Packaging design and development of Chai Nat agricultural community enterprise products to improve...

Post on 07-Feb-2023

0 views 0 download

Transcript of Packaging design and development of Chai Nat agricultural community enterprise products to improve...

การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑสินคาการเกษตรของวิสาหกิจชุมชน จังหวัดชัยนาท เพื่อพัฒนาขีด

ความสามารถในการแขงขันที่มีประสิทธิภาพ ตามแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค

Packaging design and development of Chai Nat agricultural community enterprise products

to improve competitiveness and efficiency under the concept of the creative economy.

ประชิด ทิณบุตร0

1, เกวรินทร พันทวี1 , ฐปนนท ออนศรี1

Prachid Tinnabutr1, Kawarin Panthawee1,Tapanon On sri 1

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพื่อศึกษาขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ

สินคาทางการเกษตรของวิสาหกิจชุมชน ในเขตจังหวัดชัยนาท 2) เพื่อออกแบบพัฒนาตนแบบบรรจุภัณฑสินคา

การเกษตรของวิสาหกิจชุมชน ในเขตจังหวัดชัยนาท ภายใตกรอบแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค ใหมีประสิทธิภาพ

เพื่อการแขงขันทางการคา และ 3) เพื่อประเมินประสิทธิภาพตนแบบบรรจุภัณฑสินคาใหม ซึ่งการวิจัยครั้งนี้เปน

การศึกษาวิจัยแบบพัฒนาทดลอง โดยวิธีการใหกลุมบุคคลในชุมชนท่ีเปนสถานท่ีทําการศึกษาวิจัยทดลอง ในเขต

พื้นท่ีจังหวัดชัยนาท ท้ัง 8 อําเภอ ไดเขามามีสวนรวมในการศึกษาและพัฒนารวมใหขอมูล และรวมตัดสินใจ

คัดเลือกผลงานโดยวิธีการรวมปรึกษาประชุมสนทนากลุมยอย โดยมีวิธีการดําเนินการวิจัยตามลําดับข้ันตอนของ

การออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ ประชากรท่ีใชในการศึกษาพัฒนาคือ บรรจุภัณฑสินคาดานการเกษตร

ของกลุมวิสาหกิจชุมชน ท้ัง 8 อําเภอ ในเขตจังหวัดชัยนาท อําเภอละ 2 ผลิตภัณฑ จํานวนรวม 16 รายการ ท่ี

ออกแบบภายใตแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค โดยมีการประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพโดยใชตัวแทนจากกลุม

ผูเช่ียวชาญ 5 กลุม อันไดแกผูประกอบการ/ฝายการตลาด นักวิชาการ/ผูเช่ียวชาญ/ท่ีปรึกษา/นักวิจัย นักวิชาการ

พัฒนาชุมชน/เจาหนาท่ีรัฐ/หนวยงานของจังหวัดชัยนาท นักออกแบบบรรจุภัณฑ และผูซื้อหรือผูบริโภคท่ัวไป

โดยวิธีการสุมแบบเจาะจงเลือกในฐานะผูมีสวนรวมพัฒนา และการสุมแบบบังเอิญ รวมจํานวนท้ังสิ้น 80 คน

เก็บรวบรวมขอมูลโดยวิธีการนําเสนอผลงานแบบกลุมยอย การสอบถามความคิดเห็นท้ังโดยตรงและ

แบบสอบถามออนไลน สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลไดแกคารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน

ผลจากการวิจัยตามกระบวนการสรางสรรคและวิธีดําเนินการวิจัยแบบมีสวนรวม ทําใหไดชุดผลงาน

ตนแบบท่ีมีสวนประกอบทางโครงสรางและกราฟกอัตลักษณสําหรับบรรจุภัณฑสินคา ของกลุมวิสาหกิจชุมชน

ดานการเกษตรในแตละอําเภอ รวม 8 อําเภอ อําเภอละ 2 ราย รวมท้ังสิ้น 16 ราย โดยกลุมผูเช่ียวชาญท่ีไดรวม

ประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพผลงานตนแบบบรรจุภัณฑสินคา เห็นวาภาพรวมดานการออกแบบโครงสราง

ดานการออกแบบกราฟกสําหรับบรรจุภัณฑ และดานการรับรูทางดานการตลาด เปนผลงานการออกแบบท่ีมี

คุณภาพและประสิทธิภาพท่ีเปนไปตามตามวัตถุประสงค อยูในเกณฑระดับมากท่ีสุด โดยมีคาเฉลี่ยรวมทุกอําเภอ

อยูท่ี 4.61 สวนเบ่ิยงเบนมาตรฐาน0.57 ผูวิจัยไดสรุปรวบรวมไฟลตนแบบดิจิตัลท่ีมีลิขสิทธิ์ถูกตองของ

องคประกอบทางกราฟกอัตลักษณ ขอมูลสารสนเทศของสินคาและผูผลิต บันทึกลงแผนดีวีดี มอบใหแก

ผูประกอบการแตละราย และไดนําเสนอเผยแพรองคความรูสาระสําคัญการวิจัยครั้งนี้ไวท่ีเว็ปบลอกช่ือท่ีอยู

http://chainatotop.blogspot.com

คําสําคัญ : การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ สินคาการเกษตรวิสาหกิจชุมชน ขีดความสามารถในการแขงขันทาง

การคา เศรษฐกิจสรางสรรค จังหวัดชัยนาท

1 สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

Research Title Packaging design and development of Chai Nat agricultural community enterprise products

to improve competitiveness and efficiency under the concept of the creative economy.

Researcher Prachid Tinnabutr, Kavarin Panthawee, Tapanon On sri

Research Year 2014

Abstract

The research objectives are 1) to gain a better understanding and more knowledge of Chainat’s

community enterprise product and package designs 2) to develop a set of new designs under the concept of the

creative economy, which aims to promote consistency in visual identity as well as improve competitiveness. 3)

to evaluate an efficiency of the new designs. This experimental research takes place in eight districts in Chai

Nat with a corporation from local communities, where groups of locals in each district assist in the design and

development workflow. The selected groups also involve in selecting the final designs that best signify their

true local identity by organizing a series of small focus group meeting to discuss the design and development

workflow, which include product and package design specification, product concept generation stage, product

and packaging design stage, production stage,conclusion and evaluation. The products involved in this research

consist of two agricultural products from eight districts in Chai Nat, which result in the total of sixteen new

package designs under the concept of the creative economy. To evaluate the effectiveness of the experimental

research, experts from five different sectors, including entrepreneur/marketing, scholar/advisor/researcher,

social worker/government agent/government institute, professional product designer and regular consumer, are

chosen by a simple random sample method in the total of eighty samples. The final designs are presented to a

small group of people before collecting the evaluating questionnaires and opinions using a focus group

method. The evaluation is done through both online questionnaires and in person. The descriptive statistics

used in this experimental research include percents, mean, and standard deviation.

The result from this experimental research, which involve a corporation from local communities

leads to the set of products that embrace the true branding identity of Chai Nat agricultural community

enterprise products as well as strengthen market perception and competitiveness. According to the selected

groups of experts, the evaluation results in a mean of 4.61 S.D. 0.57 for the entire districts involved in this

research. Furthermore, the experts also have agreed that this new set of package design is relevance to the

creative economy. Thus, DVDs including a digital copy of the final package designs as well as product and

manufacturer information are given to entrepreneurs involved in the project. For online version of this

experimental research, please visit a blog URL: http://chainatotop.blogspot.com.

Keywords: Packaging Design and Development, Agricultural Community Enterprise Product, Chai

Nat Province, Competitiveness and Efficiency, Creative Economy

3

บทนํา

จากสภาวะความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีการผลิต การสื่อสาร การคมนาคมขนสง และความ

ตองการทางการอุปโภคบริโภคของพลเมืองในประเทศและพลเมืองในโลกปจจุบันนี้มีเพิ่มมากข้ึน ทําใหเกิด

มีผลผลิตหรือผลิตภัณฑสินคาเขาสูตลาดการพาณิชยมากมายเปนเงาตามตัว เปนผลใหเกิดสถานการณการ

แขงขันทางการคาสูงข้ึนตามมา ท้ังจากภายในและจากตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง จากเหตุการณรวมสมัย

ปจจุบันนับแตนี้ไป ท่ีจะมีการรวมกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ข้ึนเปนประชาคมเศรษฐกิจ

อาเซียนหรือ AEC : Asean Economy Community ภายในปพ.ศ.2558 นี้นั้น ยิ่งทําใหทุกภาคสวนของการผลิต

ผลิตภัณฑสินคาในประเทศไทย มีความจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองปรับตัวเพื่อเตรียมความพรอมไวรองรับกับ

การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม อันนับวาเปนโอกาสสําคัญในการท่ีจะตองมีการพัฒนาขีด

ความสามารถทางการคา เพื่อการแขงขันใหไดประสิทธิภาพเปนมาตรฐานสากล (สภาหอการคาแหงประเทศ

ไทย,2556) ซึ่งการท่ีตองมีการปรับปรุงพัฒนาขีดความสามารถทางการคาใหไดอยางมีประสิทธิภาพไดนั้น

จึงตองอาศัยความรวมมือกันโดยใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของภาคีการพัฒนาทุกภาคสวน ท้ังใน

ระดับชุมชน ระดับภาค และระดับประเทศ ควรตองเปนไปตามและสอดรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

ของชาติ มีแผนยุทธศาสตรหลักของชาติเปนแนวทาง ซึ่งแผนพัฒนาประเทศของสังคมไทยไดอัญเชิญหลัก

"ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" ไปประยุกตใชอยางกวางขวางนับแตแผนระยะท่ี 8 - 10 เปนตนมา ในระยะ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ ฉบับท่ี 11 จึงเปนการนําภูมิคุมกันท่ีมีอยู พรอมท้ังเรงสรางภูมิคุมกัน

ในประเทศใหเขมแข็งข้ึน เพื่อเตรียมความพรอมคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถ

ปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงไดอยางเหมาะสม โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาคนและ

สังคมไทยใหมีคุณภาพ มีโอกาสเขาถึงทรัพยากร และไดรับประโยชนจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

อยางเปนธรรม รวมท้ังสรางโอกาสทางเศรษฐกิจดวยฐานความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิด

สรางสรรค บนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคท่ีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (สํานักงานคณะกรรมการ

พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2556) ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาเพื่อประโยชนสุขท่ียั่งยืนของ

สังคมไทย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไดอยางตอเนื่องนั่นเอง

จังหวัดชัยนาท เปนจังหวัดหนึ่งท่ีจัดอยูในเขตยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน

2 (ลพบุรี สิงหบุรี ชัยนาท อางทอง) ซ่ึงทางสภาหอการคาแหงประเทศไทยไดจัดทําไว โดยใหมีวิสัยทัศน

(Vision) รวมกันวา เปนแหลงผลิตอาหารปลอดภัย ศูนยกลางการขนสงสินคาทางน้ํา และแหลงทองเท่ียวเชิง

ประวัติศาสตรและธรรมชาติ ต้ังเปาประสงค (Goals) ไวคือ การเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP:

Gross Provincial Products) ภาคเกษตรกรรม เพิ่มข้ึนรอยละ 5 ตอป มีรายไดจากการทองเท่ียว เพิ่มข้ึนรอยละ

5 ตอป และมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด ของภาคการคา การบริการ และการขนสง เพิ่มข้ึนรอยละ 5 ตอป

โดยไดกําหนดแผนยุทธศาสตรการพัฒนา (Development Strategies) ภายใตศักยภาพดานการเปนแหลงผลิต

สินคาเกษตร และฐานการผลิตสินคาอุตสาหกรรมท่ีสําคัญของประเทศ มีแหลงทองเท่ียวทางประวัติศาสตร

และวัฒนธรรม และธรรมชาติท่ีมีความโดดเดน ประกอบกับมีท่ีต้ังท่ีอยูใกลเมืองหลวง และมีแมน้ําสาย

สําคัญ ไดแก แมน้ําเจาพระยา แมน้ําลพบุรี แมน้ําปาสัก และแมน้ําทาจีน ประกอบกับการคมนาคมขนสง

สะดวก โดยเฉพาะระบบคมนาคมขนสงทางน้ํา หอการคาไทยจึงไดกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนากลุม

จังหวัดฯ ไวเปน 3 ประเด็นยุทธศาสตร ดังนี้คือ (สภาหอการคาแหงประเทศไทย,2556)

4

1. สรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาเกษตรและปศุสัตวตลอดหวงโซอุปทาน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ

ในการสรางรายไดใหแกกลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน2 (ลพบุรี สิงหบุรี ชัยนาท อางทอง) โดยมีกลยุทธดังนี้

1.1 ปรับโครงสรางและพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัยใหไดมาตรฐานสากลเพื่อการ

สงออก (ขาว และปศุสัตว)

1.2 สรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑแปรรูปเกษตร

1.3 พัฒนาเช่ือมโยงทางการตลาดท้ังในประเทศ และตางประเทศ

2. สรางมูลคาเพิ่มใหกับภาคธุรกิจทองเท่ียวเชิงประวัติศาสตร และธรรมชาติ เพื่อทําใหเกิดการจาง

งาน และกระจายรายได โดยมีกลยุทธดังนี้

2.1 สรางสรรคกิจกรรมทองเท่ียวและผลิตภัณฑจากภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อเสริมศักยภาพการ

ทองเท่ียวระยะยาว

2.2 เช่ือมโยงการทองเท่ียวระหวางกลุมจังหวัด และภูมิภาคอื่นๆ

2.3 เรงทําการประชาสัมพันธตลาดทองเท่ียวในเชิงรุกอยางตอเนื่อง

2.4 พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อเพิ่มความสามารถในการใหบริการ

3. พัฒนาและปรับปรุงระบบโครงสรางพื้นฐานดานโลจิสติกส เพื่อใชเปนฐานในการขับเคลื่อนภาค

เศรษฐกิจและสังคมท้ังในปจจุบันและอนาคตโดยมีกลยุทธดังนี้

3.1 พัฒนาโครงขายคมนาคมและขนสงพื้นฐาน

3.2 พัฒนาระบบโลจิสติกส เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขนสงทางน้ํา

จังหวัดชัยนาท ไดมีการเริ่มดําเนินการ ตามโครงการสรางเสริมขีดความสามารถของผูประกอบการ

ในการเขาสูประชาคมอาเซียน โดยมีวิสัยทัศนตามแผนพัฒนาจังหวัดประจําป 2556 เอาไววา “เมืองเกษตร

มาตรฐาน สืบสานคุณภาพชีวิต” ซ่ึงเปนการใหความสําคัญแกดานการเกษตร ท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมระดับชาติ ดวยการกําหนดประเด็นยุทธศาสตรขอท่ี 1 เอาไวคือการเพิ่มประสิทธิภาพการ

ผลิตและการตลาดดานการเกษตร โดยมีเปาประสงคหลักเอาไว 3 ขอคือ 1) ผลผลิตทางการเกษตรมีคุณภาพ

ปลอดภัยไดมาตรฐาน 2) เพ่ิมมูลคาผลผลิตทางการเกษตร และ3) เพิ่มรายไดเกษตรกร(สํานักงานจังหวัด

ชัยนาท,มปป.) มีการจัดอบรมความรูตามประเด็นยุทธศาสตรแกผูประกอบการ SMEs และ OTOP ซึ่งถือวา

เปนรากฐานสําคัญตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศและของจังหวัด แตจากสภาวการณท่ีผานมา

พบปญหาวา ผูประกอบการกลุมดังกลาวภายในจังหวัดยังขาดความรูในเชิงการตลาด การคาดการณ การ

ออกแบบ การสงออกสินคาและการส่ือสารกับผูคาในระดับสากล(บานเมือง,2556) ดังนั้นการท่ีจะพัฒนา

จังหวัดชัยนาทให เปนแหลงผลิตทางการเกษตร ปลอดสารพิษท่ีสําคัญระดับประเทศและการสง

ออก เกื้อหนุนอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร สงเสริมและพัฒนาการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ ยกระดับ

คุณภาพชีวิตใหสูงข้ึน และจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม ใหเปนเมืองนาอยูไดจริงตามวิสัยทัศนการพัฒนา จึง

ยังคงตองการและเนนการมีสวนรวมจากประชาชนและจากภาคีทุกภาคสวน

ดังนั้นเพื่อเปนการสนับสนุนการมีสวนรวมของภาคีของภาคการศึกษา กอปรกับพื้นท่ีของจังหวัด

ชัยนาท เปนเขตพื้นท่ีของการใหบริการทางการศึกษา และจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

คือมีศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท ซึ่งต้ังอยูท่ีบานดอนอรัญญิก ต.แพรกศรีราชา

อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท อันมีภารกิจและวิสัยทัศนท่ีสอดคลองกันคือ ศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ

5

จันทรเกษม - ชัยนาท เปนศูนยกลางแหงการเรียนรูตลอดชีวิต นําภูมิปญญาทองถิ่นสูสากลและสรางสังคม

อุดมคุณธรรม และจากสภาพปจจุบันและปญหาดังกลาว คณะผูวิจัยในฐานะของคณาจารยสาขาวิชา

ศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ท่ีมีความรู ความเช่ียวชาญและมีประสบการณ ดานการ

ออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑสินคาและบรรจุภัณฑแกชุมชนมาแลวโดยตรง จึงมีความเห็นรวมกันวาการ

ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑสินคา ดานการเกษตรของกลุม OTOP/ SMEs ใหสามารถมีการขยาย

ขีดความสามารถทางการคา เขาสูระบบเศรษฐกิจสากลไดอยางเหมาะสม และสอดคลองสอดรับกับ

แผนพัฒนาฯทุกระดับไดดีนั้น ควรตองนําแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค (Creative Economy) มาใชเปน

แนวทางสําหรับการพัฒนาและสรางองคความรูใหมใหแกกลุมผูประกอบการผลิตภัณฑชุมชน วิสาหกิจ

ชุมชนและหรือกลุมผูประกอบการขนาดเล็กขนาดยอม ในเขตจังหวัดชัยนาท ท่ีมีความตองการยกระดับ

มาตรฐานผลิตภัณฑสินคาและบรรจุภัณฑใหแกกลุมตนเอง ใหสามารถมีความพรอมและทําใหเกิดการ

สรางสรรคพัฒนาผลิตภัณฑไดอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการออกแบบ พัฒนาผลิตภัณฑ การ

ออกแบบบรรจุภัณฑ และการสรางตราสินคา ( Brand ) อันเปนเครื่องมือสําคัญหลักในทางการคา สามารถ

นําพาใหการดําเนินการธุรกิจอยูรอด และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันอยางเปนระบบและยั่งยืนได

ตลอดไป

กรอบแนวคิดของการวิจัย

การศึกษาวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาวิเคราะห สังเคราะห เพื่อการออกแบบและพัฒนา สรางสรรค

ผลงานดานการออกแบบบรรจุภัณฑสินคา ตามหลักการและกระบวนการออกแบบสรางสรรคและการพัฒนา

ผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ (Product and Packaging Design and Development Process ) โดยมีขอบเขต

ดังนี้คือ

1. ขอบเขตดานพื้นท่ีวิจัย เปนการศึกษาสํารวจขอมูลท่ัวไป เกี่ยวกับดานการประกอบการ การผลิต

การบรรจุ และการตลาด ผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑสินคาเฉพาะทางดานการเกษตร ของวิสาหกิจชุมชนเดิมท่ี

มีอยูในเขตจังหวัดชัยนาท จํานวน 8 อําเภอ อําเภอละ 4 แหง รวม 32 ราย

2. ขอบเขตดานประชากร เปนการศึกษาวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ (Visual Communication

Analysis) สังเคราะหและออกแบบสรางสรรค (Synthesis and Creative Design) เกี่ยวกับรูปแบบผลิตภัณฑ

และบรรจุภัณฑสินคาเฉพาะทางดานการเกษตร ของวิสาหกิจชุมชนเดิมท่ีมี จํานวน 8 อําเภอ ของจังหวัด

ชัยนาท เพื่อใชเปนพื้นฐานสูการออกแบบพัฒนา ภายใตกรอบแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค ใหแก

ผูประกอบการอําเภอละ 2 ราย รวม 16 ผลิตภัณฑ

3. ขอบเขตดานเนื้อหา แนวคิดการออกแบบพัฒนา การปรับปรุงรูปแบบเดิมและตนแบบใหม

ภายใตแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค โดยการคัดเลือกใชผลิตภัณฑของผูประกอบการในแตละอําเภอท่ีมีความ

พรอม มีความตองการรับการปรึกษา ใหความรวมมือโครงการ โดยมีศักยภาพทางการผลิตและหรือความ

พรอมรับการพัฒนาขีดความสามารถเพื่อการแขงขันทางการคา ดวยการออกแบบสรางสรรคใหไดผลงาน

ตนแบบภายใตบริบทและเทคนิควิธีของกระบวนการออกแบบและทางศิลปกรรม โดยผานการตรวจสอบ

กรองความคิดเห็นการพัฒนา แบบมีสวนรวมของกลุมผูเช่ียวชาญตัวอยาง

6

สมมติฐานของการวิจัย

การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑสินคาวิสาหกิจชุมชนดานการเกษตร ตามแนวคิดเศรษฐกิจ

สรางสรรค ทําใหสินคาและบรรจุภัณฑมีคุณลักษณะและประสิทธิภาพเพื่อการแขงขันทางการคา

ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย โดยปรับใชแนวคิดจากเรื่อง

บรรจุภณัฑ : บทบาทหนาท่ีทางการตลาด ของประชิด ทิณบุตร, 2531: 22-30) สรุปไดดังนี้คือ

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย ท่ีมา : ประชิด ทิณบุตร, 2557

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพ่ือศึกษาขอมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑสินคาทางการเกษตรของวิสาหกิจ

ชุมชน ในเขตจังหวัดชัยนาท

2. เพื่อออกแบบพัฒนาตนแบบบรรจุภัณฑสินคาการเกษตรของวิสาหกิจชุมชน ในเขตจังหวัด

ชัยนาท ภายใตกรอบแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค ใหมีประสิทธิภาพเพื่อการแขงขันทางการคา

3. เพื่อประเมินประสิทธิภาพตนแบบบรรจุภัณฑสินคาใหม ท่ีไดพัฒนาภายใตกรอบแนวคิด

เศรษฐกิจสรางสรรค

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาวิจัยแบบพัฒนาทดลอง (Experimental Development) โดยวิธีการให

กลุมบุคคลในชุมชนท่ีเปนสถานท่ีทําการศึกษาวิจัยทดลอง ในเขตพื้นท่ีจังหวัดชัยนาท ท้ัง 8 อําเภอ ไดเขามา

มีสวนรวมในการศึกษาและพัฒนา (Community-based participatory research (CBPR) รวมใหขอมูล และ

รวมตัดสินใจคัดเลือกผลงานโดยวิธีการประชุมสนทนากลุม(Focus Groups) โดยมีวิธีการดําเนินการวิจัยเปน

การออกแบบพัฒนาบรรจุภณัฑ

การบรรจุและ

การคุมครองปองกัน

โครงสรางบรรจุภัณฑ ผลิตภณัฑสินคาดานการเกษตร

ของกลุมวิสาหกิจชุมชน

แนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค

มีคุณลักษณะเพื่อการส่ือสาร

การรับรูเชิงสุนทรีย

สรางมูลคาเพิ่ม เสริมประสิทธิภาพ

การแขงขันทางการคา

หนาท่ีการใชงานและการ

อํานวยความสะดวก

วัสดุบรรจุภณัฑท่ีเหมาะสม

และคุมคา

กราฟกส่ือสาร

ภาพประกอบ สีสันและการ

กราฟกบรรจุภัณฑ

กราฟกอัตตลักษณ

บุคลิกลักษณะเฉพาะ

ขอมูลจําเพาะสําหรับ

สินคา/ผลิตภัณฑเพื่อการคา

7

ลําดับข้ันตอนของการออกแบบและการพัฒนา(Design and Development Work Flow) ผลิตภัณฑและบรรจุ

ภัณฑ ดังนี้คือ

1. การกําหนดคุณลักษณะผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ (Product and Packaging Design

Specification) โดยอาศัยขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆจากการศึกษาและการมีสวนรวม

2. ข้ันการกําหนดมโนทัศนผลิตภัณฑ (Product Concept Generation Stage) เพื่อกําหนดแนวคิด

หลักตามกรอบงานวิจัย

3. ข้ันการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ (Product and Packaging Design Stage) เปน

ข้ันตอนการทํางานออกแบบในระดับตางๆของนักออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ

4. ข้ันการผลิต (Production Stage) เปนการสรางสรรคผลงานตามกระบวนการออกแบบตนฉบับ

ทางการพิมพและบรรจุภัณฑ

5. ข้ันการสรุปและประเมินผล (Conclusion and Evaluation) เพื่อการตรวจสอบประสิทธิภาพของ

ผลงานออกแบบ และการสรุปประเมิน การบันทึกขอมูลรายงาน การจัดเก็บตนฉบับไฟลดิจิตัลทางการพิมพ

และการนําเสนอเผยแพร

ประชากรและกลุมตัวอยาง

1. ประชากรท่ีศึกษาคือ บรรจุภัณฑสินคาดานการเกษตรของกลุมวิสาหกิจชุมชน ท้ัง 8 อําเภอ ใน

เขตจังหวัดชัยนาท จากรายช่ือสินคาของผูประกอบการจํานวน 89 ราย ท่ีไดลงทะเบียนคัดสรรผลิตภัณฑ

ดีเดนประจําจังหวัดชัยนาท ในป พ.ศ. 2555

2. กลุมตัวอยางท่ีศึกษาพัฒนาคือ บรรจุภัณฑสินคาดานการเกษตรของกลุมวิสาหกิจชุมชน ท้ัง 8

อําเภอ ในเขตจังหวัดชัยนาท อําเภอละ 2 ผลิตภัณฑ จํานวนรวม 16 รายการ ภายใตแนวคิดเศรษฐกิจ

สรางสรรค

การเลือกกลุมตัวอยาง ใชวิธีการเลือกแบบเจาะจงเลือก ตามท่ีผูวิจัยและทีมงานไดกําหนดนิยาม

ประชากรเปาหมายไวตามกรอบแนวคิดการวิจัยไวคือ เปนบรรจุภัณฑสินคาดานการเกษตรของกลุมวิสาหกิจ

ชุมชน ท้ัง 8 อําเภอ ในเขตจังหวัดชัยนาท ท่ีมีการผลิตอยางตอเนื่อง มีศักยภาพ และมีความพรอมท่ีจะเขารวม

โครงการออกแบบพัฒนาฯ โดยวิธีการเขาช้ีแจง-สัมภาษณ การมีสวนรวมเพื่อการตัดสินใจ ท้ังทีมผูวิจัย

ผูประกอบการและนักวิชาการพัฒนาชุมชน รวม 5 คน รวมกันคัดเลือก และสรุปผลจากการเขาศึกษา-

สัมภาษณเชิงลึก ณ สถานท่ีต้ังของท่ีทําการกลุม อําเภอละ 4 รายการผลิตภัณฑ รวม 32 ผลิตภัณฑแลวสรุปผล

การคัดเลือกตามเงื่อนไขไวเพียง 2 รายการผลิตภัณฑ ในแตละอําเภอ รวม 16 รายการผลิตภัณฑ เพื่อเขาสู

กระบวนการออกแบบพัฒนา

เคร่ืองมือวิจัยที่ใชในการวิจัย

ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยมีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑสินคาวิสาหกิจชุมชน

ดานการเกษตรในเขตจังหวัดชัยนาท ตามแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค เพื่อทําใหสินคาและบรรจุภัณฑมี

คุณลักษณะและประสิทธิภาพเพื่อการแขงขันทางการคา โดยไดกําหนดใชเครื่องมือในการศึกษาวิเคราะห

ดังนี้คือ

8

1. แบบบันทึก-สัมภาษณแบบมีโครงสราง ดานขอมูลผูประกอบการ กระบวนการผลิตและความ

ตองการดานการออกแบบพัฒนา

2. แบบสํารวจประเมินความคิดเห็นตอประสิทธิภาพตนแบบการพัฒนาบรรจุภัณฑ ท่ีสรางข้ึนตาม

กรอบแนวคิดของการวิจัย ผานการหาคาความเท่ียงของเนื้อหา คาความสอดคลองของกลุมผูเช่ียวชาญ(IOC)

3. ตนแบบอารตเวิรตและแบบจําลองเหมือนจริงบรรจุภัณฑสินคาใหม (Ready Artwork and

Mock Up) ท่ีไดพัฒนาข้ึนภายใตกรอบแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค และความตองการของผูประกอบการ

แตละรายท่ีเขารวมโครงการ โดยการนําเสนอแบบสนทนากลุมยอยและใหมีสวนรวมในการตัดสินใจ

ผลการวิจัย

ผลจากการวิจัยตามกระบวนการสรางสรรคและวิธีดําเนินการวิจัยแบบมีสวนรวม ทําใหไดชุด

ผลงานตนแบบท่ีมีสวนประกอบทางโครงสรางและกราฟกอัตลักษณสําหรับบรรจุภัณฑสินคาใหแกกลุม

วิสาหกิจชุมชนดานการเกษตรในแตละอําเภอ รวม 8 อําเภอ อําเภอละ 2 ราย รวมท้ังสิ้น 16 ราย โดยกลุม

ผูเช่ียวชาญท่ีไดรวมประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพผลงานตนแบบบรรจุภัณฑสินคาใหมท่ีไดพัฒนา

ภายใตกรอบแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค เห็นวาภาพรวมดานการออกแบบโครงสราง ดานการออกแบบ

กราฟกสําหรับบรรจุภัณฑ และดานการรับรูทางดานการตลาด เปนผลงานการออกแบบท่ีมีคุณภาพและ

ประสิทธิภาพท่ีเปนไปตามตามวัตถุประสงค อยูในระดับมากท่ีสุด โดยมีคาเฉลี่ยรวมทุกอําเภออยูท่ี 4.61 โดย

ท่ีผูวิจัยไดสรุปรวบรวมไฟลตนแบบดิจิตัลท่ีมีลิขสิทธิ์ถูกตองขององคประกอบทางกราฟกอัตลักษณ อาทิ

แบบตัวอักษรและตัวพิมพ ตราสัญลักษณ ภาพถาย ภาพประกอบ ขอมูลสารสนเทศของสินคาและผูผลิต

บันทึกลงแผนดีวีดีมอบใหแกผูประกอบการแตละรายท่ีเขารวมโครงการวิจัย และไดนําเสนอเผยแพรองค

ความรูสาระสําคัญการวิจัยครั้งนี้ไวท่ีเว็ปบลอกช่ือท่ีอยู http://chainatotop.blogspot.com

อภิปรายผลการวิจัย

การอภิปรายผลวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้คือ

ผลจากการวิจัยเรื่องการออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑสินคาการเกษตรของวิสาหกิจชุมชน จังหวัด

ชัยนาท เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันท่ีมีประสิทธิภาพ ตามแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค ในครั้ง

นี้นั้น มีกลุมวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดชัยนาท เขารวมโครงการวิจัยในทุกอําเภอ อําเภอละ 2 ราย รวมจํานวน

16 ราย ดังนี้คือวิสาหกิจชุมชนกลุมผลิตภัณฑจากกะลา อําเภอเมืองชัยนาท วิสาหกิจชุมชนกลุมสมุนไพรเพื่อ

สุขภาพ อําเภอเมืองชัยนาท วิสาหกิจชุมชนกลุมจักสานไมไผบานเนินไผ อําเภอมโนรมย วิสาหกิจชุมชน

กลุมจักสานไมไผบานทาแขก อําเภอมโนรมย ผลิตภัณฑถั่วกรอบแกว ตราลุงผล อําเภอวัดสิงห วิสาหกิจ

ชุมชนกลุมเกษตรรักษโลก อําเภอวัดสิงห วิสาหกิจชุมชนหัตถกรรมศิลป ถิ่นเจาพระยา อําเภอสรรพยา

วิสาหกิจชุมชนกลุมสมโอกวนสี่รสบานใหมบางกระเบียน อําเภอสรรพยา วิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกรบาน

สระไมแดง อําเภอสรรคบุรี วิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรดอนอรัญญิก อําเภอสรรคบุรี วิสาหกิจ

ชุมชนกลุมไมกลึงบานดอนกะโดน อําเภอหันคา วิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรบานเช่ียน อําเภอหัน

คา วิสาหกิจชุมชนกลุมกลุมออมทรัพยบานเขาเกล็ด อําเภอหนองมะโมง วิสาหกิจชุมชนกลุมแมบาน

เกษตรกรบานกุดจอก อําเภอหนองมะโมง วิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรเนินขามพัฒนา อําเภอเนิน

ขาม วิสาหกิจชุมชนกลุมแมบานเกษตรกรทอผา ม.5 อําเภอเนินขาม

9

ความสําเร็จของการวิจัยท่ีไดดําเนินตามกระบวนการสรางสรรคและวิธีดําเนินการวิจัยแบบมีสวน

รวม (Community-based participatory research : CBPR) นับแตในข้ันตอนการสืบคนขอมูลระยะแรกท่ีผูวิจัย

ไดลงพื้นท่ีเพื่อศึกษาและคัดเลือกผูประกอบการเพื่อเชิญเขารวมโครงการวิจัยนั้น ทําใหไดรับขอมูลเชิงลึกท้ัง

ทางภูมิศาสตรและสารสนเทศท่ีเกี่ยวของกับกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ การบรรจุภัณฑ การจัดจําหนาย

รูปแบบการใชวัสดุ การออกแบบโครงสรางและการออกแบบคุณลักษณะกราฟกของสินคาทางการเกษตร

ของวิสาหกิจชุมชน ในเขตจังหวัดชัยนาท ของผูประกอบการ และไดรับความรวมมือจากหนวยงานในพื้นท่ี

นับแตองคการบริหารสวนตําบล กํานัน ผูใหญบานและสํานักงานพัฒนาชุมชนประจําอําเภอในพื้นท่ีการวิจัย

เพื่อนํามาใชเปนฐานขอมูลสําหรับการศึกษาวิจัยออกแบบพัฒนา ซึ่งก็เปนหลักการศึกษาวิจัยท่ีสอดคลองกับ

วิธีการดําเนินงานวิจัยของ ณงคณุช นทีพายัพทิศ และสุพัฒน โตวิจักษณชัยกุล (2554)ท่ีใชวิธีปฏิบัติการกลุม

แบบมีสวนรวม (PAR) สรางกรอบแนวคิดเพื่อนําจุดเดนทางวิถีชุมชนท่ีเปนตนทุนทางวัฒนธรรมดั้งเดิมมา

เปนจุดขายทางวัฒนธรรมรวมสมัย เพื่อสรางกระบวนการออกแบบบรรจุภัณฑผลิตภัณฑจักสาน การเสวนา

กลุม (Focus Group) ผูนําชุมชนและหนวยงานองคกรท่ีเกี่ยวของ เพื่อสรางเครือขายการประสานงานเชิงกล

ยุทธดานการบริหารจัดการและคัดกรองกลุมวิสาหกิจชุมชน การสัมภาษณปราชญชุมชนเพื่อคนหาองค

ความรูภูมิปญญาชุมชน รวบรวม วิเคราะหขอมูลจากตัวช้ีวัดผลสัมฤทธิ์ผลงานการออกแบบบรรจุภัณฑ

เชนเดียวกัน ซึ่งขอมูลเบ้ืองตนเหลานี้ผูวิจัยไดนําเสนอเผยแพรและจัดทําตําแหนงพิกัดแผนท่ีทางภูมิศาสตร

โดยการจัดทําการเช่ือมโยงใชกับแผนท่ีของกูเกิ้ล (Google Map) ท่ีสามารถเขาถึงเขาใชไดตลอดเวลา เพื่อการ

เผยแพร การวางแผนพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑไดในอนาคต ท่ี

URL : http://chainatotop.blogspot.com/p/location.html

ภาพท่ี 2.หนาสรุปรวมผลงานออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ จังหวัดชัยนาท ท้ัง 8 อําเภอ จํานวน16 ราย URL

Link : http://chainatotop.blogspot.com/p/blog-page_15.html

ท่ีมา: ประชิด ทิณบุตร,2557

ในสวนการออกแบบพัฒนาตนบรรจุภัณฑครั้งนี้นั้น ทําใหไดชุดผลงานตนแบบท่ีมีสวนประกอบ

ทางโครงสรางและกราฟกอัตลักษณสําหรับบรรจุภัณฑสินคาใหแกกลุมวิสาหกิจชุมชนดานการเกษตรในแต

10

ละอําเภอ รวม 8 อําเภอ อําเภอละ 2 ราย รวมท้ังสิ้น 16 ราย ผูประกอบการสามารถนําไปใชเปนตนแบบจริง

ในการวางแผนการตลาด การผลิตจริง การจัดจําหนาย การจดลิขสิทธ์ิ สามารถสรางมูลคาเพิ่ม สราง

ภาพลักษณท่ีดีตอสินคา และหรือใชเปนผลิตภัณฑทดสอบทางการตลาดตอคูคาและผูบริโภคไดจริง อยาง

เหมาะสมกับขีดความสามารถทางการคา การผลิตและการลงทุนของแตละราย และหรือสามารถนําไปปรับ

ประยุกตใชไดกับเทคโนโลยีการผลิตท่ีมีอยูเดิมหรือท่ีเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม ท้ังนี้

เพราะผูวิจัยมีความรูและประสบการณในการสอนมานานกวา 30 ป มีประสบการณในการเปนนักออกแบบ

บรรจุภัณฑอิสระ การเปนวิทยากรท่ีปรึกษางานโครงการพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑสินคาสินคาชุมชน

ใหแกหนวยงานภาตรัฐและเอกชนอยูเปนประจํา ทําใหมีความเขาใจในข้ันตอนและการดําเนินการออกแบบ

พัฒนานั้นตองดําเนินการอยางครอบคลุมท่ัวท้ังทุกสวนประกอบหลักสําคัญ 2 ประการ ซ่ึงไดแก การ

ออกแบบโครงสรางบรรจุภัณฑและการออกแบบกราฟกสําหรับบรรจุภัณฑ (ประชิด ทิณบุตร,2531) ซึ่ง

คุณลักษณะของกราฟกอัตลักษณบนบรรจุภัณฑและแบรนดสินคาของผูประกอบการในแตละทองถิ่นนั้น

ผูวิจัยไดออกแบบตามแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค เพิ่มเปนการสรางมูลคาเพิ่มและใหเปนมาตรฐานอยาง

ถูกตองตามกฏหมายลิขสิทธิ์ โดยตองการใหเปนแบรนดของชุมชน เพื่อใหเปนประสบการณ ความภาคภูมิใจ

รวมในแบรนด เกิดประทับใจใหรูสึกรับรูความเปนเจาของรวม ก็ไดรับการเห็นดวย เกิดการยอมรับท้ัง

สมาชิกในกลุมและเจาหนาท่ีพัฒนาชุมชน ซึ่งก็สอดคลองกับหลักการสรางคุณลักษณะของแบรนด (Brand

Attribute) ท่ี เกรียงไกร กาญจนโภคิน (2551) ไดกลาวสนับสนุนแนวคิดสรางสรรคนี้เอาไววา Brand

Attribute เปนสิ่งท่ีผูคนมองเห็นและสัมผัสไดอยางชัดเจน เปนรูปรางภายนอกและเปนคุณสมบัติท่ีทุกคน

สามารถสัมผัสได เชนตราสัญลักษณสินคา (Symbol & Logo ) และกราฟกรวมสื่อสาร (Corporate Graphic

Identity) ท่ีสามารถนําไปจดทะเบียนลิขสิทธิ์และนํามาประเมินมูลคาเปนสินทรัพยของผูประกอบการได

ซ่ึงภาพรวมของการสรุปผลงานและการประเมินประสิทธิภาพผลงานออกแบบของแตละกลุม

วิสาหกิจนั้น กลุมผูเช่ียวชาญท่ีไดรวมประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพผลงานตนแบบบรรจุภัณฑสินคา

ใหมท่ีไดพัฒนาภายใตกรอบแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรค เห็นวาภาพรวมดานการออกแบบโครงสราง ดาน

การออกแบบกราฟกสําหรับบรรจุภัณฑ และดานการรับรูทางดานการตลาด เปนผลงานการออกแบบท่ีมี

คุณภาพและประสิทธิภาพท่ีเปนไปตามตามวัตถุประสงค อยูในระดับมากท่ีสุด โดยมีคาเฉลี่ยรวมทุกอําเภอ มี

คาอยูท่ี 4.61 ซึ่งการประเมินประสิทธิภาพนี้ก็เปนข้ันตอนการสรุปผลรวมท่ีสอดคลองกับผลงานวิจัยของ

นพวรรณ ชีวอารี (2555) ท่ีไดทําการวิจัยเรื่อง การวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑผลิตภัณฑหมูแปรรูปเพื่อ

สงเสริมการขายกรณีศึกษาบรรจุภัณฑผลิตภัณฑหมูแปรรูปในชุมชนทองถิ่นจังหวัดนครปฐม ท่ีใชหลักการ

ประเมินโดยผูเช่ียวชาญและแบงประเด็นเปน 4 ดาน คือดานการปกปองผลิตภัณฑ ดานการบรรจุผลิตภัณฑ

ดานอํานวยความสะดวก และดานสงเสริมการจําหนาย

และในข้ันการสงมอบงานนั้นผูวิจัยไดนําขอมูลความตองการเพิ่มเติม คําแนะนําและขอคิดเห็น

ตางๆของผูมีสวนรวมพิจารณาตัดสินใจเลือกภาพรวมของผลงาน และแกไขขอมูลท่ีเกี่ยวของกับกราฟก

อารตเวิรคบนบรรจุภัณฑ ใหถูกตองตามกฏหมายและขอบังคับท่ีเกี่ยวของแลว จึงสรุปบันทึกไฟลดิจิตัล

ตนแบบท้ังหมดอันไดแก ไฟลภาพถายผลิตภัณฑสินคา(Product Items Files) ไฟลตราสัญลักษณและ

อัตลักษณกราฟกท่ีเกี่ยวของกับสื่อทัศนภาพประกอบ (Illustration) ทางการพิมพ แบบตัวอักษรและตัวพิมพ

(Symbol & logo ,Digital Corporate Identity,Typefaces) ไฟลภาพกิจกรรมการมีสวนรวมในการวิจัยและ

พัฒนาผลิตภัณฑ (Design and Development Participation Acts) ฯลฯ ของผูประกอบการแตละราย ลงใน

11

แผนดีวีดี เพื่อนําสงมอบใหผูประกอบการไดนําไปใชประโยชนทางการผลิตและในเชิงพาณิชย สามารถใช

เปนเครื่องมือเพื่อการแขงขันทางการคาท่ีมีประสิทธิภาพไดจริงในอนาคตตอไป

ขอเสนอแนะการวิจัย

ขอเสนอแนะอันเปนผลจากการวิจัยและหรือสาระสืบเนื่องในครั้งนี้ มีดังนี้คือ

1.ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย

1.1 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มีวิทยาเขตอยูท่ีอําเภอสรรคบุรี เขตจังหวัดชัยนาทท้ังหมด

ท้ัง 8 อําเภอ จึงนับวาเปนพ้ืนท่ีบริการทางวิชาการและการศึกษา ซึ่งทางมหาวิทยาลัยจัดใหเปนพื้นท่ีวิจัย

เปาหมาย ตามนโยบายของการจัดการศึกษา การวิจัยและการบริการวิชาการชุมชนโดยตรง ซึ่งปจจุบันมี

นักวิจัยไดรับการจัดสรรงบประมาณท้ังทางตรงและโดยออมมากข้ึน แตในทางปฏิบัติจากการท่ีผูวิจัยไดเขา

ดําเนินการวิจัยแบบมีสวนรวมกับชุมชนท้ัง 8 อําเภอของจังหวัดชัยนาท ในครั้งนี้ ทําใหไดทราบปญหาและ

ความตองการการสนับสนุน การพัฒนาศักยภาพดานอื่นๆจากผูประกอบการวิสาหกิจชุมชนอีกมากมาย

1.2 ทางมหาวิทยาลัย และวิทยาเขตชัยนาทสมควรดําเนินการรวบรวมขอมูลการวิจัยท่ีกระจัด

กระจายไวใหเปนระบบ หรือจัดดําเนินการจัดต้ังศูนยขอมูลการวิจัยในพื้นท่ี ต้ังศูนยบริการความรู ศูนยการ

เรียนรูคูกับชุมชนหรือนักปราชญชุมชน ศูนยเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสอดรับกับนโยบายของทางจังหวัดและ

พื้นท่ีบริการขางเคียง

1.3 วิทยาเขตชัยนาทควรไดรับการจัดงบประมาณใหเปนศูนยการพัฒนาทดลองงานวิจัยและ

งานสรางสรรค เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนทองถิ่นนี้ ควรมีการประสานงาน การจัด

ฝกอบรมดานการออกแบบพัฒนาสินคาชุมชนรวมกับทางศูนยบมเพาะ(UBI) ของทางมหาวิทยาลัย ใหการ

สนับสนุนเผยแพรผลงานของนักวิจัยท่ีไปทําวิจัยในเขตพื้นท่ี เปนตน

1.4 มหาวิทยาลัยควรกําหนดใชนโยบายใหมีการบูรณาการงานวิจัยในศาสตรท่ีเกี่ยวของกับ

การวิจัยและใชเขตพื้นท่ีบริการดวยกัน ระหวางนักวิจัยจากสาขาวิชาตางๆท่ีเกี่ยวของจากคณะหรือหนวยงาน

อื่นภายนอก ท้ังนี้เพ่ือไมใหเกิดการซํ้าซอนของขอมูลพื้นฐาน การบริหารจัดการโครงการวิจัย การบริการ

จัดการงบประมาณ รวมท้ังการตอยอดงานวิจัย การใชประโยชนจากงานวิจัย เปนตน

2.ขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติ

2.1 มหาวิทยาลัยควรสนับสนุนและสงเสริมงบประมาณ คาดําเนินการใหมีการวิจัยหรืองาน

ออกแบบสรางสรรคเพื่อการพัฒนาสินคาชุมชนอื่นๆ โดยใชกระบวนการวิจัยแบบมีสวนรวมกับชุมชน

(Community-based participatory research : CBPR) อยางตอเนื่อง ซึ่งปจจุบันนี้มีนักวิจัยปฏิบัติการงานวิจัย

และงานสรางสรรคเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคม ของมหาวิทยาลัยในพื้นท่ีรับผิดชอบนี้นอย

มาก ท้ังนี้เนื่องจาก ไดรับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนท่ีไมสอดคลองกับรายจายคาดําเนินการวิจัยท่ี

เกิดข้ึนจริง

2.2 มหาวิทยาลัยควรมีการจัดทําโครงการวิจัยรวมกับทางหนวยงานในพื้นท่ีหรือทางจังหวัด

ชัยนาทโดยตรง เพื่อใหกลุมผูประกอบการวิสาหกิจชุมชน หรือองคกรพัฒนาชุมชนในพื้นท่ี มีโอกาสไดใช

ประโยชนจริงท้ังจากผลงานวิจัยและงานสรางสรรคของนักวิจัย ดวยการใชงบประมาณรวมกัน หรือใหเกิด

การรวมพัฒนารวมกันจากไตรภาคีอยางจริงจัง หรืออยางนอยก็ควรมีการนําเสนอขาวสาร การเผยแพรผลงาน

12

ท่ีทําเสร็จและไดแสดงผลงานในเขตพ้ืนท่ีวิจัยใหไดรับทราบ หรือนําเสนอประวัติและผลงานนักวิจัย ให

เกียรติรับเชิญเปนวิทยากรผูเช่ียวชาญประจําในเขตพื้นท่ีบริการการศึกษาและวิชาการแกชุมชนแหงนี้ ไดตรง

ตามภารกิจของการจัดต้ังวิทยาเขต

2.3 ผลงานวิจัยและออกแบบงานสรางสรรคท่ีเกิดจากการวิจัยในเรื่องนี้ ผูประกอบการ

วิสาหกิจชุมชนเปนผูไดรับผลประโยชนโดยตรง ซึ่งหากคิดมูลคารวมตามราคามาตรฐานอาชีพการวาจางงาน

นักออกแบบสรางสรรคบรรจุภัณฑท้ังองคประกอบท้ังหมดแตละรายแลว จะประเมินราคาคาวาจาง

ดําเนินการออกแบบในราคาไมตํ่ากวา 25,000 บาทตอราย ซ่ึงผลประโยชนจากการวิจัยครั้งนี้ ทําให

ผูประกอบการประหยัดคาใชจายในสวนงานออกแบบ อีกท้ังยังเปนการสะทอนตนทุนท่ีแทจริงใหผูประกอบ

ไดรับทราบ ซึ่งในการผลิตจริงตามจํานวนท่ีตองการนั้น ก็ควรตองมีการลงทุนและดําเนินการผลิตในลําดับ

ตอไป

2.4 ควรมีบริการ การจัดอบรมเจาหนาท่ีระดับปฏิบัติการและผูประกอบการสินคาชุมชนใน

พื้นท่ีท่ียังมีความรูและประสบการณดานการจางงานดานการคิดสรางสรรค เกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์และ

สิทธิทางปญญา การละเมิดสิทธิทางปญญาทางเครื่องหมายการคา ซอฟทแวร แบบอักษรและตัวพิมพ

ภาพประกอบท่ีใชทางการพิมพการโฆษณา ดานการออกแบบสรางสรรคโครงสรางและกราฟกสื่อสารบน

บรรจุภัณฑ การสรางแบรนดระดับทองถิ่น เปนตน

3.ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยคร้ังตอไป

3.1 ควรมีการศึกษาวิจัยหรือนําผลวิจัยไปตอยอด เพื่อออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุ

ภัณฑและหรือธุรกิจบริการอื่นๆ ใหกับกลุมวิสาหกิจชุมชนท่ีเปนสินคาดานอื่นๆอีก ตามท่ีมีผูประกอบการ

ในชุมชนของจังหวัดชัยนาท รองขอหรือท่ีไดจากการสํารวจปญหาและความตองการท่ีจะไดรับการ

สนับสนุนการวิจัย ท้ังในเชิงกวางหรือลึก ซ่ึงยังมีอีกมากมาย นับแตกลุมท่ีกําลังเริ่มดําเนินการ มีความ

ตองการ รองขอรับบริการ ใหชวยเหลือในภาระงานดานการออกแบบพัฒนาธุรกิจ และหรือกลุมท่ีมีการ

พัฒนาเปนผูผลิตสินคามาตรฐานในระดับโอทอปแลว หรือไดมาตรฐานการผลิตจนยกระดับเปนกลุม SMEs

เพื่อเตรียมการวางแผน การผลิต การทดสอบตลาด การสรางโอกาสในการแขงขันในเวทีการคาใน AEC หรือ

กรณีศึกษาเฉพาะอื่นๆเปนตน

3.2 ในการดําเนินการศึกษาวิจัยเพื่อออกแบบพัฒนาสินคาและบรรจุภัณฑระดับชุมชนเปนการ

ใหความชวยเหลือสนับสนุนแบบใหเปลา โดยท่ีไมคิดมูลคาหรือคาใชจายใดๆ เฉกเชนกับการท่ีหนวยงานใน

พื้นท่ีไดใหการสนับสนุนงบประมาณในการจางงานออกแบบและการพิมพ ซึ่งท่ีผานมาก็เปนการจัดสรรให

โดยเปนภาพรวม ซึ่งเปนการจางผลิตงานตนแบบทางการพิมพท่ีไมสามารถนําสืบการละเมิดผลงานอันเปน

ลิขสิทธ์ิของผูอื่นได ดังนั้นผูวิจัย ผูออกแบบ หรือมีการวาจางงานนักออกแบบดําเนินการใหนั้น ควรตอง

ระมัดระวัง นับแตการอางอิงใชงานโปรแกรมสรางสรรคงานตนแบบดวยคอมพิวเตอรท่ีเกี่ยวของ ( Art &

Design Applications) และสวนประกอบทางกราฟกอัตลักษณตางๆท่ีไดนํามาใชท้ังแบบท่ีแจงวาใชไดฟรี

หรือจําหนายก็ตาม นักวิจัยหรือนักออกแบบจึงควรตองตรวจสอบสิทธิ์การนํามาใชวามีเงื่อนไขและการ

อนุญาตใหนํามาใชไดเชนใด ดังนั้นวิจัยและออกแบบจึงตองมีหลักฐานการซื้อ หรือการจางงานออกแบบ จาง

โรงพิมพใหถูกตองตามกฏหมาย และตามจรรยาบรรณของนักวิจัยท่ีพึงประสงค

13

เอกสารอางอิง

เกรียงไกร กาญจนะโภคิน.(2551) .Interactive Communications. กรุงเทพฯ:เกียวโด เนช่ัน พริ้นต้ิง

เซอรวิส.

ณงคณุช นทีพายัพทิศ และสุพัฒน โตวิจักษณชัยกุล. (2554). รายงานการวิจัยเร่ืองการออกแบบ

บรรจุภัณฑ ผลิตภัณฑจักสาน.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพเชียงใหม.

นพวรรณ ชีวอารี.(2555).การวิจัยและพัฒนาบรรจุภัณฑผลิตภัณฑหมูแปรรูปเพื่อสงเสริมการขาย

กรณีศึกษาบรรจุภัณฑผลิตภัณฑหมูแปรรูปในชุมชนทองถิ่นจังหวัดนครปฐม.วิทยานิพนธ

หลักสูตรปริญญาศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บานเมือง. (2556).”ชัยนาทติวเขม SMEs และ OTOP พรอมลุยศึก AEC.” บานเมือง. (2556, 3 มีนาคม)

สืบคนเมื่อ 31 มีนาคม 2556. จาก http://www.banmuang.co.th/2013/03/ชัยนาทติวเขม smesและoto/

ประชิด ทิณบุตร. (2531). ออกแบบบรรจุภัณฑ.กรุงเทพมหานคร:โอเดียนสโตร.

สภาหอการคาแหงประเทศไทย. (2556). บทสรุปสําหรับผูบริหาร(Executive Summary) ยุทธศาสตรการ

พัฒนากลุมจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 (ลพบุรี สิงหบุรี ชัยนาท อางทอง).สืบคนเมื่อ 28 มีนาคม 2556.

จาก http://www.thaichamber.org/scripts/stratigic.asp?Tag=7 &nShowMag =1&nPAGEID=91

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2556). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแหงชาติฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555 – 2559. สืบคนเมื่อ 31 มีนาคม 2556.

จาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395

สํานักงานจังหวัดชัยนาท. (2556). แผนพัฒนาจังหวัดชัยนาท ปพ.ศ. 2553-2556 ฉบับป 2556.

สืบคนเมื่อ 31 มีนาคม 2556.จากhttp://www.chainat.go.th/sub/gov_office/site/ index.php? option=

com_content&view=category&id=40&layout=blog&Itemid=67