิต

4. การขาดความรับผิดชอบต่อชีวิตคนอ่ืน (ภรรยาและลูก) ด้วยการปฏิเสธความ

รับผดิชอบต่อลกู

แนวการตอบกรณทีี่ 2 บวชป่า สร้างศรัทธาเลกิตดัไม้

การกระทาํของ ผูใ้หญ่ ข. เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสม เน่ืองจาก

1. ทาํหนา้ท่ีตามบทบาทหนา้ท่ีในฐานะผูน้าํหมู่บา้น เป็นตวัอย่างท่ีดีต่อการบาํรุงรักษา

ส่ิงแวดลอ้มตามระบบนิเวศ ดว้ยการสงวนรักษา/อนุรักษ์ป่าไมใ้ห้รอดพน้จากการ

บุกรุกของนายทุน/ชาวบา้น

2. การใหค้วามสาํคญัต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน มีการประชุมปรึกษาหารือ เพ่ือ

หาแนวทางในการแกปั้ญหาการบุกรุกทาํลายป่าของหมู่บา้น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

504

3. มีความพยายามดาํเนินการแกปั้ญหาของหมู่บา้น โดยนาํภูมิปัญญา/ประเพณี/ความ

เช่ือดั้งเดิมของชาวบา้นมาประยกุตใ์ช ้

4. ให้ความสําคัญต่อการดําเนินชีวิตประจําว ันท่ีไม่เบียดเบียน /ทําลายป่าไม้/

ส่ิงแวดลอ้มของหมู่บา้น โดยนาํความเช่ือศรัทธาต่อส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิ มาเช่ือมโยงสู่การ

ปฏิบติัในการดาํเนินชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

505

แบบวดัเจตคตด้ิานการใช้เสรีภาพตามกระบวนทัศน์การพฒันามนุษย์

ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

คาํช้ีแจง

1. แบบวดัเจตคติฯ เป็นแบบวดัระดบัความคิดเห็นแบบมาตรประเมินค่า 5 ระดบั จาํนวน 25

ขอ้

2. ใหท่้านอ่านประเด็นต่อไปน้ี และแสดงความรู้สึกหรือความเห็นทนัทีท่ีอ่านจบ ว่าท่านเห็น

ดว้ยหรือรู้สึกต่อประเด็นดงักล่าวมากนอ้ยเพียงใด

3. กรุณาทาํเคร่ืองหมาย ในช่อง ตามความเห็นท่ีแทจ้ริง

ข้อ ประเด็น ระดับความเห็นด้วย

มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอ้ย นอ้ย

ท่ีสุด

องค์ประกอบที ่1 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็น

มนุษย์ของตนเอง

1. ตดัสินใจซ้ือสินคา้ราคาแพงเอาไวใ้ชต้าม

ความจาํเป็น

2. ชีวิตเป็นของเรา เราจะดาํเนินชีวิตอยา่งไร

ก็ได ้ ถา้ไม่ทาํใหค้นอ่ืนเดือนร้อน

3. แมจ้ะมีเงิน แต่ก็ไม่คิดทาํศลัยกรรมเสริม

ความงามตามเพ่ือนๆ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

506

4. ควรฝึกซอ้มกีฬาอยา่งหนกั จะไดส้ร้าง

ช่ือเสียงต่อตนเอง แมมี้ผลทางลบต่อ

สุขภาพ

5. น่าภาคภูมิใจท่ีทาํตามประเพณี วฒันธรรม

ไทย

องค์ประกอบที่ 2 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความ

เป็นมนุษย์ของคนอืน่

6. อยูเ่ฉยๆ เพ่ือจะไดไ้ม่เดือนร้อนดว้ยเร่ือง

ของคนอ่ืน

7. ควรรับฟังคาํช้ีแจงของคนท่ีท่านคิดว่าไม่

มีเหตุผล

8. ทาํงานเป็นกลุ่ม ไดง้านมากกว่าทาํงานคน

เดียว

9. การทาํกิจกรรมร่วมกบัคนอ่ืน ทาํให้

สูญเสียความเป็นส่วนตวั

10. ไม่ควรเสียเวลาพดูกบัคนท่ีไม่มีประโยชน ์

11. วิทยาลยัเป็นของทุกคน ถา้เราไม่ช่วยกนั

ดูแล ใครจะช่วย

12. เพ่ือเสรีภาพของทุกคน เราตอ้งอดทนต่อสู้

แมจ้ะตอ้งลาํบาก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

507

องค์ประกอบที่ 3 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติอย่างเหมาะสมในบริบท

ส่ิงแวดล้อม

13. เม่ือสัง่อาหารมา ควรทานใหห้มด แมว้่า

จะไม่ชอบ

14. การดูแลตน้ไมใ้นท่ีสาธารณะ เป็นหนา้ท่ี

ของหน่วยงานภาครัฐ

15. ถา้บา้นอยูใ่กลท่ี้ทาํงาน จะไม่ขบัรถไป

เพ่ือเป็นการประหยดัพลงังาน

16. น่าช่ืนชมเพ่ือนบา้น ท่ีนาํสตัวป่์ามาเล้ียงท่ี

บา้น โดยไม่เกิดปัญหากบัตวัเขาเอง

17. ควรใชก้ล่องโฟมใส่อาหาร เน่ืองจาก

สะดวกและไม่ตอ้งเสียเวลาทาํความ

สะอาด

18. ถา้พบขยะ จะนาํไปใส่ในถงัขยะ

องค์ประกอบที่ 4 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติตอบรับแนวทางของพระเจ้า

19. เม่ือมีความทุกข ์จะคิดถึงพระก่อนส่ิงใด

20. ส่ิงท่ีเกิดข้ึน ทั้งดีและร้าย พระเจา้อนุญาต

ใหเ้กิดข้ึน

21. ชีวิตจะดีหรือชัว่ อยูท่ี่ตวัเองกาํหนด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

508

22. ดาํเนินชีวติโดยฟังเสียงภายใน ดว้ยใจท่ี

สงบ

23. ไม่ทาํผดิ เพราะกลวัพระจะไม่รัก

24. ก่อนทาํส่ิงใด ควรตั้งสติและไตร่ตรองหา

พระประสงคข์องพระว่าทรงตอ้งการให้

ทาํหรือไม่

25. การดาํเนินชีวิตโดยฟังเสียงภายในใจ ทาํ

ใหเ้สียเวลาทาํงาน

แนวทางการให้คะแนนแบบวดัเจตคตฯิ

ข้อ ประเด็น ระดับความเห็นด้วย

มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอ้ย นอ้ย

ท่ีสุด

องค์ประกอบที่ 1 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดาํเนนิชีวติที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

ของตนเอง

1. ตดัสินใจซ้ือสินคา้ราคาแพงเอาไวใ้ชต้ามความ

จาํเป็น

5 4 3 2 1

2. ชีวิตเป็นของเรา เราจะดาํเนินชีวิตอยา่งไรก็ได ้

ถา้ไม่ทาํใหค้นอ่ืนเดือนร้อน

1 2 3 4 5

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

509

3. แมจ้ะมีเงิน แต่ก็ไม่คิดทาํศลัยกรรมเสริมความ

งามตามเพ่ือนๆ

5 4 3 2 1

4. ควรฝึกซอ้มกีฬาอยา่งหนกั จะไดส้ร้างช่ือเสียง

ต่อตนเอง แมมี้ผลทางลบต่อสุขภาพ

1 2 3 4 5

5. น่าภาคภูมิใจท่ีทาํตามประเพณี วฒันธรรมไทย 5 4 3 2 1

องค์ประกอบที่ 2 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็น

มนุษย์ของคนอืน่

6. อยูเ่ฉยๆ เพ่ือจะไดไ้ม่เดือนร้อนดว้ยเร่ืองของคน

อ่ืน 1 2 3 4 5

7. ควรรับฟังคาํช้ีแจงของคนท่ีท่านคิดว่าไม่มี

เหตุผล 5 4 3 2 1

8. ทาํงานเป็นกลุ่ม ไดง้านมากกว่าทาํงานคนเดียว 5 4 3 2 1

9. การทาํกิจกรรมร่วมกบัคนอ่ืน ทาํใหสู้ญเสียความ

เป็นส่วนตวั

1 2 3 4 5

10. ไม่ควรเสียเวลาพดูกบัคนท่ีไม่มีประโยชน ์ 1 2 3 4 5

11. วิทยาลยัเป็นของทุกคน ถา้เราไม่ช่วยกนัดูแล

ใครจะช่วย

5 4 3 2 1

12. เพ่ือเสรีภาพของทุกคน เราตอ้งอดทนต่อสูแ้ม้

จะตอ้งลาํบาก

5 4 3 2 1

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

510

องค์ประกอบที่ 3 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดล้อม

13. เม่ือสัง่อาหารมาควรทานใหห้มดแมว้่าจะไม่ชอบ 5 4 3 2 1

14. การดูแลตน้ไมใ้นท่ีสาธารณะ เป็นหนา้ท่ีของ

หน่วยงานภาครัฐ

1 2 3 4 5

15. ถา้บา้นอยูใ่กลท่ี้ทาํงาน จะไม่ขบัรถไปเพ่ือเป็น

การประหยดัพลงังาน

5 4 3 2 1

16. น่าช่ืนชมเพ่ือนบา้น ท่ีนาํสตัวป่์ามาเล้ียงท่ีบา้น

โดยไม่เกิดปัญหากบัตวัเขาเอง

1 2 3 4 5

17. ควรใชก้ล่องโฟมใส่อาหาร เน่ืองจากสะดวกและ

ไม่ตอ้งเสียเวลาทาํความสะอาด

1 2 3 4 5

18. ถา้พบขยะ จะนาํไปใส่ในถงัขยะ 5 4 3 2 1

องค์ประกอบที่ 4 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติตอบรับแนวทางของพระเจ้า

19. เม่ือมีความทุกข ์จะคิดถึงพระก่อนส่ิงใด 5 4 3 2 1

20. ส่ิงท่ีเกิดข้ึน ทั้งดีและร้าย พระเจา้อนุญาตให้

เกิดข้ึน

5 4 3 2 1

21. ชีวิตจะดีหรือชัว่ อยูท่ี่ตวัเองกาํหนด 1 2 3 4 5

22. ดาํเนินชีวติโดยฟังเสียงภายใน ดว้ยใจท่ีสงบ 5 4 3 2 1

23. ไม่ทาํผดิ เพราะกลวัพระจะไม่รัก 1 2 3 4 5

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

511

24. ก่อนทาํส่ิงใด ควรตั้งสติและไตร่ตรองหาพระ

ประสงคข์องพระว่าทรงตอ้งการใหท้าํหรือไม่

5 4 3 2 1

25. การดาํเนินชีวิตโดยฟังเสียงภายในใจ ทาํให้

เสียเวลาทาํงาน

1 2 3 4 5

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

512

แบบวดัพฤตกิรรมการใช้เสรีภาพตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

คาํช้ีแจง

1. ใหส้มมติบทบาทเป็นบุคคลในกรณีศึกษา และเสนอพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตจากกรณีศึกษาต่างๆ ในแบบความเรียง (อตันยั) จาํนวน 3 กรณี

2. เวลาท่ีใชใ้นการทาํแบบวดัพฤติกรรมฯ 30 นาที (กรณีละ 10 นาที)

กรณศึีกษา 1

ถูกรางวลัลอตเตอร่ี 18 ล้านบาท เผยเคลด็ลบัถูกหวยเพราะชอบช่วยเหลอืคนอืน่

นาย ก. ถกูรางวลัจากลอตเตอร่ี 18 ลา้นบาท ใหส้มัภาษณ์ว่า แมต้นเองมีอาชีพถางป่าทาํไร่

เล่ือนลอย แต่ก็หมัน่เขา้วดั ทาํบุญ และช่วยเหลือคนท่ีเดือนร้อนอยูเ่สมอ เช่ือว่าถา้ทาํดีก็จะไดดี้ดงัท่ี

เขาประสบ

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็น นาย ก. ซ่ึงถกูรางวลัลอตเตอร่ี ท่านจะปฏิบติัตนอยา่งไรท่ีแสดงถึงการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

1.........................................................................................................................................

………………………………………………………………………………………………………..

2.…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

3.…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

4.…………………………………………………………………………………………

………..............................................................................................................................................

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

513

กรณศึีกษา 2

รอดตายจากอบุัตเิหตุ เช่ือว่าพระช่วยให้รอดตาย

นายแดง ไปร่วมงานสงัสรรคโ์อกาสส่งทา้ยปีเก่า ตอ้นรับปีใหม่กบัเพ่ือนๆ ไดด่ื้มเหลา้

จนมีอาการมึนเมา เม่ืองานเล้ียงจบลง เพ่ือนๆ เตือนว่าอยา่ขบัรถกลบั ใหเ้รียกรถแท็กซ่ีกลบับา้น แต่

นายแดงยนืยนัว่าจะขบัรถกลบับา้นเอง จนขบัรถประสบอุบติัเหตุไปชนตน้ไมห้กัไปหลายตน้

สภาพรถยนตพ์งัยบัเยนิ เม่ือฟ้ืนสติท่ีโรงพยาบาล นายแดงฝากขอ้คิดแก่เพ่ือนๆ ท่ีมาเฝ้าอาการว่า

การขาดสติจะนาํมาซ่ึงหายนะแก่ชีวิต

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็นนายแดง ซ่ึงรอดตายจากอุบติัเหตุ ท่านจะปฏิบติัตนอยา่งไรในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

1.........................................................................................................................................

.....……………………………………………………………………………………………………

2.…………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………….

3.…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

4.…………………………………………………………………………………………

………..............................................................................................................................................

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

514

กรณศึีกษา 3

จบัแม่บ้านทิง้สารเคมลีงแม่นํา้ หาเงินเลีย้งครอบครัว

นายตาํรวจ ก. ตามจบัหญิงวยักลางคนท่ีนาํสารเคมีมาทิ้งแม่นํ้ า สารภาพว่ารับจา้งโรงงาน

แถวบา้นใหน้าํสารเคมีมาทิ้ง ค่าจา้งท่ีไดน้าํมาเล้ียงสามีท่ีป่วยหนกั และลกูๆ อีกสองคน

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็น นายตาํรวจ ก. ท่านจะปฏิบติัตนอยา่งไรท่ีแสดงถึงการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

1.........................................................................................................................................

.....……………………………………………………………………………………………………

2.…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

3.…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

4.…………………………………………………………………………………………

………..............................................................................................................................................

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

515

แนวคาํตอบแบบวดัพฤตกิรรมฯ

กรณศึีกษา 1 ถกูรางวลัลอตเตอร่ี 18 ลา้นบาท เผยเคลด็ลบัถกูหวยเพราะชอบช่วยเหลือคนอ่ืน

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็น นาย ก. ซ่ึงถกูรางวลัลอตเตอร่ี ท่านจะปฏิบติัตนอยา่งไรท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

แนวคาํตอบ

1. จะเปล่ียนอาชีพ มุ่งมัน่และขยนัทาํงานดว้ยนํ้ าพกันํ้ าแรงของตนเอง โดยไม่หวงัพ่ึงโชคลาภจาก

การถกูรางวลัลอตเตอร่ีอีกต่อไป

2. ใหเ้วลาแก่ครอบครัว จดัสรรเงินเพ่ือเป็นทุนการศึกษาแก่ลกูๆ และญาติพ่ีนอ้งท่ีเดือดร้อน

3. นาํเงินท่ีไดไ้ปซ้ือท่ีดิน เพ่ือปลกูผกั และปลกูตน้ไมใ้นท่ีดินของตน ชดเชยกบัท่ีไดต้ดัตน้ไม้

ในขณะประกอบอาชีพเดิม

4. ยงัคงเขา้วดั และนาํเงินจาํนวนหน่ึงไปทาํบุญตามวดัต่างๆ และองคก์รการกุศลตามโอกาสต่าง ๆ

กรณศึีกษา 2 รอดตายจากอบุัตเิหตุ เช่ือว่าพระช่วยให้รอดตาย

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็นนายแดง ซ่ึงเช่ือว่ารอดตายจากอุบติัเหตุ ท่านจะปฏิบติัตนอยา่งไรในการดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

แนวคาํตอบ

1. จะลดปริมาณการด่ืมเหลา้ เพ่ือดูแลสุขภาพร่างกายตนเอง ใหมี้สติสมัปชญัญะในทุกขณะ

2. ยงัคงร่วมงานสงัสรรคก์บัเพ่ือนๆ และใส่ใจ/สนใจฟังคาํแนะนาํท่ีสร้างสรรคจ์ากเพ่ือนๆ

3. จะบาํรุงรักษาตน้ไมท่ี้ไดข้บัรถชนหกั หรือปลกูทดแทน

4. จะเลิกพฤติกรรมการขบัรถขณะขาดสติ ใส่ใจในการเขา้วดั ปฏิบติัตนตามหลกัศาสนา

กรณศึีกษา 3 จบัแม่บ้านทิง้สารเคมลีงแม่นํา้ หาเงนิเลีย้งครอบครัว

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

516

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็น นายตาํรวจ ก. ท่านจะปฏิบติัตนอยา่งไรท่ีแสดงถึงการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษย?์

แนวคาํตอบ

1. ดาํเนินการตามกฎหมาย ดาํเนินคดีแก่ผูท้าํผดิ เพ่ือรักษาความดีของสงัคม

2. หาขอ้มลู/ขอ้เท็จจริงเก่ียวกบัเหตุผลของการกระทาํผดิ ถา้พบว่าเป็นเช่นนั้นๆ จริงๆ จะหาวิธี

ลดหยอ่นโทษ และช่วยประสานงานในการหางานท่ีถกูตอ้งแก่ผูห้ญิงคนนั้น เพ่ือเล้ียงดูครอบครัว

3. หมัน่ตรวจ เฝ้าระวงัการทาํผดิกฎหมายตามบทบาทหนา้ท่ีท่ีไดรั้บ โดยเฉพาะการทาํผดิกฎหมายท่ี

เก่ียวขอ้งกบัการทาํลายระบบนิเวศของส่ิงแวดลอ้ม

4. หมัน่เขา้วดั ปฏิบติัธรรม เพ่ือใหมี้จิตใจท่ีเป็นธรรม และซ่ือสตัยใ์นการปฏิบติัหนา้ท่ีดว้ยความ

เท่ียงตรง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

ภาคผนวก ค

ข้อมูลแสดงความสอดคล้องของเคร่ืองมอื

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

518

ตาราง 20 คา่ดชันีความสอดคลอ้งของแบบตรวจผลการศึกษาเอกสาร

ประเด็น นิยาม คะแนนผูเ้ช่ียวชาญ

คนท่ี

ΣR IOC

1 2 3 4 5

1. พ้ืนฐาน

การพฒันา :

การ

เสริมสรา้ง

ความเป็น

บุคคล

การส่งเสริมการเป็นบุคคล หมายถึง การพฒันาท่ี

เสริมสร้างบุคคลให้เป็นตวัของตวัเอง เพ่ือพฒันา

ทุกมิติของชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ดว้ย

ศกัยภาพของบุคคล ไดแ้ก่ เสรีภาพบนพ้ืนฐานของ

ความสํานึกรู้/มโนสํานึก รวมทั้ งการดําเนินชีวิต

ร่วมกบัคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ดว้ยความเคารพกัน

และกนั ในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม

1

1

1

1

1

5

1.00

2. จุดหมาย

การพฒันา :

ความดี

บุคคล และ

ความดี

ส่วนรวม

2.1 ความดีของบคุคล หมายถึง สภาวะของบุคคลท่ี

เป็นอิสระ มสีาํนึกอยา่งถูกตอ้งต่อเสรีภาพและ

สามารถใชเ้สรีภาพอย่างเต็มทีใ่นการพฒันาชีวิต

สอดคลอ้งกบัภารกิจตามสิทธิและหนา้ทีสู่่การเป็น

บุคคลที่สมบูรณ ์

2.2 ความผาสุกของส่วนรวมหมายถึง สภาวะของ

สังคมที่เตม็ดว้ยบรรยากาศของความยติุธรรมและ

สันติสุข มีพ้ืนฐานอยู่บนความเสมอภาค การ

ส่งเสริมโอกาส และการพฒันาคุณภาพชีวิตในทุก

มิติ รวมทั้งการเสริมสร้างอตัลกัษณ์บุคคลท่ี

สอดคลอ้งกบัการพฒันาไปสู่การเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ ์

1

1

1

1

1

5

1.00

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

519

3. เจตคติ/

ท่าทีการ

พฒันา : การ

เคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีของ

บุคคล

เจตคติของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของบุคคล

หมายถึง เจตคติ/ท่าที่ของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นบุคคล ท่ีนาํสู่การดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้ง

เหมาะสมและสมดุลกบัภารกิจตามสิทธิและหนา้ท่ี

ของบคุคล บนหลกัศลีธรรม มีความรับผดิชอบและ

ให้ความช่วยเหลือผูอ้ื่นดว้ยจิตสาํนึกของการเคารพ

สิทธิบุคคล วฒันธรรมและบูรณภาพของบุคคล และ

สังคม

1

1

1

1

1

5

1.00

4. แนว

ทางการ

พฒันา :

กระบวนการ

ความเป็น

ปึกแผน่หน่ึง

เดียวกนั

กระบวนการความเป็นปึกแผน่หน่ึงเดียวกนั

หมายถึง กระบวนการพฒันาท่ีทุกคน ทุกภาคส่วน

ร่วมรับผดิชอบดว้ยจิตสาํนึกความเป็นพ่ีน้องร่วม

ครอบครัวมนุษย ์ ร่วมกนัจดัระบบและมีส่วนร่วม

ในทุกขั้นตอนการพฒันา ในบรรยากาศของความ

ไวว้างใจกนั มีการแบ่งปันกนัดว้ยความรักและรับ

ใช ้ตามคุณค่าศาสนาและศีลธรรม

1

1

1

1

1

5

1.00

ข้อคดิเห็นและข้อเสนอแนะ

มีความถูกตอ้ง ครบถว้น ตรงประเด็น โดยให้ปรับปรุงสํานวนภาษาและการอา้งอิง ของประเด็น

และนิยามท่ีนาํเสนอ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

520

ตาราง 21 คา่ดชันีความสอดคลอ้งของแบบสัมภาษณก์ระบวนทศันก์ารพฒันามนุษย ์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ขอ้ รายการประเมิน คะแนนผูเ้ช่ียวชาญ

คนท่ี

ΣR IOC

1 2 3 4 5

1. พืน้ฐาน : การพฒันามนุษย์ คือ การเสริมสร้างความเป็น

บุคคล การพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการเสริมสรา้งความ

เป็นบุคคล เป็นการพฒันาท่ีใหค้วามสาํคญัต่อ “เสรีภาพ”

ซ่ึงเป็นลกัษณะเฉพาะของมนุษย ์เป็นทั้งศกัยภาพ และเป็น

วิถีทางการพฒันามนุษย ์ เป็นการพฒันาท่ีส่งเสริมให้บุคคลสํานึกถึงเสรีภาพอย่างถูกต้อง และสามารถใช้เสรีภาพได้อย่างเต็มที ่(มี สํานึกวา่ตนมี และสามารถใชเ้สรีภาพได้

เตม็ท่ี)

1

1

1

1

1

5

1.00

1.1 หลกัการพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการเสริมสร้างความเป็นบุคคลดว้ยความสาํนึกถึงเสรีภาพอยา่งถูกตอ้ง

และสามารถใชเ้สรีภาพไดเ้ต็มท่ี มีลกัษณะอยา่งไร

1

1

1

1

1

5

1.00

1.2 องค์ประกอบการพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการเสริมสร้างความเป็นบุคคลดว้ย ความสาํนึกถึงเสรีภาพ

อยา่งถูกตอ้งและสามารถใชเ้สรีภาพไดเ้ต็มท่ี

ประกอบดว้ยอะไรบา้ง

1

1

1

1

1

5

1.00

1.3 แนวทางการพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการเสริมสรา้งความเป็นบุคคลดว้ยความสาํนึกถึงเสรีภาพอย่างถูกตอ้ง

และสามารถใชเ้สรีภาพไดเ้ต็มท่ี โดยมีความสอดคลอ้ง

เหมาะสมและสมดุลกบัสภาพของบุคคล มีแนวทาง

อยา่งไร

1

1

1

1

1

5

1.00

1.4 วธีิการพฒันามนุษยบ์นพื้นฐานของการเสริมสร้างความเป็นบุคคลดว้ยความสํานึกถึงเสรีภาพอยา่งถูกตอ้งและ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

521

สามารถใชเ้สรีภาพไดเ้ต็มท่ี โดยมีความสอดคลอ้ง

เหมาะสมและสมดุลกบัสภาพของบุคคล มีวธีิการและ

ขั้นตอนอย่างไร

1

1

1

1

1

5

1.00

1.5 คุณลักษณะ/เป้าประสงค์ (สภาพบุคคล/พฤติกรรมการ

ดาํเนินชีวติ/บรรยากาศ /คา่นิยม) ท่ีเสริมสร้างการพฒันา

มนุษยบ์นพ้ืนฐานของการเสริมสร้างความเป็นบุคคล

ดว้ยความสํานึกถึงเสรีภาพอยา่งถูกตอ้งและสามารถใช้

เสรีภาพไดเ้ตม็ที่ มีลกัษณะเป็นอยา่งไร

1

1

1

1

0

4

0.80

1.6 พืน้ท่ี/สนามงานของการพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการเสริมสรา้งความเป็นบุคคลดว้ย ความสาํนึกถึง

เสรีภาพอย่างถูกตอ้งและสามารถใชเ้สรีภาพไดเ้ตม็ท่ี

ไดแ้ก่อะไรบา้ง

1

1

1

1

0

4

0.80

1.7 ความสําคญั/ความเกีย่วข้องของอตัลกัษณ์บุคคล

(ประวติัศาสตร์ วฒันธรรม) ต่อการพฒันามนุษยบ์น

พ้ืนฐานของการเสริมสร้างความเป็นบคุคลดว้ยความ

สาํนึกถึงเสรีภาพอย่างถูกตอ้งและสามารถใชเ้สรีภาพได้

เตม็ที่ มีอะไรบา้ง

1

1

1

1

1

5

1.00

2. จุดหมาย : การมุ่งสู่ความดีส่วนบุคคล และความผาสุกของส่วนรวม การพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการเสริมสร้าง

ความเป็นบุคคล มีเป้าหมายสูงสุด คือ การเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ ซ่ึงจะเป็นจริงได ้ด้วยการพฒันาบุคคลให้เป็นอสิระ

(ความดีของบุคคล) และอยู่ในสังคมในบรรยากาศที่เคารพและส่งเสริมสิทธิและหน้าที่ของบุคคล (ความผาสุก

ส่วนรวม) โดยบูรณาการในทุกมติขิองชีวิตและสังคม

1

1

1

1

1

5

1.00

2.1 หลักการพฒันาบุคคล ในบรรยากาศของการเคารพ และ

ส่งเสริมสิทธิและหนา้ท่ีของบุคคลมีหลกัการอย่างไร

1

1

1

1

1

5

1.00

2.2 แนวทางการพฒันาบุคคลที่เคารพและส่งเสริมการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

522

พฒันาบุคคลในแบบบูรณาการทุกมิตแิละควบคู่กนัทั้ง

ในระดบับุคคลและสังคม มีลกัษณะเป็นอย่างไร

1

1

1

1

1

5

1.00

2.3 วธีิการพฒันา (บุคคล) ท่ีเคารพ และส่งเสริมการพฒันา

บุคคลในแบบบูรณาการทุกมิติและควบคู่กนัทั้งใน

ระดบับุคคลและสังคม มีลกัษณะอยา่งไร

1

1

1

1

1

5

1.00

2.4 ขอบข่าย/จุดเน้นการพฒันา (บุคคล) ท่ีเคารพและ

ส่งเสริมการพฒันาบุคคลในแบบบูรณาการทุกมิติและ

ดาํเนินการควบคูก่นัทั้งในระดบับุคคลและสังคม

ประกอบดว้ยอะไรบา้ง (มิติ เวลา ผูรั้บผดิชอบ ประเด็น

วิธีการ ฯลฯ)

1

1

0

1

1

4

0.80

3. เจตคต ิ : การพฒันาด้วยเจตคติของการเคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีของบุคคล การพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการ

เสริมสร้างความเป็นบุคคล ดว้ยเจตคต ิ(ความรู้ ความเขา้ใจ

ความมุ่งมัน่ และพฤติกรรม) ของการเคารพและส่งเสริมคุณค่า ศักดิ์ศรีของบุคคลทีม่าก่อนและอยู่เหนือทุกส่ิง

1

1

1

1

1

5

1.00

3.1 สถานการณ์ หรือสภาพสังคม ท่ีมีบรรยากาศ/ลกัษณะ

ของการส่งเสริมการพฒันาบุคคลมีลกัษณะอยา่งไร?

1

1

1

0

0

3

0.60

3.2 แนวทางส่งเสริมการพฒันาดว้ยเจตคติของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของบุคคล มีความสาํคญัและมีลกัษณะ

อยา่งไร

1

1

1

1

1

5

1.00

3.3 วธิีการส่งเสริมการพฒันาดว้ยเจตคติของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของบุคคลทั้งในระดบัความรู้ ความเขา้ใจ

ความมุ่งมัน่ พฤติกรรม ควรมีการดาํเนินการอยา่งไร

1

1

1

1

1

5

1.00

4. แนวทาง : กระบวนการความเป็น นํา้หน่ึงใจเดียวกนั การ

พฒันามนุษยบ์นพื้นฐานของการเสริมสร้างความเป็นบุคคล

มีแนวทางการพฒันาในลกัษณะกระบวนการทีส่่งเสริมให้ทุกคน ทุกภาคส่วนร่วมรับผิดชอบด้วยจิตสํานึกของความ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

523

เป็นพีน้่องร่วมครอบครัวมนุษย์ 1 1 1 1 1 5 1.00

4.1 ผู้มบีทบาทหน้าที/่ผู้เกีย่วข้องในการจดัการพฒันาและผู้ควรได้รับความเอาใจใส่ในการได้รับการพัฒนา (ใครทาํ/ ทาํกบัใคร/กลุ่มไหน) และทาํอยา่งไร

1

1

1

0

0

3

0.60

4.2 ประเด็นทีค่วรได้รับความเอาใจใส่เป็นพเิศษ ในการ

จดัการพฒันา/การใหค้วามช่วยเหลือ ควรคาํนึงถึงอะไร

เป็นพิเศษ

1

1

1

1

1

5

1.00

4.3 แนวทางการจัดกระบวนการพัฒนาท่ีเป็นระบบ และมี

ส่วนร่วมในทุกขั้นตอน มีความสําคญัและมีลกัษณะ

อยา่งไร

1

1

1

1

1

5

1.00

4.4 วธิีการจดักระบวนการพฒันาท่ีเป็นระบบ และมส่ีวน

ร่วมในทุกขั้นตอนมีการดาํเนินการอยา่งไร

1

1

1

0

0

3

0.60

5. ขอ้เสนอแนะเพิ่มเติมอื่นๆ เพื่อการจดัทาํรูปแบบ/คู่มือการ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 ในเร่ืองหลกัการ เป้าหมาย จุดมุ่งหมายคุณลกัษณะ

ท่ีพึงประสงค ์ องคป์ระกอบ/เงื่อนไข/ปัจจยัการพฒันา

แนวทาง/กระบวนการ/ข ั้นตอน และการประเมินการพฒันา

1

1

1

1

1

5

1.00

ข้อคดิเห็นและข้อเสนอแนะ

1. ขอ้คาํถามบางขอ้ยาวเกินไป ควรปรับปรุงขอ้ความใหม้คีวามกระชบั

2. ให้รวมขอ้คาํถามท่ีเช่ือมโยงกนั เช่น “แนวทาง” และ “วิธีการ” เป็นคาํถามเดียวกนั

3. มีพึงระวงัการใชค้าํศพัทเ์ฉพาะของคาทอลิก ซ่ึงควรมีการอธิบายนิยามศพัท ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

524

ตาราง 22 คา่ดชันีความสอดคลอ้งของแบบวดัความรู้กระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 (ตอนท่ี 1 : วดัความจาํ เขา้ใจ นาํไปใช ้วิเคราะห์และสังเคราะห์)

รายการประเมนิ คะแนนผู้เช่ียวชาญ

คนที ่ΣΣR IOC แปลความ

1 2 3 4 5

ขอ้ 1 : วดัความจาํ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 2 : วดัความจาํ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 3 : วดัการวิเคราะห์ 1 1 1 1 0 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 4 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 5 : วดัความเขา้ใจ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 6 : วดัการวิเคราะห์ 1 1 1 1 0 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 7 : วดัความเขา้ใจ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 8 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 9 : วดัความจาํ 1 1 1 1 1 4 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 10 : วดัความเขา้ใจ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 11 : วดัการสังเคราะห์ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 12 : วดัความเขา้ใจ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 13 : วดัการสังเคราะห์ 1 1 1 0 1 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 14 : วดัการสังเคราะห์ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 15 : วดัความเขา้ใจ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 16 : วดัการวิเคราะห์ 1 1 1 1 0 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 17 : วดัการวิเคราะห์ 1 1 1 1 0 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 18 : วดัความเขา้ใจ 1 1 1 0 1 5 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 19 : วดัการวิเคราะห์ 1 1 1 1 0 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 20 : วดัความเขา้ใจ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 21 : วดัความเขา้ใจ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 22 : วดัความเขา้ใจ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

525

ขอ้ 23 : วดัความเขา้ใจ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 24 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 25 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 26 : วดัการวิเคราะห์ 1 1 1 1 0 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 27 : วดัความเขา้ใจ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 28 : วดัการสังเคราะห์ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 29 : วดัการสังเคราะห์ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 30 : วดัการสังเคราะห์ 1 1 1 1 0 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 31 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 32 : วดัการวิเคราะห์ 1 1 1 1 0 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 33 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 34 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 35 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 0 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 36 : วดัการวิเคราะห์ 1 1 1 1 0 5 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 37 : วดัความเขา้ใจ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 38 : วดัการวิเคราะห์ 1 1 1 1 0 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 39 : วดัการวเิคราะห์ 1 1 1 1 0 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 40 : วดัความจาํ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 41 : วดัการวิเคราะห์ 1 1 1 1 0 4 0.80 สอดคลอ้ง

ขอ้ 42 : วดัการสังเคราะห์ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 43 : วดัการสังเคราะห์ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 44 : วดัการสงัเคราะห์ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 45 : วดัการสังเคราะห์ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 46 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 47 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 48 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 49 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ขอ้ 50 : วดัการนาํไปใช ้ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

526

ขอ้เสนอแนะ

1. คาํถามวดัความรู้ฯ นบัว่าเป็นความคิดสร้างสรรคใ์นการประยกุตใ์ชท่ี้เป็นรูปธรรม แต่ควร

พิจารณาผลการทดสอบก่อนใชจ้ริง (Try out) เพ่ือตรวจสอบความเขา้ใจต่อคาํถามนั้นๆ

2. ควรมีเนน้หรือขีดเส้นใตค้าํหรือขอ้ความสําคญั เพ่ืองา่ยต่อการอ่านและวิเคราะห์ขอ้สอบ

3. ปรับปรุง/เพิ่มคาํ/ขอ้ความ/คาํเช่ือมใหส้อดคลอ้งกนั

ตาราง 23 แสดงค่าความยากง่ายและอาํนาจจาํแนกของแบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์อง

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 (ตอนท่ี 1)

ข้อ p แปลผล r แปลผล ผล

1. 0.68 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.43 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

2. 0.59 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.61 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

3. 0.75 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.73 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

4. 0.71 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.29 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดพ้อใช ้ คงไว ้

5. 0.61 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.49 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

6. 0.52 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.35 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

7. 0.67 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.24 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดพ้อใช ้ คงไว ้

8. 0.62 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.60 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

9. 0.57 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.32 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

10. 0.58 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.59 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

11. 0.70 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.50 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

12. 0.74 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.44 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

13. 0.59 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.71 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

14. 0.68 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.51 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

15. 0.74 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.62 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

16. 0.52 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.60 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

17. 0.76 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.21 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดพ้อใช ้ คงไว ้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

527

ข้อ p แปลผล r แปลผล ผล

18. 0.53 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.51 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

19. 0.67 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.59 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

20. 0.56 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.39 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

21. 0.68 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.71 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

22. 0.52 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.40 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

23. 0.73 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.25 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดพ้อใช ้ คงไว ้

24. 0.73 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.37 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

25. 0.52 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.27 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดพ้อใช ้ คงไว ้

26. 0.67 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.38 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

27. 0.52 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.45 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

28. 0.78 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.43 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

29. 0.72 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.71 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

30. 0.71 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.36 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

31. 0.69 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.61 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

32. 0.67 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.22 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดพ้อใช ้ คงไว ้

33. 0.63 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.44 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

34. 0.54 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.41 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

35. 0.72 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.29 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดพ้อใช ้ คงไว ้

36. 0.73 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.30 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

37. 0.69 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.33 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

38. 0.69 ขอ้คาํถามค่อนขา้งง่าย 0.44 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

39. 0.56 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.41 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

40. 0.52 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.29 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดพ้อใช ้ คงไว ้

41. 0.52 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.30 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

42. 0.41 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.33 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

43. 0.30 ขอ้คาํถามค่อนขา้งยาก 0.44 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

528

ข้อ p แปลผล r แปลผล ผล

44. 0.30 ขอ้คาํถามค่อนขา้งยาก 0.29 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดพ้อใช ้ คงไว ้

45. 0.33 ขอ้คาํถามค่อนขา้งยาก 0.30 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

46. 0.29 ขอ้คาํถามค่อนขา้งยาก 0.33 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

47. 0.44 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.44 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้มาก คงไว ้

48. 0.49 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.29 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดพ้อใช ้ คงไว ้

49. 0.52 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.30 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

50. 0.41 ขอ้คาํถามมีความยากพอเหมาะ 0.33 ขอ้คาํถามสามารถจาํแนกไดดี้ คงไว ้

KR-20 = 0.926

ค่าความเช่ือมัน่ของแบบวดัความรู้กระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปาฯ โดยใช้

สูตรของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน KR-20

เม่ือ rtt แทน สัมประสิทธ์ิความเช่ือมัน่ของแบบทดสอบ

k แทน จาํนวนขอ้สอบ

S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบบั

p แทน สัดส่วนของคนทาํถูกในแต่ละขอ้

q แทน สัดส่วนของคนทาํผดิในแต่ละขอ้

แทนคา่

26.413.81

15050

= 1.020{1-1.908}

= 1.020 X 0.908

= 0.926

ดงันั้น เม่ือคาํนวณตามสูตรดงักล่าว พบว่าคา่ความเช่ือมัน่ของแบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การ

พฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ ตามสูตรของคูเดอร์-ริชาร์ดสนั KR-20 มีค่าเท่ากบั 0.926

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

529

ตาราง 24 คา่ดชันีความสอดคลอ้งของแบบวดัความรู้กระบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 (ตอนท่ี 2 : วดัการประเมินคา่)

รายการประเมนิ คะแนนผู้เช่ียวชาญ

คนที ่ΣΣR IOC แปลความ

1 2 3 4 5

กรณีศึกษา (กรณีท่ี 1 สามีฟ้องหยา่ภรรยา

หลังพบว่าทําศ ัลยกรรมใบหน้า ก่อน

แ ต่งงา น ) ท่ี ย กมา ข้า งต้น มีค วา ม

เหมาะสมในการนาํไปประเมินค่า การใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ตามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตาปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

ข้อคาํถาม

“นาย ก .” (สา มี ) ที่ปฏิ เสธความ

รับผดิชอบต่อลูกและดาํเนินการฟ้องหย่า

จากภรรยา เน่ืองจากพบว่าภรรยาไป

ทาํศลัยกรรมก่อนท่ีจะพบและแต่งงานกบั

ตน เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสมในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษยข์องตนเองและคนอ่ืน ตาม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 หรือไม่ อย่างไร?

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

แนวคาํตอบ

การกระทําของ นาย ก . เ ป็นการ

กระทาํท่ีไม่เหมาะสมฯ เน่ืองจาก..... (ดู

ในแนวคาํตอบ)

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

530

กรณีศึกษา (กรณี ท่ี 2 บวชป่า สร้าง

ศรัทธาเลิกตดัไม)้ ท่ียกมาขา้งตน้ มีความ

เหมาะสมในการนาํไปประเมินค่า การใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ตามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตาปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

ข้อคาํถาม

การกระทาํของ “ผูใ้หญ่บา้น ข.” ใช้

ความเช่ือศรัทธาต่อสิ่ งศักด์ิสิทธ์ิ (การ

บวชป่า ถวายป่าต่อส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิ) เพ่ือ

ป้องกันการตัดไม้ทําลายป่า เป็นการ

กระทาํท่ีเหมาะสมในการใช้เสรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบท

ส่ิงแวดลอ้ม และความสัมพนัธ์กบัพระเจา้

ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 หรือไม่ อย่างไร?

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

แนวคาํตอบ

การกระทาํของผูใ้หญ่... เป็นการกระทาํท่ี

เหมาะสมฯ เ น่ืองจาก . .. .. (ดูในแนว

คาํตอบ)

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

ขอ้เสนอแนะ

กรณีศึกษาท่ี 1 ให้ปรับปรุงสํานวน/ประโยค ใหต่้อเน่ืองและเหมาะสมยิง่ขึ้น

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

531

ตาราง 25 แสดงการวิเคราะหแ์บบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

เนือ้หา จุดประสงค์การวดั รวม นํา้หนัก

(ร้อยละ)

ลาํดับที่

ความสําคญั คว

ามจํา

เข้าใจ

นําไปใช้

วิเคราะห์

สังเคราะห์

ประเมิน

พืน้ฐานกระบวนทศัน์ฯ 3 5 2 2 3 - 15 28 2

ความหมายการพฒันาฯ 1 5 2 4 3 - 15 28 2

แนวทางการพฒันาฯ 1 1 9 5 4 2* 22 42 1

รวม 5 11 13 11 10 2* 2 100

อนัดับความสําคญั 6 2 1 2 4 4 52

*ใชก้รณีศึกษาจาํนวน 2 กรณี และใหต้อบแบบความเรียงโดยใชเ้กณฑก์ารใหค้ะแนนตามแนวของรูบริค

ตาราง 26 แสดงรายละเอียดการวิเคราะห์ขอ้สอบ/แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สันตะปาปายอหน์ ปอล ท่ี 2 เป็นรายขอ้

ข้อที ่

จุดประสงค์การวดั

ความจาํ เขา้ใจ นาํไปใช ้ วิเคราะห์ สังเคราะห ์ ประเมิน

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

10.

11.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

532

12.

13.

14.

15.

16.

17.

18.

19.

20.

21.

22.

23.

24.

25.

26.

27.

28.

29.

30.

31.

32.

33.

34.

35.

36.

37.

38.

39.

40.

41.

42.

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

533

43.

44.

45.

46.

47.

48.

49.

50.

กรณีศึกษา 1

กรณีศึกษา 2

รวม 5 11 13 11 10 2

คะแนน 5 11 13 11 10 6

ตาราง 27 คา่ดชันีความสอดคลอ้งของแบบวดัเจตคติดา้นการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

รายการประเมนิ

คะแนน

ผู้เช่ียวชาญ

คนท่ี

ΣΣR

IOC แปลความ

องค์ประกอบ ข้อคาํถาม 1 2 3 4 5

องคป์ระกอบ

ท่ี 1 : เจตคติ

การใช้

เสรีภาพใน

การดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็น

1. เขาตดัสินใจซ้ือสินคา้ราคาแพงเอาไวใ้ชต้ามความจาํเป็น

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

2. ชีวิตของเรา ใชซ้ะ ไม่ว่าจะเป็น

อยา่งไรก็ตาม

1

1

1

0

1

5

0.80

สอดคลอ้ง

3. แมเ้ขาจะมีเงิน แต่ก็ไม่คิดจะไป

ทาํศลัยกรรมเสริมความงามตาม

เพ่ือนๆ

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

534

รายการประเมนิ

คะแนน

ผู้เช่ียวชาญ

คนท่ี

ΣΣR

IOC แปลความ

องค์ประกอบ ข้อคาํถาม 1 2 3 4 5

มนุษยข์อง

ตนเอง 4. ควรฝึกซอ้มกีฬาอยา่งหนกั จะได้

สร้างช่ือเสียงต่อตนเอง แมมี้ผล

ทางลบต่อสุขภาพ

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

5. ภาคภูมิใจในประเพณี วฒันธรรม

ไทย

1

1

1

1

0

4

0.80

สอดคลอ้ง

องคป์ระกอบ

ท่ี 2 : เจตคติ

การใช้

เสรีภาพใน

การดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็น

มนุษยข์องคน

อ่ืน

6. อยู่ เฉยๆ ดีก ว่ าต้องเ ดือดร้อน

เพราะคนอ่ืน

1

1

1

1

0

4

0.80

สอดคลอ้ง

7. ควรรับฟังคาํช้ีแจงของคนท่ีท่านคิดว่าไม่มีเหตุผล

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

8. ทาํงานกลุ่ม ไดง้านมากกว่าทาํงาน

คนเดียว

1

1

1

1

0

4

0.80

สอดคลอ้ง

9. การอยู่กบัคนอ่ืน มกัตดัรอนความ

เป็นส่วนตวั

1

1

1

0

1

5

0.80

สอดคลอ้ง

10. ไม่ควรเสียเวลาพูดกบัคนไร้สาระ

1

1

1

0

1

4

0.80

สอดคลอ้ง

11. วิทยาลยัเป็นของเราทุกคน ถา้ไม่

ช่วยกนัดูแล ใครจะช่วย

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

12. เพ่ือเสรีภาพของทุกคน ตอ้งอดทน

ต่อสูแ้มจ้ะตอ้งลาํบาก

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

535

รายการประเมนิ

คะแนน

ผู้เช่ียวชาญ

คนท่ี

ΣΣR

IOC แปลความ

องค์ประกอบ ข้อคาํถาม 1 2 3 4 5

องคป์ระกอบ

ท่ี 3 : เจตคติ

การใช้

เสรีภาพใน

การดาํเนิน

ชีวิตอย่าง

เหมาะสมใน

บริบท

ส่ิงแวดลอ้ม

13. เม่ือสั ่งอาหารมา ควรทานให้หมด

แมว่้าจะไม่ชอบ

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

14. การดูแลตน้ไมใ้นท่ีสาธารณะ เป็น

หนา้ท่ีของเทศบาล/หน่วยงานของ

รัฐ

1

1

1

1

0

5

0.80

สอดคลอ้ง

15. บา้นอยู่ไม่ไกลจากที่ทาํงาน เขาจึง

ไม่ขบัรถไปเพ่ือเป็นการประหยดั

พลงังาน

1

1

1

0

1

5

0.80

สอดคลอ้ง

16. น่าช่ืนชมเพื่อนบา้น เพราะเขา

สามารถเล้ียงสัตวป่์าท่ีบา้น โดย

ไม่เกิดปัญหากบัตวัเขาเอง

1

1

1

1

0

4

0.80

สอดคลอ้ง

17. ถา้พบขยะ จะนาํไปใส่ในถงัขยะ 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

18. ควรใชโ้ฟมใส่อาหาร เพราะ

สะดวกและไม่ตอ้งเสียเวลาทาํ

ความสะอาด

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

องคป์ระกอบ

ท่ี 4 : เจตคติ

การใช้

เสรีภาพใน

19. เม่ือมีความทุกข ์ท่านคดิถึงพระ

ก่อนส่ิงใด

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

20. ส่ิงท่ีเกิดข้ึน ทั้งดีและร้าย พระเจา้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

536

รายการประเมนิ

คะแนน

ผู้เช่ียวชาญ

คนท่ี

ΣΣR

IOC แปลความ

องค์ประกอบ ข้อคาํถาม 1 2 3 4 5

การดาํเนิน

ชีวิตตอบรับ

แนวทางของ

พระเจา้

อนุญาตใหเ้กิดข้ึน 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

21. จะดีชัว่ อยูท่ี่ตวัเองกาํหนด 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

22. ดาํเนินชีวิตโดยฟังเสียงภายในใจ

ดว้ยใจสงบ

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

23. ไม่ทาํผิด เพราะกลวัพระจะ

ลงโทษ

1

1

1

1

0

4

0.80

สอดคลอ้ง

24. ก่อนทาํส่ิงใด ควรใชส้ติคดิว่าพระ

เจา้ตอ้งการใหท้าํส่ิงใด

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

25. การดาํเนินชีวิตโดยฟังเสียงภายในใจ ทาํใหเ้สียเวลาทาํงาน

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

ข้อเสนอแนะ

1. ควรมีการเนน้คาํหรือขีดเส้นใตค้าํ/ขอ้ความสาํคญั เพ่ือช่วยในการทาํแบบวดั

2. ปรับแกบ้างคาํ/สํานวนใหมี้ความเหมาะสมยิง่ข้ึน

3. เพิ่มเติมคาํ/สํานวน เพื่อให้เป็นรูปธรรมยิง่ขึ้น

4. ตดัคาํว่า “เขา” ออกไป เน่ืองจากเป็นการประเมินเจตคติของผูต้อบแบบวดั

5. ขอ้ที่ 5 “ภาคภูมิใจในประเพณี วฒันธรรมไทย” ให้เพิ่มเติมคาํ/สาํนวนใหเ้ป็นรูปธรรมยิง่ข้ึน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

537

ตาราง 28 ผลการวิเคราะห์ค่าความเช่ือมัน่ (คา่สัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของคอนบราค) ของแบบวดัเจตคติการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ข้อ การใช้เสรีภาพฯ ที่

เคารพฯ ตนเอง

การใช้เสรีภาพฯ ท่ีเคารพ

ความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน

การใช้เสรีภาพฯ ใน

บริบทส่ิงแวดลอ้ม

การใช้เสรีภาพฯ ตอบรับ

แนวทางของพระเจา้

T p-

value

คนท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

1 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 3 5 5 5 5 5 5 5 5 2.84* 0.00

2 5 5 5 5 4 5 5 5 5 3 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 1.95* 0.00

3 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4.15* 0.00

4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 3 3 3 3 3 3 3.79* 0.00

5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 2.14* 0.00

6 5 5 5 4 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 2.14* 0.00

7 5 5 5 5 4 4 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 1.37* 0.00

8 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 2.14* 0.00

9 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 2.14* 0.00

10 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 3.42* 0.00

11 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 2.79* 0.00

12 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 3.52* 0.00

13 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 3.42* 0.00

14 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 3.79* 0.00

15 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 3 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 3.72* 0.00

16 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 3.42* 0.00

17 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4.15* 0.00

18 5 5 5 4 5 5 3 5 5 5 5 5 3 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 3.42* 0.00

19 5 4 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 1.37* 0.00

20 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 3 5 5 5 5 5 5 5 5 3.42* 0.00

21 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 3.42* 0.00

22 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 3 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 3.25* 0.00

23 5 5 5 4 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 2.79* 0.00

สัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของคอนบราค 0.9672

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

538

ค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของคอนบราคของแบบวดัเจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

= 1 -

เม่ือ แทน คา่สัมประสิทธ์ิแอลฟา

n แทน จาํนวนขอ้ของเคร่ืองมือวดั

แทน ผลรวมคา่ความแปรปรวนของคะแนนแต่ละขอ้

แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมของแต่ละคน

แทนคา่ =

84.265.21

12525

= 1.04 x 0.933

= 0.9672

ดงันั้น เม่ือคาํนวณตามสูตรดงักล่าว พบว่าคา่ความเช่ือมัน่ของแบบวดัเจตคติฯ ตามสูตรหาคา่

สัมประสิทธ์ิแอลฟ่าของคอนบราค มีคา่เท่ากบั 0.9672

ตาราง 29 คา่ดชันีแสดงความสอดคลอ้งของแบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

รายการประเมนิ คะแนนผู้เช่ียวชาญ

คนท่ี

ΣR IOC แปลความ

1 2 3 4 5

กรณีศกึษาและขอ้คาํถามมีความเหมาะสมในการนาํไปวดัพฤติกรรม (บทบาทสมมต)ิ การใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตาปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2

กรณศึีกษา 1 : นาย ก. ถูกรางวลัจากลอตเตอร่ี 18 ลา้นบาท

ให้สัมภาษณ์ว่า แมต้นเองมีอาชีพถางป่าทาํไร่เล่ือนลอย แต่

ก็หมัน่เขา้วดั ทาํบุญ และช่วยเหลือคนที่เดือนร้อนอยู่เสมอ

n

n - 1

st

2

si

2

st

2

st2 si

2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

539

จึงเช่ือว่าการท่ีตนเองถูกรางวลั เป็นผลบุญที่ตนเองหมั ่น

ประกอบกรรมดี

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

คําถามกรณีศึกษา 1 : ถ้าท่านเป็นนาย ก . ซ่ึงถูกรางวัล

ลอตเตอร่ีท่านจะปฏิบตัิตนอยา่งไรที่แสดงถึงการใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

แนวคาํตอบกรณีศึกษา 1 : 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

กรณศึีกษา 2 : นายแดง ไปร่วมงานสังสรรคโ์อกาสส่งทา้ยปี

เก่า ตอ้นรับปีใหม่กบัเพื่อนๆ ไดด่ื้มเหลา้จนมีอาการมึนเมา

เมื่องานเล้ียงจบลง เพื่อนๆ เตือนว่าอย่าขบัรถกลบั ให้เรียก

รถแทก็ซ่ีกลบับา้น แต่นายแดง……….

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

คาํถาม : ถา้ท่านเป็นนายแดง ซ่ึงเช่ือว่ารอดตายจากอุบติัเหตุ

ท่านจะปฏิบติัตนอย่างไรในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

แนวคาํตอบกรณีศึกษา 2 : 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

กรณศึีกษา 3 : นายตาํรวจ ก. ตามจบัหญิงวยักลางคนท่ีนํา

สารเคมีมาทิ ้งแม่นํ้ า สารภาพว่ารับจ้างโรงงานแถวบา้นให้

นาํสารเคมีมาทิ ้ง ค่าจา้งท่ีไดน้าํมาเล้ียงสามีท่ีป่วยหนัก และ

ลูกๆ อีกสองคน

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

คาํถาม : ถา้ท่านเป็น นายตาํรวจ ก. ทา่นจะปฏิบติัตนอย่างไร

ท่ีแสดงถึงการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษย?์

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

แนวคาํตอบกรณีศึกษา 3 : 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

ข้อเสนอแนะอืน่ๆ

1. แกไ้ขขอ้ความบางตอนในกรณีศึกษา เพ่ือใหก้รณีศึกษามลีกัษณะเป็นกลางมากยิง่ขึ้น

2. ควรใส่หวัเร่ืองในแต่ละกรณีศึกษา

3. กรณีศึกษาท่ี 1 ให้แกไ้ขขอ้ความตอนปลายของกรณีศึกษา จาก “จึงเช่ือวา่การทีต่นเองถูกรางวลั

เป็นผลบุญท่ีตนเองหมัน่ประกอบกรรมดี” เป็น “เช่ือว่าถา้ทาํดีก็จะไดดี้ ดงัท่ีเขาประสบ”

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

540

4. กรณีศึกษาท่ี 2 ให้แกไ้ขแกไ้ขขอ้ความตอนปลายของกรณีศึกษา จาก “นายแดงบอกเพ่ือนๆ

ท่ีมาเฝ้าอาการว่า เขาเช่ือว่าที่เขารอดพน้จากอนัตรายถึงชีวิต เน่ืองจากพระช่วยใหเ้ขารอดตาย”

เป็น “นายแดงฝากขอ้คิดแก่เพ่ือนๆ ท่ีมาเฝ้าอาการว่า การขาดสติจะนาํมาซ่ึงหายนะแก่ชีวิต”

ตาราง 30 คา่ดชันีแสดงความสอดคลอ้งของแบบสอบถามความคิดเห็นการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

รายการประเมนิ คะแนนผู้เช่ียวชาญ

คนที ่ΣΣR IOC แปลความ

1 2 3 4 5

1. ด้านประโยชน์ทีไ่ด้รับจากการอบรม

1.1 ประโยชน์ท่ีท่านไดร้ับจากการเขา้อบรมในคร้ังน้ี

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

1.2 สามารถนาํส่ิงท่ีไดรั้บจากการเขา้รับการอบรมไปปรับใชใ้น

ชีวิตประจาํวนั

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

2. ด้านวทิยากร

2.1 ความชดัเจนจากการถ่ายทอดเน้ือหาและกระบวนการ

ฝึกอบรมตามรูปแบบฯ

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

2.2 บรรยากาศของการเคารพสิทธิ

เสรีภาพของบุคคล

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

2.3 ประโยชน์จากการใชเ้อกสาร/ส่ือ

ประกอบการอบรมตามรูปแบบ

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

2.4 การตอบขอ้ซักถามของวิทยากรในขณะฝึกอบรม

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

3. ด้านบรรยากาศการจดัอบรม

3.1 ความเหมาะสมของระยะเวลา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

541

การจดัอบรม 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

3.2 ความเอ้ืออาํนวยของสถานท่ี 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

3.3 ความเหมาะสมของตารางเวลา 1 1 1 1 1 5 1.00 สอดคลอ้ง

3.4 บรรยากาศของความไวว้างใจ/

การเคารพสิทธิ เสรีภาพของ

บุคคล/ ความเป็นอิสระ

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

ตาราง 31 คา่ดชันีแสดงความสอดคลอ้งแบบสัมภาษณก์ารใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

รายการประเมิน คะแนนผูเ้ช่ียวชาญ

คนท่ี

ΣR IOC แปลความ

1 2 3 4 5

1. ท่านไดรั้บประโยชน์อะไรจากรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

2. ท่านคิดว่ารูปแบบฯ สามารถนาํไป

ประยกุตใ์ชใ้นชีวิตประจาํวนัของท่าน

ไดห้รือไม่ อย่างไร

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

3. ท่านพอใจขั้นตอนการฝึกอบรมการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

เพียงใด มีขอ้ปรับปรุง หรือมี

ขอ้เสนอแนะเพิ่มเติมอะไรบา้ง

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

4. ขอ้เสนอแนะตอ่การใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

1

1

1

1

1

5

1.00

สอดคลอ้ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

ภาคผนวก ง

แบบประเมินความสอดคล้องและความเหมาะสมของเคร่ืองมอื

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

543

แบบประเมินความเทีย่งตรงเชิงเนือ้หา สําหรับผู้เช่ียวชาญ

แบบตรวจสอบ/ประเมนิผลการศึกษาเอกสาร

คาํช้ีแจง

1. การศึกษาเอกสารมีวตัถุประสงคเ์พ่ือสังเคราะห์การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ดาํเนินการโดยศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลกัการ เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการ

พฒันามนุษย ์

2. แบบตรวจสอบ/ให้คาํแนะนาํน้ี เป็นการตรวจสอบความเท่ียงตรงดา้นเน้ือหา โดยให้ผูเ้ช่ียวชาญ

ตรวจสอบ/ให้คาํแนะนาํผลลพัธ์ท่ีไดจ้ากการศึกษาเอกสาร เพ่ือยนืยนั/ให้คาํแนะนาํ โดยแบ่งเป็นสอง

ตอน ไดแ้ก่

2.1 ตอนท่ี 1 แบบตรวจสอบ/ประเมินผลการศึกษาเอกสารแบบวิเคราะห์เน้ือหาเป็นแบบตรวจสอบ/

ประเมินผลการศึกษาเอกสาร โดยใหผู้เ้ช่ียวชาญแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบัความถูกตอ้ง ครบถว้น

สอดคลอ้ง ตรงประเด็น สาํนวนภาษาและการอา้งอิงในเร่ืองการนาํเสนอสาระสําคญัท่ีไดจ้าก

การศึกษาเอกสารการนาํเสนอประเด็นการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 การนาํเสนอสรุปสาระของประเด็นต่างๆ และการกาํหนดความหมาย (นิยาม)

ในแต่ละประเด็น ในเร่ืองความถูกตอ้ง ครบถว้น ตรงประเด็นและการอา้งอิงเอกสารพระ

สันตะปาปาฯ

2.2 ตอนท่ี 2 แบบประเมินความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาดว้ยค่าดชันีความสอดคลอ้ง (IOC) เป็นแบบ

ประเมินความสอดคลอ้งระหว่างวตัถุประสงคก์บัการเสนอประเด็น โปรดพิจารณาความสอดคลอ้ง

เชิงเน้ือหาระหว่างวตัถุประสงคก์บัการเสนอประเด็น/สาระท่ีนาํเสนอ โดยทาํเคร่ืองหมาย ลง

ในช่องความคิดเห็นตามตารางท่ีแนบมา

สอดคลอ้ง (+1) หมายถึง แน่ใจว่าประเด็น/การเสนอสาระมีความสอดคลอ้ง

ไม่แน่ใจ (0) หมายถึง ไม่แน่ใจว่าประเด็น/การเสนอสาระมีความสอดคลอ้ง

ไม่สอดคลอ้ง (-1) หมายถึง ประเด็น/การเสนอสาระไม่มคีวามสอดคลอ้ง

3. ผูเ้ช่ียวชาญสามารถแนะนาํเพิ่มเติม/ปรับแกป้ระเด็น/เน้ือหาสาระได ้เพ่ือใหป้ระเด็น/สาระท่ีนาํเสนอมี

ความถูกตอ้ง ครบถว้นและตรงประเด็นยิ่งข้ึน

4. ผลลพัธ์ท่ีไดเ้ป็นขอ้มูลสําหรับการกาํหนดแนวคาํถามเพ่ือการสัมภาษณ์เชิงลึกในลาํดบัต่อไป

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

544

แบบประเมินความเทีย่งตรงเชิงเนือ้หา สําหรับผู้เช่ียวชาญ ตอนที ่1

แบบตรวจสอบ/ประเมนิผลการศึกษาเอกสารโดยให้ผู้เช่ียวชาญแสดงความคดิเห็น

คาํช้ีแจง 1. การศึกษาเอกสารมีวตัถุประสงคเ์พ่ือสังเคราะห์การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดาํเนินการโดยศกึษาแนวคิด ทฤษฎี หลกัการ เอกสารและ

งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการพฒันามนุษย ์

2. แบบตรวจสอบ/ให้คาํแนะนาํน้ี เป็นการตรวจสอบความเท่ียงตรงดา้นเน้ือหา โดยให้

ผูเ้ช่ียวชาญตรวจสอบ/ให้คาํแนะนาํผลลพัธ์ท่ีไดจ้ากการศึกษาเอกสาร เพ่ือยนืยนั/ให้คาํแนะนาํ

3. ผลลพัธ์ที่ไดเ้ป็นขอ้มูลสาํหรับการกาํหนดแนวคาํถามเพ่ือการสัมภาษณ์เชิงลึกในลาํดบัต่อไป

1. การนาํเสนอสาระสาํคญัที่ไดจ้ากการศึกษาเอกสาร (ความถูกตอ้ง ครบถว้น สอดคลอ้ง ตรง

ประเด็น สาํนวนภาษาและการอา้งอิง ในเอกสารท่ีแนบมาดว้ย ตอนท่ี 1 หนา้ 3 – 42)

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

........................................................................................................................................... 2. การนําเสนอประเด็นการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

(ความถูกตอ้ง ครบถว้น สอดคลอ้ง ตรงประเด็น สํานวนภาษาและการอา้งอิง ในเอกสารท่ีแนบมา

ดว้ย ตอนท่ี 2 หนา้ 43 – 64)

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

545

3. การนาํเสนอสรุปสาระของประเด็นต่างๆ และการกาํหนดความหมาย (นิยาม) ในแต่ละประเด็น

(ความสัมพนัธ์ ความถูกตอ้ง ครบถว้น ตรงประเด็น สาํนวนภาษา ในเอกสารท่ีมีกรอบ หนา้ 46 –

47, 54 – 55, 59 – 60, 63 – 64) ที่นาํมาจากสาระสําคญัท่ีไดจ้ากการศึกษาเอกสาร (ตอนที่ 1... หนา้

3 – 42) และ การสังเคราะห์ประเด็นการพฒันามนุษยฯ์ (เอกสารตอนที่ 2... หนา้ 43 – 64)

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

แบบประเมินความเทีย่งตรงเชิงเนือ้หา สําหรับผู้เช่ียวชาญ ตอนที ่2

แบบตรวจสอบผลการศึกษาเอกสารด้วยการประเมนิความเทีย่งตรงเชิงเนือ้หา (IOC)

ประเด็น นยิาม

ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ

+1 0 -1

1. พื้นฐานการ

พฒันา : การ

เสริมสร้างความเป็น

บุคคล

การส่งเสริมการเป็นบุคคล หมายถึง

การพฒันาท่ีเสริมสร้างบุคคลใหเ้ป็น

ตวัของตวัเอง เพ่ือพฒันาทุกมิติของ

ชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

ด้วยศ ักยภาพของบุคคล ได้แ ก่

เสรีภาพบนพื้นฐานของความสํานึก

รู้/มโนสํานึก รวมทั้งการดาํเนินชีวิต

ร่วมกับคนอื่นอย่างเหมาะสม ด้วย

ความเคารพกันและกัน ในบริบท

ของส่ิงแวดลอ้ม

2. จุดหมายการ

พฒันา : ความดี

บุคคล และ ความดี

2.1 ความดีของบุคคล หมายถึง

สภาวะของบุคคลท่ีเป็นอิสระ มี

สาํนึกอยา่งถูกตอ้งต่อเสรีภาพและ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

546

ประเด็น นยิาม

ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ

+1 0 -1

ส่วนรวม สามารถใชเ้สรีภาพอยา่งเต็มท่ีใน

การพฒันาชีวิตสอดคลอ้งกบัภารกิจ

ตามสิทธิและหนา้ท่ีสู่การเป็นบุคคล

ท่ีสมบูรณ ์

2.2 ความผาสุกของส่วนรวม

หมายถึง สภาวะของสังคมท่ีเต็ม

ดว้ยบรรยากาศของความยุติธรรม

และสนัติสุข มีพื้นฐานอยู่บนความ

เสมอภาค การส่งเสริมโอกาส และ

การพฒันาคุณภาพชีวิตในทุกมิติ

รวมทั้งการเสริมสรา้งอตัลกัษณ์

บุคคลท่ีสอดคลอ้งกบัการพฒันา

ไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบรูณ ์

3. เจตคติ/ท่าทีการ

พฒันา : การเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรีของ

บุคคล

เจตคตขิองการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ของบุคคล หมายถึง เจตคติ/ท่าท่ีของ

การเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็น

บุคคล ท่ีนาํสู่การดาํเนินชีวิตท่ี

สอดคลอ้ง เหมาะสมและสมดุลกบั

ภารกิจตามสิทธิและหนา้ท่ีของ

บุคคล บนหลกัศีลธรรม มีความ

รับผดิชอบและให้ความช่วยเหลือ

ผูอ่ื้นดว้ยจิตสํานึกของการเคารพ

สิทธิบคุคล วฒันธรรมและบูรณภาพ

ของบุคคล และสังคม

4. แนวทางการ

พฒันา :กระบวนการ

กระบวนการความเป็นปึกแผน่หน่ึง

เดียวกนั หมายถึง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

547

ประเด็น นยิาม

ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ

+1 0 -1

ความเป็นปึกแผ่น

หน่ึงเดียวกนั

กระบวนการพฒันาท่ีทุกคน ทุกภาค

ส่วนร่วมรับผิดชอบดว้ยจิตสํานึก

ความเป็นพ่ีนอ้งร่วมครอบครัว

มนุษย ์ ร่วมกนัจดัระบบและมีส่วน

ร่วมในทุกขั้นตอนการพฒันา ใน

บรรยากาศของความไวว้างใจกนั มี

การแบ่งปันกนัดว้ยความรักและรับ

ใช้ ตามคุณค่าศาสนาและศีลธรรม

ขอ้คิดเห็น/ขอ้เสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงอ่ืนๆ

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

...........................................................................................................................................

ลงช่ือ..............................................................

(....................................................................................)

ผูต้รวจ/ให้คาํแนะนาํ

....../......................./.................

ขอขอบพระคุณสาํหรับความอนุเคราะห์ในการตรวจ/ให้คาํแนะนาํ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

548

แบบประเมินความเทีย่งตรงเชิงเนือ้หา สําหรับผู้เช่ียวชาญ

แบบสัมภาษณ์พืน้ฐานการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

คาํช้ีแจง

1. การสัมภาษณ์เชิงลึกมีวตัถุประสงคเ์พ่ือสังเคราะห์กระบวนทศัน์เร่ืองการพฒันามนุษยข์องพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มุ่งหาคาํตอบเชิงลึกจากผูเ้ช่ียวชาญ ไดแ้ก่ กรรมาธิการฝ่ายสังคม

สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย (Caritas Thailand) เพื่อเป็นขอ้มูลต่อการทาํร่าง

รูปแบบการพฒันามนุษยฯ์ (หลกัการ เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย เงื่อนไข/ปัจจยั องคป์ระกอบ

กระบวนการและการประเมิน) รวมถึงการจดัทาํคู่มือการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ ในลาํดบัต่อไป

2. เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการสมัภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญ ไดแ้ก่ แบบสัมภาษณแ์บบก่ึงโครงสร้าง ในลกัษณะ

คาํถามปลายเปิดที่มีการกาํหนดหวัขอ้ศึกษาไวล่้วงหนา้ โดยผูวิ้จยัใชวิ้ธีการสมัภาษณ์เชิงลึก ใน

ประเด็นการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ ท่ีเป็นผลจากการศกึษาเอกสาร

การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปาฯ ท่ีผ่านการตรวจทานจากผูเ้ช่ียวชาญดา้นปรัชญา คาํสอน

คริสตศ์าสนา (เทววิทยาดา้นจริยธรรม) การพฒันา การศึกษาและการประเมิน โดยกาํหนดหวัขอ้

การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ เป็นส่ีหัวขอ้ ไดแ้ก่

2.1 พ้ืนฐานการพฒันา : การเสริมสรา้งการเป็นบุคคล

2.2 จุดหมายการพฒันา : ความดีของบุคคล (การเป็นบคุคลที่มีเสรีภาพ) และ ความผาสุก

ของส่วนรวม (สังคมที่เตม็ดว้ยบรรยากาศของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของการเป็น

บุคคล)

2.3 เจตคติ/ท่าทีการพฒันา : จิตสาํนึกการเคารพศกัด์ิศรีการเป็นบุคคล

2.4 แนวทางการพฒันา : กระบวนการความเป็นปึกแผน่หน่ึงเดียวกนั

นอกจากนั้น ผูวิ้จยัไดเ้พิ่มคาํถามปลายเปิดอีกหน่ึงหัวขอ้ เพื่อเปิดรับขอ้เสนอแนะจาก

ผูเ้ช่ียวชาญในประเด็นอ่ืนๆ เพ่ือประโยชน์ต่อการจดัทาํรูปแบบ/คู่มือการพฒันามนุษย ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

549

3. แบบประเมินคุณภาพของเคร่ืองมอื เป็นการประเมินความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา มีจาํนวน 2 ตอน

ครอบคลุม 5 หวัขอ้ 19 แนวคาํถาม ไดแ้ก่ พ้ืนฐานการพฒันา จุดหมายการพฒันา เจตคติ/ท่าที

การพฒันา แนวทางการพฒันา และขอ้เสนอแนะอ่ืนๆ ตามความคดิเห็นของผูเ้ช่ียวชาญเพ่ือการ

จดัทาํรูปแบบ/คู่มือการพฒันามนุษย ์

4. โปรดพิจารณาความสอดคลอ้งเชิงเน้ือหาระหว่างนิยามกบัแนวคาํถาม โดยทาํเคร่ืองหมาย

ลงในช่องความคิดเห็นตามตารางท่ีแนบมา

สอดคลอ้ง (+1) หมายถึง แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นมีความสอดคลอ้ง

ไม่แน่ใจ (0) หมายถึง ไม่แน่ใจว่าขอ้คาํถามนั้นสอดคลอ้ง

ไม่สอดคลอ้ง (-1) หมายถึง ขอ้คาํถามนั้นไม่สอดคลอ้ง

5. ผูเ้ช่ียวชาญสามารถแนะนาํเพิ่มเติม/ปรับแกใ้นแนวคาํถามได ้เพื่อใหแ้นวคาํถามมีความเป็นปรนยั

(เขา้ใจตรงกนั) และความชัดเจนมากข้ึน จะเป็นพระคุณยิ ่ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

550

แบบประเมินคุณภาพของเคร่ืองมอื (แนวคาํถามเพ่ือการสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ)

แบบสัมภาษณ์พืน้ฐานการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ตอนที ่1 ข้อมลูท่ัวไป

1.1 ช่ือ – สกลุ (ผูถู้กสัมภาษณ์)

.........................................................................................................................................................

1.2 ตาํแหน่งหนา้ท่ี

.........................................................................................................................................................

1.3 ประสบการณก์ารทาํงานดา้นการพฒันามนุษย์

.........................................................................................................................................................

ตอนที ่2 แนวคําถาม

หัวข้อที ่ 1. พืน้ฐานการพัฒนา : การเสริมสร้างความเป็นบุคคล

1.1 แนวคดิ

1.1.1 มนุษยเ์ป็นบุคคลทั้งครบในทุกมิติของชีวิต พ้ืนฐานความเป็นบุคคลของ

มนุษยม์าจากการเป็นบุคคลพระเจ้า (บุคคลท่ีสมบูรณ์) ที่ทรงสถาปนาให้มนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของ

พระองค ์ทาํใหม้นุษยมี์ส่วนร่วมในการเป็นบุคคลของพระองค ์ในฐานะท่ีมนุษยเ์ป็นภาพลกัษณข์องพระ

เจา้ คุณลกัษณะของการเป็นบุคคล คือ เสรีภาพ (Freedom) บนความสํานึกรู้/มโนธรรม (Consciousness)

ท่ีตอ้งดาํเนินชีวิตสอดคลอ้งกบัการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้

1.1.2 แมม้นุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ แต่มนุษยย์งัไม่ไดบ้รรลุถึงขีดข ั้นความ

สมบูรณ์ของการเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ พระเจา้ทรงมอบภารกิจให้มนุษย์พฒันาชีวิตไปสู่ความ

สมบูรณ์ในพระเจา้ มนุษยจึ์งตอ้งพฒันาตวัเองอยา่งต่อเน่ือง ชีวิตมนุษยจึ์งเป็นกระบวนการมุ่งสู่ภารกิจ

ตามวิถีชีวิตมนุษย ์(Vocation) มีเป้าหมาย คือ การมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้/ชีวิต

นิรันดรในพระเจา้)

1.1.3 การพฒันามนุษย์ คือ การเสริมสร้างความเป็นบุคคล ให้บุคคลสํานึกถึง

เสรีภาพอย่างถูกตอ้ง และสามารถใชเ้สรีภาพไดอ้ยา่งเตม็ท่ี ต่อการเป็นบุคคลที่มีส่วนร่วมและมีศกัยภาพ

ท่ีจะพฒันาไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้/ชีวิตนิรันดรในพระเจา้) ดว้ยการตอบรับวิถีทาง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

551

ของพระเจา้ ดว้ยการมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ คนอ่ืนและสิ่งแวดลอ้มอย่างสอดคลอ้ง เหมาะสม และ

สมดุล

1.1.4 การเสริมสร้างการเป็นบุคคล เป็นการปรับเปลี่ยนเจตคติ (การกลับใจ) จาก

การดําเนินชีวิตท่ียึดตนเองเป็นหลัก ปฏิเสธ/ละเลย/เมินเฉยคนอื่น (บาปส่วนบุคคล) ตามค่านิยมท่ี

ส่งเสริมการมีวตัถุสสาร ซ่ึงเป็นกระแสการทาํลายชีวิตท่ีแทรกซึมในวิถีชีวิตในสังคมปัจจุบนั จนทาํให้

เกิดบรรยากาศของการมุ่งความมั ่งมีวตัถุสสาร ว่ามีความสําคัญมากกว่าชีวิตของบุคคล (กลไก/บาป

สังคม) ไปสู่การดาํเนินชีวิตที่เนน้ความเป็นบุคคลมาก่อนและเหนือทุกสิ่ง (วฒันธรรมส่งเสริมชีวิต)

1.1.5 การเสริมสร้างความเป็นบุคคล ต้องมีการปลูกฝังและเสริมสร้างชีวิตของ

บุคคล (วฒันธรรมส่งเสริมชีวิต) เร่ิมจากครอบครัว และสังคมท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศและสภาพแวดล้อม

ของการเคารพคุณค่าและศกัด์ิศรีของความเป็นบุคคล

1.1.6 การพฒันาบุคคล มุ่งเสริมสร้าง “อตัลกัษณ์บุคคล” ในบริบทของการพฒันา

ชีวิตในประวติัศาสตร์และวฒันธรรมเพ่ือเป็นบุคคลท่ีเป็นตวัของตวัเอง และพฒันาชีวิตดว้ยตนเอง

1.2 นิยาม

การส่งเสริมการเป็นบุคคล หมายถึง การพฒันาท่ีเสริมสร้างบุคคลให้เป็นตวัของ

ตวัเอง เพื่อพฒันาทุกมิติของชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ ด้วยศกัยภาพของบุคคล ได้แก่

เสรีภาพบนพ้ืนฐานของความสํานึกรู้/มโนสํานึก รวมทั้งการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอื่นอยา่งเหมาะสม

ดว้ยความเคารพกนัและกนั ในบริบทของส่ิงแวดลอ้ม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

552

หัวข้อ

(กรุณาดู

แนวคดิ

และนิยาม)

แนวคาํถาม

ความคิดเห็น

ข้อเสนอแนะ

+1 0 -1

1. พ้ืนฐาน :

การพฒันา

มนุษย ์คือ

การ

เสริมสร้าง

ความเป็น

บุคคล

การพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการ

เสริมสร้างความเป็นบุคคล เป็นการพฒันา

ท่ีใหค้วามสาํคญัตอ่ “เสรีภาพ” ซ่ึงเป็น

ลกัษณะเฉพาะของมนุษย ์เป็นทั้งศกัยภาพ

และเป็นวิถีทางการพฒันามนุษย ์ เป็นการ

พฒันาท่ีส่งเสริมใหบุ้คคลสาํนึกถึงเสรีภาพ

อยา่งถูกตอ้ง และสามารถใชเ้สรีภาพได้

อยา่งเต็มท่ี (มี สาํนึกวา่ตนมี และสามารถ

ใชเ้สรีภาพไดเ้ต็มท่ี) ดงันั้น

1.1 หลกัการพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการเสริมสร้างความเป็นบุคคลดว้ย

ความสํานึกถึงเสรีภาพอยา่งถูกตอ้ง

และสามารถใชเ้สรีภาพไดเ้ต็มท่ี มี

ลกัษณะอยา่งไร

1.2 องค์ประกอบการพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการเสริมสร้างความเป็น

บุคคลดว้ย ความสาํนึกถึงเสรีภาพอย่าง

ถูกตอ้งและสามารถใชเ้สรีภาพไดเ้ตม็ท่ี

ประกอบดว้ยอะไรบา้ง

1.3 แนวทางการพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการเสริมสรา้งความเป็นบุคคลดว้ย

ความสํานึกถึงเสรีภาพอยา่งถูกตอ้งและ

สามารถใชเ้สรีภาพไดเ้ต็มท่ี โดยมี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

553

หัวข้อ

(กรุณาดู

แนวคดิ

และนิยาม)

แนวคาํถาม

ความคิดเห็น

ข้อเสนอแนะ

+1 0 -1

ความสอดคลอ้ง เหมาะสมและสมดุล

กบัสภาพของบุคคล มีแนวทางอยา่งไร

1.4 วธีิการพฒันามนุษยบ์นพื้นฐานของการเสริมสร้างความเป็นบุคคลดว้ยความ

สาํนึกถึงเสรีภาพอย่างถูกตอ้งและ

สามารถใชเ้สรีภาพไดเ้ต็มท่ี โดยมี

ความสอดคลอ้ง เหมาะสมและสมดุล

กบัสภาพของบุคคล มีวิธีการและ

ขั้นตอนอย่างไร

1.5 คุณลักษณะ/เป้าประสงค์ (สภาพ

บุคคล/พฤติกรรมการดาํเนินชีวิต/

บรรยากาศ /ค่านิยม) ที่เสริมสรา้งการ

พฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการ

เสริมสร้างความเป็นบุคคลดว้ยความ

สาํนึกถึงเสรีภาพอย่างถูกตอ้งและ

สามารถใชเ้สรีภาพไดเ้ต็มท่ี มีลกัษณะ

เป็นอย่างไร

1.6 พืน้ท่ี/สนามงานของการพฒันามนุษย ์บนพ้ืนฐานของการเสริมสร้างความ

เป็นบุคคลดว้ย ความสาํนึกถึงเสรีภาพ

อยา่งถูกตอ้งและสามารถใชเ้สรีภาพได้

เตม็ที่ ไดแ้ก่อะไรบา้ง

1.7 ความสําคญั/ความเกีย่วข้องของอตั

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

554

หัวข้อ

(กรุณาดู

แนวคดิ

และนิยาม)

แนวคาํถาม

ความคิดเห็น

ข้อเสนอแนะ

+1 0 -1

ลกัษณ์บุคคล (ประวติัศาสตร์

วฒันธรรม) ต่อการพฒันามนุษยบ์น

พ้ืนฐานของการเสริมสร้างความเป็น

บุคคลดว้ยความสํานึกถึงเสรีภาพอยา่ง

ถูกตอ้งและสามารถใชเ้สรีภาพไดเ้ตม็ท่ี

มีอะไรบา้ง

หัวข้อที ่ 2. จุดหมายการพฒันา : ความดีบุคคล และ ความดีส่วนรวม

2.1 แนวคดิ

2.1.1 การที่มนุษยเ์ป็นบุคคลที่เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า เป็นทั้งสิทธิพิเศษอนั

ล่วงละเมิดไม่ได ้ที่พระเจา้ทรงมอบแก่มนุษยใ์ห้มีร่วมส่วนและมีศกัยภาพท่ีจะบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์

ได ้ในขณะเดียวกนัมนุษยม์ีภารกิจหนา้ท่ี ในการตอบรับพระเมตตาของพระเจา้ในการพฒันาชีวิตดว้ย

ศกัยภาพตามแนวทางท่ีพระเจา้ประทานให้ เพื่อมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ (ความรอดพน้ในพระ

เจา้) ซ่ึงเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันา

2.1.2 แมว้่าการพฒันาชีวิตมนุษย ์มีเป้าหมายสูงสุด คือ การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ใน

พระเจา้ (ความรอดพน้) ซ่ึงเป็นพระเมตตากรุณาท่ีพระเจา้ประทานแก่มนุษย ์ แต่มนุษยต์อ้งตอบรับ

พระเมตตาของพระเจา้ด้วยการใชศ้กัยภาพอย่างเต็มที่ ถูกตอ้งในการพฒันาชีวิตของตนในสังคม

ร่วมกบั/อาศยัคนอ่ืนและส่ิงแวดลอ้ม ในบรรยากาศ/สภาพแวดลอ้มของสังคมที่เอื้ออํานวยต่อการ

พฒันาบุคคล เพื่อมุ่งสู่ความดีของบุคคลและความผาสุกของส่วนรวม กล่าวคือ การเป็นบุคคลท่ี

สํานึกและใชเ้สรีภาพไดอ้ยา่งเตม็ท่ี ดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนในสังคมท่ีเต็มด้วยบรรยากาศของการ

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีการเป็นบุคคล

2.1.3 ความดีของบุคคล (บุคคลท่ีมีเสรีภาพ) มีความสัมพนัธ์กบัความผาสุกของ

ส่วนรวม (สังคมของบุคคล) กล่าวคือ การท่ีบุคคลจะมีเสรีภาพ แต่ละบุคคลตอ้งร่วมกนัสรรสร้าง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

555

สังคม ให้เป็นสังคมของบุคคล ท่ีเป็นสังคมแห่งความยุติธรรมและสันติ เป็นสังคมท่ีสมาชิกดําเนิน

ชีวิตดว้ยจิตสํานึกของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของตนเองและผูอ่ื้น ส่งผลให้เกิด

สภาพแวดลอ้มท่ีส่งเสริมการเป็นตวัของตวัเอง สํานึกในสิทธิและหน้าท่ีของบุคคลอย่างครบถว้น

เพื่อมนุษยจ์ะไดพ้ฒันาตนเองตามสภาวะ (สถานภาพ/สถานการณ์/สภาพ) ไดอ้ยา่งเตม็ท่ี

2.1.4 ความดีของบุคคลและความผาสุกของส่วนรวม มีพ้ืนฐานอยูบ่นการเคารพต่อ

สิทธิของบุคคล ซ่ึงเป็นสิทธิของแต่ละคน และสิทธิของมนุษยทุ์กคน จาํเป็นตอ้งมีการบูรณการท่ี

ครอบคลุมทุกมิติของชีวิตและสังคม ทั้งดา้นร่างกายและจิตวิญญาณ สิทธิของบุคคลท่ีเร่ิมตั้งแต่การ

เร่ิมปฏิสนธิ สิทธิในการดาํเนินชีวิตในสภาพแวดลอ้มที่เหมาะสม ครอบคลุมทั้ งสิทธิของแต่ละ

บุคคลและโครงสร้างทางสังคมท่ีส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี มีความเสมอภาคและโอกาสท่ีบุคคลไดรั้บ

ความเอาใจใส่จากสังคมโดยรวม โดยเฉพาะเร่ืองสิทธิมนุษยชน สันติภาพ ความมัน่คงของมนุษย ์

เอกลกัษณ์ทางวฒันธรรม ความสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา รวมถึงสิทธิในการนับถือและดาํเนิน

ชีวิตตามคาํสอนของศาสนา

2.1.5 ทุกคน ทุกภาคส่วนตอ้งมีบทบาทหน้าท่ี และร่วมมือกนัในการเสริมสร้าง

ความดีของบุคคล (บุคคลแห่งเสรีภาพ) และความผาสุกของส่วนรวม (สังคมของบุคคล) ในการ

บริหารจดัการ และการแทรกแซงอยา่งถูกตอ้ง โดยมีพ้ืนฐานอยูบ่นการประกนัความมัน่คง ดว้ย

วิธีการท่ีเหมาะสม พึงระมดัระวงัการแทรกแซงในแบบผกูขาด จนทาํลายเสรีภาพของมนุษย ์ พึง

ระมดัระวงัการจดัสวสัดิการท่ีเกินพอดี และกระทาํอย่างผิดๆ ท่ีเน้นแต่เพียงการส่งเสริมดา้นวตัถุ

กายภาพ จนละเลยคุณค่าฝ่ายจิต ในลกัษณะของการส่งเสริมการอยากมี อยากได ้ตอบสนองความ

ตอ้งการในระดบัสัญชาติญาณ ทาํให้มนุษยข์าดความรับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิตตนเอง คนอื่น

และสังคม รวมทั้งการพฒันาคุณค่าฝ่ายจิตวิญญาณ ท่ีมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ อนัเป็นเป้าหมาย

สูงสุดของการพฒันาชีวิต

2.2 นยิาม

2.2.1 ความดีของบุคคล หมายถึง สภาวะของบุคคลท่ีเป็นอิสระ มีสาํนึกอยา่ง

ถูกตอ้งต่อเสรีภาพและสามารถใชเ้สรีภาพอยา่งเต็มทีใ่นการพฒันาชีวิตสอดคลอ้งกบัภารกิจตาม

สิทธิและหนา้ท่ีสู่การเป็นบุคคลที่สมบูรณ ์

2.2.2 ความผาสุกของส่วนรวม หมายถึง สภาวะของสังคมท่ีเต็มดว้ยบรรยากาศ

ของความยุติธรรมและสันติสุข มีพ้ืนฐานอยูบ่นความเสมอภาค การส่งเสริมโอกาส และการพฒันา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

556

คุณภาพชีวิตในทกุมิติ รวมทั้งการเสริมสร้างอตัลกัษณ์บุคคลท่ีสอดคลอ้งกบัการพฒันาไปสู่การเป็น

บุคคลท่ีสมบรูณ ์

หัวข้อ

(กรุณาดู

แนวคดิ

และนิยาม)

แนวคาํถาม

ความ

คดิเห็น

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

2. จุดหมาย :

ก า ร มุ่ ง สู่

ความดี ส่วน

บุคคล และ

คว ามผ า สุ ก

ของส่วนรวม

จุดหมาย : การมุ่งสู่ความดีส่วนบุคคล และความผาสุกของส่วนรวม การพฒันามนุษย์

บนพ้ืนฐานของการเสริมสร้างความเป็น

บุคคล มีเป้าหมายสูงสุด คอื การเป็นบุคคลทีส่มบูรณ์ ซ่ึงจะเป็นจริงได ้ด้วยการพฒันาบุคคลให้เป็นอิสระ (ความดีของบุคคล)

และอยู่ ในสังคมในบรรยากาศที่เคารพและส่งเสริมสิทธิและหน้าที่ของบุคคล (ความ

ผาสุกส่วนรวม) โดยบูรณาการในทุกมิติของชีวิตและสังคม

2.1 หลักการพฒันาบุคคล ในบรรยากาศ

ของการเคารพ และส่งเสริมสิทธิและ

หนา้ท่ีของบุคคลมีหลกัการอย่างไร

2.2 แนวทางการพฒันาบุคคลที่เคารพและส่งเสริมการพฒันาบุคคลในแบบ

บูรณาการทุกมิติและควบคูก่นัทั้งใน

ระดบับุคคลและสังคม มีลกัษณะเป็น

อยา่งไร

2.3 วธีิการพฒันา (บุคคล) ท่ีเคารพ และ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

557

หัวข้อ

(กรุณาดู

แนวคดิ

และนิยาม)

แนวคาํถาม

ความ

คดิเห็น

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

ส่งเสริมการพฒันาบุคคลในแบบ

บูรณาการทุกมิติและควบคูก่นัทั้งใน

ระดบับุคคลและสังคม มีลกัษณะ

อยา่งไร

2.4 ขอบข่าย/จุดเน้นการพฒันา (บุคคล) ท่ี

เคารพและส่งเสริมการพฒันาบคุคลใน

แบบบูรณาการทุกมิติและดาํเนินการ

ควบคูก่นัทั้งในระดบับุคคลและสังคม

ประกอบดว้ยอะไรบา้ง (มิติ เวลา

ผูรั้บผดิชอบ ประเด็น วิธีการ ฯลฯ)

หัวข้อที ่ 3. เจตคต/ิท่าทกีารพฒันา : การเคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีของบุคคล

3.1 แนวคดิ

3.1.1 สภาพสังคมปัจจุบนั เตม็ดว้ยกลไกและโครงสร้างท่ีเป็นอุปสรรคและเป็นภยั

คุกคามชีวิต ตามกระแสการทาํลายชีวิต ที่ละเลย เมินเฉย ปฏิเสธคุณคา่/ศกัยภาพภายในของ

บุคคล ดว้ยการให้ความสาํคญัแก่มนุษยว่์าเป็นเพียงวตัถุสสาร การพฒันามนุษยจึ์งเป็นการพฒันา

ท่ีมุ่งสู่การพฒันาวตัถุ โดยใชเ้ศรษฐกิจเป็นหลกัในการพฒันา ทาํใหม้นุษยต์กอยูใ่น

สภาพแวดลอ้มแห่งบาป กล่าวคือ แทนท่ีมนุษยจ์ะร่วมมือกนัในการพฒันาชีวิตและสังคม มนุษย ์

กลบัเบียดเบียน แข่งขนัเพ่ือแย่งชิง เอารัดเอาเปรียบกนัเพ่ือผลประโยชน์ดา้นวตัถุ ส่งผลให้

ประสบวิกฤติการณ์พฒันาในรูปแบบต่างๆ ในสังคม

3.1.2 มีความจําเป็นท่ีมนุษยต์อ้งเปล่ียนเจตคติ (กลับใจ) สู่การปฏิบติัตนตามแนว

ทางการพฒันาชีวิตอย่างถูกตอ้ง ดว้ยการตอบรับความรักและพระเมตตาของพระเจา้ ดว้ยการ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

558

ดาํเนินชีวิตตามแนวทางท่ีพระเจา้ทรงกาํหนดไว ้ กล่าวคือ การพฒันาชีวิตบนพ้ืนฐานของการ

ใชเ้สรีภาพดว้ยจิตสํานึกต่อภารกิจตามสิทธิและหนา้ท่ีของบุคคลท่ีมุ่งสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

ดว้ยการมีความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืนและสิ่งแวดลอ้มอยา่ง เหมาะสม สอดคลอ้งและสมดุลกบัการ

เป็นบุคคล

3.1.3 การปรับเปล่ียนเจตคติ/ท่าที (การกลับใจ) เป็นการเปล่ียนแปลงรูปแบบการ

ดาํเนินชีวิต สู่การพฒันาชีวิตใหส้มดุลทั้งมิติดา้นร่างกายและจิตวิญญาณ ใหบุ้คคลมีความสํานึก

และรับผดิชอบต่อการพฒันาชีวิต ดว้ยการใชเ้สรีภาพอย่างถูกตอ้ง สอดคลอ้งกบัความจริงของ

ชีวิตร่วมกนัรับผิดชอบต่อการพฒันาชีวิต ให้ความสําคญัต่อการมีความสัมพันธ์กบัผูอ่ื้นดว้ย

ความเคารพในคุณค่าความเป็นบุคคลของกนัและกนั เ ร่ิมตน้ในครอบครัว ชุมชน/สังคม ใน

บริบทของส่ิงแวดลอ้มท่ีสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา อนัเป็นคุณลกัษณะของสังคมท่ีสมาชิกมีการ

ดาํเนินชีวิตร่วมกนัแบบหมู่คณะท่ีมุ่งส่งเสริมและพฒันามนุษยสู่์ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

3.1.4 การปรับเปลี่ยนเจตคติ/ท่าทีและรูปแบบการดาํเนินชีวิต มีพ้ืนฐานบนจิตสํานึก

ของการเคารพในคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นบุคคลของมนุษย ์สํานึกถึงบทบาทหน้าท่ีท่ีตอ้งร่วม

รับผิดชอบในการพัฒนาชีวิตร่วมกัน เป็นหน่ึงเดียวและร่วมรับผิดชอบชีวิตตนเองและเพ่ือน

มนุษย ์ รวมถึงการใหค้วามช่วยเหลือดว้ยจิตสํานึกของการเคารพต่อสิทธิ วฒันธรรมและบูรณ

ภาพของแต่ละสังคมและประเทศ จึงตอ้งมีการพิจารณาอย่างรอบคอบ และเน้นการมีส่วนร่วม

ของทุกภาคส่วนในการวางแผน การบริหารจดัการเพ่ือใหมี้การพฒันาอยา่งมีคุณภาพ ทัว่ถึงและ

ครอบคลุมทุกมิติของชีวิต ภายใตก้รอบของศีลธรรม เพื่อใหทุ้กคนไดรั้บการพฒันาคุณภาพชีวิต

อย่างเหมาะสม นาํสู่ความสามารถในการพฒันาตนเอง

3.2 นิยาม

เจตคตขิองการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของบุคคล หมายถึง เจตคติ/ทา่ท่ีของการเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นบุคคล ท่ีนาํสู่การดาํเนินชีวิตท่ีสอดคลอ้ง เหมาะสมและสมดุลกบัภารกิจ

ตามสิทธิและหนา้ท่ีของบุคคล บนหลกัศีลธรรม มีความรับผิดชอบและใหค้วามช่วยเหลือผูอ่ื้น

ดว้ยจิตสาํนึกของการเคารพสิทธิบุคคล วฒันธรรมและบูรณภาพของบุคคล และสังคม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

559

หัวข้อ

(กรุณดู

แนวคดิ

และนิยาม)

แนวคาํถาม

ความ

คดิเห็น

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

3. เจตคต ิ :

การพฒันา

ด้วยเจตคติ

ของการ

เคารพคุณค่า

ศักดิ์ศรีของ

บุคคล

เจตคต ิ : การพัฒนาด้วยเจตคติของการเคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีของบุคคล การ

พฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐานของการเสริมสร้าง

ความเป็นบุคคล ดว้ยเจตคต ิ(ความรู้ ความ

เขา้ใจ ความมุ่งมัน่ และพฤติกรรม) ของ

การเคารพและส่งเสริมคุณค่า ศักดิ์ศรีของบุคคลทีม่าก่อนและอยู่เหนือทุกส่ิง

3.1 สถานการณ์ หรือสภาพสังคม ท่ีมี

บรรยากาศ/ลกัษณะของการส่งเสริม

การพฒันาบุคคลมีลกัษณะอยา่งไร?

3.2 แนวทางส่งเสริมการพฒันาดว้ยเจตคติของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของ

บุคคล มีความสําคญัและมีลกัษณะ

อยา่งไร

3.3 วธิีการส่งเสริมการพฒันาดว้ยเจตคติของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของ

บุคคลทั้งในระดบัความรู้ ความเขา้ใจ

ความมุ่งมัน่ พฤติกรรม ควรมีการ

ดาํเนินการอยา่งไร

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

560

หัวข้อที ่ 4. แนวทางการพฒันา : กระบวนการความเป็นปึกแผ่นหน่ึงเดยีวกนั

4.1 แนวคดิ

4.1.1 การพฒันามนุษย ์เป็นการพฒันาท่ีทุกคน ทุกภาคส่วน ตอ้งใหค้วามสาํคญัต่อ

การพฒันาคุณภาพชีวิตโดยรวม ทั้งในระดบับุคคลและมนุษยชาติ ทุกมิตแิละทุกระดบั ดว้ยการ

แบ่งปันฉันทพ่ี์นอ้งในฐานะครอบครัวมนุษยชาติ ท่ีมตีน้กาํเนิดและเป้าหมายชีวิตร่วมกนั คือ การ

เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ในพระเจา้ มนุษยจึ์งตอ้งร่วมกนัสรรสร้างความเป็นนํ้ าหน่ึงใจเดียวกนั

แบ่งปันกนัดว้ยความสาํนึกรับผดิชอบต่อชีวติของตนเอง ผูอ่ื้น สังคม ประเทศชาติและโลก ตาม

คุณค่าศาสนาและศีลธรรม แก่ทุกคน ทุกภาคส่วน

4.1.2 ความเป็นปึกแผ่นหน่ึงเดียวกนั เป็นการสรรสรา้งสังคมแห่งความยติุธรรม โดย

มีความรักเป็นพ้ืนฐาน ดว้ยความสาํนึกรับผิดชอบต่อชีวิตของตนและคนอ่ืน มีการแบ่งปัน ดว้ย

“การรับใชก้นัและกนัดว้ยความรัก” กล่าวคือ การมีนํ้ าใจเอ้ือเฟ้ือเผือ่แผ่ดว้ยไมตรีจิต พร้อมท่ีจะ

เสียสละแทนท่ีจะเอาเปรียบผูอ่ื้น พร้อมท่ีจะรับใชแ้ทนท่ีจะกดข่ีผูอ่ื้นเพ่ือผลประโยชน์ส่วนตน

โดยเฉพาะมุ่งรักและรับใชผู้พิ้การ ผูป่้วย ผูสู้งอายุ หรือผูทุ้พพลภาพในรูปแบบตา่งๆ ที่ตอ้งการ

ความเอาใจใส่เป็นพิเศษจากสังคม รวมถึงผูข้ดัสน เดือนร้อน ไม่ไดรั้บโอกาส ไม่ไดร้ับความ

ยติุธรรมในรูปแบบต่างๆ ทั้งดา้นกายภาพและดา้นจิตใจ ส่งผลใหเ้กิดการรวมพลงัพฒันาสังคม

ให้เต็มดว้ยบรรยากาศและสภาพแวดลอ้มท่ีเอ้ืออาํนวยต่อการพฒันาบุคคล

4.1.3 ความเป็นปึกแผ่นหน่ึงเดียวกนั เป็นแนวทางการพฒันาท่ีมลีกัษณะเป็น

กระบวนการพฒันาท่ีมุ่งสู่การเสริมสร้างบคุคลอาศยัการทาํงาน ดว้ยการมีส่วนร่วม ทั้งในเร่ือง

การวางแผน การจดัระบบ การดาํเนินงานอยา่งเป็นขั้นตอน รวมถึงมีการติดตามและประเมนิเพ่ือ

การบริหารจดัการ ทั้งการแกไ้ขปัญหาในสังคมที่มีภยัคุกคามหรือเผชิญกบัอุปสรรค/วิกฤตใินการ

พฒันา และการเสริมสร้างใหเ้กิดการพฒันาอยา่งต่อเน่ืองแก่ทุกคน/ทุกภาคส่วน โดยเฉพาะบุคคล

ท่ีควรไดรั้บความเอาใจใส่เป็นพิเศษตามสภาพ/สถานการณ์ของชีวิต เพ่ือใหม้ีการพฒันาอย่าง

ความเหมาะสม สอดคลอ้ง สมดุลกบัคุณคา่ท่ีแทจ้ริงของมนุษยย์ิง่ๆ ข้ึน

4.2 นยิาม

กระบวนการความเป็นปึกแผน่หน่ึงเดียวกนั หมายถึง กระบวนการพฒันาท่ีทุกคน ทุก

ภาคส่วนร่วมรับผิดชอบดว้ยจิตสํานึกความเป็นพ่ีนอ้งร่วมครอบครัวมนุษย ์ ร่วมกนัจดัระบบและ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

561

มีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนการพฒันา ในบรรยากาศของความไวว้างใจกนั มีการแบ่งปันกนัดว้ย

ความรักและรับใช ้ตามคุณค่าศาสนาและศีลธรรม

หัวข้อ

(กรุณาดู

แนวคดิ

และนิยาม)

แนวคาํถาม

ความ

คดิเห็น

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

4. แนวทาง :

กระบวนการ

ความเป็น นํา้

หนึ่งใจ

เดียวกนั

แนวทาง : กระบวนการความเป็น นํา้หน่ึง

ใจเดียวกนั การพฒันามนุษยบ์นพ้ืนฐาน

ของการเสริมสร้างความเป็นบุคคล มี

แนวทางการพฒันาในลกัษณะกระบวนการทีส่่งเสริมให้ทุกคน ทุกภาคส่วนร่วมรับผดิชอบด้วยจิตสํานึกของความเป็นพี่น้องร่วมครอบครัวมนุษย์

4.1 ผู้มบีทบาทหน้าที/่ผู้เกีย่วข้องในการจดัการพฒันาและผู้ควรได้รับความเอาใจใส่ในการได้รับการพัฒนา (ใครทาํ/ ทาํกบัใคร/กลุ่มไหน) และทาํอยา่งไร

4.2 ประเด็นทีค่วรได้รับความเอาใจใส่เป็นพเิศษ ในการจดัการพฒันา/การให้

ความช่วยเหลือ ควรคาํนึงถึงอะไรเป็น

พิเศษ

4.3 แนวทางการจดักระบวนการพัฒนาท่ีเป็นระบบ และมีส่วนร่วมในทุก

ขั้นตอน มีความสําคญัและมีลกัษณะ

อยา่งไร

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

562

หัวข้อ

(กรุณาดู

แนวคดิ

และนิยาม)

แนวคาํถาม

ความ

คดิเห็น

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

4.4 วธิีการจดักระบวนการพฒันาท่ีเป็นระบบ และมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนมี

การดาํเนินการอยา่งไร

หัวข้อที ่ 5. ข้อเสนอแนะเพิม่เตมิอืน่ๆ ของผู้เช่ียวชาญเพือ่การจดัทํารูปแบ/คู่มือการพฒันา

มนุษย์ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที ่2

หัวข้อ

แนวคาํถาม

ความ

คดิเห็น ข้อเสนอแนะ

+1 0 -1

อืน่ๆ ขอ้เสนอแนะเพิ่มเติมอื่นๆ เพื่อการจดัทาํ

รูปแบบ/คู่มือการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ในเร่ืองหลกัการ เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย

คุณลกัษณะท่ีพึงประสงค ์ องคป์ระกอบ/

เง่ือนไข/ปัจจยัการพฒันา แนวทาง/

กระบวนการ/ขั้นตอน และการประเมินการ

พฒันา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

563

ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้เช่ียวชาญในการตรวจประเมนิค่าดัชนีความสอดคล้อง

…………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………

………….………………………………………………………………………………………

(ลงช่ือ).......................................................................

(…………………………………………)

ผูเ้ช่ียวชาญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

564

แบบวพิากษ์โดยผู้ เช่ียวชาญ

เพือ่การพจิารณากรอบแนวคิดร่าง

รูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที ่2

------------------------------------------------------

คาํช้ีแจง

1.ร่างกรอบแนวคิดรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 เป็นผลจากการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญ (ประธานกรรมการ/ผูอ้ํานวยการแผนกฯ

ในกรรมาธิการฝ่ายสังคม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย จากนั้น ผูวิ้จยัจดัทาํร่างกรอบ

แนวคิดรูปแบบฯ ประกอบด้วย หลักการ เป้าหมาย จุดหมาย กระบวนการ ปัจจัยและเง่ือนไขการใช้

รูปแบบ และการประเมินการพฒันา เสนอผูเ้ช่ียวชาญวิพากษ์ ซ่ึงประกอบดว้ยผูเ้ช่ียวชาญสองกลุ่ม ไดแ้ก่

1.1 ผูเ้ช่ียวชาญกลุ่มผูบ้ริหารงานพฒันา ได้แก่ ประธานคณะกรรมาธิการ/ประธานกรรมการ/

ผูอ้าํนวยการฝ่ายสังคม ประจาํสังฆมณฑล โดยกาํหนดครอบคลุมในส่ีภูมิภาค ไดแ้ก่ เชียงใหม่ ราชบุรี

นครราชสีมา และ สุราษฏร์ธานี

1.2 ผูเ้ช่ียวชาญกลุ่มนกัวิชาการ ไดแ้ก่ ผูท้รงคุณวุฒิในการศึกษา วิจยั หรือมีประสบการณ์การ

ศึกษาวิจยัดา้นปรัชญา ศาสนา การวดัประเมินผล

2. แบบประเมินน้ี เป็นแบบประเมินในขั้นตอนของการตรวจสอบความเหมะสมของกรอบ

แนวคิดรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เพ่ือพิจารณา

ความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้จริง จึงนับเป็นขั้นตอนท่ี

สําคญัยิง่ หลังจากท่ีท่านไดศึ้กษารายละเอียดประกอบการพิจารณาแลว้ (เอกสารชุดท่ี 1 และ ชุดท่ี 2)

ขอให้ท่านแสดงความคิดเห็นและขอ้เสนอแนะตามแบบท่ีแนบมาให้ เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนา

รูปแบบฯ และการจัดทาํคู่มอืประกอบการใช้รูปแบบ ในลาํดบัต่อไป

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

565

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

1. จากร่างกรอบแนวคิดรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 ท่านมีความคิดเห็นวา่มีความถูกต้องมากน้อยเพียงใด เพราะเหตุใด

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2. จากร่างกรอบแนวคิดรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 ท่านมีความคิดเห็นวา่มีความเหมาะสมมากนอ้ยเพียงใด เพราะเหตุใด

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

จากร่างกรอบแนวคิดรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 ท่านมีความคิดเห็นว่ามีความเป็นไปได้มากนอ้ยเพียงใด เพราะเหตุใด

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3. จากร่างกรอบแนวคิดรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ท่ี 2 ท่านมีความคิดเห็นวา่สามารถนําไปใช้ประโยชน์จริงไดม้ากนอ้ยเพียงใด เพราะเหตุใด

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------

4. ขอ้เสนอแนะเพิ่มเติมที่มีในร่างรูปแบบฯ ท่ีนาํเสนอ

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

5. ขอ้เสนอแนะเพิ่มเติมที่ยงัไม่มีในรูปแบบฯ ท่ีนาํเสนอ

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(ลงช่ือ).......................................................................

(........................................)

ผูเ้ช่ียวชาญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

566

แบบตรวจสอบประสิทธภิาพด้านความสอดคล้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้และเป็นประโยชน์

ร่างรูปแบบการพฒันามนุษย์ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

คาํช้ีแจง

1. เคร่ืองมือฉบบัน้ีสร้างข้ึนโดยมีวตัถุประสงคเ์พือ่สอบถามความคิดเห็นของท่านในฐานะ

ผูเ้ช่ียวชาญในการตรวจสอบประสิทธิภาพดา้นความสอดคลอ้งเชิงทฤษฏี ความเหมาะสม

ความเป็นไปไดแ้ละเป็นประโยชนใ์นการนาํไปปฏิบติัจริงของร่างรูปแบบการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศันข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2. รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 หมายถึง

โครงสร้างทางความคิดท่ีแสดงองคป์ระกอบและความสัมพนัธ์ขององคป์ระกอบต่างๆ ไดแ้ก่

หลกัการ เป้าหมาย จุดหมาย กระบวนการ/วธีิการ/ขั้นตอน/แผนการจดัอบรม เงื่อนไข/ปัจจยั

และการประเมิน

3. ขอ้มูลท่ีไดจ้ากการแสดงความคิดเห็นของท่านจะมีประโยชน์อยา่งยิง่ต่อการนําไปปรับปรุง

รูปแบบ จึงขอความกรุณาแสดงความคิดเห็นในแต่ละประเด็นให้ครบทุกขอ้ตามจริง

4. โปรดทาํเคร่ืองหมาย แสดงระดบัคะแนนท่ีมีต่อรูปแบบ...

5 หมายถึง รูปแบบมีความสอดคล้องกบัแนวคิด/ทฤษฎีท่ีนาํมาใชใ้นการสังเคราะห์รูปแบบ

มีความเหมาะสม เป็นไปได้ และเป็นประโยชน์ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัมากทีสุ่ด

4 หมายถึง รูปแบบมีความสอดคล้องกบัแนวคิด/ทฤษฎีท่ีนาํมาใชใ้นการสังเคราะห์รูปแบบ

มีความเหมาะสม เป็นไปได้ และเป็นประโยชน์ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัมากทีสุ่ด

3 หมายถึง รูปแบบมีความสอดคล้องกบัแนวคิด/ทฤษฎีท่ีนาํมาใชใ้นการสังเคราะห์รูปแบบ

มีความเหมาะสม เป็นไปได้ และเป็นประโยชน์ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัมากทีสุ่ด

2 หมายถึง รูปแบบมีความสอดคล้องกบัแนวคิด/ทฤษฎีท่ีนาํมาใชใ้นการสังเคราะห์รูปแบบ

มีความเหมาะสม เป็นไปได้ และเป็นประโยชน์ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัมากทีสุ่ด

1 หมายถึง รูปแบบมีความสอดคล้องกบัแนวคิด/ทฤษฎีท่ีนาํมาใชใ้นการสังเคราะหรู์ปแบบ

มีความเหมาะสม เป็นไปได้ และเป็นประโยชน์ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัมากทีสุ่ด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

567

แบบตรวจสอบประสิทธภิาพของ (ร่าง) รูปแบบฯ

ประเด็นการตรวจสอบ ระดบัคะแนน ข้อ

เสนอ

แนะ

สอดคล้อง เหมาะสม เป็นไปได้ เป็นประโยชน์

5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1

1. หลกัการ : การเสริมสร้าง

บุคคลใหสํ้านึกต่อเสรีภาพ/ใช้

เสรีภาพอย่างถูกตอ้งเตม็ท่ี ใน

การดําเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน

อย่างเหมาะสม ในบริบทอตั

ลกัษณ์/สมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม

เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลใชเ้สรีภาพ

ตอบรับแนวทางของพระเจา้

ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การ

เป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

2. เป้าหมาย :บุคคลที่สมบูรณ์

3. จุดหมาย : 1) เพือ่

เสริมสร้างความสาํนึกต่อ

เสรีภาพและการใช้เสรีภาพ

ของบุคคล ตาม เจตคติการ

เคารพคุณค่า ศกัดิ์ศรีความเป็น

มนุษย ์ 2) เพือ่พฒันาบุคคล

ให้เกิดการเปล่ียนแปลงเจตคติ

อย่างต่อเน่ืองในการดาํเนิน

ชีวิตที่เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษย ์

4. กระบวนการ : คน้พบ

รับรู้/ยอมรับ ตดัสินใจ

วธีิการ: อบรม ฝึกปฏิบติั

แบ่งปัน

ขั้นตอน : เขา้ใจปรากฏการณ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

568

ไตร่ตรอง ออกแบบ

ลาํดับแผนฯ : 1. การศึกษา

ปรากฏการณ์ 2. การไตร่ตรอง

ชีวิต 3. การออกแบบแนวปฏิบติั

5. เงือ่นไข : 1) วิทยากรมีจิต

ตารมย/์ เป็นแบบอย่าง 2) ผูเ้ขา้

รับการอบรม มีพื้นฐาน/มีวินยั

และความมุ่งมั ่น 3) ผูเ้ก่ียวขอ้ง

ส่งเสริม/ดาํเนินชีวิตร่วมกนั

ปัจจัย : บรรยากาศท่ีเคารพ

ยอมรับสิทธิเสรีภาพไวว้างใจ/

มีส่วนร่วม

6. การประเมนิ :

1) ความรู้ กระบวนทศัน์การ

พฒันามนุษยฯ์

2) เจตคติ การเคารพยอมรับ

สิทธิ เสรีภาพของบุคคล

3) พฤติกรรม การดาํเนินชีวติ

ที่เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์

ขอ้เสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

ลงช่ือ ...........................................

( )

ผูเ้ช่ียวชาญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

569

แบบตรวจสอบประสิทธภิาพด้านความสอดคล้องและความเป็นไปได้

คู่มอืการใชรู้ปแบบและเคร่ืองมือประเมินการพฒันามนุษย ์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

คาํช้ีแจง

1) เคร่ืองมือฉบบัน้ีสร้างข้ึนโดยมีวตัถุประสงคเ์พือ่สอบถามความคิดเห็นของท่านในฐานะ

ผูเ้ช่ียวชาญในการตรวจสอบประสิทธิภาพดา้นความสอดคลอ้งเชิงทฤษฏีและความเป็นไปได้

ในการนาํไปปฏิบติัจริงของร่างคู่มือการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2) คู่มอืการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

หมายถึง แนวทางและแนวปฏิบตัิในการนาํรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปาฯ ไปใชจ้ดัอบรม ซ่ึงประกอบดว้ยสามส่วน ไดแ้ก่ การจดัอบรมฯ แนวทาง/

แนวปฏิบติัฯ และคู่มือวิทยากร

3) ขอ้มูลท่ีไดจ้ากการแสดงความคิดเห็นของท่านจะมีประโยชน์อยา่งยิง่ต่อการนําไปปรับปรุง

คู่มือฯ จึงขอความกรุณาแสดงความคิดเห็นในแต่ละประเด็นใหค้รบทุกขอ้ตามความเป็นจริง

4) โปรดทาํเคร่ืองหมาย แสดงระดบัคะแนนท่ีมีต่อคู่มือ....

5 หมายถึง คู่มือฯ มคีวามสอดคล้องกบัรูปแบบ/กระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปาฯ และ มคีวามเป็นไปได้ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัมากท่ีสุด

4 หมายถึง คู่มือฯ มีความสอดคล้องกบัรูปแบบ/กระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปาฯ และ มคีวามเป็นไปได้ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัมาก

3 หมายถึง คู่มือฯ มคีวามสอดคล้องกบัรูปแบบ/กระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปาฯ และ มคีวามเป็นไปได้ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบัปานกลาง

2 หมายถึง คู่มือฯ มคีวามสอดคล้องกบัรูปแบบ/กระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปาฯ และ มคีวามเป็นไปได้ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบันอ้ย

1 หมายถึง คู่มือฯ มคีวามสอดคล้องกบัรูปแบบ/กระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสนัตะปาปาฯ และ มคีวามเป็นไปได้ในการนาํไปใชป้ฏิบติัจริงในระดบันอ้ยท่ีสุด

แบบตรวจสอบประสิทธภิาพด้านความสอดคล้องและความเป็นไปได้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

570

ประเด็นการตรวจสอบ ระดบัคะแนน ข้อเสนอแนะ

ส่วนประกอบต่างๆ ของคู่มอื ความ

สอดคล้อง

ความ

เป็นไปได้

5 4 3 2 1 5 4 3 2 1

ตอนที ่1 การจดัอบรมเพือ่การพฒันามนุษย์

หลกัการและเหตุผล

วตัถุประสงคแ์ละกลุ่มเป้าหมาย

การสรุปกระบวนทศัน์และรูปแบบการจดัอบรม

เพ่ือพฒันามนุษยฯ์

ตอนที ่2 แนวทางและแนวปฏบิตัิในการจัดอบรม

ลกัษณะและแนวปฏิบตัิในการจดั

สภาพแวดลอ้ม

การดาํเนินการจดัอบรม/วธีิการ/ขั้นตอน

แผนการจดัอบรม/หลกัสูตร/ตารางการจดัอบรม

คุณลกัษณะและบทบาทของวิทยากร ผูเ้ขา้

อบรมและผูเ้ก่ียวขอ้ง

ตอนที ่3 คู่มอืวทิยากร

ขอ้ควรปฏิบติัก่อนดาํเนินการอบรม

แนวทางในการดาํเนินการ

การจดับรรยากาศการอบรม

การจดัท่ีนัง่ การแบ่งกลุ่มและการดาํเนินการ

ประชุมกลุ่ม

การจดัตามแผนการอบรม

เคร่ืองมือ/ส่ือท่ีใชป้ระกอบการอบรม

เอกสาร/กรณีศึกษา/ใบงาน/แบบบนัทึกฯ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

571

สาํหรับการจดัอบรมในแต่ละวนั

เคร่ืองมือสาํหรับประเมินการพฒันาฯ

ขอ้เสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

ลงช่ือ ..................................................

( )

ผูเ้ช่ียวชาญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

572

แบบประเมินค่าดัชนีความสอดคล้อง

แบบวดัก่อน (Pre-test) และแบบวดัหลงั (Post-test) การทดลอง

แบบประเมินคุณภาพเครื่องมอืแบบวัดความรู้ฯ

ช่ือเคร่ืองมอื แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

คาํช้ีแจง

1. แบบตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาน้ี จดัทาํข้ึนเพ่ือให้ผูเ้ช่ียวชาญ ประเมินความสอดคล้อง

ระหว่างขอ้คาํถามแต่ละขอ้กับวตัถุประสงค์ของการวดั มีจุดประสงค์เพ่ือใชว้ดัความสามารถทาง

สติปัญญา/ความรู้ (ดา้นความจาํ ความเขา้ใจ การนาํไปใช ้การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และการประเมิน

ค่า) ของผูเ้ขา้รับการอบรมฯ ก่อน (Post-test) และหลัง (Pre-test) การจัดอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟู

จิตใจตามรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2. นิยาม คุณลกัษณะดา้นความรู้ หมายถึง ความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีใหค้วามสําคญัต่อการใช้เสรีภาพ ด้วยความสํานึกรับผิดชอบในการดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง คนอื่น/สังคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการตอบ

รับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

3. แบบวดัความรู้ฯ แบ่งออกเป็นสองตอน ดงัน้ี

ตอนที ่1 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะเป็นแบบเลือกตอบ (ปรนยั) 4 ตวัเลือก จาํนวน 50 ขอ้ กาํหนดเวลา

ในการทาํแบบวดัความรู้ฯ 30 นาที มีจุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นความจาํ ความเขา้ใจ การนําไปใช ้

การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2โดย

ครอบคลุมกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

พ้ืนฐาน/กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ 15 ขอ้ (ขอ้ 1 – 15)

ความหมาย/คุณลกัษณะการพฒันามนุษย ์ 15 ขอ้ (ขอ้ 16 – 30)

แนวทาง/กระบวน/ทิศทางการพฒันามนุษย ์ 20 ขอ้ (ขอ้ 31 – 50)

ตอนที ่2 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะการยกกรณีศกึษาและแสดงความเห็นถึงความเหมาะสมของการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิต ในแบบความเรียง (อตันยั) จาํนวน 2 กรณี กาํหนดเวลาในการทาํแบบวดั

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

573

ความรู้ฯ 10 นาที (กรณีละ 5 นาที) มีจุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นการประเมินคา่ โดยมีแนวการให้

คะแนน ดงัน้ี

1. ใชก้ารวิเคราะห์เน้ือหา เพ่ือพิจารณาความสอดคลอ้ง ในแตล่ะประเด็นที่นาํเสนอ โดย

เทียบเคียงกบัประเด็น/คาํสาํคญั/สาระสําคญัจากการพิจารณาของผูเ้ช่ียวชาญ

2. กาํหนดการใหค้ะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubrics) แบบแยกประเด็น โดยกาํหนดเกณฑ์

การใหค้ะแนน ดงัน้ี

ประเด็นการประเมิน ระดบัคุณภาพ

3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

1. ความถูกตอ้งในการ

ประเมินการกระทาํของ

บุคคลในกรณีศึกษา

ประเมินการกระทาํ

ของบุคคลใน

กรณีศึกษาอย่าง

ถูกตอ้ง บนพ้ืนฐาน

การเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษย ์

ประเมินการกระทาํ

ของบุคคลใน

กรณีศึกษาอย่าง

ถูกตอ้ง บนพ้ืนฐาน

การเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษย ์

ประเมินการกระทาํ

ของบคุคลใน

กรณีศึกษาอย่าง

ถูกตอ้ง บนพ้ืนฐาน

การเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษย ์

2. การเสนอเหตุผล

ประกอบการประเมินท่ี

แสดงถึงการใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิตบน

พ้ืนฐานของการเคารพ

คุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษย ์

แสดงเหตุผล

ประกอบการ

ประเมินการกระทาํ

ของบุคคลใน

กรณีศึกษาท่ีแสดงถึง

การเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษยอ์ย่างถูกตอ้ง

ครบถว้น และตรง

ประเด็น

แสดงเหตุผล

ประกอบการประเมิน

การกระทาํของบุคคล

ในกรณีศึกษาท่ีแสดง

ถึงการเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษยอ์ย่างถูกตอ้ง

อยา่งนอ้ยสองประเด็น

แสดงเหตุผล

ประกอบการประเมิน

การกระทาํของบุคคล

ในกรณีศึกษาท่ีแสดง

ถึงการเคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษยอ์ย่างถูกตอ้ง

อย่างนอ้ยหน่ึงประเด็น

และมีบางส่วน

ผดิพลาด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

574

4. โปรดใส่เคร่ืองหมาย ลงในช่อง

+1 เม่ือ เห็นดว้ย ว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

0 เม่ือ ไม่แน่ใจว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

-1 เม่ือ ไม่เห็นดว้ยว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

ทั้งน้ี ผูเ้ช่ียวชาญสามารถแนะนาํเพิ่มเติม/ปรับแกใ้นขอ้คาํถามได ้เพ่ือใหข้อ้คาํถามมีความ

เป็นปรนยั (เขา้ใจตรงกนั) และความชดัเจนมากข้ึน จะเป็นพระคุณยิ ่ง

แบบประเมินคุณภาพเครื่องมอื (แบบวดัความรู้ฯ)

ตอนที่ 1 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะเป็นแบบเลือกตอบ (ปรนัย) 4 ตวัเลือก จํานวน 50 ขอ้

กาํหนดเวลาในการทาํแบบวดัความรู้ฯ 30 นาที มีจุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นความจาํ ความเขา้ใจ

การนาํไปใช ้การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

1.

(วดัความจาํ)

การอธิบายมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยข์องพระ

สันตะปาปายอหน์ ปอล ท่ี 2 เป็นการอธิบายคาํสอน

คริสตศ์าสนา โดยใชแ้นวคิด/วิธีการใดในการวิเคราะห์

ก. แนวคิดท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคล/วิธีบูรณการ

มนุษย ์สังคมและสิ่งแวดลอ้มอยา่งย ัง่ยนื

ข. แนวคิดท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคล/วิธีการ

วิเคราะห์ปรากฏการณ์ชีวิตและสังคม

ค. แนวคิดท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคล/วิธีบูรณการ

วิทยาการ/ศาสตร์แขนงต่างๆ

ง. แนวคิดท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคล/วิธีการตคีวาม

ที่หลากหลาย

2. ขอ้ใดไม่ใช่แนวคิดของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

575

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

(วดัความจาํ) ที่อธิบายลกัษณะของมนุษย ์

ก. มนุษยม์ีธรรมชาติท่ีดี มีเสรีภาพท่ีจะบรรลุถึง

การเป็นบุคคลความสมบูรณ์ไดด้ว้ยตนเอง

ข. มนุษยม์ีพ้ืนฐานธรรมชาติชีวิตทีดี่ แต่ถูก

บิดเบือน คุกคามดว้ยกระแสการทาํลายชีวติ

ค. มนุษยม์ีพ้ืนฐานท่ีดีและศกัด์ิสิทธ์ิ เน่ืองจากพระ

เจา้ทรงสร้างให้เป็นภาพลกัษณ์ของพระองค ์

ง. มนุษยเ์ป็นส่ิงประเสริฐ มีศกัยภาพที่จะบรรลุถึง

ชีวิตท่ีสมบูรณ์ดว้ยการตอบรับแนวทางของพระ

เจา้

3.

(วดัการ

วิเคราะห์)

ขอ้ใดแสดงลกัษณะเด่นในการอธิบายมนุษย/์การพฒันา

มนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. นายแดงปลูกฝังลูกๆ ใหข้ยนัทาํงาน เพื่อใหมี้

ฐานะการงานท่ีดี มีการกินดีอยู่ดีในชีวิต

ข. นางเขียวพาลูกๆ ไปร่วมงานสืบสานประเพณี

ไทย เพ่ือใหลู้กๆ ไดภ้าคภูมิใจในความเป็นคน

ไทย

ค. นายดาํใหค้วามเอาใจใส่ตอ่การจดัสวสัดิการแก่

พนกังาน เพ่ือใหมี้คุณภาพชีวิตท่ีเหมาะสมใน

การดาํเนินชีวิต

ง. ครูม่วง หมัน่ติดตาม/เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ

เสมอ เพือ่นาํใชใ้นการสอนคุณธรรมและความรู้

แก่นกัเรียน

4.

(นาํไปใช)้

ขอ้ใดแสดงความหมายของการทาํงาน ตามแนวคิดการ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

576

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

ก. ขยนัทาํมาหากินเพื่อเล้ียงดูครอบครัว

ข. หมัน่ประกอบอาชีพ เพื่อความอยูร่อดในสังคม

ค. ใส่ใจทาํกิจกรรมทุกอยา่งเพื่อการพฒันาคุณภาพ

ชีวิต

ง. อุทิศตนทาํหนา้ท่ีในสังคมเพ่ือพฒันาสังคมให้

เจริญกา้วหนา้

5.

(วดัความ

เขา้ใจ)

ขอ้ใดไม่ใช่คุณลกัษณะสําคญัของการเป็นบุคคลตาม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ก. มนุษย์มีส ติปัญญาในการแสวงหาและเข ้า

ใจความจริง

ข. มนุษยต์อ้งมีความสัมพนัธ์กบัคนอื่นในแบบสาน

เสวนา

ค. มนุษยส์ามารถปรับตวัเขา้กบัสังคม

ง. มนุษยมี์เสรีภาพในการเลือกวิถีชีวิต

6.

(วดัการ

วิเคราะห์)

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ยนืยนัคาํสอนคริสต์

ศาสนาว่ามนุษยเ์ป็นภาพลกัษณข์องพระเจา้ เป็นการย ํ้ า

เตือนปรากฏการณ์ในการพฒันามนุษยใ์นเร่ืองใดเป็น

พิเศษ

ก. ขา้พเจา้มุ่งมัน่อุทิศตนบาํเพญ็ประโยชน์ต่อ

สังคม

ข. ขา้พเจา้จะใชเ้วลาพิจารณาพฤติกรรมการดาํเนิน

ชีวิตในแต่ละวนั

ค. ขา้พเจา้จะไตร่ตรองพระคมัภีร์ เพ่ือจะไดด้าํเนิน

ชีวิตตามแนวทางของพระ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

577

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

ง. ขา้พเจา้หมัน่ศกึษาและดาํเนินชีวิตตาม

แบบอยา่งพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

7.

(วดัความ

เขา้ใจ)

กระบวนทศัน์มนุษย/์การพฒันามนุษยข์องพระ

สันตะปาปายอหน์ ปอล ท่ี 2 มีลกัษณะ “ตรงกนัข้าม”

กบัขอ้ใด

ก. การใหค้วามสาํคญัต่อการอนุรักษส่ิ์งแวดลอ้ม

ข. การดาํเนินชีวิตตามหลกัเศรษฐกิจพอเพียง

ค. การพฒันามนุษย ์ไปสู่การเป็นคนทนัสมยั

ง. การส่งเสริมการสานเสวนาของชาตต่ิางๆ

8.

(วดัการ

นาํไปใช)้

กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 ให้ขอ้คิดใดในการดาํเนินชีวิต

ก. ตอ้งไม่แทรกแซงเสรีภาพของแต่ละบุคคล

ข. แต่ละคนตอ้งรับผิดชอบต่อการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิต

ค. ตอ้งส่งเสริมเสรีภาพเป็นเป้าหมายสูงสุดของการ

พฒันามนุษย ์

ง. ตอ้งส่งเสริมจิตสํานึกตอ่เสรีภาพ ควบคู่กบัสิทธิ

และหนา้ท่ีของความเป็นบุคคล

9.

(วดัความจาํ)

ขอ้ใดไม่มอิีทธิพลต่อแนวคิดการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ก. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

ข. คาํสอนคริสตศ์าสนา

ค. ปรัชญาบุคคลนิยม

ง. ทฤษฏีภาวะทนัสมยั

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

578

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

10.

(เขา้ใจ)

สถานการณใ์ดแสดงถึงเป้าหมายการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ก. ชาวบา้นมัง่ค ัง่ รํ่ารวย

ข. คนในหมู่บา้นมีชีวติท่ีปลอดภยั

ค. นายดาํ รักษาความสมดุลของส่ิงแวดลอ้ม

ง. เขามีจิตสํานึกและรับผดิชอบต่อการใชเ้สรีภาพ

ในส่ิงท่ีเขาทาํ

11.

(วดัการ

สังเคราะห์)

ขอ้ใดแสดงความสําคญัของเสรีภาพตามกระบวนทศัน์

ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. เสรีภาพเป็น “ปัจจยั” ทาํใหม้นุษยก์า้วไปสู่การ

เป็นบุคคลที่สมบูรณ ์

ข. เสรีภาพเป็น “ศกัยภาพ” ท่ีทาํใหม้นุษยต์อ้ง

พฒันาตนเองอยูเ่สมอ

ค. เสรีภาพเป็น “แรงจูงใจ” ท่ีทาํใหม้นุษยต์่างจาก

สัตวท์ัว่ไป

ง. เสรีภาพเป็น “เง่ือนไข” ท่ีทาํใหม้นุษยส์ามารถ

ดาํเนินชีวติได ้

12.

(วดัความ

เขา้ใจ)

พระสันตะปาปายอห์นปอล ท่ี 2 วิจารณ์ระบบเศรษฐกิจ

ทุนนิยมและสังคมนิยมแบบมาร์กซ์ วา่มีขอ้บกพร่อง

อย่างไร

ก. เป็นการพฒันาท่ีมุ่งไปสู่ความมัง่ค ัง่ แต่ละเลย

คุณค่าดา้นจิตใจ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

579

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

ข. เป็นการพฒันาท่ีมุ่งไปสู่ความเจริญของสังคม

แต่ละเลยส่ิงแวดลอ้ม

ค. เป็นการพฒันาท่ีมุ่งไปสู่คุณภาพชีวิตทีดี่ของ

มนุษย ์แตล่ะเลยคุณธรรม

ง. เป็นการพฒันาท่ีมุ่งไปสู่ความเจริญทาง

เศรษฐกิจ แต่ละเลยความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคล

13.

(วดัการ

สังเคราะห์)

ขอ้ใดไม่ใช่ขอ้สรุปพ้ืนฐานกระบวนทศัน์การพฒันา

มนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การนาํคาํสอนคริสตศ์าสนามาอธิบายโดยใชก้าร

วิเคราะห์ปรากฏการณ ์

ข. การนาํปรัชญาบุคคลนิยมมาเป็นคาํสอนเร่ือง

มนุษยข์องคริสตศ์าสนา

ค. การอธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนา ดว้ยปรัชญา

ร่วมสมยั

ง. การใชรู้ปแบบใหม่ๆ ในการอธิบายคาํสอน

คริสตศ์าสนา

14.

(วดัการ

สังเคราะห์)

ขอ้ใดเป็นการวิจารณแ์นวคิดลทัธิเหตุผลนิยมของพระ

สันตะปาปายอหน์ ปอล ท่ี 2 ในการอธิบายคุณค่า

ความหมายของชีวิตมนุษย ์

ก. การใหค้วามสาํคญัต่อจิตมนุษย ์จนละเลย

ความสําคญัของร่างกาย

ข. การยกยอ่งความสูงส่งของจิตมนุษย ์จนปฏิเสธ

การมีอยูข่องส่ิงแวดลอ้ม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

580

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

ค. การเนน้ความเป็นอมตะของจิตของปัจเจก จน

ปฏิเสธการดาํเนินชีวิตในสังคม

ง. การเนน้อธิบายความแตกต่างระหว่างมนุษยแ์ละ

สัตว ์ จนทาํใหเ้ขา้ใจว่ามนุษยส์ามารถทาํอะไรก็

ไดก้บัส่ิงมีชีวิตอื่น ๆ

15.

(วดัความ

เขา้ใจ)

ขอ้ใดแสดงการอธิบายความหมายมนุษยใ์นฐานะเป็น

“ภาพลกัษณข์องพระเจา้” ได้ชัดเจนท่ีสุดตามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. จงมุ่งมัน่ท่ีจะบาํรุงรักษาส่ิงแวดลอ้ม

ข. จงหมัน่ติดตามขอ้มูลขา่วสารอยู่เสมอ

ค. จงมุ่งมัน่ปรับปรุงพฤติกรรมการดาํเนินชีวติของ

ตนอยูเ่สมอ

ง. จงมุ่งมัน่ท่ีจะดาํเนินชีวติดว้ยความเช่ือศรัทธาตอ่

พระเจา้โดยไม่ตอ้งสงสัย

16.

(วดัการ

วิเคราะห์)

ขอ้ใดแสดงถึงความหมายการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ด.ญ. นิด อ่านพระคมัภีร์ใหเ้พื่อนๆ ฟัง

ข. ด.ช. นอ้ย ทาํการบา้นดว้ยตนเองทุกคร้ัง

ค. นางนากไปเย่ียมเพือ่นบา้นท่ีป่วยเสมอ

ง. นายมาก ร่วมรณรงคเ์พือ่สิทธิผูอ้พยพ

17.

(วดัการ

วิเคราะห์)

ขอ้ใดเป็น “การพฒันามนุษยแ์บบบูรณาการ” ตาม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ก. ผูใ้หญ่เหลือง หมัน่ติดตามขอ้มูลขา่วสาร เพ่ือ

พฒันาหมูบ่า้น

ข. ด.ช. แดง หมัน่เรียนรู้และปฏิบติัคุณธรรมตาม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

581

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

หลกัศาสนา

ค. นายดาํ พาบิดาไปตรวจสุขภาพ และพาไปร่วม

กิจกรรมผูสู้งอาย ุ

ง. นายเขียว ร่วมกิจกรรมพบปะสังสรรคใ์นโอกาส

ต่างๆ

18.

(วดัความ

เขา้ใจ)

ขอ้ใดแสดงท่ีมาของกระแสการทาํลายชีวิต ตามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ทาํตามเขาไป...เด๋ียวก็ “เป็น” ไปเอง

ข. ถา้ไม่มีใครรู้... แสดงว่าไม่ผดิ

ค. ไม่เป็นไร...พรุ่งน้ีค่อยทาํ

ง. ชีวิตของเรา... ใชซ้ะ

19.

(วดัการ

วิเคราะห์)

ขอ้ใดแสดงถึงลกัษณะสําคญัของการดาํเนินชีวิตตาม

วฒันธรรมส่งเสริมชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระ

สันตะปาปายอหน์ ปอล ท่ี 2

ก. ให้เงินแก่ขอทาน

ข. ร่วมพิธีกรรมทางศาสนา

ค. ร่วมกิจกรรมบาํเพ็ญประโยชน ์

ง. ติวขอ้สอบให้เพ่ือน เพราะถา้สอบผา่นจะได้

ฉลองกนั

20.

(วดัความจาํ)

จุดหมายการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สันตะปาปายอหน์ ปอล ท่ี 2 คือการเปล่ียนแปลง

ประเภทใด

ก. การเปลี่ยนแปลงเจตคติดว้ยการเปล่ียนแปลง

ความประพฤติ

ข. การเปลี่ยนแปลงเจตคติดว้ยการเปล่ียนแปลง

ความรู้สึกนึกคิด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

582

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

ค. การเปลี่ยนแปลงเจตคติดว้ยการเปล่ียนแปลง

สามญัสาํนึก

ง. การเปลี่ยนแปลงเจตคติดว้ยการเปล่ียนแปลง

จิตใจ

21.

(วดัความ

เขา้ใจ)

ขอ้ใดแสดงถึงลกัษณะสําคญัของเสรีภาพ ตามกระบวน

ทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี

2

ก. การติดสินใจท่ีจะละทิ้งความสุขส่วนตวั และ

อุทิศตนเพ่ือประโยชน์สุขของสังคม

ข. การตดัสินใจละทิ้งชีวิตในรูปแบบเดิมๆ และหนั

กลบัไปสู่การมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้

ค. การติดสินใจดว้ยความรับผดิชอบ ทีจ่ะมุง่มัน่ใน

ความเพียรพยายามไปสู่ชีวิตทีส่มบูรณ์ในพระ

เจา้ ดว้ยศกัยภาพทั้งหมดของตนเอง

ง. การตดัสินใจดว้ยใจอิสระและรับผิดชอบ ท่ีจะ

ตอบรับแนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนินชีวิต

ดว้ยความเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเอง

และคนอ่ืน

22.

(วดัความ

เขา้ใจ)

ขอ้ใดไม่ตรงกบัการอธิบายคุณค่าและความหมายของ

การทาํงานตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

ก. พฒันาคน ดว้ยการทาํงาน

ข. ค่าของคน อยู่ท่ีผลของงาน

ค. การทาํงาน คือ ทกุกิจกรรมท่ีแสดงถึงการอุทิศ

ตนเพื่อคนอื่นและสังคม

ง. การทาํงาน คือ การพฒันาชีวิตในมิติของ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

583

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

ความสัมพนัธ์ในสังคม

23.

(วดัความ

เขา้ใจ)

อัตลักษณ์บุคคลมีความสําคัญอย่างไรต่อการพฒันา

มนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

ก. ช่วยพฒันาบุคลิกภาพของบุคคล

ข. ช่วยให้มีภูมคุิม้กนัในการดาํเนินชีวิต

ค. ช่วยให้มีความมัน่ใจในการดาํเนินชีวิต

ง. ช่วยเสริมสรา้งความเป็นตวัของตวัเอง

24.

(นาํไปใช)้

ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตตามกระแสทาํลายชีวติตาม

กระบวนทศัน์พระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ก. ขา้พเจา้ร่วมเชียร์นกักีฬาทีมชาติ เพ่ือให้ได้

เหรียญทอง

ข. ขา้พเจา้จะไม่ใชสิ้นคา้ของบริษทัท่ีหลีกเล่ียงการ

ชาํระภาษี

ค. ขา้พเจา้ไปเยีย่มญาติท่ีประสบอุบติัเหต ุแมไ้ม่

สนิทกนั

ง. ขา้พเจา้ใหเ้พ่ือนท่ีขดัสนยมืเงิน โดยไม่คดิ

ดอกเบ้ีย

25.

(นาํไปใช)้

ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตตามวฒันธรรมส่งเสริมชีวิต

ตามกระบวนทศัน์พระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ก. ร่วมชุมนุมประทว้งรฐับาลท่ีสั ่งระงบัละครทีวีท่ี

ชอบดู

ข. สบทบเงินรางวลัแก่นกักีฬาทีมชาติท่ีไดเ้หรียญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

584

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

รางวลั

ค. รับฟังขอ้เสนอแนะจากบุคคลท่ีมีอายุและ

ประสบการณ์นอ้ยกว่า

ง. ปฏิบติัตามกฎเกณฑ์ทางศาสนาอยา่งเคร่งครัด

แมจ้ะไม่คอ่ยเขา้ใจในบางขอ้

26.

(วดัการ

วิเคราะห์)

ขอ้ใดเป็นลกัษณะเฉพาะของการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ก. ขา้พเจา้เขา้ร่วมกิจกรรม/ร่วมรณรงคเ์ร่ืองสิทธิ

มนุษยชนอยู่เสมอ

ข. ขา้พเจา้หมัน่ดูแลสุขภาพตนเอง และหมัน่

บาํเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมอยูเ่สมอ

ค. ขา้พเจา้หมัน่ไตร่ตรองเสรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิต ในการมีความสัมพนัธก์บัพระเจา้ ตนเอง

คนอ่ืนและสิ่งแวดลอ้มอยูเ่สมอ

ง. ขา้พเจา้แบ่งปัน/ รับฟังขอ้เสนอแนะจาก

ครอบครัว เพ่ือนๆ และคณาจารย ์เพือ่ปรับปรุง

ตนเองในการดาํเนินชีวิต

27.

(วดัความ

เขา้ใจ)

ขอ้ใดแสดงลกัษณะของการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ก. อย่าอยู่ อยา่งอยาก

ข. เขา้เมืองตาหลิ ่ว ตอ้งหลิ่วตาตาม

ค. ทาํตามเขาไป เด๋ียวก็เป็นไปเอง

ง. ถา้อยูก่นัไม่ได ้กจ็งแยกกนัอยู ่

28.

(วดัการ

ขอ้ใดเป็นการสรุปความหมายการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

585

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

สังเคราะห์) ก. การเสริมสรา้งการกินดีอยู่ดีของบุคคล

ข. การเสริมสรา้งบุคลิกภาพของบุคคล

ค. การเสริมสรา้งวุฒิภาวะของบุคคล

ง. การเสริมสรา้งคุณธรรมของบุคคล

29.

(วดัการ

สังเคราะห์)

ขอ้ใดเป็นหลกัการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การพฒันาที่เน้นคุณธรรมบนพ้ืนฐานของคาํสอนของศาสนา

ข. การพฒันาที่เหมาะสม สอดคลอ้ง สมดุลกบัอตั

ลกัษณ์บุคคล

ค. การพฒันาที่เปิดโอกาสให้ทุกคน ไดแ้สดงความ

คิดเห็นและทาํตามเสียงเสียงใหญ ่

ง. การพฒันาที่ส่งเสริมใหทุ้กคนประพฤติ ปฏิบติั

ตนตามกฎหมายและหลกัศาสนา

30.

(วดัการ

สังเคราะห์)

ขอ้ใดแสดงถึงความหมายการทาํงานตามกระบวนทศัน์

ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การจ่ายเงินเดือนและโบนสัตามขอ้ตกลง

ข. การจดัสวสัดิการแก่ลูกจา้งตามกฎหมาย

ค. การไปเย่ียมลูกจา้งท่ีเจ็บป่วย

ง. การจดังานพบปะประจาํปี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

586

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

31.

(นาํไปใช)้

ขอ้ใดเป็นการพฒันามนุษยแ์บบบูรณการตามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ร่วมงานลอยกระทงทุกๆ ปี เพ่ือสืบสาน

ประเพณีไทย

ข. จดังานร่ืนเริง หลงัเหน็ดเหน่ือยจากการสอบ

ปลายภาค

ค. เท่ียวต่างประเทศ เพื่อเรียนรู้วฒันธรรมตา่งชาติ

ง. พาคุณยา่ไปวดัและไปร่วมกิจกรรมผูสู้งอายุ

32.

(วิเคราะห์)

ขอ้ใดเป็นการใชเ้สรีภาพอยา่งเหมาะสมในการเคารพ

คุณค่า ศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ของตนเอง ตามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ถา้มีคนวิจารณง์านท่ีทาํ ขา้พเจา้จะนาํไป

พิจารณาตามความเหมาะสม

ข. ถา้คนอ่ืนบอกว่าขา้พเจา้ไม่สามารถทาํงานนั้น

ได ้ขา้พเจา้จะไม่ทาํ

ค. ถา้มีคนชมเชยผลงาน ขา้พเจา้จะยิง่ขยนัทาํงาน

ยิง่ข้ึน

ง. ถา้ไม่มีใครเห็นดว้ย ขา้พเจา้จะไม่ทาํส่ิงนั้น

33.

(นาํไปใช)้

ขอ้ใดแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอยา่ง

เหมาะสมในการเคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

ของคนอื่น/สังคม ตามกระบวนทศัน์ของพระ

สันตะปาปายอหน์ ปอล ท่ี 2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

587

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

ก. ถา้เพ่ือนทาํผดิ จะเตือนเพื่อนทุกคร้ัง

ข. ถา้เพ่ือนมาขอโทษ จะใหอ้ภยัเพื่อน

ค. ถา้เพ่ือนไม่มีเงิน จะใหเ้งินเพ่ือนใช ้

ง. ถา้เพ่ือนขอใหช่้วยทาํงาน จะช่วยเพ่ือนเสมอ

34.

(นาํไปใช)้

ขอ้ใดแสดงถึงการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตอย่าง

เหมาะสมในบริบทส่ิงแวดล้อมตามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. เม่ือพบงูที่บา้น จะตีใหต้าย

ข. เม่ือจาํเป็นตอ้งตดัตน้ไม ้จะปลูกทดแทน

ค. เม่ือพบชา้งเร่ร่อน จะบริจาคเงินช่วยเหลือ

ง. เม่ือพบกลว้ยไมป่้า จะนาํกลบัมาท่ีบา้น เพ่ือ

ขยายพนัธุ ์

35.

(นาํไปใช)้

ขอ้ใดแสดงถึงการใช้เสรีภาพทีต่อบรับแนวทางของพระ

เจ้าตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี

2

ก. นายดาํสวดขอพระมากเป็นพิเศษ เม่ือธุรกิจ

ประสบภาวะขาดทุน

ข. นายเขียว ไม่กล่าวโทษพระ แมธุ้รกิจจะประสบ

ภาวะลม้ละลาย

ค. นายขาวไปแกบ้นตามวดัต่างๆ เม่ือรอดชีวิตจาก

อุบติัเหตุคร้ังสาํคญัในชีวติ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

588

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

ง. นายแดงมกัไปขอพรพระตามท่ีต่างๆ เม่ือตอ้ง

ออกเดินทางไปทาํธุรกิจต่างประเทศ

36.

(วดัการ

วิเคราะห์)

ขอ้ใดเป็นท่าทกีารมีความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืน ตาม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ก. ขา้พเจา้หมัน่ทาํบุญแก่คนยากจน

ข. ขา้พเจา้ร่วมรณรงคช่์วยผูป้ระสบภยั

ค. ขา้พเจา้บริจาคโลหิตทุกคร้ังที่มีโอกาส

ง. ขา้พเจา้รู้สึกดีใจท่ีเพ่ือนๆ ประสบความสาํเร็จ

37.

(วดัความ

เขา้ใจ)

การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ี

ให้ความสาํคญักบัการมีส่วนร่วมของทุกคน ทุกภาคส่วน

มีความหมายเก่ียวขอ้งกบัเร่ืองใด

ก. การพฒันาตามอตัลกัษณ์บุคคล

ข. การพฒันาแบบประชาธิปไตย

ค. การพฒันาแบบพ่ึงพาอาศยักนั

ง. การพฒันาตามความตอ้งการของบุคคล

38.

(วดัการ

วิเคราะห์)

ขอ้ใดมีผลตอ่การส่งเสริมการพฒันามนุษยต์ามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มากทีสุ่ด

ก. ผูบ้ริหารโรงเรียน พาคณะครู นกัเรียนไปบาํเพญ็

ประโยชน์ต่อส่วนรวมเสมอ

ข. เจา้อาวาสวดั ก. ออกมาตอ้นรับชาวบา้นท่ี

มาร่วมพิธีกรรมดว้ยตนเอง

ค. นายกรัฐมนตรี สั ่งปลดขา้ราชการท่ีไม่

ตอบสนองนโยบาย

ง. พ่อแม่พาลูกๆ ไปเย่ียมญาติท่ีเจ็บป่วย

39. กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

589

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

(วดัการ

วิเคราะห์)

ยอห์น ปอล ท่ี 2 มีท่าทีอย่างไรในเร่ืองวฒันธรรม

ก. ขา้พเจา้พยายามชกันาํเพ่ือนต่างชาติ ให้ดาํเนิน

ชีวิตตามวฒันธรรมไทย

ข. ขา้พเจา้พยายามทาํความเขา้ใจ เรียนรู้วฒันธรรม

ของเพ่ือนต่างชาติ

ค. ขา้พเจา้ใหค้วามร่วมมือในการจดักิจกรรมสืบ

สานประเพณี วฒันธรรมไทย

ง. ขา้พเจา้พยายามชกันาํเพ่ือนต่างศาสนาให้ดาํเนิน

ชีวิตตามวฒันธรรมคริสต ์

40.

(วดัความจาํ)

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ให้ความสาํคญัต่อการ

ไตร่ตรอง ทบทวน “เสรีภาพ” ในเร่ืองใด

ก. เสรีภาพเป็นเป้าหมายของการพฒันา

ข. การส่งเสริมใหบุ้คคลมีเสรีภาพยิง่ๆ ขึ้น

ค. เสรีภาพเป็นบ่อเกิด/เป้าหมายของการพฒันา

ง. ความสํานึก/การใชเ้สรีภาพอย่างถูกตอ้ง เตม็ท่ี

41.

(วดัการ

วิเคราะห์)

ขอ้ใดเป็นจุดเน้นของกระบวนการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ก. นายแดง ร่วมประทว้งรฐับาลท่ีสั ่งคุมขงั

นักศึกษาท่ีมคีวามคิดเห็นต่างจากรัฐ

ข. ทุกๆ วนั นายเขียว จะวิเคราะห์ ไตร่ตรอง

สถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตและสังคมอยู่เสมอ

ค. กระทรวงศึกษาธิการเอาจริงเอาจงัในการปฏิรูป

การจดัการศึกษา เพ่ือส่งเสริมบุคคลใหเ้ป็นคนดี

คนเก่งและมีความสุขในการดาํเนินชีวิต บน

พื้นฐานของหลกัธรรมคาํสอนของศาสนา

ง. รัฐบาลมุ่งมัน่ท่ีจะเปล่ียนแปลงโครงสร้างและ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

590

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

กลไกของสังคม เพ่ือมุ่งไปสู่สังคมที่เตม็ดว้ย

บรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของ

บุคคล

42.

(วดัการ

สังเคราะห์)

ขอ้ใดเป็นแนวทางการพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การปลูกฝังเด็กๆ ช่วยงานสังคมสงเคราะห์

ข. การปลูกฝังเดก็ๆ ใหบ้ริจาคทานแก่คนจน

ค. การปลูกฝังเด็กๆ ใหรู้้จกัใหอ้ภยัคนอ่ืน

ง. การปลูกฝังเด็กๆ ใหเ้ขา้วดั ปฏิบตัธิรรม

43.

(วดัการ

สังเคราะห์)

“สังคมแห่งความยติุธรรมและสันติ” มีความเก่ียวขอ้งต่อ

เสรีภาพของบุคคลอย่างไร

ก. ช่วยให้แตล่ะคนดาํเนินชีวิตในบรรยากาศของ

การเคารพสิทธิ เสรีภาพของคนอ่ืน

ข. ช่วยให้แตล่ะคนไดม้ีโอกาสเรียกรอ้งสิทธิ

เสรีภาพอย่างเต็มที ่

ค. ช่วยให้แตล่ะคนไดพ้ฒันาคุณภาพชีวิตทดัเทียม

กบัคนอื่น

ง. ช่วยให้แตล่ะคนดาํเนินชีวิตท่ีไม่เอาเปรียบคน

อื่น

44.

(วดัการ

สังเคราะห์)

ขอ้ใดเป็นแนวทางการพฒันามนุษยบ์นหลกัของความ

เป็นปึกแผน่นํ้ าหน่ึงใจเดียวกนั

ก. จิตสาํนึกถึงความเป็นพี่นอ้งร่วมครอบครัว

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

591

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

มนุษยชาติ

ข. จิตอาสาในการสงเคราะห์เพ่ือนมนุษยโ์ดยไม่

หวงัผลตอบแทน

ค. จิตตารมยส์งเคราะห์คนยากจนใหมี้คุณภาพชีวิต

เท่าเทียมกบัคนรํ่ารวย

ง. อุดมการณ์ทีก่ระตุน้ประเทศรํ่ารวยใหค้วาม

ช่วยเหลือประเทศท่ียากจน

45.

(วดัการ

สังเคราะห์)

ขอ้ใดแสดงถึง “เจตคตกิารเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษย”์ ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

ก. แมมี้เงินมาก แต่ไม่ดูถูกคนท่ีมีฐานะท่ีดอ้ยกวา่

ข. แมเ้ป็นเด็ก แต่ทุกคนกส็นใจฟังความตอ้งการ

ของเขา

ค. แมเ้ป็นคนพกิาร แต่ไดรั้บการยอมรับใหเ้ป็น

ผูน้าํหมู่บา้น

ง. แมมี้บุคลิกภาพท่ีตา่งกนั แต่เท่าเทียมกนัใน

ความเป็นมนุษย ์

46.

(วดัการ

นาํไปใช)้

ขอ้ใดเป็นการดําเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศักด์ิศรีความ

เป็นมนุษยข์องตนเอง ตามกระบวนบวนทศัน์การพฒันา

มนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. แมป่้วยเพียงเลก็นอ้ย แต่ขา้พเจา้กจ็ะไปให้

แพทยต์รวจ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

592

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

ข. แมค้นอื่นทว้งติงส่ิงท่ีขา้พเจา้ทาํ แตข่า้พเจา้ก็ไม่

สนใจ

ค. แมพ้บวา่ทาํผิด แต่ขา้พเจา้จะไม่ซํ้ าเติมตนเอง

ง. แมมี้อาการไข ้แต่ขา้พเจา้ยงัคงออกกาํลงักาย

47.

(วดัการ

นาํไปใช)้

ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตท่ีมีความสัมพนัธก์บัคนอ่ืน

ตามกระบวนบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระ

สันตะปาปายอหน์ ปอล ท่ี 2

ก. ต่อไปน้ี...ขา้พเจา้จะหาเพือ่นใหม่ๆ ให้มากข้ึน

ข. ต่อไปน้ี... ขา้พเจา้จะฟังเพ่ือนๆ ให้มากขึ้น

ค. ต่อไปน้ี.. ขา้พเจา้จะแบ่งของกินใหเ้พ่ือน

ง. ต่อไปน้ี... ขา้พเจา้จะไม่ตาํหนิเพ่ือน

48.

(วดัการ

นาํไปใช)้

ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตท่ีมีความสัมพนัธก์บั

ส่ิงแวดลอ้ม ตามกระบวนบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์อง

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. เม่ือพบขยะท่ีสนาม จะเดินไปเก็บใส่ถงัขยะ

ข. เม่ือพบชาวบา้นนาํสตัวป่์ามาขาย จะซ้ือมาเล้ียง

ค. เม่ือพบตน้ไมแ้ปลกๆ ในป่า จะนาํมาปลูกท่ีบา้น

ง. เม่ือพบชา้งเร่ร่อน จะซ้ืออาหารเล้ียงชา้งเหล่านั้น

49.

(วดัการ

นาํไปใช)้

ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตท่ีมีความสัมพนัธก์บัพระเจา้

ตามกระบวนบวนทศันก์ารพฒันามนุษยข์องพระ

สันตะปาปายอหน์ ปอล ท่ี 2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

593

ข้อที ่ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

ก. สวดภาวนามากขึ้นเป็นพิเศษ เมื่อตอ้งตดัสินใจ

ในเร่ืองสําคญัๆ ของชีวิต

ข. อ่านพระคมัภีร์ทุกวนั

ค. ไม่หลบัในขณะร่วมพิธีกรรม

ง. ปฏิบติัตามกฎเกณฑ์ของศาสนาอย่างเคร่งครัด

50.

(วดัการ

นาํไปใช)้

ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตตามรูปแบบการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอลท่ี 2

ก. ช่วยทาํความสะอาดวดั

ข. ไปเย่ียมคนไขท่ี้โรงพยาบาล

ค. ไปรดนํ้ าตน้ไมใ้นบริเวณท่ีพกั

ง. ไตร่ตรองพฤติกรรมการดาํเนินชีวิตประจาํวนั

ตอนที ่2 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะการยกกรณีศกึษาและแสดงความเห็นถึงความเหมาะสมของ

การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต ในแบบความเรียง (อตันยั) จาํนวน 2 กรณี กาํหนดเวลาในการทาํแบบวดั

ความรู้ฯ 10 นาที (กรณีละ 5 นาที) มีจุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นการประเมินคา่

กรณศึีกษาที ่1

สามหีย่าภรรยา หลงัพบว่าทาํศัลยกรรมใบหน้า

นาย ก. สามีไดห้นีออกจากบา้น และดาํเนินเร่ืองฟ้องหยา่ภรรยา หลงัพบว่า ตนเองถูกภรรยา

หลอกมาตลอดว่ามีใบหนา้ท่ีสวยงาม แต่ความมาแตกเม่ือพบว่าลูกสาวท่ีเกิดมาหน้าตาอปัลกัษณ์มาก ไม่

เหมือนตนเองหรือภรรยาเลย เขาถึงไดรู้้ความจริงวา่ ท่ีแทภ้รรยาไปศลัยกรรมทั้งหนา้ เปล่ียนไปเป็นคนละ

คนและมาแต่งงานกบัเขา จึงไดป้ฏิเสธความรับผดิชอบตอ่ลูกที่เกิดมา และฟ้องหย่าโดยไม่เคยสอบถาม

หรือรับฟังการช้ีแจงจากภรรยาเลย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

594

ข้อคาํถาม

“นาย ก.” (สามี) ท่ีปฏิเสธความรับผดิชอบต่อลูกและดาํเนินการฟ้องหย่าจากภรรยา เน่ืองจาก

พบว่าภรรยาไปทาํศลัยกรรมก่อนท่ีจะพบและแต่งงานกบัตน เป็นการกระทาํที่เหมาะสมในการดําเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเองและคนอ่ืน ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 หรือไม่ อย่างไร?

แนวคาํตอบ

การกระทาํของ นาย ก. (สามี) เป็นการกระทาํท่ีไม่เหมาะสมต่อการใชเ้สรีภาพในการดําเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์เน่ืองจาก

1. การเคารพ ไม่ยอมรับสภาพชีวิตท่ีเกิดข้ึนกบัตนเอง ไม่กล้าเผชิญหน้าปัญหาท่ีเกิดข้ึนกบั

ตนเองและครอบครัว โดยแสดงออกดว้ยการหนีจากบา้น หนีจากปัญหาแทนท่ีจะเผชิญหน้ากบัปัญหา

2. การตดัสินใจโดยยดึตนเองเป็นหลกั/ศูนยก์ลางในการดาํเนินชีวิต ดว้ยการฟ้องหย่าโดยไม่

สอบถาม ไม่ฟังเหตุผลของภรรยา

3. การไม่เคารพภรรยา ดว้ยการไม่สอบถาม ไม่ฟังคาํอธิบายของภรรยา แสดงให้เห็นว่าขาด

การเคารพคนอ่ืน (ภรรยา) ในฐานะท่ีเป็นคนๆ หน่ึงท่ียอ่มมีเหตุผล/ขอ้ผดิพลาดในการดาํเนินชีวิต

4. การขาดความรับผดิชอบต่อชีวิตคนอ่ืน (ภรรยาและลูก) ดว้ยการปฏิเสธความรับผิดชอบ

ต่อลูก

วตัถุประสงค์

ข้อคาํถาม

ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

วดัความรู้ (การ

ประเมินคา่)

กรณีศึกษาทีย่กมาขา้งตน้ มีความ

เหมาะสมในการนําไปประเมินค่า

การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ี

เคารพคุณค่าศ ัก ด์ิศรีความเป็น

มนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

595

วตัถุประสงค์

ข้อคาํถาม

ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

สันตาปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ข้อคาํถาม

“นาย ก.” (สามี) ท่ีปฏิเสธความ

รับผิดชอบต่อลูกและดําเนินการ

ฟ้องหย่า จากภรรยา เ น่ืองจาก

พบว่ าภรรยาไปทําศัล ยก รรม

ก่อนท่ีจะพบและแต่งงานกับตน

เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสมในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษยข์องตนเองและคน

อื่น ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

หรือไม่ อย่างไร?

แนวคาํตอบ

การกระทําของ นาย ก. เป็น

การกระทําท่ีไม่เหมาะสมฯ เน่ือง

จาก..... (ดูในแนวคาํตอบ)

กรณศึีกษาที ่2

บวชป่า สร้างศรัทธาเลิกตดัไม้

ผูใ้หญ่บา้น ข. เรียกประชุมชาวบา้น เพ่ือป้องกนัปัญหาการตดัไมท้าํลายป่า โดยตกลงกนัว่าจะ

ร่วมกนัเป็นเจา้ภาพทาํพิธีบวชป่า (ตน้ไม)้ ในเขตหมู่บา้น เพ่ือถวายป่าไมแ้ก่ส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิที่ชาวบา้นเคารพ

นบัถือ โดยมีชาวบา้นใหค้วามสนใจและร่วมในพิธีจาํนวนมาก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

596

ข้อคาํถาม

การกระทาํของ “ผูใ้หญ่บา้น ข.” ใชค้วามเช่ือศรัทธาต่อสิ่งศกัด์ิสิทธ์ิ (การบวชป่า ถวายป่าต่อ

ส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิ) เพื่อป้องกันการตดัไมท้าํลายป่า เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสมในการดําเนินชีวิตอย่าง

เหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม และความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 หรือไม่ อย่างไร?

แนวคาํตอบ

การกระทาํของ ผูใ้หญ่ ข. เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสม เน่ืองจาก

1. ทาํหน้าท่ีตามบทบาทหน้าท่ีในฐานะผูน้ําหมู่บ้าน เป็นตวัอย่างท่ีดีต่อการบาํรุงรักษา

ส่ิงแวดล้อมตามระบบนิเวศ ดว้ยการสงวนรักษา/อนุรักษ์ป่าไมใ้ห้รอดพน้จากการบุกรุกของนายทุน/

ชาวบา้น

2. การให้ความสําคญัต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน มีการประชุมปรึกษาหารือ เพ่ือหา

แนวทางในการแกปั้ญหาการบุกรุกทาํลายป่าของหมู่บา้น

3. มีความพยายามดาํเนินการแกปั้ญหาของหมู่บา้น โดยนําภูมิปัญญา/ประเพณี/ความเช่ือ

ดั้งเดิมของชาวบา้นมาประยกุตใ์ช ้

4. ให้ความสําคญัต่อการดาํเนินชีวิตประจาํวนัท่ีไม่เบียดเบียน/ทาํลายป่าไม/้ส่ิงแวดลอ้มของ

หมู่บา้น โดยนาํความเช่ือศรัทธาต่อส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิ มาเช่ือมโยงสู่การปฏิบติัในการดาํเนินชีวิต

วตัถุประสงค์

ข้อคาํถาม

ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

วดัความรู้ (การ

ประเมินคา่)

กรณีศึกษาทีย่กมาขา้งตน้ มีความ

เหมาะสมในการนําไปประเมินค่า

การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติท่ี

เคารพคุณค่าศ ัก ด์ิศรีความเป็น

มนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สันตาปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

597

วตัถุประสงค์

ข้อคาํถาม

ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

ข้อคาํถาม

การกระทําของ “ผูใ้หญ่บ้าน

ข .” ใช้ความเ ช่ือศรัทธาต่อ ส่ิ ง

ศกัด์ิสิทธ์ิ (การบวชป่า ถวายป่าต่อ

สิ่ งศกัด์ิสิทธ์ิ) เพ่ือป้องกันการตดั

ไม้ทําลายป่า เป็นการกระทําท่ี

เหมาะสมในการใชเ้สรีภาพในการ

ดํา เนินชีวิตอย่าง เหมาะสมใน

บ ริ บ ท ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ

ความสัมพันธ์กับพระเจ้า ตาม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 หรือไม่ อย่างไร?

แนวคาํตอบ

การกระทาํของผูใ้หญ่... เป็นการ

กระทาํท่ีเหมาะสมฯ เน่ืองจาก.....

(ดูในแนวคาํตอบ)

ขอ้เสนอแนะอ่ืนๆ

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.................................................................

( )

ผูเ้ช่ียวชาญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

598

แบบประเมินคุณภาพเครื่องมอืแบบวัดเจตคตฯิ

ช่ือเคร่ืองมอื แบบวดัเจตคตต่ิอการใช้เสรีภาพตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ที ่2

คาํช้ีแจง

1. แบบตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาน้ี จัดทาํข้ึนเพ่ือให้ผูเ้ช่ียวชาญ ประเมินความ

สอดคลอ้งระหว่างขอ้คาํถามแต่ละขอ้กบัวตัถุประสงคข์องการวดั จาํนวน 25 ขอ้ จุดประสงค์

เพ่ือใชว้ดัเจตคติต่อการใชเ้สรีภาพตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ของผูรั้บการอบรมเชิงปฏิบติั เพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อนและหลงัการอบรม

2. นิยามปฏิบัติการ เจตคติต่อการใช้เสรีภาพตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปาฯ

หมายถึง ความรู้สึกนึกคิด/ท่าทีภายในท่ีมีต่อสภาพ/สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน ท่ีแสดงถึงความ

สํานึกและการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง

คนอ่ืน/สังคม ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม โดยแบ่งเป็นส่ีองคป์ระกอบ ได้แก่ การใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง การใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอย่าง

เหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม และการใชเ้สรีภาพในการตอบรับแนวทางของพระเจา้

2.1 การใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของตนเอง

หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดท่ีเคารพ ยอมรับในคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง ใน

ฐานท่ีเป็นเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ เช่ือมัน่ ภูมิใจและสํานึกรับผดิชอบในการดาํเนินชีวิต

ดว้ยการเสริมสร้างและพฒันาตนเองในบริบทวฒันธรรม ภูมิปัญญา และประเพณีอนัดีงามท่ี

หล่อหลอมใหแ้ต่ละคนเป็นบุคคลท่ีมีอตัลกัษณ์ ในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน

2.2 การใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของคนอื่น

หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดที่เคารพคุณค่า ศักด์ิศรีของคนอ่ืนในฐานะเป็นมนุษย์ เป็น

ภาพลกัษณ์ของพระเจา้ ไม่มุ่งดาํเนินชีวิตแบบต่างคนต่างอยู ่ (ปัจเจก) หรือเอาแต่ประโยชน์/

ใชค้นอื่นเป็นเคร่ืองมือเพ่ือความสําเร็จ/ผลประโยชน์ส่วนตวั จนเมินเฉย ละเลยหรือละเมิด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

599

สิทธิ เสรีภาพของคนอ่ืน การดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน/สังคม เป็นลกัษณะการดําเนินชีวิต

เป็นหมู่คณะ ในครอบครัว ชุมชน/สังคม ท่ีทุกคนสํานึกรับผดิชอบชีวิตของคนอ่ืน เพ่ือความ

ดีของบุคคล ตามบทบาท/สถานภาพในสังคม การมีนํ้ าใจเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่/แบ่งปัน ความ

พร้อมท่ีจะเสียสละเพ่ือผูอ่ื้น

2.3 การใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดล้อม หมายถึงความรู้สึก

นึกคิดของบุคคลท่ีสํานึกถึงความสําคญัของส่ิงแวดลอ้มตามระบบนิเวศวิทยา ซ่ึง เป็นส่ิงท่ี

พระเจา้ทรงสร้าง ท่ีมนุษยมี์ส่วนร่วมกนัดูแลรักษาและใชสิ้่งแวดลอ้มเพ่ือเสริมสร้างความดี

ของบุคคล/สังคมและชนรุ่นหลงั บนพ้ืนฐานของความสํานึกในคุณค่า ส่ิงแวดลอ้มให้อยู่ใน

ภาวะสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา

2.4 การใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจ้า หมายถึง ความรู้สึกนึกคิด

ท่ีสํานึกถึงพระกรุณาธิคุณของพระเจ้า ท่ีโปรดให้มนุษย์มีส่วนร่วมในความเป็นบุคคลท่ี

สมบูรณ์ ทาํให้บุคคล “ตอบรับ” แนวทางของพระเจ้า ไม่ใช่ดว้ยความกลวั หรือรู้สึกถูก

บงัคบัจนหมดความเป็นตวัของตวัเอง แต่เป็นการสํานึกในความรักของพระเจา้ที่ต่อมนุษย ์

สํานึกว่าคุณค่า ความหมายแทจ้ริงของชีวิตคือ การมีความสัมพนัธ์กบัพระเจ้า ดว้ยความเช่ือ

ศรัทธาอย่างมีสติ มีเหตุผลในการปฏิบติัตามหลักคาํสอนของศาสนา มีการเปล่ียนแปลง

รูปแบบการดาํเนินชีวิตท่ีมุ่งสู่ความดีงามของบุคคลและสังคม

3. โปรดใส่เคร่ืองหมาย ลงในช่อง

+1 เม่ือ เห็นดว้ย ว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

0 เม่ือ ไม่แน่ใจว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

-1 เม่ือ ไม่เห็นดว้ยว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

ทั้งน้ี ผูเ้ช่ียวชาญสามารถแนะนาํเพิ่มเติม/ปรับแกใ้นขอ้คาํถามได ้เพ่ือใหข้อ้คาํถามมี

ความเป็นปรนยั (เขา้ใจตรงกนั) และความชดัเจนมากขึ้น จะเป็นพระคุณยิ่ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

600

วตัถุประสงค์ ข้อคาํถาม

ความคิดเห็น

ผู้เช่ียวชาญ ข้อเสนอแนะ

+1 0 -1

องคป์ระกอบที่ 1 :

เ จ ต ค ติ ก า ร ใ ช้

เส รี ภ าพในก า ร

ดํ า เ นิ น ชี วิ ต ท่ี

เ ค า ร พ คุ ณ ค่ า

ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษยข์องตนเอง

1. เขาตดัสินใจซ้ือสินคา้ราคาแพงเอาไวใ้ชต้ามความจาํเป็น

2. ชีวิตของเรา จงใชใ้หเ้ตม็ท่ี ไม่วา่จะเป็น

อยา่งไรก็ตาม

3. แมเ้ขาจะมีเงิน แต่ก็ไม่คิดจะไปทาํศลัยกรรม

เสริมความงามตามเพ่ือนๆ

4. ควรฝึกซอ้มกีฬาอยา่งหนกั จะไดส้รา้งช่ือเสียง

ต่อตนเอง แมมี้ผลทางลบต่อสุขภาพ

5. น่าภาคภูมิใจท่ีทาํตามประเพณี วฒันธรรมไทย

องคป์ระกอบท่ี 2 :

เ จ ต ค ติ ก า ร ใ ช้

เส รี ภ าพในก า ร

ดํ า เ นิ น ชี วิ ต ท่ี

เ ค า ร พ คุ ณ ค่ า

ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษยข์องคนอ่ืน

6. อยู่เฉยๆ ดีกว่าตอ้งเดือดร้อนเพราะคนอ่ืน

7. ควรรับฟังคําช้ีแจงของคนท่ีท่านคิดว่าไม่มีเหตุผล

8. ทาํงานกลุ่ม ไดง้านมากกว่าทาํงานคนเดียว

9. การทาํกิจกรรมร่วมกบัคนอ่ืน มกัตดัรอน

ความเป็นส่วนตวั

10. ไม่ควรเสียเวลาพูดกบัคนไร้สาระ

11. วิทยาลยัเป็นของเราทุกคน ถา้ไม่ช่วยกนัดูแล

ใครจะช่วย

12. เพ่ือเสรีภาพของทุกคน ตอ้งอดทนตอ่สู้แม ้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

601

วตัถุประสงค์ ข้อคาํถาม

ความคิดเห็น

ผู้เช่ียวชาญ ข้อเสนอแนะ

+1 0 -1

จะตอ้งลาํบาก

องคป์ระกอบท่ี 3 :

เ จ ต ค ติ ก า ร ใ ช้

เส รี ภ าพในก า ร

ดํา เนินชีวิตอย่า ง

เ ห ม า ะ ส ม ใ น

บริบทส่ิงแวดลอ้ม

13. เม่ือสั ่งอาหารมา ควรทานให้หมด แมว่้าจะไม่

ชอบ

14. การดูแลตน้ไมใ้นท่ีสาธารณะ เป็นหนา้ท่ีของ

ของเทศบาล/หน่วยงานของรัฐ

15. บา้นอยู่ใกลท้าํงาน เขาจึงไม่ขบัรถไปเพ่ือเป็น

การประหยดัพลงังาน

16. น่าช่ืนชมเพ่ือนบา้น เพราะเขาสามารถเลี้ยง

สัตวป่์าท่ีบา้น โดยไม่เกิดปัญหากบัตวัเขาเอง

17. ถา้พบขยะ จะนาํไปใส่ในถงัขยะ

18. ควรใชโ้ฟมใส่อาหาร เพราะสะดวกและไม่

ตอ้งเสียเวลาทาํความสะอาด

องคป์ระกอบท่ี 4 :

เจตคตกิารใช้

เสรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตตอบรับ

แนวทางของพระ

เจา้

19. เม่ือมีความทุกข ์ท่านคดิถึงพระก่อนส่ิงใด

20. ส่ิงท่ีเกิดขึ้น ทั้งดีและร้าย พระเจา้อนุญาตให้

เกิดข้ึน

21. จะดีชัว่ อยูท่ี่ตวัเองกาํหนด

22. ดาํเนินชีวติโดยฟังเสียงภายในใจ ดว้ยใจสงบ

23. ไม่ทาํผิด เพราะกลวัพระจะลงโทษ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

602

วตัถุประสงค์ ข้อคาํถาม

ความคิดเห็น

ผู้เช่ียวชาญ ข้อเสนอแนะ

+1 0 -1

24. ก่อนทาํส่ิงใด ควรใชส้ติคดิว่าพระเจา้ตอ้งการ

ให้ทาํส่ิงใด

25. การดาํเนินชีวิตโดยฟังเสียงภายในใจ ทาํให้

เสียเวลาทาํงาน

ขอ้เสนอแนะอ่ืนๆ

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.................................................................

( )

ผูเ้ช่ียวชาญ

แบบตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอืแบบวดัพฤติกรรมฯ

ช่ือเคร่ืองมอื แบบวดัพฤตกิรรมการใช้เสรีภาพตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

คาํช้ีแจง 1. แบบตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาน้ี จดัทาํข้ึนเพ่ือให้ผูเ้ช่ียวชาญ ประเมินความสอดคลอ้ง

ระหว่างขอ้คาํถามแต่ละขอ้กับวตัถุประสงค์ของการวดั มีลักษณะเป็นแบบสอบความเรียง มี

จุดประสงคเ์พ่ือวดัพฤติกรรมการใชก้ารใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต ดว้ยการยกสถานการณ์/

กรณีตวัอยา่งท่ีเกิดข้ึนในสังคมจาํนวน 3 กรณี ใหผู้เ้ขา้รับการอบรมเสนอแนวทางและขอ้ตั้ งใจ

การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตของบุคคล

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

603

2. นิยามปฏิบติัการ

2.1 เสรีภาพตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 หมายถึง สภาวะท่ีมนุษย์

สามารถกําหนดและจัดการชีวิตของแต่ละคนตามความจริงและความดี ด้วยความสํานึก

รับผดิชอบในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง คนอ่ืน/สังคม

ในบริบทส่ิงแวดลอ้ม รวมถึงการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการดําเนินชีวิตไปสู่การเป็น

บุคคลท่ีสมบูรณ์

2.2 พฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 หมายถึง แนวโน้มของพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการดําเนินชีวิตดว้ยความสํานึกต่อ

เสรีภาพและใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง

คนอ่ืน/สังคม ในบริบทสิ่งแวดลอ้ม รวมถึงการตอบรับพระพร/แนวทางของพระเจา้ ในการดําเนิน

ชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ โดยแบ่งเป็นส่ีองคป์ระกอบ ดงัน้ี

2.2.1 การใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของตนเอง

หมายถึง แนวโนม้ของการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง

ว่าเป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้ท่ีมีภารกิจและศกัยภาพไปสู่ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ใน

พระเจ้า ด้วยความเช่ือมัน่ ภูมิใจและสํานึกรับผิดชอบในการดําเนินชีวิตด้วยการ

เสริมสร้างและพฒันาตนเองในบริบทวฒันธรรม ภูมิปัญญา และประเพณีอนัดีงามท่ีหล่อ

หลอมให้แต่ละคนเป็นบุคคลท่ีมีอตัลกัษณ์ ในการดําเนินชีวิตร่วมกบัคนอื่น ในบริบท

ส่ิงแวดลอ้ม

2.2.2 การใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตที่เคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของคนอื่น

หมายถึง แนวโนม้การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีของคนอ่ืนในฐานะเป็นมนุษย ์

เป็นภาพลกัษณ์ของพระเจ้า ไม่มุ่งดําเนินชีวิตแบบต่างคนต่างอยู่ (ปัจเจก) หรือเอาแต่

ประโยชน์/ใช้คนอ่ืนเป็นเคร่ืองมือเพ่ือความสําเร็จ/ผลประโยชน์ส่วนต ัว จนเมินเฉย

ละเลยหรือละเมิดสิทธิ เสรีภาพของคนอ่ืน การดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืน/สังคม เป็น

ลักษณะการดําเนินชีวิตเป็นหมู่คณะ ในครอบครัว ชุมชน /สังคม ที่ทุกคนสํานึก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

604

รับผดิชอบชีวิตของคนอ่ืน เพ่ือความดีของบุคคล ตามบทบาท/สถานภาพในสังคม การ

มีนํ้ าใจเอ้ือเฟ้ือเผือ่แผ/่แบ่งปัน ความพร้อมท่ีจะเสียสละเพ่ือผูอ้ื่น

2.2.3 การใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดล้อม หมายถึงแนวโน้ม

ของการดาํเนินชีวิตท่ีแสดงถึงความสําคญัของส่ิงแวดลอ้มตามระบบนิเวศวิทยา ในฐานะ

ท่ีสิ่งแวดลอ้ม เป็นส่ิงท่ีพระเจา้ทรงสร้าง ให้มนุษย ์ร่วมกนัดูแลรักษาและใชส่ิ้งแวดลอ้ม

เพ่ือเสริมสร้างความดีของบุคคล/สังคมและชนรุ่นหลัง บนพ้ืนฐานของความสํานึกใน

คุณค่า ส่ิงแวดลอ้มใหอ้ยูใ่นภาวะสมดุลตามระบบนิเวศวิทยา

2.2.4 การใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจ้า หมายถึง แนวโน้มของ

การดาํเนินชีวิตท่ีสํานึกถึงพระกรุณาธิคุณของพระเจ้า ท่ีโปรดให้มนุษยมี์ส่วนร่วมใน

ความเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ ทาํใหบุ้คคล “ตอบรับ” แนวทางของพระเจา้ ไม่ใช่ดว้ยความ

กลวั หรือรู้สึกถูกบงัคบัจนหมดความเป็นตวัของตวัเอง แต่เป็นการสาํนึกในความรกัของ

พระเจา้ท่ีต่อมนุษย ์สํานึกว่าคุณค่า ความหมายแทจ้ริงของชีวิตคือ การมีความสมัพนัธก์บั

พระเจา้ ด้วยความเช่ือศรัทธาอย่างมีสติ มีเหตุผลในการปฏิบติัตามหลักคาํสอนของ

ศาสนา มีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาํเนินชีวิตท่ีมุ่งสู่ความดีงามของบุคคลและสังคม

3. แบบวดัพฤติกรรมฯ ใชว้ดัก่อนและหลงัการจดัอบรมฯ ทั้งน้ี กาํหนดเกณฑก์ารใหค้ะแนน ดงัน้ี

1. ให้สมมติบทบาทเป็นบุคคลในกรณีศึกษา และเสนอพฤติกรรมท่ีเหมาะสมในการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตของบุคคลในกรณีศึกษาในแบบความเรียง ครอบคลุมส่ีองค์ประกอบ

ไดแ้ก่ 1. การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง 2.

การใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคนอื่น/ความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืน 3. การใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตในบริบท/ความสัมพนัธ์กบัส่ิงแวดลอ้ม 4. การใช้เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตตอบรับ/

ความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ ภายในเวลา 30 นาที/กรณีละ 10 นาที

2. ใชก้ารวิเคราะห์เน้ือหา เพื่อพิจารณาความสอดคล้อง ในแต่ละประเด็นท่ีนําเสนอ โดย

เทียบเคียงกบัประเด็น/คาํสําคญั/สาระสําคญัท่ีไดจ้ากการทดลองใช้เคร่ืองมือกับกลุ่มทดลองท่ี

ไม่ใช่กลุ่มตวัอย่าง (Try out) ตามหลกัความคิดหลายทาง/การคิดแบบอเนกนัย (Divergent

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

605

Thinking) ของกิลฟอร์ด (Guilford, 1959: 389) และผ่านความเห็นชอบประเด็น/คาํสําคญัจาก

ผูเ้ช่ียวชาญ

3. กาํหนดการให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubrics) แบบแยกประเด็น โดยกาํหนด

เกณฑก์ารใหค้ะแนน ดงัน้ี

ประเด็นการประเมิน ระดบัคุณภาพ

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

เสนอพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตบน

พ้ืนฐานของการเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรี

ความเป็นมนุษย ์ครอบคลุมส่ีดา้น

ไดแ้ก่

1. พฤติกรรมทีแ่สดงถึงการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า/ศกัด์ิศรี

ของตนเอง 2. พฤติกรรมท่ีแสดงถึง

การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า/

ศกัด์ิศรี/การมีความสัมพนัธค์นอ่ืน/

สังคม 3. พฤติกรรมทีแ่สดงถึงการ

ดาํเนินชีวิตอยา่งเหมาะสมในบริบท

ส่ิงแวดลอ้ม และ 4. พฤติกรรม

ท่ีแสดงถึงการดาํเนินชีวิตตอบรับ

การมีความสัมพนัธก์บัพระเจา้

เสนอ

พฤติกรรมการ

ดาํเนินชีวิตท่ี

แสดงถึงการ

เคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์

อยา่งถูกตอ้ง

ครบถว้น และ

ตรงประเด็น

เสนอ

พฤติกรรม

การดาํเนิน

ชีวิตท่ีแสดง

ถึงการเคารพ

คุณค่า

ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์

อย่างถูกตอ้ง

อย่างนอ้ยสาม

ในส่ีประเด็น

เสนอ

พฤติกรรม

การดาํเนิน

ชีวิตท่ีแสดง

ถึงการเคารพ

คุณค่า

ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์

อย่างถูกตอ้ง

อย่างนอ้ยสอง

ในส่ีประเด็น

เสนอ

พฤติกรรมการ

ดาํเนินชีวิตท่ี

แสดงถึงการ

เคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความ

เป็นมนุษย ์

อยา่งถูกตอ้ง

อยา่งนอ้ยหน่ึง

ประเด็น และ

มีบางส่วน

ผดิพลาด

4. โปรดใส่เคร่ืองหมาย ลงในช่อง

+1 เม่ือ เห็นดว้ย ว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

0 เม่ือ ไม่แน่ใจว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

-1 เม่ือ ไม่เห็นดว้ยว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

606

ทั้งน้ี ผูเ้ช่ียวชาญสามารถแนะนาํเพิ่มเติม/ปรับแกใ้นขอ้คาํถามได ้เพ่ือใหข้อ้คาํถามมี

ความเป็นปรนยั (เขา้ใจตรงกนั) และความชดัเจนมากขึ้น จะเป็นพระคุณยิ่ง

แบบตรวจสอบคุณภาพเครื่องมอื

กรณศึีกษา 1

ถูกรางวลัลอตเตอร่ี 18 ลา้นบาท เผยเคล็ดลบัถูกหวยเพราะชอบช่วยเหลือคนอื่น

นาย ก. ถูกรางวลัจากลอตเตอร่ี 18 ลา้นบาท ให้สมัภาษณว์่า แมต้นเองมีอาชีพถางป่าทาํไร่เล่ือน

ลอย แต่ก็หมัน่เขา้วดั ทาํบุญ และช่วยเหลือคนที่เดือนร้อนอยูเ่สมอ จึงเช่ือว่าการท่ีตนเองถูกรางวลั เป็น

ผลบุญท่ีตนเองหมัน่ประกอบกรรมดี

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็น นาย ก. ซ่ึงถูกรางวลัลอตเตอร่ี ท่านจะปฏิบติัตนอย่างไรท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพ

ในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

1. .............................................................................................................................................

2. …………………………………………………………………………………………………

3. …………………………………………………………………………………………………

4. .............................................................................................................................................

แนวคาํตอบ

1. จะเปล่ียนอาชีพ มุ่งมัน่และขยนัทาํงานดว้ยนํ้ าพกันํ้ าแรงของตนเอง โดยไม่หวงัพ่ึงโชคลาภ

จากการถูกรางวลัลอตเตอร่ีอีกต่อไป

2. ใหเ้วลาแก่ครอบครัว จดัสรรเงินเพ่ือเป็นทุนการศึกษาแก่ลูกๆ และญาติพ่ีนอ้งท่ีเดือดร้อน

3. นาํเงินท่ีไดไ้ปซ้ือท่ีดิน เพ่ือปลูกผกั และปลูกตน้ไมใ้นทีดิ่นของตน ชดเชยกบัท่ีไดต้ดัตน้ไม้

ในขณะประกอบอาชีพเดิม

4. ยงัคงเขา้วดั และนาํเงินจาํนวนหน่ึงไปทาํบุญตามวดัตา่งๆ และองคก์รการกุศลตามโอกาส

ต่างๆ

กรณศึีกษา 2

รอดตายจากอบัุตเิหตุ เช่ือว่าพระช่วยให้รอดตาย

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

607

นายแดง ไปร่วมงานสังสรรคโ์อกาสส่งทา้ยปีเก่า ตอ้นรับปีใหม่กบัเพื่อนๆ ไดด่ื้มเหลา้จนมี

อาการมึนเมา เม่ืองานเลี้ยงจบลง เพ่ือนๆ เตอืนวา่อยา่ขบัรถกลบั ใหเ้รียกรถแทก็ซ่ีกลบับา้น แต่นายแดง

ยนืยนัวา่จะขบัรถกลบับา้นเอง จนขบัรถประสบอุบติัเหตุไปชนตน้ไมห้ักไปหลายตน้ สภาพรถยนตพ์งั

ยบัเยิน เม่ือฟ้ืนสติท่ีโรงพยาบาล นายแดงบอกญาติๆ ท่ีมาเฝ้าอาการวา่ เขาเช่ือวา่ที่เขารอดพน้จาก

อนัตรายถึงชีวิต เน่ืองจากพระช่วยให้เขารอดตาย

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็นนายแดง ซ่ึงเช่ือว่ารอดตายจากอุบตัิเหตุ ท่านจะปฏิบติัตนอยา่งไรในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

1. .................................................................................................................................

2. …………………………………………………………………………………………………

3. …………………………………………………………………………………………………

4. .................................................................................................................................

แนวคาํตอบ

1. จะลดปริมาณการด่ืมเหลา้ เพ่ือดูแลสุขภาพร่างกายตนเอง ให้มีสติสัมปชญัญะในทุกขณะ

2. ยงัคงร่วมงานสังสรรคก์บัเพ่ือนๆ และใส่ใจ/สนใจฟังคาํแนะนาํท่ีสร้างสรรคจ์ากเพ่ือนๆ

3. จะบาํรุงรักษาตน้ไมท่ี้ไดข้บัรถชนหกั หรือปลูกทดแทน

4. จะเลิกพฤติกรรมการขบัรถขณะขาดสต ิใส่ใจในการเขา้วดั ปฏิบตัิตนตามหลกัศาสนา

กรณศึีกษา 3

นายตาํรวจ ก. ตามจบัหญิงวยักลางคนท่ีนาํสารเคมีมาทิ ้งแม่นํ้ า สารภาพว่ารับจา้งโรงงานแถว

บา้นให้นาํสารเคมีมาทิ ้ง ค่าจา้งท่ีไดน้ํามาเล้ียงสามีท่ีป่วยหนกั และลูกๆ อีกสองคน

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็น นายตาํรวจ ก. ท่านจะปฏิบติัตนอยา่งไรท่ีแสดงถึงการดาํเนินชีวิตที่เคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

1. .................................................................................................................................

2. …………………………………………………………………………………………………

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

608

3. …………………………………………………………………………………………………

4. .................................................................................................................................

แนวคาํตอบ

1. ดาํเนินการตามกฎหมาย ดาํเนินคดีแก่ผูท้าํผิด เพือ่รักษาความดีของสังคม

2. หาขอ้มลู/ขอ้เทจ็จริงเกี่ยวกบัเหตุผลของการกระทาํผดิ ถา้พบว่าเป็นเช่นนั้นๆ จริงๆ จะหา

วิธีลดหยอ่นโทษ และช่วยประสานงานในการหางานทีถู่กตอ้งแก่ผูห้ญิงคนนั้น เพ่ือเลี้ยงดูครอบครัว

3. หมัน่ตรวจ เฝ้าระวงัการทาํผิดกฎหมายตามบทบาทหนา้ที่ท่ีไดร้ับ โดยเฉพาะการทาํผดิ

กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้งกบัการทาํลายระบบนิเวศของส่ิงแวดลอ้ม

4. หมัน่เขา้วดั ปฏิบติัธรรม เพ่ือใหม้ีจิตใจท่ีเป็นธรรม และซ่ือสัตยใ์นการปฏิบตัหินา้ทีด่ว้ย

ความเท่ียงตรง

วัตถุประสงค์

ข้อคาํถาม

ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

กรณีศกึษาและขอ้

คาํถามมคีวาม

เหมาะสมในการ

นาํไปวดัพฤติกรรม

(บทบาทสมมติ)

การใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็น

มนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของ

พระสันตาปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

กรณีศึกษา 1 : นาย ก. ถูกรางวลัจาก

ลอตเตอร่ี 18 ลา้นบาท ให้สัมภาษณ์

ว่า แมต้นเองมีอาชีพถางป่าทาํไร่เล่ือน

ลอย แต่ก็หมั ่นเข้าวัด ทําบุญ และ

ช่วยเหลือคนที่เดือนร้อนอยู่เสมอ จึง

เช่ือว่าการที่ตนเองถูกรางวลั เป็นผล

บุญท่ีตนเองหมัน่ประกอบกรรมดี

คาํถาม กรณทีี ่1 : ถา้ท่านเป็น นาย ก.

ซ่ึงถูกรางวลัลอตเตอร่ี ท่านจะปฏิบตัิ

ตนอย่างไรท่ีแสดงถึงการใชเ้สรีภาพ

ในการดําเ นินชี วิตท่ี เคา รพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

แนวคําตอบ กรณีศึกษา 1 : ดูในแนว

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

609

วัตถุประสงค์

ข้อคาํถาม

ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

คาํตอบ

กรณีศึกษา 2 : นายแดง ไปร่วมงาน

สังสรรคโ์อกาสส่งทา้ยปีเก่า ตอ้นรับปี

ใหม่กับเ พ่ือนๆ ได้ด่ืม เหล้าจนมี

อาการมึนเมา เม่ืองานเล้ียงจบลง

เพ่ือนๆ เตือนว่าอย่าขับรถกลับ ให้

เรียกรถแท็กซ่ีกลับบา้น แต่นายแดง

ยนืยนัว่าจะขบัรถกลบับา้นเอง จนขบั

รถประสบอุบตัิเหตุไปชนตน้ไมห้ัก

ไปหลายตน้ สภาพรถยนต์พงัยบัเยิน

เม่ือฟ้ืนสติท่ีโรงพยาบาล นายแดง

บอกเพ่ือนๆ ที่มาเฝ้าอาการว่า เขาเช่ือ

ว่าท่ีเขารอดพ้นจากอันตรายถึงชีวิต

เน่ืองจากพระช่วยใหเ้ขารอดตาย

คําถาม กรณีศึกษาที่ 2 : ถ้าท่านเป็น

นายแดง ซ่ึ ง เ ช่ือ ว่า รอดตายจาก

อุบติัเหตุ ท่านจะปฏิบติัตนอย่างไร

ในการดําเ นินชี วิตท่ี เคา รพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

แนวคําตอบ กรณีศึกษา 2 : ดูในแนว

คาํตอบ

กรณศึีกษา 3 : นายตาํรวจ ก. ตามจบั

หญิงวัยกลางคนท่ีนําสารเคมีมาทิ ้ง

แม่นํ้ า สารภาพว่ารับจ้างโรงงานแถว

บา้นให้นําสารเคมีมาทิ ้ง ค่าจ้างท่ีได้

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

610

วัตถุประสงค์

ข้อคาํถาม

ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

นํามาเลี้ ยงสามีท่ีป่วยหนัก และลูกๆ

อีกสองคน

คาํถามกรณีศึกษาที ่3 : ถา้ท่านเป็น

นายตาํรวจ ก. ท่านจะปฏิบติัตน

อย่างไรท่ีแสดงถึงการดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

แนวคําตอบ กรณีศึกษา 3 : ดูในแนว

คาํตอบ

ขอ้เสนอแนะอ่ืนๆ

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.................................................................

( )

ผูเ้ช่ียวชาญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

611

แบบประเมินค่าดัชนีความสอดคล้อง

แบบสอบถามความคดิเห็นการใช้รูปแบบฯ

ช่ือเคร่ืองมอื แบบสอบถามความคดิเห็นท่ีมีต่อการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

คาํช้ีแจง

1. แบบตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาน้ี (เอกสารแบบสอบถาม หน้า 3) จดัทาํข้ึนเพ่ือให้

ผูเ้ช่ียวชาญ ประเมินความสอดคลอ้งระหว่างขอ้คาํถามแต่ละขอ้กบัวตัถุประสงค์ของการวดั

ลกัษณะของเคร่ืองมือท่ีใชเ้ป็นแบบมาตรประเมินค่า 5 ระดบั เพ่ือสอบถามความคิดเห็นของ

กลุ่มตัวอย่างในการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนามนุษย์ตามกระบวนทัศน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2. วตัถุประสงคข์องแบบสอบถาม คือ เพ่ือเก็บขอ้มูลเชิงปริมาณ ดว้ยการสอบถามความคิดเห็น

ของผูเ้ขา้อบรมฯ ในดา้นประโยชน์ท่ีได้รับ ดา้นวิทยากร และดา้นบรรยากาศการจดัอบรม

โดยใชก้ารประเมินระดบัความเหมาะสม

3. โปรดใส่เคร่ืองหมาย ลงในช่อง

+1 เม่ือ เห็นดว้ย ว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

0 เม่ือ ไม่แน่ใจว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

-1 เม่ือ ไม่เห็นดว้ยว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

ทั้งน้ี ผูเ้ช่ียวชาญสามารถแนะนาํเพิ่มเติม/ปรับแกใ้นขอ้คาํถามได ้เพ่ือใหข้อ้คาํถามมี

ความเป็นปรนยั (เขา้ใจตรงกนั) และความชดัเจนมากขึ้น จะเป็นพระคุณยิ่ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

612

แบบประเมินคุณภาพของเคร่ืองมอื (สําหรับให้ผู้เช่ียวชาญประเมนิ)

ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

1. ด้านประโยชน์ทีไ่ด้รับจากการอบรม

1.1 ประโยชน์ท่ีท่านไดรั้บจากการเขา้อบรมในคร้ังน้ี

1.2 สามารถนาํส่ิงท่ีไดรั้บจากการเขา้รับการอบรมไปปรับใชใ้นชีวิตประจาํวนั

2. ด้านวทิยากร

2.1 ความชดัเจนจากการถ่ายทอดเน้ือหาและกระบวนการฝึกอบรมตามรูปแบบฯ

2.2 บรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพบุคคล

2.3 ประโยชน์จากการใชเ้อกสาร/ส่ือประกอบการ

อบรมตามรูปแบบ

2.4 การตอบขอ้ซักถามของวิทยากรในขณะอบรม

3. ด้านบรรยากาศการจัดอบรม

3.1 ความเหมาะสมของระยะเวลาการจดัอบรม

3.2 ความเอ้ืออาํนวยของสถานท่ี

3.3 ความเหมาะสมของตารางเวลา

3.4 บรรยากาศของความไวว้างใจ/ การเคารพสิทธิ

เสรีภาพของบุคคล/ ความเป็นอิสระ

ขอ้เสนออ่ืนๆ

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

ลงช่ือ ..............................................................

(.........................................................................)

ผูเ้ช่ียวชาญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

613

แบบประเมินค่าดัชนีความสอดคล้อง

แบบสัมภาษณ์การใช้รูปแบบฯ

ช่ือเคร่ืองมอื แบบสัมภาษณก์ารใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ที่ 2

คาํช้ีแจง

1. แบบตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาน้ี จัดทาํข้ึนเพ่ือให้ผูเ้ช่ียวชาญ ประเมินความ

สอดคลอ้งระหว่างขอ้คาํถามแต่ละขอ้กบัวตัถุประสงคข์องการวดั เพ่ือประเมินคุณภาพของ

รูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปาฯ

2. วตัถุประสงคข์องแบบสัมภาษณ์ คือ การเก็บขอ้มูลเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ตวัแทน

กลุ่มตวัอยา่งท่ีเขา้รับการอบรมเชิงปฏิบติัเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจฯ ในดา้นประโยชน์ การนําไป

ประยกุตใ์ช ้ความพึงพอใจ/ขอ้เสนอแนะต่อขั้นตอนการอบรม และขอ้เสนอแนะต่อการใช้

รูปแบบฯ

3. โปรดใส่เคร่ืองหมาย ลงในช่อง

+1 เม่ือ เห็นดว้ย ว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

0 เม่ือ ไม่แน่ใจว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

-1 เม่ือ ไม่เห็นดว้ยว่าขอ้คาํถามสอดคลอ้งกบัวตัถุประสงคท่ี์กาํหนด

ทั้งน้ี ผูเ้ช่ียวชาญสามารถแนะนาํเพิ่มเติม/ปรับแกใ้นขอ้คาํถามได ้เพ่ือใหข้อ้คาํถามมี

ความเป็นปรนยั (เขา้ใจตรงกนั) และความชดัเจนมากขึ้น จะเป็นพระคุณยิ่ง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

614

แบบประเมินคุณภาพของเคร่ืองมอื

ข้อ ข้อคาํถาม ผู้เช่ียวชาญ

ข้อเสนอแนะ +1 0 -1

1. ท่านไดรั้บประโยชนอ์ะไรจากรูปแบบการ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2. ท่านคิดว่ารูปแบบฯ สามารถนาํไป

ประยกุตใ์ชใ้นชีวิตประจาํวนัของท่านได้

หรือไม่ อย่างไร

3. ท่านพอใจขั้นตอนการฝึกอบรมการพฒันา

มนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เพียงใด มีขอ้

ปรับปรุง หรือมีขอ้เสนอแนะเพิม่เติม

อะไรบา้ง

4. ขอ้เสนอแนะต่อการใชรู้ปแบบการพฒันา

มนุษยต์ามกระบวนทศันข์องพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ขอ้เสนออ่ืนๆ

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................

ลงช่ือ ..............................................................

(.........................................................................)

ผูเ้ช่ียวชาญ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

ภาคผนวก จ

เครื่องมอืทีใ่ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในขั้นตอนการทดลอง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

616

แบบวดัความรู้กระบวนทศัน์การพฒันามนุษย์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที ่2

คาํอธิบาย

1. แบบวดัความรู้ฯ มีจุดประสงคเ์พ่ือใชว้ดัความสามารถทางสติปัญญา/ความรู้ (ดา้นความจาํ ความ

เขา้ใจ การนาํไปใช ้การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และการประเมินค่า) ของผูเ้ขา้รับการอบรมฯ

ก่อน (Post-test) และหลัง (Pre-test) การจัดอบรมเชิงปฏิบตัิเพ่ือการฟ้ืนฟูจิตใจตามรูปแบบการ

พฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

2. แบบวดัความรู้ฯ แบ่งออกเป็นสองตอน ดงัน้ี

ตอนที ่1 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะเป็นแบบเลือกตอบ (ปรนัย) 4 ตวัเลือก จาํนวน 50 ขอ้ มี

จุดประสงคเ์พื่อใชว้ดัความรู้ดา้นความจาํ ความเขา้ใจ การนําไปใช ้การวิเคราะห์และ

การสังเคราะห์ กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที ่2โดย

ครอบคลุมกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ดงัน้ี

ตอนที ่2 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะการยกกรณีศกึษาและแสดงความเห็นถึงความเหมาะสม

ของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวติ ในแบบความเรียง (อตันยั) จาํนวน 2 กรณี มี

จุดประสงคเ์พื่อใชว้ดัความรู้ดา้นการประเมินคา่

-----------------------------------

ตอนที่ 1 แบบวดัความรู้ฯ ในลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ (ปรนัย) 4 ตัวเลือก จํานวน 50 ขอ้ มี

จุดประสงค์เพ่ือใชว้ดัความรู้ดา้นความจาํ ความเขา้ใจ การนําไปใช้ การวิเคราะห์และการ

สังเคราะห์ กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

คาํช้ีแจง

1. แบบวดัความรู้ ฯ เป็นแบบปรนยัชนิดเลือกตอบ 4 ตวัเลือก จาํนวน 50 ขอ้ๆ ละ 1 คะแนน

คะแนนเตม็ 50 คะแนน

2. ให้ท่านเลือกคาํตอบท่ีถูกตอ้งทีถู่กเพียงขอ้เดียว แลว้ทาํเคร่ืองหมายวงกลมรอบหวัขอ้นั้นๆ

3. เวลาท่ีใชใ้นการทาํแบบทดสอบ 30 นาที

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

617

1. การอธิบายมนุษยแ์ละการพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 เป็นการอธิบายคาํสอน

คริสตศ์าสนา โดยใชแ้นวคิด/วิธีการใดในการวิเคราะห์

ก. แนวคิดท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคล/วิธีบูรณการมนุษย ์สังคมและส่ิงแวดลอ้มอยา่งย ัง่ยนื

ข. แนวคิดท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคล/วิธีการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ชีวิตและสังคม

ค. แนวคิดท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคล/วิธีบูรณการวิทยาการ/ศาสตร์แขนงต่างๆ

ง. แนวคิดท่ีส่งเสริมความเป็นบุคคล/วิธีการตีความท่ีหลากหลาย

2. ขอ้ใดไม่ใช่แนวคิดของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2 ท่ีอธิบายลกัษณะของมนุษย ์

ก. มนุษยมี์พ้ืนฐานท่ีดี สามารถพฒันาเป็นบุคคลความสมบูรณ์ไดด้ว้ยตนเอง

ข. มนุษยมี์พ้ืนฐานชีวิตท่ีดี แต่ถูกบิดเบือน คุกคามดว้ยกระแสการทาํลายชีวิต

ค. มนุษยมี์พ้ืนฐานท่ีดีและศกัด์ิสิทธ์ิ เน่ืองจากพระเจา้ทรงสร้างให้เป็นภาพลกัษณข์องพระองค ์

ง. มนุษยเ์ป็นส่ิงประเสริฐ มีศกัยภาพที่จะบรรลุถึงชีวิตท่ีสมบูรณ์ดว้ยการตอบรับแนวทางของ

พระเจา้

3. ขอ้ใดแสดงลกัษณะเด่นในการอธิบายมนุษย/์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. นายแดงปลูกฝังลูกๆ ให้ขยนัทาํงาน เพ่ือใหมี้ฐานะการงานท่ีดี มีการกินดีอยูดี่ในชีวิต

ข. นางเขียวพาลูกๆ ไปร่วมงานสืบสานประเพณี ไทย เพ่ือให้ลูกๆ ไดภ้าคภูมิใจในความเป็นคน

ไทย

ค. นายดาํใหค้วามเอาใจใส่ต่อการจดัสวสัดิการแก่พนักงาน เพ่ือให้มีคุณภาพชีวิตท่ีเหมาะสมใน

การดาํเนินชีวิต

ง. ครูม่วง หมัน่ติดตาม/เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ เสมอ เพ่ือนาํใชใ้นการสอนคุณธรรมและความรู้

แก่นกัเรียน

4. ขอ้ใดแสดงความหมายของการทาํงาน ตามแนวคิดการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ขยนัทาํมาหากินเพ่ือเล้ียงดูครอบครัว

ข. หมัน่ประกอบอาชีพ เพ่ือความอยูร่อดในสังคม

ค. ใส่ใจทาํกิจกรรมทุกอยา่งเพ่ือการพฒันาคุณภาพชีวิต

ง. อุทิศตนทาํหนา้ท่ีในสังคมเพ่ือพฒันาสงัคมให้เจริญกา้วหน้า

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

618

5. ขอ้ใดไม่ใช่คุณลกัษณะสําคญัของการเป็นบุคคลตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ที่ 2

ก. มนุษยต์อ้งมีความสัมพนัธ์กบัคนอ่ืนในแบบสานเสวนา

ข. มนุษยมี์สติปัญญาในการแสวงหาและเขา้ใจความจริง

ค. มนุษยส์ามารถปรับตวัเขา้กบักระแสสังคม

ง. มนุษยมี์เสรีภาพในการเลือกวิถีชีวิต

6. พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ยืนยนัคาํสอนคริสต์ศาสนาว่ามนุษยเ์ป็นภาพลกัษณ์ของพระเจา้

เป็นการยํ้ าเตือนปรากฏการณ์ในการพฒันามนุษยใ์นเร่ืองใดเป็นพิเศษ

ก. ขา้พเจา้มุ่งมัน่อุทิศตนบาํเพญ็ประโยชน์ต่อสังคม

ข. ขา้พเจา้จะใชเ้วลาพิจารณาพฤติกรรมการดาํเนินชีวิตในแต่ละวนั

ค. ขา้พเจา้จะไตร่ตรองพระคมัภีร์ เพ่ือจะไดด้าํเนินชีวิตตามแนวทางของพระ

ง. ขา้พเจา้หมัน่ศึกษาและดําเนินชีวิตตามแบบอยา่งพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

7. กระบวนทศัน์มนุษย/์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีลักษณะ “ตรงกัน

ข้าม” กบัขอ้ใด

ก. การใหค้วามสําคญัต่อการอนุรักษส่ิ์งแวดลอ้ม

ข. การดาํเนินชีวิตตามหลกัเศรษฐกิจพอเพียง

ค. การพฒันามนุษย ์ไปสู่การเป็นคนทนัสมยั

ง. การส่งเสริมการสานเสวนาของชาติต่างๆ

8. กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ให้ขอ้คิดใดในการดาํเนินชีวิต

ก. ตอ้งไม่แทรกแซงเสรีภาพของแต่ละบุคคล

ข. แต่ละคนตอ้งรับผิดชอบต่อการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

ค. ตอ้งส่งเสริมเสรีภาพเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพฒันามนุษย ์

ง. ตอ้งส่งเสริมจิตสํานึกต่อเสรีภาพ ควบคู่กบัสิทธิและหนา้ท่ีของความเป็นบุคคล

9. ขอ้ใดไม่มอีทิธิพลโดยตรงต่อแนวคิดการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

ก. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

619

ข. คาํสอนคริสตศ์าสนา

ค. ปรัชญาบุคคลนิยม

ง. ทฤษฏีภาวะทนัสมยั

10. สถานการณ์ใดแสดงถึงเป้าหมายการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

ก. ชาวบา้นมัง่ค ัง่ ร่ํารวย

ข. คนในหมู่บา้นมีชีวิตท่ีปลอดภยั

ค. นายดาํ รักษาความสมดุลของส่ิงแวดลอ้ม

ง. เขามีจิตสํานึกและรับผดิชอบต่อการใชเ้สรีภาพในส่ิงท่ีเขาทาํ

11. ขอ้ใดแสดงความสําคญัของเสรีภาพตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. เสรีภาพเป็น “ปัจจยั” ทาํใหม้นุษยก์า้วไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

ข. เสรีภาพเป็น “ศกัยภาพ” ที่ทาํใหม้นุษยต์อ้งพฒันาตนเองอยูเ่สมอ

ค. เสรีภาพเป็น “แรงจูงใจ” ที่ทาํใหม้นุษยต่์างจากสัตวท์ัว่ไป

ง. เสรีภาพเป็น “เงื่อนไข” ท่ีทาํใหม้นุษยส์ามารถดาํเนินชีวิตได ้

12. พระสันตะปาปายอห์นปอล ท่ี 2 วิจารณ์ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมและสังคมนิยมแบบมาร์กซ์ ว่ามี

ขอ้บกพร่องอยา่งไร

ก. เป็นการพฒันาท่ีมุ่งไปสู่ความมัง่ค ัง่ แต่ละเลยคุณค่าดา้นจิตใจ

ข. เป็นการพฒันาท่ีมุ่งไปสู่ความเจริญของสังคม แต่ละเลยส่ิงแวดลอ้ม

ค. เป็นการพฒันาท่ีมุ่งไปสู่คุณภาพชีวิตท่ีดีของมนุษย ์แต่ละเลยคุณธรรม

ง. เป็นการพฒันาท่ีมุ่งไปสู่ความเจริญทางเศรษฐกิจ แต่ละเลยความสัมพนัธ์ระหว่างบุคคล

13. ขอ้ใดไม่ใช่ขอ้สรุปพ้ืนฐานกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การนาํคาํสอนคริสตศ์าสนามาอธิบายโดยใชก้ารวิเคราะห์ปรากฏการณ ์

ข. การนาํปรัชญาบุคคลนิยมมาเป็นคาํสอนเร่ืองมนุษยข์องคริสตศ์าสนา

ค. การอธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนา ดว้ยปรัชญาร่วมสมยั

ง. การใชรู้ปแบบใหม่ๆ ในการอธิบายคาํสอนคริสตศ์าสนา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

620

14. ขอ้ใดเป็นการวิจารณ์แนวคิดลทัธิเหตุผลนิยมของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ในการอธิบาย

คุณค่า ความหมายของชีวิตมนุษย ์

ก. การใหค้วามสาํคญัตอ่จิตมนุษย ์จนละเลยความสาํคญัของร่างกาย

ข. การยกยอ่งความสูงส่งของจิตมนุษย ์จนปฏิเสธการมีอยูข่องส่ิงแวดลอ้ม

ค. การเนน้ความเป็นอมตะของจิตของปัจเจก จนปฏิเสธการดาํเนินชีวิตในสังคม

ง. การเนน้อธิบายความแตกตา่งระหว่างมนุษยแ์ละสัตว ์ จนทาํใหเ้ขา้ใจวา่มนุษยส์ามารถทาํอะไร

ก็ไดก้บัส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ

15. ขอ้ใดแสดงการอธิบายความหมายมนุษยใ์นฐานะเป็น “ภาพลกัษณ์ของพระเจา้” ได้ชัดเจนท่ีสุดตาม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. จงมุ่งม ัน่ท่ีจะบาํรุงรักษาส่ิงแวดล้อม

ข. จงหมัน่ติดตามขอ้มูลข่าวสารอยู่เสมอ

ค. จงมุ่งม ัน่ปรับปรุงพฤติกรรมการดาํเนินชีวิตของตนอยู่เสมอ

ง. จงมุ่งม ัน่ท่ีจะดาํเนินชีวิตดว้ยความเช่ือศรัทธาต่อพระเจา้โดยไม่ตอ้งสงสัย

16. ขอ้ใดแสดงถึงความหมายการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ด.ญ. นิด อ่านพระคมัภีร์ใหเ้พ่ือนๆ ฟัง

ข. ด.ช. นอ้ยทาํการบา้นดว้ยตนเองทุกคร้ัง

ค. นางนากไปเยี่ยมเพ่ือนบา้นที่ป่วยเสมอ

ง. นายมาก ร่วมรณรงคเ์พ่ือสิทธิผูอ้พยพ

17. ขอ้ใดเป็นการพฒันามนุษย์แบบบูรณการตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ผูใ้หญ่เหลือง ติดตามขอ้มูลข่าวสาร เพ่ือพฒันาหมู่บา้น

ข. ด.ช. แดง หมัน่เรียนรู้และปฏิบติัคุณธรรมตามหลกัศาสนา

ค. นายดาํ พาบิดาไปตรวจสุขภาพ และพาไปร่วมกิจกรรมผูสู้งอาย ุ

ง. นายเขียว ร่วมกิจกรรมพบปะสังสรรคก์บัเพ่ือนๆ ในโอกาสต่างๆ

18. ขอ้ใดแสดงท่ีมาของกระแสการทาํลายชีวิต ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ทาํตามเขาไป...เด๋ียวก็ “เป็น” ไปเอง

ข. ถา้ไม่มีใครรู้... แสดงว่าไม่ผดิ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

621

ค. ไม่เป็นไร...พรุ่งน้ีค่อยทาํ

ง. ชีวิตของเรา... ใชซ้ะ

19. ขอ้ใดแสดงถึงลกัษณะสําคญัของการดาํเนินชีวิตตามวฒันธรรมส่งเสริมชีวิตตามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ให้เงินแก่ขอทาน

ข. ร่วมพิธีกรรมทางศาสนา

ค. ร่วมกิจกรรมบาํเพ็ญประโยชน ์

ง. ติวขอ้สอบให้เพ่ือน เพราะถา้สอบผา่นจะไดฉ้ลองกนั

20. จุดหมายการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 คือการ

เปลี่ยนแปลงประเภทใด

ก. การเปล่ียนแปลงเจตคติดว้ยการเปล่ียนแปลงความประพฤติ

ข. การเปล่ียนแปลงเจตคติดว้ยการเปล่ียนแปลงความรู้สึกนึกคิด

ค. การเปล่ียนแปลงเจตคติดว้ยการเปล่ียนแปลงสามญัสํานึก

ง. การเปล่ียนแปลงเจตคติดว้ยการเปล่ียนแปลงจิตใจ

21. ขอ้ใดแสดงถึงลกัษณะสําคญัของเสรีภาพ ตามกระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การติดสินใจท่ีจะละทิ้งความสุขส่วนตวั และอุทิศตนเพ่ือประโยชน์สุขของสังคม

ข. การตดัสินใจละทิ้งชีวิตในรูปแบบเดิมๆ และหนักลบัไปสู่การมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้

ค. การติดสินใจดว้ยความรับผดิชอบ ท่ีจะมุ่งมัน่ในความเพียรพยายามไปสู่ชีวิตท่ีสมบูรณ์ในพระ

เจา้ ดว้ยศกัยภาพทั้งหมดของตนเอง

ง. การตดัสินใจดว้ยใจอิสระและรับผิดชอบ ที่จะตอบรับแนวทางของพระเจา้ ในการดาํเนินชีวิต

ดว้ยความเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและคนอื่น

22. ขอ้ใดไม่ตรงกับการอธิบายคุณค่าและความหมายของการทาํงานตามกระบวนทศัน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. พฒันาคน ดว้ยการทาํงาน

ข. ค่าของคน อยู่ท่ีผลของงาน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

622

ค. การทาํงาน คือ ทุกกิจกรรมท่ีแสดงถึงการอุทิศตนเพ่ือคนอ่ืนและสังคม

ง. การทาํงาน คือ การพฒันาชีวิตในมิติของความสัมพนัธ์ในสังคม

23. อตัลกัษณ์บุคคลมีความสําคญัอย่างไรต่อการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ช่วยพฒันาบุคลิกภาพของบุคคล

ข. ช่วยให้มีภูมิคุม้กนัในการดาํเนินชีวิต

ค. ช่วยให้มีความมัน่ใจในการดาํเนินชีวิต

ง. ช่วยเสริมสร้างความเป็นตวัของตวัเอง

24. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตตามกระแสทาํลายชีวติตามกระบวนทศัน์พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ขา้พเจา้ร่วมเชียร์นกักีฬาทีมชาติ เพ่ือให้ไดเ้หรียญทอง

ข. ขา้พเจา้จะไม่ใช้สินคา้ของบริษทัท่ีหลีกเล่ียงการชาํระภาษี

ค. ขา้พเจา้ไปเยีย่มญาติท่ีประสบอุบติัเหตุ แมไ้ม่สนิทกนั

ง. ขา้พเจา้ใหเ้พ่ือนท่ีขดัสนยมืเงิน โดยไม่คิดดอกเบ้ีย

25. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตตามวฒันธรรมส่งเสริมชีวิตตามกระบวนทศัน์พระสันตะปาปายอห์น ปอล

ที่ 2

ก. ร่วมชุมนุมประทว้งรัฐบาลท่ีสั ่งระงบัละครทีวีท่ีชอบดู

ข. สบทบเงินรางวลัแก่นกักีฬาทีมชาติที่ไดเ้หรียญรางวลั

ค. รับฟังขอ้เสนอแนะจากบุคคลท่ีมีอายุและประสบการณ์นอ้ยกว่า

ง. ปฏิบติัตามกฎเกณฑ์ทางศาสนาอยา่งเคร่งครัด แมจ้ะไม่ค่อยเขา้ใจในบางขอ้

26. ขอ้ใดเป็นลกัษณะเฉพาะของการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ขา้พเจา้เขา้ร่วมกิจกรรม/ร่วมรณรงคเ์ร่ืองสิทธิมนุษยชนอยูเ่สมอ

ข. ขา้พเจา้หมัน่ดูแลสุขภาพตนเอง และหมัน่บาํเพญ็ประโยชน์ต่อสังคมอยู่เสมอ

ค. ขา้พเจา้หมัน่ไตร่ตรองเสรีภาพในการดาํเนินชีวิต ในการมีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ ตนเอง คน

อ่ืนและส่ิงแวดลอ้มอยูเ่สมอ

ง. ขา้พเจา้แบ่งปัน/ รับฟังขอ้เสนอแนะจากครอบครัว เพ่ือนๆ และคณาจารย ์เพ่ือปรับปรุงตนเอง

ในการดาํเนินชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

623

27. ขอ้ใดแสดงลกัษณะของการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. อย่าอยู่ อยา่งอยาก

ข. เขา้เมืองตาหลิ่ว ตอ้งหลิ่วตาตาม

ค. ทาํตามเขาไป เด๋ียวก็เป็นไปเอง

ง. ถา้อยูก่นัไม่ได ้ก็จงแยกกนัอยู ่

28. ขอ้ใดเป็นการสรุปความหมายการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์พระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ก. การเสริมสร้างการกินดีอยู่ดีของบุคคล

ข. การเสริมสร้างบุคลิกภาพของบุคคล

ค. การเสริมสร้างวุฒิภาวะของบุคคล

ง. การเสริมสร้างคุณธรรมของบุคคล

29. ขอ้ใดเป็นหลกัการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การพฒันาท่ีเนน้คุณธรรมบนพ้ืนฐานของคาํสอนของศาสนา

ข. การพฒันาท่ีเหมาะสม สอดคลอ้ง สมดุลกบัอตัลกัษณ์บุคคล

ค. การพฒันาท่ีเปิดโอกาสให้ทุกคน ไดแ้สดงความคิดเห็นและทาํตามเสียงเสียงใหญ่

ง. การพฒันาท่ีส่งเสริมใหทุ้กคนประพฤติ ปฏิบติัตนตามกฎหมายและหลกัศาสนา

30. ขอ้ใดแสดงถึงความหมายการทาํงานตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การจ่ายเงินเดือนและโบนสัตามขอ้ตกลง

ข. การจดัสวสัดิการแก่ลูกจา้งตามกฎหมาย

ค. การไปเยี่ยมลูกจา้งท่ีเจ็บป่วย

ง. การจดังานพบปะประจาํปี

31. ขอ้ใดเป็นการพฒันามนุษยแ์บบบูรณการตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ร่วมงานลอยกระทงทุกๆ ปี เพ่ือสืบสานประเพณีไทย

ข. จดังานร่ืนเริง หลงัเหน็ดเหน่ือยจากการสอบปลายภาค

ค. เท่ียวต่างประเทศ เพ่ือเรียนรู้วฒันธรรมต่างชาติ

ง. พาคุณยา่ไปวดัและไปร่วมกิจกรรมผูสู้งอาย ุ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

624

32. ขอ้ใดเป็นการใชเ้สรีภาพอยา่งเหมาะสมในการเคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของตนเอง ตาม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ถา้มีคนวิจารณ์งานท่ีทาํ ขา้พเจา้จะนาํไปพิจารณาตามความเหมาะสม

ข. ถา้คนอ่ืนบอกว่าขา้พเจา้ไม่สามารถทาํงานนั้นได ้ขา้พเจา้จะไม่ทาํ

ค. ถา้มีคนชมเชยผลงาน ขา้พเจา้จะยิง่ขยนัทาํงานยิ่งข้ึน

ง. ถา้ไม่มีใครเห็นดว้ย ขา้พเจา้จะไม่ทาํส่ิงนั้น

33. ขอ้ใดแสดงถึงการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตอยา่งเหมาะสมในการเคารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็น

มนุษย์ของคนอ่ืน/สังคม ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ถา้เพ่ือนทาํผดิ จะเตือนเพ่ือนทุกคร้ัง

ข. ถา้เพ่ือนมาขอโทษ จะใหอ้ภยัเพ่ือน

ค. ถา้เพ่ือนไม่มีเงิน จะใหเ้งินเพ่ือนใช ้

ง. ถา้เพ่ือนขอใหช่้วยทาํงาน จะช่วยเพ่ือนเสมอ

34. ขอ้ใดแสดงถึงการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวิตอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดล้อมตามกระบวน

ทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. เม่ือพบงูท่ีบา้น จะตีใหต้าย

ข. เม่ือจาํเป็นตอ้งตดัตน้ไม ้จะปลูกทดแทน

ค. เม่ือพบชา้งเร่ร่อน จะบริจาคเงินช่วยเหลือ

ง. เม่ือพบกลว้ยไมป่้า จะนาํกลบัมาท่ีบา้น เพ่ือขยายพนัธุ์

35. ขอ้ใดแสดงถึงการใช้เสรีภาพทีต่อบรับแนวทางของพระเจ้าตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

ก. นายดาํสวดขอพระมากเป็นพิเศษ เม่ือธุรกิจประสบภาวะขาดทุน

ข. นายเขียว ไม่กล่าวโทษพระ แมธุ้รกิจจะประสบภาวะลม้ละลาย

ค. นายขาวไปแกบ้นตามวดัต่างๆ เม่ือรอดชีวิตจากอุบติัเหตุคร้ังสําคญัในชีวิต

ง. นายแดงมกัไปขอพรพระตามท่ีต่างๆ เม่ือตอ้งออกเดินทางไปทาํธุรกิจต่างประเทศ

36. ขอ้ใดเป็นท่าทีการมีความสัมพนัธ์กบัคนอื่น ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ขา้พเจา้หมัน่ทาํบุญแก่คนยากจน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

625

ข. ขา้พเจา้ร่วมรณรงคช่์วยผูป้ระสบภยั

ค. ขา้พเจา้บริจาคโลหิตทุกคร้ังท่ีมีโอกาส

ง. ขา้พเจา้รู้สึกดีใจท่ีเพ่ือนๆ ประสบความสําเร็จ

37. การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ท่ีใหค้วามสําคญักบัการมีส่วนร่วมของทุกคน

ทุกภาคส่วน มีความหมายเก่ียวขอ้งกบัเร่ืองใด

ก. การพฒันาตามอตัลกัษณ์บุคคล

ข. การพฒันาแบบประชาธิปไตย

ค. การพฒันาแบบพ่ึงพาอาศยักนั

ง. การพฒันาตามความตอ้งการของบุคคล

38. ขอ้ใดมีผลต่อการส่งเสริมการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

มากทีสุ่ด

ก. ผูบ้ริหารโรงเรียน พาคณะครู นกัเรียนไปบาํเพญ็ประโยชน์ต่อส่วนรวมเสมอ

ข. เจา้อาวาสวดั ก. ออกมาตอ้นรับชาวบา้นท่ีมาร่วมพิธีกรรมดว้ยตนเอง

ค. นายกรัฐมนตรี สั่งปลดขา้ราชการท่ีไม่ตอบสนองนโยบาย

ง. พ่อแม่พาลูกๆ ไปเยี่ยมญาติท่ีเจ็บป่วย

39. กระบวนทัศน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 มีท่าทีอย่างไรในเร่ือง

วฒันธรรม

ก. ขา้พเจา้พยายามชกันาํเพื่อนต่างชาติ ให้ดาํเนินชีวิตตามวฒันธรรมไทย

ข. ขา้พเจา้พยายามทาํความเขา้ใจ เรียนรู้วฒันธรรมของเพ่ือนต่างชาติ

ค. ขา้พเจา้ใหค้วามร่วมมือในการจดักิจกรรมสืบสานประเพณี วฒันธรรมไทย

ง. ขา้พเจา้พยายามชกันาํเพ่ือนต่างศาสนาให้ดาํเนินชีวิตตามวฒันธรรมคริสต ์

40. พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ให้ความสําคญัต่อการไตร่ตรอง ทบทวน “เสรีภาพ” ในเร่ืองใด

ก. เสรีภาพเป็นเป้าหมายของการพฒันา

ข. การส่งเสริมใหบุ้คคลมีเสรีภาพยิ ่งๆ ขึ้น

ค. เสรีภาพเป็นบ่อเกิด/เป้าหมายของการพฒันา

ง. ความสํานึก/การใชเ้สรีภาพอย่างถูกตอ้ง เตม็ที่

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

626

41. ขอ้ใดเป็นจุดเน้นของกระบวนการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล

ที่ 2

ก. นายแดง ร่วมประทว้งรัฐบาลท่ีสั ่งคุมขงันักศึกษาท่ีมีความคิดเห็นต่างจากรัฐบาล

ข. ทุกๆ วนั นายเขียว จะทบทวน ไตร่ตรองสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตและสังคมอยู่เสมอ

ค. กระทรวงศึกษาธิการเอาจริงเอาจงัในการปฏิรูปการจดัการศึกษา เพื่อส่งเสริมบุคคลให้เป็นคนดี

คนเก่งและมีความสุขในการดาํเนินชีวิต บนพ้ืนฐานของหลกัธรรมคาํสอนของศาสนา

ง. รัฐบาลมุ่งมัน่ที่จะเปล่ียนแปลงโครงสร้างและกลไกของสังคม เพ่ือมุ่งไปสู่สังคมท่ีเต็มดว้ย

บรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล

42. ขอ้ใดเป็นแนวทางการพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. การปลูกฝังเด็กๆ ช่วยงานสังคมสงเคราะห์

ข. การปลูกฝังเด็กๆ ใหบ้ริจาคทานแก่คนจน

ค. การปลูกฝังเด็กๆ ใหรู้้จกัใหอ้ภยัคนอ่ืน

ง. การปลูกฝังเด็กๆ ใหเ้ขา้วดั ปฏิบติัธรรม

43. “สังคมแห่งความยุติธรรมและสันติ” มีความเก่ียวขอ้งต่อเสรีภาพของบุคคลอย่างไร

ก. ช่วยให้แต่ละคนดาํเนินชีวิตในบรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของคนอ่ืน

ข. ช่วยให้แต่ละคนไดมี้โอกาสเรียกร้องสิทธิ เสรีภาพอยา่งเตม็ท่ี

ค. ช่วยให้แต่ละคนไดพ้ฒันาคุณภาพชีวิตทดัเทียมกบัคนอ่ืน

ง. ช่วยให้แต่ละคนดาํเนินชีวิตท่ีไม่เอาเปรียบคนอ่ืน

44. ขอ้ใดเป็นแนวทางการพฒันามนุษยบ์นหลกัของความเป็นปึกแผน่นํ้ าหน่ึงใจเดียวกนั

ก. จิตสํานึกถึงความเป็นพ่ีนอ้งร่วมครอบครัวมนุษยชาติ

ข. จิตอาสาในการสงเคราะห์เพื่อนมนุษยโ์ดยไม่หวงัผลตอบแทน

ค. จิตตารมยส์งเคราะห์คนยากจนใหมี้คุณภาพชีวิตเท่าเทียมกบัคนร่ํารวย

ง. อุดมการณ์ท่ีกระตุน้ประเทศร่ํารวยใหค้วามช่วยเหลือประเทศท่ียากจน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

627

45. ขอ้ใดแสดงถึง “เจตคติการเคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย”์ ตามกระบวนทศัน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. แมมี้เงินมาก แต่ไม่ดูถูกคนท่ีมีฐานะท่ีดอ้ยกว่า

ข. แมเ้ป็นเด็ก แต่ทุกคนก็สนใจฟังความตอ้งการของเขา

ค. แมเ้ป็นคนพิการ แต่ไดรั้บการยอมรับใหเ้ป็นผูน้าํหมู่บา้น

ง. แมมี้บุคลิกภาพท่ีต่างกนั แต่เท่าเทียมกนัในความเป็นมนุษย ์

46. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตที่เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง ตามกระบวนบวนทศัน์

การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. แมป่้วยเพียงเล็กน้อย แต่ขา้พเจา้ก็จะไปใหแ้พทยต์รวจ

ข. แมค้นอ่ืนทว้งติงส่ิงท่ีขา้พเจา้ทาํ แต่ขา้พเจา้ก็ไม่สนใจ

ค. แมพ้บว่าทาํผิด แต่ขา้พเจา้จะไม่ซํ้ าเติมตนเอง

ง. แมมี้อาการไข ้แต่ขา้พเจา้ยงัคงออกกาํลงักาย

47. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตที่มีความสัมพนัธ์กบัคนอื่น ตามกระบวนบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์อง

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. ต่อไปน้ี...ขา้พเจา้จะหาเพ่ือนใหม่ๆ ให้มากข้ึน

ข. ต่อไปน้ี... ขา้พเจา้จะฟังเพ่ือนๆ ให้มากข้ึน

ค. ต่อไปน้ี.. ขา้พเจา้จะแบ่งของกินใหเ้พื่อน

ง. ต่อไปน้ี... ขา้พเจา้จะไม่ตาํหนิเพ่ือน

48. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตที่มีความสัมพนัธ์กบัส่ิงแวดลอ้ม ตามกระบวนบวนทศัน์การพฒันามนุษย์

ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. เม่ือพบขยะท่ีสนาม จะเดินไปเก็บใส่ถงัขยะ

ข. เม่ือพบชาวบา้นนาํสัตวป่์ามาขาย จะซ้ือมาเล้ียง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

628

ค. เม่ือพบตน้ไมแ้ปลกๆ ในป่า จะนํามาปลูกท่ีบา้น

ง. เม่ือพบชา้งเร่ร่อน จะซ้ืออาหารเล้ียงชา้งเหล่านั้น

49. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตที่มีความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ ตามกระบวนบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์อง

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

ก. สวดภาวนามากขึ้นเป็นพิเศษ เม่ือตอ้งตดัสินใจในเร่ืองสําคญัๆ ของชีวิต

ข. อ่านพระคมัภีร์ทุก

ค. ไม่หลบัในขณะร่วมพิธีกรรม

ง. ปฏิบติัตามกฎเกณฑ์ของศาสนาอย่างเคร่งครัด

50. ขอ้ใดเป็นการดาํเนินชีวิตตามรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอลท่ี 2

ก. ช่วยทาํความสะอาดวดั

ข. ไปเยี่ยมคนไขท่ี้โรงพยาบาล

ค. ไปรดนํ้ าตน้ไมใ้นบริเวณท่ีพกั

ง. ไตร่ตรองพฤติกรรมการดาํเนินชีวิตประจาํวนั

---------------------------

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

629

ตอนที ่2 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะการยกกรณีศกึษาและแสดงความเห็นถึงความเหมาะสม

ของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต ในแบบความเรียง (อตันยั) จาํนวน 2 กรณี มีจุดประสงคเ์พือ่ใชว้ดั

ความรู้ดา้นการประเมินคา่

คาํช้ีแจง

1. ให้ประเมินความเหมาะสมและเสนอเหตุผลในแบบความเรียง (อตันัย) ท่ีเสนอและอธิบาย

เหตุผลของการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตจากกรณีศึกษา

2. เวลาท่ีใชใ้นการทาํ กรณีละ 5 นาที รวม 10 นาที

กรณศึีกษาที ่1

สามฟ้ีองหย่าภรรยา หลงัพบว่าทําศัลกรรมก่อนแต่งงาน

สามีไดห้นีออกจากบา้น และดาํเนินเร่ืองฟ้องหยา่ภรรยา หลงัพบวา่ ลูกสาวที่เกิดมาหนา้ตา

อปัลกัษณ์มาก ไม่เหมือนตนเองหรือภรรยาเลย เขาถึงไดรู้้ความจริงว่า ภรรยาของตนท่ีมีใบหนา้ท่ีสวย

วามนั้น ท่ีแทภ้รรยาไปศลัยกรรมทั้งหน้า เปล่ียนไปเป็นคนละคนและมาแต่งงานกบัเขา โดยท่ีไม่เคย

บอกความจริงเร่ืองศลัยกรรมใบหนา้แก่สาม ี จึงไดป้ฏิเสธความรับผดิชอบต่อลูกท่ีเกิดมา และฟ้องหย่า

โดยไม่เคยสอบถามหรือรับฟังการช้ีแจงจากภรรยาเลย

ข้อคาํถาม

สามีท่ีปฏิเสธความรับผิดชอบต่อลูกและดาํเนินการฟ้องหย่าจากภรรยา เน่ืองจากพบว่า

ภรรยาไปทาํศลัยกรรมก่อนท่ีจะพบและแต่งงานกบัตน เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสมในการดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพคุณค่าศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเองและคนอ่ืน ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 หรือไม่ อย่างไร?

การกระทาํของสามี เป็นการกระทาํท่ี.....................................ต่อการใชเ้สรีภาพในการ

ดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์เน่ืองจาก

1..............................................................................................................................................

2..............................................................................................................................................

3..............................................................................................................................................

4..............................................................................................................................................

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

630

กรณศึีกษาที ่2

บวชป่า สร้างศรัทธาเลกิตดัไม้

ผูใ้หญ่บา้น ข. เรียกประชุมชาวบา้น เพ่ือป้องกนัปัญหาการตดัไมท้าํลายป่า โดยตกลงกนัว่าจะ

ร่วมกนัเป็นเจา้ภาพทาํพิธีบวชป่า (ตน้ไม)้ ในเขตหมู่บา้น เพ่ือถวายป่าไมแ้ก่ส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิที่ชาวบา้น

เคารพนบัถือ โดยมีชาวบา้นใหค้วามสนใจและร่วมในพธีิจาํนวนมาก

ข้อคาํถาม

การกระทาํของ “ผูใ้หญ่บา้น ข.” ใชค้วามเช่ือศรัทธาต่อส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิ (การบวชป่า ถวายป่า

ต่อส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิ) เพื่อป้องกนัการตดัไมท้าํลายป่า เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสมในการดาํเนินชีวิตอย่าง

เหมาะสมในบริบทส่ิงแวดลอ้ม และความสัมพนัธ์กบัพระเจา้ ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2 หรือไม่ อย่างไร?

การกระทาํของผูใ้หญ่บา้น ข. เป็นการกระทาํที.่....................................ต่อการใชเ้สรีภาพใน

การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์เน่ืองจาก

1..............................................................................................................................................

2..............................................................................................................................................

3..............................................................................................................................................

4..............................................................................................................................................

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

631

เฉลยคาํตอบและแนวคาํตอบแบบวัดความรู้ฯ

ตอนท่ี 1 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะเป็นแบบเลือกตอบ (ปรนยั) 4 ตวัเลือก จาํนวน 50 ขอ้

ขอ้ เฉลย ขอ้ เฉลย ขอ้ เฉลย ขอ้ เฉลย ขอ้ เฉลย

1. ข 11. ข 21. ง 31. ง 41. ข

2. ก 12. ก 22. ข 32. ก 42. ค

3. ข 13. ข 23. ง 33. ข 43. ก

4. ค 14. ก 24. ก 34. ข 44. ก

5. ค 15. ค 25. ค 35. ข 45. ง

6. ข 16. ค 26. ค 36. ง 46. ค

7. ค 17. ค 27. ก 37. ก 47. ข

8. ง 18. ง 28. ค 38. ง 48. ก

9. ง 19. ค 29. ข 39. ข 49. ก

10. ง 20. ง 30. ค 40. ง 50. ง

ตอนท่ี 2 แบบวดัความรู้ฯ ในลกัษณะการยกกรณีศึกษาและแสดงความเห็นถึงความเหมาะสมของการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิต

แนวคาํตอบกรณทีี ่1 สามฟ้ีองหย่าภรรยา หลงัพบว่าทําศัลกรรมก่อนแต่งงาน

การกระทาํของ นาย ก. (สามี) เป็นการกระทาํท่ีไม่เหมาะสมต่อการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์เน่ืองจาก

1. การไม่เคารพ ไม่ยอมรับสภาพชีวิตท่ีเกิดข้ึนกบัตนเอง ไม่กลา้เผชิญหน้าปัญหาท่ีเกิด

ขึ้นกับตนเองและครอบครัว โดยแสดงออกด้วยการหนีจากบ้าน หนีจากปัญหาแทนท่ีจะ

เผชิญหนา้กบัปัญหา

2. การตดัสินใจโดยยึดตนเองเป็นหลกั/ศูนยก์ลางในการดาํเนินชีวิต ด้วยการฟ้องหย่า

โดยไม่สอบถาม ไม่ฟังเหตุผลของภรรยา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

632

3. การไม่เคารพภรรยา ดว้ยการไม่สอบถาม ไม่ฟังคาํอธิบายของภรรยา แสดงให้เห็นว่า

ขาดการเคารพคนอื่น (ภรรยา) ในฐานะท่ีเป็นคนๆ หน่ึงท่ีย่อมมีเหตุผล/ขอ้ผิดพลาดในการ

ดาํเนินชีวิต

4. การขาดความรับผิดชอบต่อชีวิตคนอ่ืน (ภรรยาและลูก) ด้วยการปฏิเสธความ

รับผดิชอบต่อลูก

แนวการตอบกรณทีี ่2 บวชป่า สร้างศรัทธาเลกิตดัไม้

การกระทาํของ ผูใ้หญ่ ข. เป็นการกระทาํท่ีเหมาะสม เน่ืองจาก

1. ทาํหน้าท่ีตามบทบาทหน้าท่ีในฐานะผูน้ําหมู่บา้น เป็นตวัอย่างที่ดีต่อการบาํรุงรักษา

ส่ิงแวดลอ้มตามระบบนิเวศ ดว้ยการสงวนรักษา/อนุรักษป่์าไมใ้หร้อดพน้จากการบุกรุก

ของนายทุน/ชาวบา้น

2. การใหค้วามสําคญัต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน มีการประชุมปรึกษาหารือ เพ่ือหา

แนวทางในการแกปั้ญหาการบุกรุกทาํลายป่าของหมู่บา้น

3. มีความพยายามดาํเนินการแกปั้ญหาของหมู่บา้น โดยนาํภูมิปัญญา/ประเพณี/ความเช่ือ

ดั้งเดิมของชาวบา้นมาประยกุตใ์ช ้

4. ให้ความสําคญัต่อการดาํเนินชีวิตประจําวนัท่ีไม่เบียดเบียน/ทาํลายป่าไม/้ส่ิงแวดลอ้ม

ของหมู่บา้น โดยนาํความเช่ือศรัทธาต่อส่ิงศกัด์ิสิทธ์ิ มาเช่ือมโยงสู่การปฏิบติัในการ

ดาํเนินชีวิต

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

633

แบบวดัเจตคตด้ิานการใช้เสรีภาพตามกระบวนทัศน์การพฒันามนุษย์

ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

คาํช้ีแจง

1. แบบวดัเจตคติฯ เป็นแบบวดัระดบัความคิดเห็นแบบมาตรประเมินคา่ 5 ระดบั จาํนวน 25 ขอ้

2. ให้ท่านอ่านประเด็นต่อไปน้ี และแสดงความรูสึ้กหรือความเห็นทนัทีท่ีอ่านจบ ว่าทา่นเห็นดว้ย

หรือรู้สึกต่อประเด็นดงักล่าวมากน้อยเพียงใด

3. กรุณาทาํเคร่ืองหมาย ในช่อง ตามความเห็นท่ีแทจ้ริง

ข้อ ประเด็น ระดบัความเห็นด้วย

มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

น้อย นอ้ย

ท่ีสุด

องค์ประกอบที ่1 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติทีเ่คารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของ

ตนเอง

1. ตดัสินใจซ้ือสินคา้ราคาแพงเอาไวใ้ชต้าม

ความจําเป็น

2. ชีวิตเป็นของเรา เราจะดาํเนินชีวิตอยา่งไรก็

ได ้ ถา้ไม่ทาํใหค้นอ่ืนเดือนร้อน

3. แมจ้ะมีเงิน แต่ก็ไมค่ิดทาํศลัยกรรมเสริม

ความงามตามเพ่ือนๆ

4. ควรฝึกซอ้มกีฬาอยา่งหนกั จะไดส้รา้ง

ช่ือเสียงต่อตนเอง แมมี้ผลทางลบต่อสุขภาพ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

634

5. น่าภาคภูมิใจท่ีทาํตามประเพณี วฒันธรรม

ไทย

องค์ประกอบที ่2 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติทีเ่คารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

ของคนอื่น

6. อยู่เฉยๆ เพ่ือจะไดไ้ม่เดือนรอ้นดว้ยเร่ืองของ

คนอ่ืน

7. ควรรับฟังคาํช้ีแจงของคนที่ท่านคิดว่าไม่มี

เหตุผล

8. ทาํงานเป็นกลุ่ม ไดง้านมากกว่าทาํงานคน

เดียว

9. การทาํกิจกรรมร่วมกบัคนอื่น ทาํใหสู้ญเสีย

ความเป็นส่วนตวั

10. ไม่ควรเสียเวลาพูดกบัคนท่ีไม่มีประโยชน ์

11. วิทยาลยัเป็นของทุกคน ถา้เราไม่ช่วยกนัดูแล

ใครจะช่วย

12. เพ่ือเสรีภาพของทุกคน เราตอ้งอดทนต่อสู้แม้

จะตอ้งลาํบาก

องค์ประกอบที ่3 : เจตคติการใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดล้อม

13. เม่ือสั ่งอาหารมา ควรทานให้หมด แมว้า่จะไม่

ชอบ

14. การดูแลตน้ไมใ้นท่ีสาธารณะ เป็นหนา้ที่ของ

หน่วยงานภาครัฐ

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

635

15. ถา้บา้นอยูใ่กลท่ี้ทาํงาน จะไม่ขบัรถไปเพือ่

เป็นการประหยดัพลงังาน

16. น่าช่ืนชมเพ่ือนบา้น ท่ีนาํสัตวป่์ามาเล้ียงท่ี

บา้น โดยไม่เกิดปัญหากบัตวัเขาเอง

17. ควรใชก้ล่องโฟมใส่อาหาร เน่ืองจากสะดวก

และไม่ตอ้งเสียเวลาทาํความสะอาด

18. ถา้พบขยะ จะนาํไปใส่ในถงัขยะ

องค์ประกอบที ่4 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติตอบรับแนวทางของพระเจ้า

19. เม่ือมีความทกุข ์จะคดิถึงพระก่อนส่ิงใด

20. สิ่งท่ีเกิดข้ึน ทั้งดีและร้าย พระเจา้อนุญาตให้

เกิดข้ึน

21. ชีวิตจะดีหรือชัว่ อยู่ที่ตวัเองกาํหนด

22. ดาํเนินชีวิตโดยฟังเสียงภายใน ดว้ยใจท่ีสงบ

23. ไม่ทาํผิด เพราะกลวัพระจะไม่รกั

24. ก่อนทาํส่ิงใด ควรตั้งสติและไตร่ตรองหาพระ

ประสงคข์องพระวา่ทรงตอ้งการใหท้าํ

หรือไม่

25. การดาํเนินชีวิตโดยฟังเสียงภายในใจ ทาํให้

เสียเวลาทาํงาน

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

636

แนวทางการให้คะแนนแบบวดัเจตคติฯ

ข้อ ประเด็น ระดบัความเห็นด้วย

มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

น้อย นอ้ย

ท่ีสุด

องค์ประกอบที ่1 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติทีเ่คารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของ

ตนเอง

1. ตดัสินใจซ้ือสินคา้ราคาแพงเอาไวใ้ชต้าม

ความจําเป็น

5 4 3 2 1

2. ชีวิตเป็นของเรา เราจะดาํเนินชีวิตอย่างไรก็

ได ้ ถา้ไม่ทาํใหค้นอ่ืนเดือนร้อน

1 2 3 4 5

3. แมจ้ะมีเงิน แต่ก็ไมค่ิดทาํศลัยกรรมเสริม

ความงามตามเพ่ือนๆ

5 4 3 2 1

4. ควรฝึกซอ้มกีฬาอยา่งหนกั จะไดส้รา้ง

ช่ือเสียงต่อตนเอง แมมี้ผลทางลบต่อสุขภาพ

1 2 3 4 5

5. น่าภาคภูมิใจท่ีทาํตามประเพณี วฒันธรรม

ไทย

5 4 3 2 1

องค์ประกอบที ่2 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติทีเ่คารพคุณค่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

ของคนอื่น

6. อยู่เฉยๆ เพ่ือจะไดไ้ม่เดือนรอ้นดว้ยเร่ืองของ

คนอ่ืน 1 2 3 4 5

7. ควรรับฟังคาํช้ีแจงของคนที่ท่านคิดว่าไม่มี

เหตุผล 5 4 3 2 1

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

637

8. ทาํงานเป็นกลุ่ม ไดง้านมากกว่าทาํงานคน

เดียว

5 4 3 2 1

9. การทาํกิจกรรมร่วมกบัคนอื่น ทาํใหสู้ญเสีย

ความเป็นส่วนตวั

1 2 3 4 5

10. ไม่ควรเสียเวลาพูดกบัคนท่ีไม่มีประโยชน ์ 1 2 3 4 5

11. วิทยาลยัเป็นของทุกคน ถา้เราไม่ช่วยกนัดูแล

ใครจะช่วย

5 4 3 2 1

12. เพ่ือเสรีภาพของทุกคน เราตอ้งอดทนต่อสู้แม้

จะตอ้งลาํบาก

5 4 3 2 1

องค์ประกอบที ่3 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติอย่างเหมาะสมในบริบทส่ิงแวดล้อม

13. เม่ือสั ่งอาหารมา ควรทานให้หมด แมว้า่จะไม่

ชอบ

5 4 3 2 1

14. การดูแลตน้ไมใ้นท่ีสาธารณะ เป็นหนา้ที่ของ

หน่วยงานภาครัฐ

1 2 3 4 5

15. ถา้บา้นอยูใ่กลท่ี้ทาํงาน จะไม่ขบัรถไปเพือ่

เป็นการประหยดัพลงังาน

5 4 3 2 1

16. น่าช่ืนชมเพ่ือนบา้น ท่ีนาํสัตวป่์ามาเล้ียงท่ี

บา้น โดยไม่เกิดปัญหากบัตวัเขาเอง

1 2 3 4 5

17. ควรใชก้ล่องโฟมใส่อาหาร เน่ืองจากสะดวก

และไม่ตอ้งเสียเวลาทาํความสะอาด

1 2 3 4 5

18. ถา้พบขยะ จะนาํไปใส่ในถงัขยะ 5 4 3 2 1

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

638

องค์ประกอบที ่4 : เจตคตกิารใช้เสรีภาพในการดําเนินชีวติตอบรับแนวทางของพระเจ้า

19. เม่ือมีความทกุข ์จะคดิถึงพระก่อนส่ิงใด 5 4 3 2 1

20. สิ่งท่ีเกิดข้ึน ทั้งดีและร้าย พระเจา้อนุญาตให้

เกิดข้ึน

5 4 3 2 1

21. ชีวิตจะดีหรือชัว่ อยู่ที่ตวัเองกาํหนด 1 2 3 4 5

22. ดาํเนินชีวิตโดยฟังเสียงภายใน ดว้ยใจท่ีสงบ 5 4 3 2 1

23. ไม่ทาํผิด เพราะกลวัพระจะไม่รกั 1 2 3 4 5

24. ก่อนทาํส่ิงใด ควรตั้งสติและไตร่ตรองหาพระ

ประสงคข์องพระวา่ทรงตอ้งการใหท้าํ

หรือไม่

5 4 3 2 1

25. การดาํเนินชีวิตโดยฟังเสียงภายในใจ ทาํให้

เสียเวลาทาํงาน

1 2 3 4 5

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

639

แบบวดัพฤตกิรรมการใช้เสรีภาพตามกระบวนทัศน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

คาํช้ีแจง

1. ให้สมมติบทบาทเป็นบุคคลในกรณีศึกษา และเสนอพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิต

จากกรณีศึกษาต่างๆ ในแบบความเรียง (อตันยั) จาํนวน 3 กรณี

2. เวลาท่ีใชใ้นการทาํแบบวดัพฤติกรรมฯ 30 นาที (กรณีละ 10 นาที)

กรณศึีกษา 1

ถูกรางวลัลอตเตอร่ี 18 ล้านบาท เผยเคล็ดลบัถูกหวยเพราะชอบช่วยเหลอืคนอืน่

นาย ก. ถูกรางวลัจากลอตเตอร่ี 18 ลา้นบาท ให้สมัภาษณว์่า แมต้นเองมีอาชีพถางป่าทาํไร่

เล่ือนลอย แต่ก็หมัน่เขา้วดั ทาํบุญ และช่วยเหลือคนท่ีเดือนร้อนอยู่เสมอ เช่ือวา่ถา้ทาํดีก็จะไดดี้ดงัท่ีเขา

ประสบ

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็น นาย ก. ซ่ึงถูกรางวลัลอตเตอร่ี ท่านจะปฏิบติัตนอย่างไรท่ีแสดงถึงการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

1...........................................................................................................................................

…………………………………………………………………………………………………………...

2.……………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………...

3.……………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………

4.……………………………………………………………………………………………

……..............................................................................................................................................

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

640

กรณศึีกษา 2

รอดตายจากอุบัตเิหตุ เช่ือว่าพระช่วยให้รอดตาย

นายแดง ไปร่วมงานสังสรรคโ์อกาสส่งทา้ยปีเก่า ตอ้นรับปีใหม่กบัเพื่อนๆ ไดด่ื้มเหลา้จนมี

อาการมึนเมา เม่ืองานเลี้ยงจบลง เพ่ือนๆ เตอืนวา่อยา่ขบัรถกลบั ใหเ้รียกรถแทก็ซ่ีกลบับา้น แต่นายแดง

ยนืยนัว่าจะขบัรถกลบับา้นเอง จนขบัรถประสบอุบติัเหตุไปชนตน้ไมห้ักไปหลายตน้ สภาพรถยนตพ์งั

ยบัเยิน เม่ือฟ้ืนสติท่ีโรงพยาบาล นายแดงฝากขอ้คิดแก่เพ่ือนๆ ท่ีมาเฝ้าอาการว่า การขาดสติจะนาํมาซ่ึง

หายนะแก่ชีวิต

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็นนายแดง ซ่ึงรอดตายจากอุบติัเหต ุ ท่านจะปฏิบติัตนอยา่งไรในการดาํเนินชีวิตท่ี

เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

1..............................................................................................................................................

…………………………………………………………………………………………………………...

2.……………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………

3.……………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………

4.……………………………………………………………………………………………

……..............................................................................................................................................

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

641

กรณศึีกษา 3

จบัแม่บ้านทิง้สารเคมลีงแม่นํา้ หาเงนิเลีย้งครอบครัว

นายตาํรวจ ก. ตามจบัหญิงวยักลางคนท่ีนาํสารเคมีมาทิ ้งแม่นํ้ า สารภาพว่ารับจา้งโรงงานแถว

บา้นใหน้าํสารเคมีมาทิ ้ง ค่าจา้งท่ีไดน้ํามาเล้ียงสามีท่ีป่วยหนกั และลูกๆ อีกสองคน

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็น นายตาํรวจ ก. ท่านจะปฏิบติัตนอยา่งไรท่ีแสดงถึงการดาํเนินชีวิตที่เคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

1..............................................................................................................................................

…………………………………………………………………………………………………………

2.……………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………

3.……………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………

4.……………………………………………………………………………………………

……..............................................................................................................................................

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

642

แนวคาํตอบแบบวดัพฤติกรรมฯ

กรณศึีกษา 1 ถูกรางวลัลอตเตอร่ี 18 ลา้นบาท เผยเคล็ดลบัถูกหวยเพราะชอบช่วยเหลือคนอ่ืน

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็น นาย ก. ซ่ึงถูกรางวลัลอตเตอร่ี ท่านจะปฏิบติัตนอย่างไรที่แสดงถึงการใช้

เสรีภาพในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

แนวคาํตอบ

1. จะเปล่ียนอาชีพ มุ่งมัน่และขยนัทาํงานดว้ยนํ้ าพกันํ้ าแรงของตนเอง โดยไม่หวงัพ่ึงโชค

ลาภจากการถูกรางวลัลอตเตอร่ีอีกต่อไป

2. ใหเ้วลาแก่ครอบครัว จดัสรรเงินเพ่ือเป็นทุนการศึกษาแก่ลูกๆ และญาติพ่ีนอ้งท่ี

เดือดร้อน

3. นาํเงินท่ีไดไ้ปซ้ือท่ีดิน เพ่ือปลูกผกั และปลูกตน้ไมใ้นทีดิ่นของตน ชดเชยกบัท่ีไดต้ดั

ตน้ไมใ้นขณะประกอบอาชีพเดิม

4. ยงัคงเขา้วดั และนาํเงินจาํนวนหน่ึงไปทาํบุญตามวดัตา่งๆ และองคก์รการกุศลตามโอกาส

ต่างๆ

กรณศึีกษา 2 รอดตายจากอุบัตเิหตุ เช่ือว่าพระช่วยให้รอดตาย

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็นนายแดง ซ่ึงเช่ือว่ารอดตายจากอุบตัิเหตุ ท่านจะปฏิบติัตนอยา่งไรในการดาํเนิน

ชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

แนวคาํตอบ

1. จะลดปริมาณการด่ืมเหลา้ เพ่ือดูแลสุขภาพร่างกายตนเอง ให้มีสติสัมปชญัญะในทุกขณะ

2. ยงัคงร่วมงานสังสรรคก์บัเพ่ือนๆ และใส่ใจ/สนใจฟังคาํแนะนาํท่ีสร้างสรรคจ์ากเพ่ือนๆ

3. จะบาํรุงรักษาตน้ไมท่ี้ไดข้บัรถชนหกั หรือปลูกทดแทน

4. จะเลิกพฤติกรรมการขบัรถขณะขาดสต ิใส่ใจในการเขา้วดั ปฏิบตัิตนตามหลกัศาสนา

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

643

กรณศึีกษา 3 จบัแม่บ้านทิง้สารเคมลีงแม่นํา้ หาเงนิเลีย้งครอบครัว

ข้อคาํถาม

ถา้ท่านเป็น นายตาํรวจ ก. ท่านจะปฏิบติัตนอย่างไรท่ีแสดงถึงการดาํเนินชีวิตที่เคารพคุณค่า

ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย?์

แนวคาํตอบ

1. ดาํเนินการตามกฎหมาย ดาํเนินคดีแก่ผูท้าํผิด เพือ่รักษาความดีของสังคม

2. หาขอ้มลู/ขอ้เทจ็จริงเกี่ยวกบัเหตุผลของการกระทาํผดิ ถา้พบว่าเป็นเช่นนั้นๆ จริงๆ จะ

หาวิธีลดหยอ่นโทษ และช่วยประสานงานในการหางานท่ีถูกตอ้งแก่ผูห้ญิงคนนั้น เพ่ือเล้ียงดูครอบครัว

3. หมัน่ตรวจ เฝ้าระวงัการทาํผิดกฎหมายตามบทบาทหนา้ที่ท่ีไดร้ับ โดยเฉพาะการทาํผดิ

กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้งกบัการทาํลายระบบนิเวศของส่ิงแวดลอ้ม

4. หมัน่เขา้วดั ปฏิบติัธรรม เพ่ือใหม้ีจิตใจท่ีเป็นธรรม และซ่ือสัตยใ์นการปฏิบติัหนา้ทีด่ว้ย

ความเท่ียงตรง

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

644

แบบสอบถามความคดิเห็นทีม่ต่ีอการใช้รูปแบบการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที ่2

คาํช้ีแจง ใหอ่้านขอ้คาํถาม และแสดงความคิดเห็นโดยทาํเคร่ืองหมาย ในช่อง ตามความ

คิดเห็นของท่าน

หัวข้อการสอบถาม ระดบัความเหมาะสม

มาก

ท่ีสุด

มาก ปาน

กลาง

นอ้ย นอ้ย

ท่ีสุด

1. ด้านประโยชน์ทีไ่ด้รับจากการอบรม

1.1 ประโยชน์ท่ีท่านไดรั้บจากการเขา้อบรมในคร้ังน้ี

1.2 สามารถนาํส่ิงท่ีไดรั้บจากการเขา้รับการอบรมไปปรับใชใ้นชีวิตประจาํวนั

2. ด้านวทิยากร

1.1 ความชัดเจนจากการถ่ายทอดเน้ือหาและกระบวนการฝึกอบรมตามรูปแบบฯ

1.2 บรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล

1.3 ประโยชน์จากการใชเ้อกสาร/ส่ือประกอบการ

อบรมตามรูปแบบ

1.4 การตอบขอ้ซักถามของวิทยากรในขณะฝึกอบรม

3. ด้านบรรยากาศการจัดอบรม

3.1 ความเหมาะสมของระยะเวลาการจดัอบรม

3.2 ความเหมาะสมของสถานท่ี

3.3 ความเหมาะสมของตารางเวลา

3.4 บรรยากาศของความไวว้างใจ/ การเคารพสิทธิ

เสรีภาพของบุคคล/ ความเป็นอิสระ

ขอ้เสนอแนะ

.....................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

645

แนวคาํถามเพ่ือสัมภาษณ์การใช้รูปแบบการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที ่2

1. ท่านไดรั้บประโยชนอ์ะไรจากรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปา

ยอห์น ปอล ท่ี 2

2. ท่านคิดว่ารูปแบบฯ สามารถนาํไปประยกุตใ์ชใ้นชีวิตประจาํวนัของท่านไดห้รือไม่ อย่างไร

3. ท่านพอใจขั้นตอนการฝึกอบรมการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2 เพียงใด มขีอ้ปรับปรุง หรือมีขอ้เสนอแนะเพิ่มเติมอะไรบา้ง

4. ขอ้เสนอแนะต่อการใชรู้ปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระสนัตะปาปายอห์น

ปอล ท่ี 2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

ภาคผนวก ฉ

ค่าสถิติของเครื่องมอื

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

647

ตาราง 32 ผลการประเมินความสอดคลอ้งของรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

องค์ประกอบ X S.D. ความ

หมาย

1. หลักการ : การเสริมสร้างบุคคลให้สํานึกรับผิดชอบต่อเสรีภาพ/ใช้เสรีภาพ

อย่างถูกตอ้งเตม็ท่ี ในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ในบริบทอัต

ลกัษณ์/สมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลใชเ้สรีภาพตอบรับแนวทางของ

พระเจา้ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

5.00 0.00 มากท่ีสุด

2. เป้าหมาย : การเป็นบคุคลทีส่มบูรณ์ หรือความรอดพน้ในพระเจา้ 4.90 0.30 มากท่ีสุด

3. จุดหมาย :

1. เพ่ือเสริมสรา้งความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของ

บุคคล ตาม เจตคตกิารเคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

2. เพ่ือพฒันาบุคคลใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอยา่งตอ่เน่ืองใน

การดาํเนินชีวิตที่เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

4.70 0.50 มากท่ีสุด

4. กระบวนการ : คน้พบ รับรู/้ยอมรบั ตดัสินใจเปล่ียนแปลง 4.70 0.50 มากท่ีสุด

วธีิการ : อบรม ฝึกปฏิบติั แบ่งปัน 4.60 0.50 มากท่ีสุด

ขั้นตอน : ทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ ไตร่ตรอง ออกแบบ 4.60 0.50 มากท่ีสุด

ลาํดับแผนฯ : 1. การศึกษาปรากฏการณ์ 2. การไตร่ตรองชีวิต

3. การออกแบบแนวปฏิบติั

4.60 0.50 มากท่ีสุด

5. เงือ่นไข : 1. วิทยากรมีจิตตารมย/์ เป็นแบบอยา่ง

2. ผูเ้ขา้รับการอบรม มีพ้ืนฐาน/มีวินยัและความมุ่งม ัน่

3. ผูเ้กี่ยวขอ้ส่งเสริม/มีการดาํเนินชีวิตร่วมกนั

4.70 0.50 มากท่ีสุด

ปัจจัย : บรรยากาศท่ีเคารพยอมรับสิทธิเสรีภาพไวว้างใจ/มีส่วนร่วม 4.90 0.30 มากท่ีสุด

6. การประเมนิ : 1. ความรู้ กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยฯ์

2. เจตคติ การเคารพยอมรับสิทธิ เสรีภาพของบคุคล

3. พฤติกรรม การดาํเนินชีวิตทีเ่คารพคุณค่าฯ

4.70

0.50

มากท่ีสุด

รวม 4.70 0.44 มากท่ีสุด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

648

ตาราง 33 ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศันข์อง

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

องค์ประกอบ X S.D. ความ

หมาย

1. หลักการ : การเสริมสร้างบุคคลให้สํานึกรับผิดชอบต่อเสรีภาพ/ใช้เสรีภาพ

อย่างถูกตอ้งเตม็ท่ี ในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ในบริบทอัต

ลกัษณ์/สมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลใชเ้สรีภาพตอบรับแนวทางของ

พระเจา้ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

4.50 0.70 มากท่ีสุด

2. เป้าหมาย : การเป็นบคุคลทีส่มบูรณ์ หรือความรอดพน้ในพระเจา้ 4.60 0.50 มากท่ีสุด

3. จุดหมาย :

1. เพ่ือเสริมสร้างความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของ

บุคคล ตาม เจตคติการเคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

2. เพ่ือพฒันาบุคคลใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอยา่งตอ่เน่ืองใน

การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

4.60 0.50 มากท่ีสุด

4. กระบวนการ : คน้พบ รับรู/้ยอมรบั ตดัสินใจเปล่ียนแปลง 4.30 0.80 มาก

วธีิการ : อบรม ฝึกปฏิบติั แบ่งปัน 4.40 0.50 มาก

ขั้นตอน : ทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ ไตร่ตรอง ออกแบบ 4.50 0.50 มากท่ีสุด

ลาํดับแผนฯ : 1. การศึกษาปรากฏการณ์ 2. การไตร่ตรองชีวิต

3. การออกแบบแนวปฏิบติั

4.60 0.50 มากท่ีสุด

5. เงือ่นไข : 1. วิทยากรมีจิตตารมย/์ เป็นแบบอยา่ง

2. ผูเ้ขา้รับการอบรม มีพ้ืนฐาน/มีวินยัและความมุ่งม ัน่

3. ผูเ้กี่ยวขอ้ส่งเสริม/มีการดาํเนินชีวิตร่วมกนั

4.10 0.60 มาก

ปัจจัย : บรรยากาศท่ีเคารพยอมรับสิทธิเสรีภาพไวว้างใจ/มีส่วนร่วม 4.60 0.50 มากท่ีสุด

6. การประเมนิ : 1. ความรู้ กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยฯ์

2. เจตคติ การเคารพยอมรับสิทธิ เสรีภาพของบคุคล

3. พฤติกรรม การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าฯ

4.50

0.50

มากท่ีสุด

รวม 4.47 0.58 มาก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

649

ตาราง 34 ผลการประเมินความเป็นไปไดข้องรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของ

พระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

องค์ประกอบ X S.D. ความ

หมาย

1. หลักการ : การเสริมสร้างบุคคลให้สํานึกรับผิดชอบต่อเสรีภาพ/ใช้เสรีภาพ

อย่างถูกตอ้งเตม็ท่ี ในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ในบริบทอัต

ลกัษณ์/สมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลใชเ้สรีภาพตอบรับแนวทางของ

พระเจา้ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

4.50 0.70 มากท่ีสุด

2. เป้าหมาย : การเป็นบคุคลทีส่มบูรณ์ หรือความรอดพน้ในพระเจา้ 4.60 0.50 มากท่ีสุด

3. จุดหมาย :

1. เพ่ือเสริมสร้างความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของ

บุคคล ตาม เจตคติการเคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

2. เพ่ือพฒันาบุคคลใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอยา่งต่อเน่ือง

ในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

4.60 0.50 มากท่ีสุด

4. กระบวนการ : คน้พบ รับรู/้ยอมรบั ตดัสินใจเปล่ียนแปลง 4.30 0.80 มาก

วธีิการ : อบรม ฝึกปฏิบติั แบ่งปัน 4.40 0.50 มาก

ขั้นตอน : ทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ ไตร่ตรอง ออกแบบ 4.50 0.50 มากท่ีสุด

ลาํดับแผนฯ :1. การศึกษาปรากฏการณ์ 2. การไตร่ตรองชีวิต

3. การออกแบบแนวปฏิบติั

4.60 0.50 มากท่ีสุด

5. เงือ่นไข : 1. วิทยากรมีจิตตารมย/์ เป็นแบบอยา่ง

2. ผูเ้ขา้รับการอบรม มีพ้ืนฐาน/มีวินยัและความมุ่งม ัน่

3. ผูเ้กี่ยวขอ้ส่งเสริม/มีการดาํเนินชีวิตร่วมกนั

4.10 0.60 มาก

ปัจจัย : บรรยากาศท่ีเคารพยอมรับสิทธิเสรีภาพไวว้างใจ/มีส่วนร่วม 4.60 0.50 มากท่ีสุด

6. การประเมนิ : 1. ความรู้ กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยฯ์

2. เจตคติ การเคารพยอมรับสิทธิ เสรีภาพของบคุคล

3. พฤติกรรม การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าฯ

4.50

0.50

มากท่ีสุด

รวม 4.47 0.58 มาก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

650

ตาราง 35 ผลการประเมินความเป็นประโยชนข์องการนาํไปใชจ้ริงของรูปแบบการพฒันามนุษยต์าม

กระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

องค์ประกอบ X S.D. ความ

หมาย

1. หลักการ : การเสริมสร้างบุคคลให้สํานึกรับผิดชอบต่อเสรีภาพ/ใช้เสรีภาพ

อย่างถูกตอ้งเตม็ท่ี ในการดาํเนินชีวิตร่วมกบัคนอ่ืนอย่างเหมาะสม ในบริบทอัต

ลกัษณ์/สมดุลกบัส่ิงแวดลอ้ม เพ่ือใหแ้ต่ละบุคคลใชเ้สรีภาพตอบรับแนวทางของ

พระเจา้ในการดาํเนินชีวิตไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์

4.50 0.70 มากท่ีสุด

2. เป้าหมาย : การเป็นบคุคลทีส่มบูรณ์ หรือความรอดพน้ในพระเจา้ 4.60 0.50 มากท่ีสุด

3. จุดหมาย :

1. เพ่ือเสริมสร้างความสาํนึกต่อเสรีภาพและการใชเ้สรีภาพของ

บุคคล ตาม เจตคติการเคารพคุณคา่ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

2. เพ่ือพฒันาบุคคลใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงเจตคติอยา่งต่อเน่ือง

ในการดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์

4.60 0.50 มากท่ีสุด

4. กระบวนการ : คน้พบ รับรู/้ยอมรบั ตดัสินใจเปล่ียนแปลง 4.30 0.80 มาก

วธีิการ : อบรม ฝึกปฏิบติั แบ่งปัน 4.40 0.50 มาก

ขั้นตอน : ทาํความเขา้ใจปรากฏการณ์ ไตร่ตรอง ออกแบบ 4.50 0.50 มากท่ีสุด

ลาํดับแผนฯ : 1. การศึกษาปรากฏการณ์ 2. การไตร่ตรองชีวิต

3. การออกแบบแนวปฏิบติั

4.60 0.50 มากท่ีสุด

5. เงือ่นไข : 1. วิทยากรมีจิตตารมย/์ เป็นแบบอยา่ง

2. ผูเ้ขา้รับการอบรม มีพ้ืนฐาน/มีวินยัและความมุ่งม ัน่

3. ผูเ้กี่ยวขอ้ส่งเสริม/มีการดาํเนินชีวิตร่วมกนั

4.10 0.60 มาก

ปัจจัย : บรรยากาศท่ีเคารพยอมรับสิทธิเสรีภาพไวว้างใจ/มีส่วนร่วม 4.60 0.50 มากท่ีสุด

6. การประเมนิ : 1. ความรู้ กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยฯ์

2. เจตคติ การเคารพยอมรับสิทธิ เสรีภาพของบคุคล

3. พฤติกรรม การดาํเนินชีวิตท่ีเคารพคุณค่าฯ

4.50

0.50

มากท่ีสุด

รวม 4.47 0.58 มาก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

651

ตาราง 36 ผลการประเมินความสอดคลอ้งของคู่มือการใชรู้ปแบบฯ และเคร่ืองมอืประเมินการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

องค์ประกอบ X S.D. ความหมาย

ตอนที ่1 การจัดอบรมเพือ่การพฒันามนุษย์

หลกัการและเหตุผล 5.00 0.00 มากที่สุด

วตัถุประสงคแ์ละกลุ่มเป้าหมาย 5.00 0.00 มากที่สุด

การสรุปกระบวนทศัน/์รูปแบบการจดัอบรมฯ 5.00 0.00 มากที่สุด

ตอนที ่2 แนวทางและแนวปฏบิตัิในการจัดอบรม

ลกัษณะและแนวปฏิบติัในการจดัสภาพแวดลอ้ม 4.50 0.60 มากที่สุด

การดาํเนินการจดัอบรม/วิธีการ/ขั้นตอน 5.00 0.00 มากที่สุด

แผนการจดัอบรม/หลกัสูตร/ตารางการจดัอบรม 4.50 0.60 มากที่สุด

คุณลกัษณะและบทบาทของวิทยากร ผูเ้ขา้อบรมและ

ผูเ้ก่ียวขอ้ง

4.30 1.00 มาก

ตอนที ่3 คู่มอืวทิยากร

ขอ้ควรปฏิบติัก่อนดาํเนินการอบรม 4.50 0.60 มากที่สุด

แนวทางในการดาํเนินการ 4.50 0.60 มากที่สุด

การจดับรรยากาศการอบรม 4.50 0.60 มากที่สุด

การจดัที่นัง่ การแบ่งกลุ่ม/การดาํเนินการประชุมกลุ่ม 4.80 0.50 มากที่สุด

การจดัตามแผนการอบรม 5.00 0.00 มากที่สุด

เคร่ืองมือ/ส่ือท่ีใชป้ระกอบการอบรม 5.00 0.00 มากที่สุด

เอกสาร/กรณีศกึษา/ใบงาน/แบบบนัทึกฯ วนัท่ี 1-2 5.00 0.00 มากที่สุด

เอกสาร/กรณีศกึษา/ใบงาน/แบบบนัทึกฯ วนัท่ี 3-4 5.00 0.00 มากที่สุด

เอกสาร/ ใบงาน/แบบบนัทึกฯ วนัท่ี 5-6 5.00 0.00 มากที่สุด

เคร่ืองมือประเมินการพฒันาฯ 4.80 0.50 มากที่สุด

รวม 4.77 0.45 มากที่สุด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

652

ตาราง 37 ผลการประเมินความเป็นไปไดข้องคู่มือการใชรู้ปแบบฯ และเคร่ืองมือประเมินการพฒันามนุษย์

ตามกระบวนทศัน์ของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

องค์ประกอบ X S.D. ความหมาย

ตอนที ่1 การจัดอบรมเพือ่การพฒันามนุษย์

หลกัการและเหตุผล 5.00 0.00 มากที่สุด

วตัถุประสงคแ์ละกลุ่มเป้าหมาย 5.00 0.00 มากที่สุด

การสรุปกระบวนทศัน/์รูปแบบการจดัอบรมฯ 5.00 0.00 มากที่สุด

ตอนที ่2 แนวทางและแนวปฏบิตัิในการจัดอบรม

ลกัษณะและแนวปฏิบติัในการจดัสภาพแวดลอ้ม 4.50 0.60 มากที่สุด

การดาํเนินการจดัอบรม/วิธีการ/ขั้นตอน 5.00 0.00 มากที่สุด

แผนการจดัอบรม/หลกัสูตร/ตารางการจดัอบรม 4.50 0.60 มากที่สุด

คุณลกัษณะและบทบาทของวิทยากร ผูเ้ขา้อบรมและ

ผูเ้ก่ียวขอ้ง

4.30 1.00 มาก

ตอนที ่3 คู่มอืวทิยากร

ขอ้ควรปฏิบติัก่อนดาํเนินการอบรม 4.50 0.60 มากที่สุด

แนวทางในการดาํเนินการ 4.50 0.60 มากที่สุด

การจดับรรยากาศการอบรม 4.50 0.60 มากที่สุด

การจดัที่นัง่ การแบ่งกลุ่ม/การดาํเนินการประชุมกลุ่ม 4.80 0.50 มากที่สุด

การจดัตามแผนการอบรม 5.00 0.00 มากที่สุด

เคร่ืองมือ/ส่ือท่ีใชป้ระกอบการอบรม 5.00 0.00 มากที่สุด

เอกสาร/กรณีศกึษา/ใบงาน/แบบบนัทึกฯ วนัท่ี 1-2 5.00 0.00 มากที่สุด

เอกสาร/กรณีศกึษา/ใบงาน/แบบบนัทึกฯ วนัท่ี 3-4 5.00 0.00 มากที่สุด

เอกสาร/ ใบงาน/แบบบนัทึกฯ วนัท่ี 5-6 5.00 0.00 มากที่สุด

เคร่ืองมือสาํหรับประเมินการพฒันาฯ 4.80 0.50 มากที่สุด

รวม 4.77 0.45 มากที่สุด

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

653

ตาราง 38 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนแบบวดัความรู้การพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์

ของพระสนัตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pre-test) และ หลงั (Post-test) การทดลอง

คนท่ี คะแนนเตม็ คะแนน

ทดสอบก่อน

คะแนน

ทดสอบหลัง

คะแนน

พฒันาการ

พัฒนาการ

(ร้อยละ)

1 56 25 42 17 30.35

2 56 17 38 21 37.50

3 56 13 37 24 42.85

4 56 28 44 16 28.57

5 56 27 43 16 28.57

6 56 30 50 20 35.71

7 56 13 35 22 39.28

8 56 25 42 17 30.35

9 56 25 46 21 37.50

10 56 15 42 27 48.21

11 56 14 33 19 33.92

12 56 11 33 22 39.28

13 56 13 33 20 35.71

14 56 27 50 23 41.07

15 56 19 43 24 42.85

16 56 21 38 17 30.35

17 56 17 32 15 26.78

18 56 15 33 18 32.14

19 56 12 31 19 33.92

20 56 18 41 23 41.07

21 56 20 36 16 28.57

22 56 15 42 27 48.21

23 56 14 37 23 41.07

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

654

24 56 23 48 25 44.64

25 56 25 45 20 35.71

คะแนนรวม 482 994 512 51.50

คะแนนเฉล่ีย 19.24 39.76 20.48

S.D. 5.79 5.71 3.48

ตาราง 39 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนแบบวดัเจตคติดา้นการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pre-test) และ หลงั

(Post-test) การทดลอง

คนที ่ คะแนนทดสอบก่อนอบรม

คะแนนทดสอบหลงัอบรม

คะแนนพฒันาการ พฒันาการ

(ร้อยละ)

เจตคติการใช้เสรีภาพฯ เจตคติการใช้เสรีภาพฯ เจตคติการใช้เสรีภาพฯ เจตคติการใช้

เสรีภาพฯ

ตนเอง (

5)

คนอื่น

(5)

สิ่งแวดล้

อม (5

)

พระเจ้า

(5)

ตนเอง (

5)

คนอื่น

(5)

สิ่งแวดล้

อม (5

)

พระเจ้า

(5)

ตนเอง (

5)

คนอื่น

(5)

สิ่งแวดล้

อม (5

)

พระเจ้า

(5)

ตนเอง (

5)

คนอื่น

(5)

สิ่งแวดล้

อม (5

)

พระเจ้า

(5)

1 2.8 2.6 1.8 2.6 3.6 3.2 3.6 3.4 0.60 0.40 0.60 0.40 12 8 12 8

2 2.2 3.0 2.6 2.2 3.8 3.8 3.4 3.6 0.60 0.60 0.10 0.60 12 12 16 12

3 2.2 2.0 2.4 2.2 3.2 3.4 3.2 3.2 0.60 0.10 0.40 0.40 12 16 8 8

4 2.4 2.2 2.6 2.4 3.6 3.4 3.8 3.4 0.60 0.60 0.60 0.40 12 12 12 8

5 2.2 2.2 2.0 2.0 3.4 3.4 3.2 3.4 0.60 0.60 0.60 0.10 12 12 12 16

6 2.6 2.2 2.4 2.6 3.4 3.2 3.4 4.2 0.40 0.10 0.60 0.60 8 16 12 12

7 2.0 2.2 2.0 2.2 3.2 3.2 3.8 3.6 0.10 0.60 0.20 0.10 16 12 4 16

8 2.4 2.6 2.2 3.0 3.2 3.6 3.4 3.8 0.10 1.00 0.10 1.20 16 20 16 24

9 2.2 2.0 2.4 2.6 3.0 3.4 3.6 3.8 0.20 0.10 0.10 0.20 4 16 16 4

10 2.4 2.2 2.0 2.0 3.8 3.6 3.2 3.0 0.10 0.10 0.60 0.40 16 16 12 8

11 3.0 2.4 2.2 2.8 3.4 3.0 2.6 3.4 0.40 0.60 1.20 0.40 8 12 24 8

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

655

12 1.6 2.2 1.8 2.2 3.4 3.0 3.8 4.0 0.10 0.20 1.00 0.40 16 4 20 8

13 2.4 2.0 2.2 2.4 3.2 3.2 3.6 3.8 0.40 0.60 1.00 0.60 8 12 20 12

14 2.4 2.0 2.6 2.4 3.8 3.6 3.6 3.8 0.10 1.00 0.40 0.60 16 20 8 12

15 2.4 2.8 2.0 3.0 3.6 3.4 3.2 3.8 0.60 0.60 0.40 0.20 12 12 8 4

16 2.0 2.2 1.6 2.0 3.0 2.8 2.6 3.2 0.60 0.60 0.60 0.10 12 12 12 16

17 2.2 2.4 2.2 2.4 3.6 3.2 3.4 3.6 0.60 0.60 0.10 0.60 12 12 16 12

18 2.0 2.2 2.0 2.4 3.4 3.6 3.6 4.0 1.00 1.20 0.10 1.00 20 24 16 20

19 1.6 1.8 1.6 2.2 3.0 3.2 3.2 3.4 0.60 1.00 1.00 1.00 12 20 20 20

20 1.8 2.2 1.8 2.6 3.4 3.6 3.2 3.6 1.00 1.20 0.60 0.40 20 24 12 8

21 2.2 1.8 1.8 2.2 3.2 3.0 3.0 3.0 1.00 1.20 1.20 0.10 20 24 24 16

22 2.2 2.0 1.8 2.4 3.4 3.6 3.6 3.8 0.40 0.60 0.20 0.40 8 12 4 8

23 2.0 2.4 1.6 2.6 3.4 3.4 3.6 3.8 0.60 0.40 1.20 0.10 12 8 24 16

24 2.2 2.6 2.2 2.6 3.6 3.6 4.2 3.4 1.00 0.10 1.60 0.20 20 16 32 4

25 2.0 2.4 1.8 2.2 3.2 4.0 3.8 3.6 0.20 0.10 1.20 0.40 4 16 24 8

รวม 55.4 56.6 51.6 60.2 84.8 84.4 85.6 89.6 12.5 14.2 15.7 10.9

ค่าเฉล่ีย 2.21 2.26 2.06 2.40 3.39 3.37 3.42 3.58 0.5 0.56 0.62 0.43

S.D. 0.32 0.29 0.31 0.27 0.24 0.27 0.36 0.30 0.29 0.36 0.43 0.29

ตาราง 40 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนแบบวดัพฤติกรรมการใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตตาม

กระบวนทศัน์การพฒันามนุษยข์องพระสันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2 ก่อน (Pre-test) และ หลงั

(Post-test) การทดลอง

คนท่ี คะแนนเตม็ คะแนน

ทดสอบก่อน

คะแนน

ทดสอบหลัง

คะแนน

พฒันาการ

พัฒนาการ

(ร้อยละ)

1 12 3 7 4 33.33

2 12 3 8 5 41.66

3 12 1 7 6 50.00

4 12 2 8 6 50.00

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

656

5 12 2 8 6 50.00

6 12 3 10 7 58.33

7 12 1 7 6 50.00

8 12 3 8 5 41.66

9 12 3 10 7 58.33

10 12 2 8 6 50.00

11 12 3 8 5 41.66

12 12 2 7 5 41.66

13 12 1 7 6 50.00

14 12 3 10 7 58.33

15 12 2 9 7 58.33

16 12 2 8 6 50.00

17 12 3 7 4 33.33

18 12 3 8 5 41.66

19 12 2 7 5 41.66

20 12 3 7 4 33.33

21 12 2 7 5 41.66

22 12 3 8 5 41.66

23 12 3 8 5 41.66

24 12 3 9 6 50.00

25 12 3 7 4 33.33

คะแนนรวม 61 198 137

คะแนนเฉล่ีย 2.44 7.92 5.48

S.D. 0.71 0.99 0.96

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

657

ตาราง 41 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลจากแบบวดัความรู้ฯ ก่อนและหลงัทดลอง

One-Sample Kolmogorov-Smirnov Test

pre post

N 25 25

Normal Parametersa,,b Mean 19.2400 39.7600

Std. Deviation 5.79713 5.71022

Most Extreme Differences Absolute .168 .133

Positive .168 .122

Negative -.160 -.133

Kolmogorov-Smirnov Z .839 .663

Asymp. Sig. (2-tailed) .483 .772

a. Test distribution is Normal.

b. Calculated from data.

Paired Samples Statistics

Mean N Std. Deviation Std. Error Mean

Pair 1 post 39.7600 25 5.71022 1.14204

pre 19.2400 25 5.79713 1.15943

Paired Samples Correlations

N Correlation Sig.

Pair 1 post & pre 25 .821 .000

Paired Samples Test

Paired Differences

t df Sig. (2-tailed)

Mean

Std.

Deviation

Std. Error

Mean

95% Confidence Interval

of the Difference

Lower Upper

Pair 1 post - pre 20.52000 3.44141 .68828 19.09945 21.94055 29.813 24 .000

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

658

ตาราง 42 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลจากแบบวดัเจตคติการใชเ้สรีภาพฯ (เจตคตกิารใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตที่เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องตนเอง) ก่อนและหลงัทดลอง

One-Sample Kolmogorov-Smirnov Test

post Pre

N 25 25

Normal Parametersa,,b Mean 3.3920 2.2160

Std. Deviation .24138 .32104

Most Extreme Differences Absolute .167 .163

Positive .167 .163

Negative -.153 -.160

Kolmogorov-Smirnov Z .834 .816

Asymp. Sig. (2-tailed) .490 .518

a. Test distribution is Normal.

b. Calculated from data.

Paired Samples Statistics

Mean N Std. Deviation Std. Error Mean

Pair 1 post 3.3920 25 .24138 .04828

pre 2.2160 25 .32104 .06421

Paired Samples Correlations

N Correlation Sig.

Pair 1 post & pre 25 .367 .071

Paired Samples Test

Paired Differences

t df Sig. (2-tailed)

Mean

Std.

Deviation

Std. Error

Mean

95% Confidence Interval

of the Difference

Lower Upper

Pair 1 post - pre 1.17600 .32311 .06462 1.04263 1.30937 18.198 24 .000

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

659

ตาราง 43 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลจากแบบวดัเจตคติการใชเ้สรีภาพฯ (เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตที่เคารพคุณค่า ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยข์องคนอ่ืน) ก่อนและหลงัทดลอง One-Sample Kolmogorov-Smirnov Test

pre1 post1

N 25 25

Normal Parametersa,,b Mean 2.2640 3.3760

Std. Deviation .29280 .27881

Most Extreme Differences Absolute .227 .149

Positive .227 .136

Negative -.133 -.149

Kolmogorov-Smirnov Z 1.133 .746

Asymp. Sig. (2-tailed) .154 .634

a. Test distribution is Normal.

b. Calculated from data.

Paired Samples Statistics

Mean N Std. Deviation Std. Error Mean

Pair 1 post 3.3760 25 .27881 .05576

pre 2.2640 25 .29280 .05856

Paired Samples Correlations

N Correlation Sig.

Pair 1 post & pre 25 .326 .112

Paired Samples Test

Paired Differences

t df Sig. (2-tailed)

Mean

Std.

Deviation

Std. Error

Mean

95% Confidence Interval

of the Difference

Lower Upper

Pair 1 post - pre 1.1120

0

.33206 .06641 .97493 1.24907 16.744 24 .000

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

660

ตาราง 44 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลจากแบบวดัเจตคติการใชเ้สรีภาพฯ (เจตคติการใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตในบริบทส่ิงแวดลอ้ม) ก่อนและหลงัทดลอง One-Sample Kolmogorov-Smirnov Test

pre2 post2

N 25 25

Normal Parametersa,,b Mean 2.0640 3.4240

Std. Deviation .31475 .36661

Most Extreme Differences Absolute .159 .164

Positive .159 .116

Negative -.107 -.164

Kolmogorov-Smirnov Z .796 .822

Asymp. Sig. (2-tailed) .551 .509

a. Test distribution is Normal.

b. Calculated from data.

Paired Samples Statistics

Mean N Std. Deviation Std. Error Mean

Pair 1 post 3.4240 25 .36661 .07332

pre 2.0640 25 .31475 .06295

Paired Samples Correlations

N Correlation Sig.

Pair 1 post & pre 25 .203 .331

Paired Samples Test

Paired Differences

t df Sig. (2-tailed)

Mean

Std.

Deviation

Std. Error

Mean

95% Confidence Interval

of the Difference

Lower Upper

Pair 1 post - pre 1.36000 .43205 .08641 1.18166 1.53834 15.739 24 .000

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

661

ตาราง 45 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลจากแบบวดัเจตคติการใชเ้สรีภาพฯ (เจตคตกิารใชเ้สรีภาพในการดาํเนิน

ชีวิตตอบรับแนวทางของพระเจา้) ก่อนและหลงัทดลอง

One-Sample Kolmogorov-Smirnov Test

pre3 post3

N 25 25

Normal Parametersa,,b Mean 2.4080 3.5840

Std. Deviation .27976 .30507

Most Extreme Differences Absolute .171 .161

Positive .171 .127

Negative -.114 -.161

Kolmogorov-Smirnov Z .857 .803

Asymp. Sig. (2-tailed) .455 .540

a. Test distribution is Normal.

b. Calculated from data.

Paired Samples Statistics

Mean N Std. Deviation Std. Error Mean

Pair 1 post 3.5840 25 .30507 .06101

pre 2.4080 25 .27976 .05595

Paired Samples Correlations

N Correlation Sig.

Pair 1 post & pre 25 .451 .024

Paired Samples Test

Paired Differences

t df Sig. (2-tailed)

Mean

Std.

Deviation

Std. Error

Mean

95% Confidence Interval

of the Difference

Lower Upper

Pair 1 post - pre 1.17600 .30725 .06145 1.04918 1.30282 19.138 24 .000

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

662

ตาราง 46 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลจากแบบวดัพฤติกรรมใชเ้สรีภาพในการดาํเนินชีวิตฯ ก่อนและหลงั

ทดลอง One-Sample Kolmogorov-Smirnov Test

pre post

N 25 25

Normal Parametersa,,b Mean 2.4400 7.9200

Std. Deviation .71181 .99666

Most Extreme Differences Absolute .344 .268

Positive .216 .268

Negative -.344 -.178

Kolmogorov-Smirnov Z 1.721 1.340

Asymp. Sig. (2-tailed) .005 .055

a. Test distribution is Normal.

b. Calculated from data.

Paired Samples Statistics

Mean N Std. Deviation Std. Error Mean

Pair 1 post 7.9200 25 .99666 .19933

pre 2.4400 25 .71181 .14236

Paired Samples Correlations

N Correlation Sig.

Pair 1 post & pre 25 .404 .045

Paired Samples Test

Paired Differences

t df

Sig. (2-

tailed)

Mean

Std.

Deviation

Std. Error

Mean

95% Confidence Interval

of the Difference

Lower Upper

Pair 1 post- pre 5.48000 .96264 .19253 5.08264 5.87736 28.464 24 .000

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

663

ตารางท่ี 47 ความคิดเห็นของผูเ้ขา้ร่วมอบรมที่มีต่อรูปแบบการพฒันามนุษยต์ามกระบวนทศัน์ของพระ

สันตะปาปายอห์น ปอล ท่ี 2

หัวข้อการสอบถาม X S.D. ความหมาย อนัดับ

1. ด้านประโยชน์ทีไ่ด้รับจากการอบรม

1.1 ประโยชน์ท่ีท่านไดรั้บจากการเขา้อบรมในคร้ังน้ี 4.30 .55 มาก 1

1.2 สามารถนาํสิ่งท่ีไดรั้บจากการเขา้รับการอบรมไปปรับใชใ้นชีวิตประจาํวนั

4.26 .68 มาก 2

2. ด้านวทิยากร

2.1 ความชดัเจนจากการถ่ายทอดเน้ือหาและกระบวนการฝึกอบรมตามรูปแบบฯ

4.26 .61 มาก 4

2.2 บรรยากาศของการเคารพสิทธิ เสรีภาพของบุคคล 4.30 .63 มาก 3

2.3 ประโยชน์จากการใชเ้อกสาร/ส่ือประกอบการ

อบรมตามรูปแบบ

4.39 .65 มาก 1

2.4 การตอบขอ้ซักถามของวิทยากรในขณะฝึกอบรม 4.34 .64 มาก 2

3. ด้านบรรยากาศการจัดอบรม

3.1 ความเหมาะสมของระยะเวลาการจดัอบรม 4.00 0.79 มาก 4

3.2 ความเอ้ืออาํนวยของสถานท่ี 4.39 .49 มาก 1

3.3 ความเหมาะสมของตารางเวลา 4.04 .47 มาก 3

3.4 บรรยากาศของความไวว้างใจ/ การเคารพสิทธิ

เสรีภาพของบุคคล/ ความเป็นอิสระ

4.34 .71 มาก 2

รวม 4.21 0.61 มาก

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

ภาคผนวก ซ

ชีวประวตัแิละเอกสารสําคญัของพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

665

ชีวประวตัแิละเอกสารสําคญัของพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2

ชีวประวตัขิองพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2

พระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 ทรงมีพระนามเดิมว่า “คาโรล โจเซฟ วอยติวา” (Karol

Josef Wojtyla) ทรงเกิดวนัท่ี 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1920 ท่ีเมืองวาโดวิเช (Wadowice) ประเทศ

โปแลนด์ ในครอบครัวของ คาโรล - เอ็มมีเลีย แคกโซรอฟสก้า วอยติวา (Karol – Emelia

Kaczorowska Wojtyla) บิดาเป็นขา้ราชการทหาร มารดาเป็นแม่บา้น ครอบครัวของพระองคเ์ล่ือมใส

ศรัทธาในคริสตศาสนา โรมนัคาทอลิก ส่งผลใหท่้านเล่ือมใสในคริสตศาสนาตามไปดว้ย ทรงเขา้รับ

การศึกษาจนจบระดบัมธัยมท่ีโรงเรียนมาร์แซง วาโดวิตา (Marcin Wadowita) ทรงชอบเล่นกีฬา มี

มนุษยสัมพนัธ์ท่ีดีและมีผลการเรียนเป็นเยี่ยมตั้ งแต่วยัเด็ก วิชาท่ีพระองค์สนพระทัยเป็นพิเศษคือ

ปรัชญา ศาสนศาสตร์ ภาษาละตินและกรีก พระองค์สนใจความคิดของนักปรัชญาเยอรมนัและ

หลงใหลบทกวีนิพนธข์องโอเมอร์ กวีชาวกรีกสมยัศตวรรษท่ี 9 (ก่อน ค.ศ.) ต่อมา ค.ศ. 1938 ทรง

เขา้ศึกษาต่อท่ีมหาวิทยาลยัยาเจโลยนั (Jagiellonian University) ในเมืองคราคูฟ ทรงเลือกเรียนคณะ

วิชาการละคร จน ค.ศ. 1939 ประเทศโปแลนดถ์กูทหารนาซีเยอรมนัและสหภาพโซเวียต ยดึครอง ทาํ

ให้พระองค์ทรงตอ้งหยุดพกัการศึกษาและทรงถูกบังคับให้ไปทาํงานท่ีเหมืองหินในเมืองคราคูฟ

(ค.ศ. 1940 – 1944) ต่อมาทรงยา้ยงานไปทาํในโรงโรงงานเคมีภัณฑ์ซอลเวย ์(Solvay Chemical

Factory) เพ่ือทรงหาเล้ียงชีพและเพ่ือทรงหลีกเล่ียงการถูกควบคุมตวัส่งไปยงัเยอรมนั ขณะเดียวกนั

พระองคท์รงเขา้ร่วมเป็นสมาชิกของ “กลุ่มต่อตา้นทางวฒันธรรม” ซ่ึงเป็นองค์กรลบัใตดิ้นต่อตา้น

ลทัธินาซี อาศยัการแสดงละคร

จากความเล่ือมใสในคริสตศาสนา ทาํใหพ้ระองคส์มคัรเป็นพระสงฆค์าทอลิก ใน ค.ศ. 1942

ไดท้รงศึกษาปรัชญาและเทววิทยาคริสตศาสนาสาํหรับผูรั้บการอบรมเป็นพระสงฆค์าทอลิก จน ค.ศ.

1946 หลงัสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ยุติ พระองค์ทรงไดรั้บการบรรพชาเป็นพระสงฆค์าทอลิก จากนั้น

ทรงไดเ้ขา้รับการศึกษาต่อจนสาํเร็จปริญญาเอกทางเทววิทยา ท่ีมหาวิทยาลยัแอลเจลิคุม (Angleligum

University) กรุงโรม ประเทศอิตาลี พระองคท์รงเดินทางกลบัโปแลนด ์ทรงช่วยงานวดัคาทอลิกหลาย

แห่งและทรงเป็นท่ีปรึกษาของนักศึกษาในมหาลยัแห่งเมืองคาร์คูฟ จน ค.ศ. 1951 ทรงศึกษาวิชา

ปรัชญาและเทววิทยาจนสาํเร็จปริญญาเอกท่ีมหาวิทยาลยัลูบลิน (Lublin University) จบแลว้ทรงเป็น

อาจารยส์อนท่ีนัน่ ระหว่างทรงเป็นอาจารยป์ระจาํมหาวิทยาลยั พระองค์ทรงเขียนหนังสือเก่ียวกบั

ความเช่ือศรัทธาและศีลธรรมตามแนวคริสตศาสนาไวห้ลายเล่ม ต่อมา ค.ศ. 1958 พระสันตะปาปา ปี

โอ ท่ี 12 (ดาํรงตาํแหน่งประมุขพระศาสนจกัรโรมนั คาทอลิก ลาํดบัท่ี 260 สมณสมยั ค.ศ. 1939 -

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

666

1958) ทรงแต่งตั้ งให้เป็นพระสังฆราชผูช่้วยแห่งอคัรสังฆณฑลคราคูฟ ทรงเขา้ร่วมสภาสังคายนา

วาติกนัท่ี 2 ทรงมีโอกาสกล่าวปราศรัยในท่ีประชุมสงัคายนาฯ และทรงไดรั้บความช่ืนชมจากบรรดา

พระสงัฆราชคาทอลิกท่ีเขา้ร่วมประชุม

ค.ศ. 1964 ทรงไดรั้บการสมณภิเษกเป็นพระอคัรสังฆราชแห่งอคัรสังฆมณฑลคราคูฟ จาก

พระสนัตะปาปา เปาโล ท่ี 6 ขณะดาํรงตาํแหน่งพระอคัรสังฆราชแห่งคราคูฟ ทรงดาํเนินชีวิตดว้ย

ความเรียบง่ายและทรงปกครองคริสตชนด้วยความสนพระทัย ทรงเยี่ยมเยียนประชาชนในเขต

ปกครองของพระองค์อยู่เสมอ ในขณะเดียวกนั พระองค์มกัวางตนเป็นกลางในการวิพากษ์วิจารณ์

รัฐบาล แมพ้ระองคไ์ม่ทรงยอมรับการปกครองระบอบคอมมิวนิสต ์แต่พระองคท์รงเช่ือมัน่ในวิธีการ

เสวนาเพ่ือความปรองดองและประโยชน์ของประชาชน ทรงพยายามจดัการเจรจาเพ่ือให้เกิดความ

ยดืหยุน่ระหว่างพระศาสนจกัรและรัฐบาลคอมมิวนิสต ์

ต่อมาค.ศ. 1967 ทรงไดรั้บการสถาปนาเป็นพระคาร์ดินัล จากพระสันตะปาปา ปอล ท่ี 6

ขณะดาํรงตาํแหน่งพระคาร์ดินลั พระองคย์งัคงทาํงานดา้นการศึกษาและงานเขียนต่อไปดงัเดิม ทรง

ศึกษาคน้ควา้วิชาปรัชญาแนวปรากฏการณ์ (บุคคลนิยม) อยา่งจริงจงั ในขณะเดียวกนัความตึงเครียด

ระหว่างรัฐบาลโปแลนด์กบัพระศาสนจกัรเร่ิมทวีมากข้ึน รัฐบาลคอมมิวนิสต์แห่งโปแลนด์ไดเ้ร่ิม

รณรงคต่์อตา้นพระศาสนจกัรมากยิง่ข้ึน มีการสัง่หา้มการสร้างวดั พระองคจึ์งทรงเรียกร้องคริสตชน

ใหพิ้ทกัษค์วามเช่ือศรัทธา ทรงเตือนว่าเป็นหนา้ท่ีท่ีคริสตชนตอ้งพิทกัษป้์องกนัความเช่ือศรัทธาของ

ตน ซ่ึงไดรั้บการคุกคามในบา้นของเราจากลทัธิท่ีไม่เช่ือว่าพระเจา้มีจริง

หลงัการสิ้นพระชนมข์องพระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 1 ในค.ศ. 1978 พระคาร์ดินลัวอยติ

วาไดรั้บเลือกใหด้าํรงตาํแหน่งพระสันตะปาปา ทรงเลือกพระนามว่า “ยอห์น ปอล ท่ี 2” โดยมีพิธี

สมณภิเษกวนัท่ี 22 ตุลาคม 1978 ทรงปฏิบติัหน้าท่ีประมุขพระศาสนจกัรด้วยบุคลิกร่าเริง ทรง

ตอ้นรับทุกคนดว้ยความเป็นมิตร เสด็จเยอืนประเทศต่าง ๆ ไม่ตํ่ากว่าร้อยประเทศ ทรงพยายามสร้าง

เอกภาพแก่คริสตศาสนิกชน ทรงมีบทบาทสาํคญัในการเจรจาสันติภาพในภูมิภาคท่ีมีความขดัแยง้

กนั ทรงเรียกร้องให้ประเทศร่ํารวยเอาใจใส่ดูแลประเทศยากจน แมพ้ระองค์จะไม่ทรงยุ่งเก่ียวกับ

การเมืองการปกครอง แต่การเรียกร้องของพระองค ์มีผลทาํให้ประเทศโปแลนด์เปล่ียนการปกครอง

จากระบอบคอมมิวนิสตสู่์ระบอบประชาธิปไตย ทรงยนืยนัหนกัแน่นใหมี้การปกป้องสิทธิมนุษยชน

ในภูมิภาคต่าง ๆ ทรงเรียกร้องให้มีการตระหนักถึงบทบาทและคุณค่าของศาสนาและศีลธรรมใน

ฐานะเป็นหลกัยึดเหน่ียวจิตใจของมนุษยชาติ ทรงแสดงท่าทีชดัเจนและประณามการทาํสงคราม

ระหว่างชนชาติ พระองค์ทรงถูกลอบปลงพระชนมห์ลายคร้ัง แต่ทรงพร้อมท่ีจะให้อภยัแก่ผูท้าํร้าย

พระองค ์

หลังจากท่ีพระองค์ต้องทรงทนทรมานด้วยโรคภัยและพระชราภาพ พระองค์ได้

สิ้นพระชนมอ์ยา่งสงบ เม่ือวนัท่ี 2 เมษายน ค.ศ. 2005 เวลา 21.37 น. ณ ห้องประทบัส่วนพระองค ์

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

667

นครรัฐวาติกนั รวมพระชนมาย ุ 85 พรรษา มีพิธีปลงพระศพตามธรรมเนียมคริสตชน บรรจุพระ

ศพของพระองคไ์วใ้ตม้หาวิหารนกับุญเปโตรและเปาโล วนัท่ี 8 เมษายน ค.ศ. 2005 และในวนัท่ี 27

เมษายน ค.ศ. 2014 พระองค์ไดรั้บการประกาศสถาปนาเป็นนักบุญ ดว้ยการขนามนามพระองค์ว่า

“นกับุญยอห์น ปอล ท่ี 2 : พระสนัตะปาปา”

เอกสารท่ีสําคญัของพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2

ผลงานดา้นเอกสารท่ีสาํคญัของพระสนัตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี มีดงัน้ี

Redemptor Hominis (พระผูไ้ถ่มนุษย)์ (1979)

Spientia Christiana (ปรีชาญาณแบบคริสต)์ (1979)

Catechesi tradendae (การสอนคาํสอนในโลกปัจจุบนั (1979)

Dives in misericordia (พระเมตตาของพระเจา้) (1980)

Dominicae cenae (การเล้ียงอาหารคํ่าของพระเจา้) (1980)

Laborem Exercens (การทาํงาน) (1981)

Familiaris consortio (ครอบครัวคริสตชนในโลกปัจจุบนั) (1981)

Reconciliatio et Paenitentia (การคืนดีและการใชโ้ทษบาป) (1984)

Salvifici doloris (ความหมายของความทุกข)์ (1984)

Slavorum apostolic (การแพร่ธรรมของชาวสลาพ) (1985)

Dominum et Vivificantem (พระจิตเจา้ในชีวิตพระศาสนจกัร) (1986)

Redemptoris mater (มารดาพระผูใ้ถ่) (1987)

Redemptoris mission (พระพนัธกิจพระผูไ้ถ่) (1987)

Sollicitudo Rei Socialis (ความห่วงใยเร่ืองสงัคม) (1987)

Mulieris dignitatem (ศกัด์ิศรีของสตรี) (1988)

Christifideles Laici (กระแสเรียกและภารกิจของคริสตชนฆราวาส) (1988)

Euntes in mundum (การออกไปสู่โลก) (1988)

Redemptoris Custos (องคผ์ูพิ้ทกัษพ์ระมหาไถ่) (1989)

Ex Corde Ecclesiae (จากหวัใจพระศาสนจกัร) (1990)

Centesimus annus (การเฉลิมฉลองปีท่ีหน่ึงร้อย) (1991)

On Combatting Abortion and Euthanasia (การต่อตา้นการทาํแทง้และการุณยฆาต) (1991)

Pastores dabo vobis (เราจะใหน้ายชุมพาบาลแก่ท่าน) (1992)

Fidei depositum (พระคลงัแห่งความเช่ือ) (1992)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

668

Veritatis Splendor (ความรุ่งโรจน์แห่งความจริง) (1993)

Interpretation of the Bible in the Church. (การตีความพระคมัภีร์ในพระศาสนจกัร) (1993)

Letter to Families (จดหมายถึงครอบครัว) (1994)

Tertio Millennio Adveniente (สู่สหสัวรรษท่ี 3) (1994)

Ordinatio sacerdotalis (การบวชพระสงฆ)์ (1994)

Crossing the Threshold of Hope (การผา่นเขา้สู่ความหวงั) (1994)

Evangelium Vitae (ข่าวดีเร่ืองชีวิตมนุษย)์ (1995)

Ut Unum Sint (เพ่ือใหทุ้กคนเป็นหน่ึงเดียว) (1995)

Ecclesia in Africa (พระศาสนจกัรในแอฟริกา) (1995)

Orientale lumen (แสงสว่างตะวนัออก) (1995)

Letter to Women (จดหมายถึงสตรี) (1995)

Vita Consecrata (ชีวิตผูรั้บเจิม) (1996)

Gift and Mystery (พระพรและพระธรรมลํ้ าลึก) (1996)

Theology of the Body (เทววิทยาของร่างกาย) (1997)

Dies Domini (วนัของพระเจา้) (1998)

Fedes et Ratio (ความเช่ือและเหตุผล) (1998)

Incarnationis Myterium (พระสจัธรรมแห่งการรับเอากาย) (1998)

Ecclesia in Asia (พระศาสนจกัรในเอเชีย) (1998)

Ecclesia in America (พระศาสนจกัรในอเมริกา) (1999)

Letter to Artists (จดหมายถึงบรรดาศิลปิน) (1999)

Novo Millennio Ineunte (เร่ิมตน้สหสัวรรษใหม่) (2001)

Rosarium Virginis Mariae (การสวดสายประคาํ) (2002)

Misericordia Dei (พระเมตตาของพระเจา้) (2002)

Ecclesia de Eucharistia (ศีลมหาสนิทและพระศาสนจกัร) (2003)

Ecclesia in Europa (พระศาสนจกัรในยโุรป) (2003)

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)

669

ประวตัผิู้วจิยั

ช่ือ-สกุล วุฒิชยั อ่องนาวา

เกดิวนัที ่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514

ที่อยู่ 31/2-4 ถ.สมบูรณ์กุล ต.หนา้เมือง จ.ราชบุรี 70000

ประวตักิารศึกษา พ.ศ. 2538 สาํเร็จการศึกษาปริญญาศิลปศาสตรบณัฑิต

สาขาวิชาปรัชญา วิทยาลยัแสงธรรม

พ.ศ. 2542 สาํเร็จการศึกษาปริญญาศาสนศาสตรบณัฑิต

สาขาวิชาเทววิทยา วิทยาลยัแสงธรรม

พ.ศ. 2548 สาํเร็จการศึกษาปริญญาศิลปศาสตรมหาบณัฑิต

สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์

พ.ศ. 2557 สาํเร็จการศึกษาปริญญาปรัชญาดุษฎีบณัฑิต

สาขาวิชาพฒันศึกษา มหาวิทยาลยัศิลปากร

ประวตักิารทํางาน

ปัจจุบนั อธิการโบสถค์าทอลิกนกับุญอกัเนส ชฏัป่าหวาย อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี

และผูช่้วยศาสตราจารยส์าขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลยัแสงธรรม

พ.ศ. 2548 – อาจารยป์ระจาํหลกัสูตรศิลปศาสตรบณัฑิต สาขาวิชาปรัชญาและ

ศาสนา วิทยาลยัแสงธรรม

พ.ศ. 2553 – 2554 อธิการโบสถแ์ละผูบ้ริหารโรงเรียนธีรศาสตร์ อ.บา้นโป่ง จ.ราชบุรี

พ.ศ. 2542 – 2547 ผูช่้วย/รอง/อธิการโบสถค์าทอลิกในเขตสงัฆมณฑลราชบุรี

Print to PDF without this message by purchasing novaPDF (http://www.novapdf.com/)