การบริ หารงานก่ อสร้ าง Construction Management...

41
การบริหารงานก่อสร้าง Construction Management ปกรณ์ เกตุอินทร์ ผู้สอน Tel.081-6806136 [email protected]

Transcript of การบริ หารงานก่ อสร้ าง Construction Management...

การบริหารงานก่อสร้าง

Construction Management

ปกรณ์ เกตุอินทร์ ผู้สอนTel.081-6806136

[email protected]

ค าอธิบายรายวิชา

7052401 การบริหารงานก่อสร้าง(Construction Management)

◦ ศึกษาเรื่องแนวคิด ทฤษฏีการจัดการและการบริหารงานก่อสร้าง ในงานก่อสร้างทั่วไป การจัดโครงสร้างองค์กรส าหรับงานก่อสร้าง การบริหารงานบุคคล สัญญาก่อสร้าง การประกวดราคา กระบวนการก่อสร้าง การวางแผนงานก่อสร้างด้วยเทคนิคต่างๆ

เนื้อหารายวิชา

บทที1่ พื้นฐานการจัดการโครงการก่อสร้าง บทที่2 องค์กรและการจัดการ บทที่3 การประมูลงานก่อสร้างและการประมาณราคา บทที4่ สัญญาและรายการข้อก าหนดก่อสร้างก่อสร้าง-------------Mid Term Exam--------------- บทที่5 การวางแผนและการพัฒนาแผนงาน บทที6่ การท าก าหนดเวลาก่อสร้าง บทที่7 การควบคุมงานก่อสร้าง บทที่8 การจัดการทรัพยากร---------------Final Exam---------------

เกณฑ์การให้คะแนน

• แบบทดสอบ 20 %• การสอบกลางภาค 20 %• การท ารายงาน การค้นคว้า 40 %• การสอบปลายภาค 20 %

บทที1่

พื้นฐานการบริหาร

โครงการก่อสร้าง

การบริหารโครงการก่อสร้างมีความส าคัญต่อการท าโครงการเป็นอย่างมาก

การบริหารโครงการที่ดีจะน ามาซึ่งความส าเร็จของโครงการ

ค าจ ากัดความ

การบริหาร หรือ การจัดการ คือกระบวนการด าเนินงานให้บรรลุเป้าหมายโดยใช้ทรัพยากรต่างๆ ซึ่งได้แก่ 5 M Man (คน) Money (เงิน) Method (วิธีการ)

Material (วัสดุ) Machine (เครื่องจักร)

โครงการ คือ กิจกรรมที่ตั้งขึ้นมาอย่างมีเป้าหมาย ภายใต้ขอบเขตงาน งบประมาณ และระยะเวลาที่ก าหนด

ขอบเขตงาน (Scope) หมายถึง งานที่จะต้องท าให้เสร็จตามปริมาณและคุณภาพที่ก าหนด

งบประมาณ (Budget) หมายถึง ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการท างาน ก าหนดเวลางาน (Schedule) หมายถึง การจัดล าดับของงานตามเวลาที่ใช้ในการท างานแต่ละอย่าง

คุณภาพเป็นส่วนหนึ่งของขอบเขตงาน งบประมาณและก าหนดเวลา

การบริหารโครงการ คือ กระบวนการด าเนินงานภายใต้ ขอบเขตงาน งบประมาณ และก าหนดเวลาที่ระบุ โดยใช้ทรัพยากรต่างๆที่มีอยู่ให้บรรลุเป้าหมายและมีคุณภาพของงาน ที่ท าให้เจ้าของงานพอใจ

ขอบเขตงาน

งบประมาณ ก าหนดเวลา

การบริหารโครงการคุณภาพ คุณภาพ

คุณภาพ

โครงสร้างอุตสาหกรรมก่อสร้าง

อุตสาหกรรมก่อสร้าง

ภาคเอกชนอสังหาริมทรัพย์ - คอนโดมิเนียม - อพาร์ทเมนต์ - บ้านจัดสรร - โรงแรมธุรกิจ - โรงงาน - ส านกังานที่อยู่อาศัย - บ้านพักอาศัย - ตกึแถว

รัฐวิสาหกิจการรถไฟการทางพิเศษการสื่อสารองค์การโทรศพัท์การท่าเรือการท่าอากาศยานการเคหะการไฟฟ้าการประปา

ภาคราชการกรมทางหลวง - ถนนระหว่างจงัหวัด - สะพานกรมชลประทาน - อาคารชลประทาน - เข่ือนกรมโยธาธกิารและผังเมือง - ถนนระหว่างอ าเภอ ต าบล

ชนิดของงานก่อสร้าง

งานก่อสร้าง

งานอาคารโรงเรียน

มหาวิทยาลัยโรงพยาบาลอาคารชุด

อพาร์ทเมนต์อาคารส านักงาน

คลังสินค้าโรงภาพยนตร์ที่ท าการรัฐ

ห้างสรพสินค้าศูนย์พักผ่อน

งานวิศวกรรมโยธาเข่ือนอุโมงค์สะพานทางหลวงสนามบินทางด่วนท่าเรือ

การวางท่อสง่น้ าระบบบ าบัดน้ าเสียระบบโทรศัพท์

งานโรงงานอุตสาหกรรม

โรงกลั่นน้ ามันโรงงานปิโตรเคมีโรงานผลิตไฟฟ้าโรงงานพลังงานนิวเคลยีร์โรงงานถลงุเหล็กโรงงานอุตสาหกรรมหนัก

งานก่อสร้างอื่นๆ

งานกอ่สร้างแท่นขุดเจาะในทะเลงานรื้อถอน

ผู้เกี่ยวข้องในโครงการก่อสร้าง

เจ้าของ

ผู้ออกแบบ ผู้รับเหมา

โครงการก่อสร้างประสานงานประสานงาน

ประสานงาน

ทักษะของผู้จัดการโครงการ

ความเป็นผู้น า◦ก าหนดแนวทางการท างาน การเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศกว้างไกล◦ความสามารถในการควบคุมดูแลทมีงาน◦ความสามรถในการจูงใจทีมงานให้ท างาน เอาชนะอุปสรรคและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ

ทักษะของผู้จัดการโครงการ

ความสามารถในการสื่อสาร◦การเขียน อ่าน ฟัง พูด◦ภายในองค์กรหรือภายนอกองค์กร◦ เป็นทางการ(รายงานสรุป รายงานละเอียด) ◦ไม่เป็นทางการ (บันทึก บทสนทนา)◦ทางดึง (ตามสายงานในองค์กร)◦ทางราบ (ระหว่างผู้ร่วมงาน)

ทักษะของผู้จัดการโครงการ

ความสามรถในการเจรจาต่อรอง◦ขอบเขตของงาน ค่าใช้จ่าย และก าหนดเวลา◦การเปลี่ยนแปลงของ ขอบเขตของงาน ค่าใช้จ่าย และก าหนดเวลา

◦สัญญาและเงื่อนไขของสญัญา◦การมอบหมายงาน◦การจัดสรรทรัพยากรฯ

ทักษะของผู้จัดการโครงการ

ความสามรถในการแก้ไขปัญหา◦ รายละเอียดของปัญหาแยกแยะระหว่างสาเหตุและลักษณะของปัญหาปัญหาอาจเกิดขึ้นภายในหรือภายนอกองค์กรปัญหาอาจเกี่ยวกับทางด้านเทคนิค หรือ ทางด้านบุคคล

◦ การตัดสินใจ ให้ได้มาซึ่งแนวทางแก้ไข เลือกแนวทางท่ีดีที่สุดต้องมีการน ามาปฏิบัติมักเกี่ยวข้องกับเวลา

ทักษะของผู้จัดการโครงการ

ความสามรถในการควบคุมบุคลากรในองค์กร◦ ผู้จัดการโครงการต้องมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับ โครงสร้างองค์กรการประสานงานการท างานในองค์กรการกระจายอ านาจหน้าที่และความรับผิดชอบ

◦ ผู้จัดการโครงการ ควรมีอ านาจในการควบคุม ดูแลพฤติกรรมของบุคลากร สามารถเอาชนะการต่อต้าน สามารถท าให้บุคลากรท างานในสิ่งที่ตนต้องการ

องค์ความรู้ในการบริหารงานก่อสร้าง

ความรู้ด้านเทคโนโลยี

เทคโนโลยีทางด้านการก่อสร้าง

เทคนิคก่อสร้างความสามารถในการก่อสร้างการก่อสร้างงานคอนกรีต

การก่อสร้างคอนกรีตอดัแรงการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กและไม้

การก่อสร้างอาคารส าเร็จรูปการก่อสร้างงานโครงสร้างชั่วคราวเครื่องจักรกลและวิธีการก่อสร้างเทคโนโลยีวัสดุในการก่อสร้าง

เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์กราฟฟิค 3 มิติการก่อสร้างโดยระบบหุ่นยนต์

ระบบผู้เชี่ยวชาญระบบการจัดการข้อมูลโครงการ

การวิเคราะห์ความเสี่ยงและการตัดสินใจระบบอัตโนมัติ

องค์ความรู้ในการบริหารงานก่อสร้าง

ความรู้ด้านการบริหาร

การควบคุม

การวางแผนและควบคุมเวลาการควบคุมคุณภาพการจัดการวัสดุความปลอดภัย

การควบคุมต้นทุนการควบคุมการใช้ทรัพยากร

ธุรกิจ

การวิเคราะห์โครงการการเงินของโครงการการบัญชีโครงการ

การจัดการอสงัหาริมทรัพย์การวิจัยด าเนินงานกฎหมายแรงงาน

กฎหมายงานก่อสร้างการประมาณราคา

องค์กร/บุคลากร

การบริหารองค์กรการจัดการทรัพยากรบคุคลการปรับปรุงผลิตภาพในงาน

ก่อสร้างการจัดการโครงการ

การจัดการโครงการของรัฐฯ

การพัฒนาโครงการก่อสร้าง

ความต้องการท าโครงการของเจ้าของ

การศึกษาทางด้านวิศวกรรม

รูปลักษณ์แนวความคิด และทางเลือกส าหรับความเป็นไปได้ทางเทคนิคการท างบประมาณและก าหนดเวลาของแตล่ะทางเลือก

ตรวจทานโดยเจ้าของ วิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ผลตอบแทนการลงทุนระยะเวลาคุ้มทุน การคุ้มทุน หรือ อตัราส่วน ก าไร/การลงทุน

เจ้าของมอบหมายโครงการเจ้าของให้ศึกษาเพ่ิมเตมิ เจ้าของยกเลกิโครงการ

1

2

3

4

4.1 4.2 4.3

การพัฒนาโครงการก่อสร้าง

การออกแบบโครงการขั้นสุดท้าย แบบรายละเอียดรายการประกอบแบบ การเตรียมเอกสารสัญญาต่างๆ

การจัดหาวัสดุจ านวนมากเครื่องจักรพิเศษสัญญาก่อสร้าง

ผู้รับเหมาก่อสร้างการบริหารสัญญาต่างๆ เพื่อให้เกิดงานต่างๆ

ปิดโครงการทดสอบระบบ

ตรวจสอบข้ันสุดท้ายแบบสร้างจริง

5

6

7

8

ขั้นตอนหลักในการบรหิารโครงการก่อสร้าง

ขั้นตอนแรก : นิยามโครงการ (Project definition) เป็นการก าหนดรายละเอียดของโครงการ เพื่อให้บรรลุความต้องการ

◦ เจ้าของโครงการสามารถใช้งานได้ตามที่ตั้งใจไว้ เมื่อเสร็จสิ้นโครงการ◦ เป็นการระบุลักษณะและองค์ประกอบต่างๆของโครงการ เพ่ือให้บรรลุความตั้งใจในการใช้งานของเจ้าของ

ขั้นตอนที่สอง : ก าหนดขอบเขตโครงการ (Project scope) เพื่อให้สอดคล้องกับรายละเอียดของโครงการ

◦ อธิบายรายละเอยีดงานที่จะต้องท าให้เสร็จ◦ ระบุปริมาณ คุณภาพ ของงานต่างๆที่จะต้องท า

ขั้นตอนหลักในการบรหิารโครงการก่อสร้าง

ขั้นที่สาม : การท างบประมาณโครงการ (Project Budgeting) เพื่อให้สอดคล้องกับรายละเอียดต่างๆ และขอบเขตของงานในโครงการ

◦ ระบุงบประมาณที่เจ้าของอนุมัติ◦ จัดท าต้นทุนทางตรงและทางอ้อม พร้อมทั้งเผื่อค่าใช้จ่ายทีอ่าจจะเกิดขึ้นจากความไม่แน่นอน (Contingencies)

ขั้นตอนที่สี่ : การวางแผนโครงการ (Project Planning) เปน็กลยุทธ์ในการท างานให้ส าเร็จ◦ การเลือกและมอบหมายหน้าที่แก่บุคลากรที่ท างานให้แก่โครงการ◦ แยกแยะงานย่อยที่ตอ้งท าเพ่ือให้งานเสร็จ

ขั้นตอนหลักในการบรหิารโครงการก่อสร้าง

ขั้นที่ห้า : การท าก าหนดเวลาโครงการ (Project Scheduling) เป็นผลของการก าหนดขอบเขตงาน การท างบประมาณ และการวางแผน

◦ จัดล าดับเวลาของกิจกรรมต่างๆ ตามขั้นตอนของการท างาน◦ เชื่อมโยงต้นทุนและทรัพยากรต่างๆ กับก าหนดเวลาของกิจกรรม

ขั้นตอนที่หก : การติดตามความก้าวหน้า (Project Tracking) เพื่อให้มั่นใจว่าโครงการมีความก้าวหน้า ตามแผนท่ีวางไว้

◦ วัดปริมาณงาน เวลา และต้นทุน ทีใ่ช้จ่ายจริง◦ เปรียบเทียบปริมาณงาน เวลา และต้นทุน ที่เกดิขึ้นจริงกับที่วางแผนไว้

ขั้นตอนหลักในการบรหิารโครงการก่อสร้าง

ขั้นที่เจ็ด : การปิดโครงการ (Project Close-Out) เป็นงานขั้นสุดท้าย เพื่อให้มั่นใจว่า เจ้าของงานพอใจ

◦ การทดสอบ ตรวจสอบ และการจ่ายเงินงวดสดุท้าย◦ ส่งมอบงานให้แก่เจ้าของ (พร้อมกับ คู่มือการใช้ การบ ารุงรักษา และแบบสร้างจริง)

จุดประสงค์ของการจัดการโครงการ

ท างานให้เสร็จภายใต้

◦งบประมาณ◦ก าหนดเวลาคุณภาพที่ก าหนด

องค์ประกอบหลักของการบริหาร (Function of Management)

การวางแผน ◦ เป็นการเตรียมการล่วงหน้า เพื่อก าหนดแนวทางในการท างาน ป้องกันปัญหาและอุปสรรค์ท าก าหนดเวลาหลักศึกษาข้อจ ากัดต่างๆ

องค์ประกอบหลักของการบริหาร (Function of Management)

การจัดงาน ◦ เป็นการจัดทรัพยากรให้กับโครงการอย่างมีระบบท าโดยการแตกงาน(Breakdown) เป็นหนว่ยย่อยพอท่ีจะจัดการได้◦แบ่งในรูปแบบโครงสร้างการแตกงาน(Work Breakdown

Structure)ประกอบด้วย งาน(Tasks) งานย่อย(Subtask) ชุดงาน(Work

Package)

องค์ประกอบหลักของการบริหาร (Function of Management)

การจัดบุคลากร ◦ เป็นการจัดคนท างานให้เหมาะสมกบังานคนเหล่านี้จะมีผลกระทบต่องานทุกส่วนของโครงการ◦คนเป็นทรพัยากรที่ส าคัญท่ีสุดของโครงการ เพราะคนเป็นผู้ออกแบบ ประสานงาน สร้างโครงการ และแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น

องค์ประกอบหลักของการบริหาร (Function of Management)

การอ านวยการ◦ เป็นการก าหนดแนวทางการท างานที่ต้องการท าโครงการให้ส าเร็จจัดบคุลากรท างานในแต่ละความถนัด ให้อยู่ในทีมที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ◦ถึงแม้จะเชี่ยวชาญต่างกัน งานท่ีออกมาตอ้งกลมกลืน ไปในทิศทางเดียวกัน

องค์ประกอบหลักของการบริหาร (Function of Management)

การควบคุม◦ เป็นการสร้างระบบในการวดั การรายงาน การคาดการณ์ ส่ิงที่จะท าให้เกิดการเบี่ยงเบน ให้กับ ขอบเขตงาน ก าหนดเวลา งบประมาณหามาตรการณ์แก้ไข รายงานให้ทันต่อเหตุการณ์ฝ่ายบริหาร สามารถ ตอบสนอง แก้ไขเหตุการณ์ได้ทัน

(การควบคุมเป็นหน้าที่ๆยากที่สุดของการบริหารโครงการ)

แนวคิดหลักในการบริหารโครงการ

พึงระลึกเสมอว่า คนๆเดียวเท่านั้นที่รับผิดชอบ (ตัดสินใจ) ต่อโครงการ อย่าเริ่มงานก่อนลงนามในสัญญา ไม่ว่าจะมีความกดดันให้เริ่มงานมากเพียงใด ต้องแน่ใจว่ามีการอนุมัติ ขอบเขตงาน งบประมาณ และก าหนดเวลา จ ากัดขอบเขตงานตั้งแต่เริ่มต้นไม่ให้บานปลาย ไม่ควรเพิ่มขอบเขตงานให้เพิ่มโดย

ปราศความเห็นชอบจากผู้มีอ านาจ มั่นใจว่าทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้าใจขอบเขตงานของตนเองรวมทั้งเจ้าของงานด้วย ตรวจสอบว่าใครเป็นผู้จัดเตรียมงบประมาณ ก าหนดเวลา และจัดท าขึ้นเมื่อไหร่ ตรวจสอบว่า งบประมาณ และก าหนดเวลามีความสอดคล้องกับขอบเขตของงาน

แนวคิดหลักในการบริหารโครงการ

จัดงานในโครงการที่ต้องท า ดีกว่าพยายามจัดคนให้ดูเหมือนยุ่งอยู่กับงาน ต้องแน่ใจว่ามีแผนปฏิบัติงาน ส าหรับเป็นแนวทางการท างานให้แก่โครงการ ต้องแน่ใจว่ามีการอนุมัติ ขอบเขตงาน งบประมาณ และก าหนดเวลา แตกโครงการออกเป็นงานย่อยให้อยู่ในรูปที่เข้าใจและสามารถวัดได้ จัดผังองค์กรโครงการซึ่งจะแสดงถึงสายงานความรับผิดชอบของบุคลากรท้ังหมด

ในทุกๆฝ่าย จัดคนให้ท างานด้วยกันเป็นทีมอย่างมีประสิทธิผล ระลึกอยู่เสมอว่าการท างานให้

ส าเร็จต้องการความร่วมมือจาดทุกฝ่าย เน้นคุณภาพงานเป็นหลัก เพราะสิ่งที่ใช้งานไม่ได้ย่อมไร้ค่า ไม่ควรค านึงถึงต้นทุน

ที่ท าหรือสร้าง หรือการแล้วเสร็จของงานก่อนก าหนด มากจนเกินไป

แนวคิดหลักในการบริหารโครงการ

จัดสรรงบประมาณให้แก่ทุกงานที่ต้องท า เพราะงานทุกงานที่ท าต้องมีค่าใช้จ่าย จัดท าก าหนดเวลาโครงการ ซึ่งเป็นการจัดล าดับงานที่ต้องท าเพื่อให้โครงการแล้ว

เสร็จตามระยะเวลาที่ก าหนด จัดท าระบบควบคุม ซึ่งสามารถใช้วัดหรือคาดการณ์ปัญหาล่วงหน้า เพื่อให้

สามารถหาทางแก้ไขได้ แจ้ง(เปิดเผย) ปัญหาทุกอย่างที่เกิดขึ้นให้แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องให้มีส่วนร่วมในการ

แก้ไข

แนวคิดหลักในการบริหารโครงการ

บันทึกงานทุกอย่าง เพราะสิ่งที่ดูเหมือนว่าไม่เกี่ยวข้องอาจมีความส าคัญขึ้นมาภายหลัง

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับโครงการ ควรจัดให้มีการตกลงอย่างเป็นทางการกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

รายงานลูกค้าเกี่ยวกับการด าเนินการอย่างสม่ าเสมอ เพราะเป็นผู้จ่ายเงินและใช้โครงการเมื่อแล้วเสร็จ

บทบาทของผู้บริหารโครงการ

บทบาทของผูบ้ริหารโครงการ คือ การน าทีมงานโครงการให้ท างานดว้ยคุณภาพ ภายใต้ข้อจ ากดั ด้านเวลา งบประมาณ และขอบเขตงาน

ผู้บริหารโครงการต้องท าหนา้ที่หลักห้าประการของการจัดการ คือ◦ การวางแผน

◦การจัดงานการจัดบคุลากร◦การอ านวยการการควบคุม

บทบาทของผู้บริหารโครงการในการวางแผน

จัดท าแผนงานโดยเน้นถึงงานที่ต้องท า ก าหนดวัตถุประสงค์และสิ่งที่ต้องการใหช้ัดเจนตั้งแต่แรก เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ

ให้ผู้จดัการฝ่ายต่างๆ หรือหวัหน้างานต่างๆ มีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผนและการประมาณการ

ก าหนดเวลาที่งานหลักๆ ต้องแล้วเสร็จให้ชัดเจน เพื่อทกุฝ่ายที่เกี่ยวขอ้งทราบว่า ต้องท าอะไร และจะเสร็จเม่ือไหร่

ก าหนดความคลาดเคลื่อนไว้ในการท าก าหนดระยะเวลางานเผื่อว่ามีปัญหาท่ีไม่ได้คาดการณ์ไว้เกิดขึ้น

บทบาทของผู้บริหารโครงการในการวางแผน

หลีกเล่ียงการจัดโปรแกรมใหม่ หรือการวางแผนใหม ่นอกจากมีความจ าเป็นจริงๆเท่านั้น

เตรียมข้อตกลงอย่างเป็นทางการ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกบัโครงการ และก าหนดวิธีที่จะควบคมุการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น

อธิบายแผนงานโครงการ ความรับผิดชอบ ก าหนดเวลา และงบประมาณรายจ่าย แก่ผู้ทีเ่กี่ยวข้องใหช้ัดเจน

ระลึกเสมอว่า แผนงานท่ีเตรยีมไว้ดีที่สุด จะไร้ค่าถ้าไม่มีการน าไปปฏิบัติ

บทบาทของผู้บริหารโครงการต่อการจัดงาน

จัดงานในโครงการที่จะต้องท า จัดท าโครงสร้างการแตกงาน ซึ่งเป็นการแบ่งงานย่อยเป็นล าดับชั้น เพื่อให้มคีวามชัดเจนและสามารถวัดได้

จัดท าผงัองค์กร แต่ละโครงการ เพื่อแสดงว่าท าอะไร ระบุอ านาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของผู้รว่มงานในโครงการให้ชัดเจน

บทบาทของผู้บริหารโครงการในการจัดบุคลากร

ระบุงานที่ต้องท าใหช้ัดเจน และร่วมกับผู้จดัการแผนกในการเลือกผู้ร่วมงาน

จัดปฐมนิเทศ เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของโครงการ ให้ผูร้่วมงานในระยะเริ่มแรก

อธิบายให้ผูร้่วมงานทราบ ว่าพวกเขาต้องท าอะไร และงานของเขาเหมาะกับโครงการอย่างไร

ขอความเห็นจากผู้ร่วมงาน และอธิบายให้ผู้ร่วมงานเข้าใจตรงกันเกี่ยวกับขอบเขตงาน งบประมาณ และก าหนดเวลา

บทบาทของผู้บริหารโครงการในการอ านวยการ

ท าหน้าท่ีเป็นผู้น าทีด่ีในการประสานสิ่งต่างๆในโครงการ แสดงออกถึงความสนใจและกระตือรือร้นเก่ียวกับโครงการด้วยเจตนาคติท่ีดี

มีเวลาให้กับผู้ร่วมงาน เปิดเผยปัญหาให้ทกุฝ่ายรู้และใหค้วามร่วมมือในการแก้ไขปัญหา

บทบาทของผู้บริหารโครงการในการอ านวยการ

วิเคราะห์ ส ารวจปัญหาท่ีอาจเกิดขึ้นแต่เนิ่นๆ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาสามารถท าได้เร็วท่ีสุด

จัดหาทรัพยากรที่จ าเป็นให้แก่ผู้ร่วมงานในการท างานเพื่อใหโ้ครงการเสร็จ

ตระหนักถึงความส าคัญของทีมงาน ชมเชยส าหรับผลงานที่ด ีให้ค าแนะน าในการแก้ไขสิ่งที่ท าผิดพลาด สร้างทีมงานให้เข้มแข็ง

บทบาทของผู้บริหารโครงการในการควบคุม

บันทึกแผนงานและงานที่ท าได้จริง เพื่อวัดความก้าวหน้าของโครงการ บันทึกแผนงานหลัก (Milestones) และแผนงานหลักที่เสร็จแล้ว บันทึกแสดงคา่ใช้จ่ายทีว่างแผน กับค่าใช้จา่ยจริงที่เกิดขึน้ จัดเก็บรายงานการประชุม บทสนทนาทางโทรศพัท์ และข้อตกลงต่างๆ แจ้งทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง ทราบถึงปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหา