Commercial bank

14
ธนาคารพาณิชย (Commercial Bank) Commercial Banking พระราชบัญญัติการธนาคารพาณิชย (ฉบับที2) .. 2522 มาตรา 4 บัญญัติไววา การธนาคารพาณิชยหมายถึง การประกอบ ธุรกิจประเภท รับฝากเงินที่ตองจายคืนเมื่อทวง ถาม หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาที่กําหนดไวและใช ประโยชนจากเงินนั้นในทางหนึ่งหรือหลายทาง เชน () ใหสินเชื่อ () ซื้อขายตั๋วแลกเงินหรือตราสารเปลี่ยนมือ อื่นใด () ซื้อขายปริวรรตเงินตรา Commercial Bank มาตรา 4 วรรคสอง กําหนดไววา ธนาคารพาณิชย หมายถึง ธนาคารที่ไดรับ อนุญาตใหประกอบการธนาคารพาณิชย และ หมายความรวมถึงสาขาของธนาคารตาง ประเทศที่ไดรับอนุญาตใหประกอบการธนาคาร พาณิชย ธนาคารพาณิชย ตองจัดตั้งในรูปแบบบริษัท มหาชนยกเวน สาขาของธนาคารตางประเทศ ลักษณะของธนาคารพาณิชย 1. รับฝากเงินประเภทจายคืนเมื่อทวงถาม 2. ใหกูเงินระยะสั้นเปนสําคัญ 3. สามารถสรางเงินในรูปแบบเงินฝากขึ้นได 4. เปนสื่อกลางระหวาง ผูมีสภาพคลอง สวนเกินกับผูขาดแคลนเงินทุนดําเนินงาน

Transcript of Commercial bank

1

ธนาคารพาณิชย (Commercial Bank)

Commercial Banking

พระราชบัญญัติการธนาคารพาณิชย (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2522 มาตรา 4 บัญญัติไววา

การธนาคารพาณิชยหมายถึง การประกอบธุรกิจประเภท รับฝากเงินทีต่องจายคืนเมื่อทวงถาม หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาที่กําหนดไวและใชประโยชนจากเงินนั้นในทางหนึ่งหรือหลายทาง

เชน (ก) ใหสินเช่ือ (ข) ซ้ือขายตัว๋แลกเงินหรอืตราสารเปลี่ยนมือ

อื่นใด (ค) ซ้ือขายปริวรรตเงินตรา

Commercial Bank

มาตรา 4 วรรคสอง กําหนดไววาธนาคารพาณิชย หมายถึง ธนาคารท่ีไดรับ

อนุญาตใหประกอบการธนาคารพาณิชย และหมายความรวมถึงสาขาของธนาคารตาง ประเทศที่ไดรับอนุญาตใหประกอบการธนาคารพาณิชย

ธนาคารพาณชิย ตองจัดตัง้ในรูปแบบบริษัทมหาชนยกเวน สาขาของธนาคารตางประเทศ

ลักษณะของธนาคารพาณิชย

1. รับฝากเงินประเภทจายคืนเม่ือทวงถาม2. ใหกูเงินระยะสั้นเปนสําคัญ3. สามารถสรางเงินในรูปแบบเงินฝากขึ้นได4. เปนสื่อกลางระหวาง ผูมีสภาพคลอง

สวนเกินกับผูขาดแคลนเงินทุนดําเนินงาน

2

1. ตองดําเนินการใหไดมาซึ่งผลกําไร (Profitability)

2. ตองดํารงสภาพคลอง (Liquidity)3. ตองยึดหลักความปลอดภัย (Safety)4. ตองยึดหลักความมั่นคงทางการเงิน

(Solvency)

หลักเกณฑในการดําเนินงานของธนาคารพาณิชย

ความสําคัญของธนาคารพาณิชย

1. เปนแหลงระดมเงินออมแหลงใหญ2. เปนแหลงใหกูยืมแหลงใหญ3. กําหนดระบบการใชจายเงนิ (Cheque / ATM)4. การเพิ่มและลดปริมาณเงิน5. นโยบายการเงินของรัฐบาล

ความรับผิดชอบของธนาคารพาณิชย

1. ความมั่นคงและปลอดภัยตอผูฝากเงิน2. ดําเนินงานใหมีประสิทธิภาพดี

-ประสิทธิภาพในการสรางกาํลังการผลิต-ประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร-ประสิทธิภาพในการสนองนโยบาย

ประวัติความเปนมาวิวัฒนาการของธนาคารพาณิชยในไทยแบงออกเปน 4 ระยะระยะที่ 1 ตั้งแต พ.ศ. 2403 -2483

ก. การกอตัง้ธนาคารพาณิชยของชาว ตางชาติ

- ตั้งแต พ.ศ. 2398 ไทยไดเปดประตกูารคากับตางชาติ (Sir John Browing)

- ชาติที่เขามาคาขายมากที่สุดคือ อังกฤษ และฝรั่งเศส

-พ.ศ. 2403 ธนาคารชาเตอร ไดตัง้ บริษัท A Markwald & Co เปนตัวแทนรับฝากเงิน และใหกู

- ธนาคารฮองกงและเซี่ยงไฮไดแตงตั้ง บริษัท Messrs Pickpenpack ,Thies & Co เปนตัวแทน

- ธนาคารเมอรแคนไทลแตงตั้ง บริษัท Winsor & Co. เปนตัวแทน

- พ.ศ.2431 ธนาคารฮองกงและเซี่ยงไฮ จัดตั้งสาขาในประเทศไทยเปนแหงแรก

3

ธนาคาร สัญชาติ พ.ศ.ที่จัดตั้งฮองกงและเซีย่งไฮ อังกฤษ 2431ชาเตอร อังกฤษ 2437แหงอินโดจีน ฝรั่งเศส 2440ซีไฮทง จีน 2450กวางตุง จีน 2460เมอรแคนไทล อังกฤษ 2466จีนเสง จีน 2475โอเวอรซี ไชนีส จีน 2477โยโกฮามา สเปซี่ ญี่ปุน 2477

ข. การกอตัง้ธนาคารพาณิชยของไทย- พ.ศ. 2447 กรมหมื่นมหิศราชหฤทัยไดทรงตั้ง Book Club ( ตั้งใจจะใหเปนธนาคารชาติในอนาคต )

- ตอมาไดชักชวน ดอยตซ แบงก ( เยอรมัน )และลานต มานดส ( เดนมารก ) มาซื้อหุน

- พ.ศ. 2449 เปลี่ยนชื่อ Book Club เปน “ แบงกสยามกัมมาจลทุนจํากัด ”- พ.ศ. 2482 เปลี่ยนชื่อ แบงคสยามกัมมาจล เปน “ธนาคารไทยพาณชิย จํากัด”

ธนาคาร พ.ศ. ที่จัดตั้งไทยพาณิชย 2447บริษัทจีนสยาม 2450บริษัทแบงกมณฑล 2450บริษัทบางกอกซิตี้แบงก 2452บริษัทแบงกจีนสยามทุน 2453เล่ียวยงเฮง 2476

ธนาคาร พ.ศ. ที่จัดตั้งไทซัว 2476กวางเกาะหลง 2476หวงัหลีจ่ัน 2476กวางซุนหลี 2476ตันเปงซนุ 2477ซุนฮกเส็ง 2481เอเชีย 2482

ระยะที่ 2 พ.ศ. 2484- 2488- เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 เศรษฐกิจในประเทศตกต่ํา

- ประเทศไทยพยายามวางตัวเปนกลาง - แตญี่ปุนขอผานไทยไปพมา เพื่อโจมตี อังกฤษ

- ธนาคารของตางชาติตองหยุดการดําเนิน งานชั่วคราว

4

- ไทยหันไปคาขายกบัญีปุ่นมากขึ้น- คนไทยเห็นโอกาสดีจึงเปดธนาคารอีกหลายแหงโดยได พ.น.ง. จากธนาคารตางชาติที่ปดไป

ธนาคาร พ.ศ. ท่ีกอต้ังนครหลวงไทย 2484มลฑล 2485กรุงเทพฯพาณิชยการ 2487กรุงเทพ 2487กรุงศรีอยุธยา 2488กสิกรไทย 2488แหลมทอง 2491ไทยทนุ 2492ศรีนคร 2493

ระยะที่ 3 พ.ศ. 2489 -2538- มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจ

- ธนาคารมีการเปลี่ยนแปลงสูยุคธนาคารสมัยใหม( Electronic Banking )

- มีการเปลี่ยนแปลงและยกเลิกอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา

- ปรับปรุง พ.ร.บ. ธนาคารพาณิชย พ.ศ. 2488เปน พ.ร.บ. ธนาคารพาณชิย พ.ศ. 2505 แทน

ธนาคาร สัญชาติ พ.ศ. ท่ีจัดต้ังสากลพาณิชยแหงประเทศจีน จีน 2490ภารตโอเวอรซีส อินเดีย 2490แหงอเมริกา สหรัฐฯ 2492มิตซุย ญ่ีปุน 2495แหงโตเกียว ญ่ีปุน 2505เชสแมนฮัตตัน สหรัฐฯ 2505สหมาลายัน มาเลเซีย 2507ยูโรเปยนเอเชียน ยุโรป 2521

ธนาคาร พ.ศ. ที่จัดตั้งแหลมทอง 2491ไทยทนุ 2492ศรีนคร 2493ทหารไทย 2500เอเชียทรัสต 2508กรุงไทย 2509มหานคร 2520

ระยะที่ 4 พ.ศ. 2539 - ปจจุบัน- พ.ศ. 2531 - 2539 เศรษฐกิจของไทยเจริญเติบโตมาก

- ธนาคารชาติไดยกเลิก/ขอจํากัดการชําระเงิน และการโอนเงิน ระหวางประเทศ

- ผอนคลายระเบียบขอบงัคับทางดานปริวรรตเงินตรา

5

- รับพันธะขอ 8. แหงขอตกลงของ I.M.F.- ก.ย. 2536 ธนาคารชาติอนุญาตใหธนาคารพาณิชประกอบกิจการวเิทศธนกิจ ( International Banking Facility : IBF )

- พ.ศ. 2541 - 2544 เกิดปญหาหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดจํานวนมาก สงผลกระทบ ความมั่นคง

ผลท่ีเกิดกับธนาคารไทยธนาคารกรุงเทพฯพาณิชยการ ใหยุบเลิกกิจการธนาคารมหานคร ใหยุบรวมกับธนาคารกรุงไทยธนาคารแหลมทอง ใหรวมกับธนาคารรัตนสินธนาคารสหธนาคาร ใหรวมกับบริษัทเงินทุน 12 แหง เปนธนาคารไทยธนาคารธนาคารคารศรีนครรวมกับธนาคารนครหลวงไทย

1. กรุงเทพ จํากัด (มหาชน)BANGKOK BANK PUBLIC COMPANY LTD.2. กรุงไทย จํากัด (มหาชน)KRUNG THAI BANK PUBLIC COMPANY LTD.3. กรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน)BANK OF AYUDHYA PUBLIC COMPANY LTD.

ธนาคารพาณชิยไทยในปจจุบัน

4. กสิกรไทย จํากัด (มหาชน)(Kbank)KASIKORNBANK PUBLIC COMPANY LIMITED (เดิมชื่อ THAI FARMERS BANK PUBLIC COMPANY LTD.เปล่ียน 8 เม.ย.46)

5. ดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน)DBS THAI DANU BANK PUBLIC COMPANY LTD(ช่ือเดิม ไทยทนุ จํากัด(มหาชน) เมื่อ 22 เม.ย.42.

6. ทหารไทย จํากัด (มหาชน)THE THAI MILITARY BANK PUBLIC COMPANY LTD

7. ไทยธนาคาร จํากัด(มหาชน)BANK THAI PUBLIC COMPANY LTD. 8. ไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน)THE SIAM COMMERCIAL BANK PUBLIC COMPANY LTD.

9. นครหลวงไทย จํากัด (มหาชน)SIAM CITY BANK PUBLIC COMPANY LTD. ศรีนคร จํากัด (มหาชน) (รวมกิจการกับ ธ.นครหลวงไทย 1 เมษายน 2545)10. ยูโอบี รัตนสิน จํากัด (มหาชน)UOB RADHANASIN BANK PUBLIC COMPANY LTD.

6

11. สแตนดารด ชารเตอรด นครธน จํากัด (มหาชน)STANDARD CHARTERED NAKORNTHON BANK PUBLIC COMPANY LTD.12. เอเชีย จํากัด (มหาชน)BANK OF ASIA PUBLIC COMPANY LTD.13. ธนชาติ จํากัด (มหาชน)THANACHART BANK PUBLIC COMPANY LTD.(ประกอบกิจการธนาคาร 22 เมษายน 2545)

1. เอบีเอ็น แอมโร เอ็น.วี.ABN-AMRO BANK NV.2. สแตนดารดชารเตอรดSTANDARD CHARTERED BANK3. เจพีมอรแกน เชส JPMORGAN CHASE BANK4. โอเวอรซี-ไชนีสแบงกิ้งคอรปอรเรชั่น OVERSEA-CHINESE BANKING CORP.,LTD.

ธนาคารสาขาตางประเทศในไทย

5. แหงโตเกียว-มิตซูบิชิ THE BANK OF TOKYO- MITSUBISHI, LTD.6. ซิต้ีแบงกCITIBANK, N.A.7. ซากุระ(รวมกิจการกับ ธ.ซมูิโตโม 1 เมษายน 2544)THE SAKURA BANK,LTD.8. อาร เอช บีRHB BANK BERHAD

9. แหงอเมริกา เนชั่นแนล แอสโซซิเอชั้น BANK OF AMERICA, NATIONAL ASSOCIATION10. เครดิตอะกริกอล อินโดสุเอซCREDIT AGRICOLE INDOSUEZ BANK LTD. 11. ภารตโอเวอรซีสBHARAT OVERSEAS BANK LTD. 12. ฮองกงและเซี่ยงไฮฯTHE HONGKONG AND SHANGHAI BANKING CORP.,LTD.

13. ดอยซแบงกDEUTSCHE BANK AG.14. มิซูโฮ คอรปอเรท แบงคMIZUHO CORPORATE BANK,LTD.(เปลี่ยนชื่อจากเดิม ธ.ได- อิจิ คังเงียว เมื่อ 1 เมย.45)

เดรสเนอร เอจี (ปดกิจการ 30 มิย.44)DRESDNER BANK AG.15. บีเอ็นพี พารีบาสBNP PARIBAS

16. ซูมิโตโม มิตซุย แบงกิ้ง คอรปอเรชั่น THE SUMITOMO MITSUI BANKING CORPORATION (SMBC) (เปลี่ยนชื่อจากเดิมเมื่อรวมกิจการกับ ธ.ซากุระ1 เม.ย. 44) เพื่อการอุตสาหกรรมแหงประเทศญี่ปุน(ปดกิจการ 9 สค.44) THE INDUSTRIAL BANK OF JAPAN, LTD. (ควบรวมกิจการกับ ธ.ได-อิจิ คังเงียว)

7

17. แหงประเทศจีนTHE BANK OF CHINA18. แหงโนวาสโกเทียTHE BANK OF NOVA SCOTIA

ธนาคารพาณิชยตามโครงสรางผูถือหุน

1. ธนาคารพาณิชยที่มีผูถือหุนใหญเปนคนไทย

2. ธนาคารพาณิชยที่มีผูถือหุนใหญเปนตางชาติ

3. สาขาธนาคารพาณิชยตางประเทศในไทย

เชน SCB / BBL / KBANK / KTB / BT / BAY / TMB

เชน DBS Thai Danu / SCNB / UOB Radanasin

เชน HSBC / Sakura Bank / BTM / Deutsche Bank

ระบบของธนาคารพาณิชย (The Banking System)

1. ระบบธนาคารอิสระหรอืธนาคารเด่ียว( Independent or Unit Banking )- ดําเนินงานเปนเอกเทศ เปนอิสระ มี สํานักงานเพียงแหงเดียว

- เปนธนาคารทองถิ่น- ในบางรัฐยอมใหเปดในรัฐได

2. ระบบธนาคารสาขา ( Branch Banking System)

- มีที่ทําการมากกวา 1 แหง- มีสํานักงานใหญคอยดูแลสาขา- ใชช่ือเหมือนกัน แตจะระบุสาขาทีต่ั้งอยู- การดําเนินนโยบายสาขาตองปฏิบัตติามสํานักใหญ

ขอดีของระบบธนาคารสาขา1. กระจายทุนไปในทองถิน่ตางๆ2. เก็บเงินทุนสํารองไวนอย3. สะดวกในการโอนเงิน4. ประหยัดคาใชจาย เชน การโฆษณา5. การปดสาขาไมกระทบกระเทือน6. สาขาเปนที่ฝกงานของพนักงานไดดี

ขอเสยีของระบบธนาคารสาขา

1. ผูจัดการไมคอยเห็นใจความตองการของคนในทองถิ่น

2. การปฏิบัติงานลาชา ( Red tape )3. ผูจัดการยายสาขาบอยๆ4. แนวโนมไปในทางผกูขาด5. การควบคมุดูแลไมทั่วถึง

8

ประชาชนนิยมใชบริการของธนาคารพาณิชยเพราะ

1. สะดวกสบายแกผูฝากสามารถสัง่จายโดยใชเช็ค

2. ใหความปลอดภัยสูง มีตูนิภัยแข็งแรง3. ไดประโยชนจากการฝากคือดอกเบีย้4. ผูฝากจะไดรับเครดิตจากธนาคาร5. ติดตอสะดวก มีหลายสาขา6. มีบริการตางๆมากมาย

ธุรกิจของธนาคารพาณิชย1. การรับฝากเงิน2. การใหกูยืม3. การซ้ือลดตั๋วเงิน4. การโอนเงิน5. การเรียกเก็บเงินตามตราสาร

6. การรับรองและการค้ําประกัน7. การลงทุนในหลักทรัพย8. ธุรกิจตางประเทศ9. วาณิชธนกิจ (Investment Banking)

10. บริการอื่น

หนาที่ของธนาคารพาณิชย1. การรับฝากเงิน

- เผื่อเรียกหรือกระแสรายวัน- ออมทรัพย- ประจํา 3, 6, 12 เดือน- สินมัธยัสต ฝากเทาๆกันทุกงวด

เงินฝากกระแสรายวัน / check• ใชเช็คในการเบิกจาย• ไมมีดอกเบีย้เงินฝาก• มีดอกเบี้ยเงนิกู กรณีเบกิเกินบญัชี • เสียคารกัษาบัญชี 100 บาท/เดือน • หากยอดคงเหลือในบัญชีต่ํากวา 1,000 บาท• อากรเช็ค 5-10 บาท/ฉบับ• เช็คเดง 200 บาท/ครั้ง + เสียชื่อเสยีง

• 8% หลักประกันที่ดิน• 3% หลักประกันเงินสด

เงินฝากออมทรัพย• จํานวนเงินฝากขั้นต่ําไมมากนัก• ดอกเบีย้ทุกวนั แตไมมากนัก• ฝาก / ถอนไดทุกวัน• ATM, debit card

เงินฝากประจํา• กําหนดระยะเวลา : 3 เดือน – 3 ป• ดอกเบีย้เมื่อครบกําหนด อัตราสงูกวาฝากออมทรัพย

• กําหนดจํานวนเงินฝากขั้นต่ํา (1,000 บาท)

9

2. การใหกูยมื- เบิกเกินบญัชี- เงินกูเพื่อการพาณิชย- เงินกูเพื่อการอุตสาหกรรม- เงินกูเพื่อการเกษตร- เงินกูเพื่อการอุปโภคบริโภค

•ทําเรื่องขอเบกิเงินเกินบญัชีไวกับธนาคาร *จํานวนเงนิ*ระยะเวลาตามสัญญา

•ยอดเงินกูที่จะถูกคิดดอกเบี้ยคิดจากยอดเบิกเกินบัญชีในแตละวัน

เงินเบกิเกินบญัชี (overdrafts)

• สะดวก เบิกใชไดตามจํานวนเงินและระยะเวลาที่ตองการใชเงินจริง• ดอกเบี้ยมกัสูงกวาเงินกู ประเภทอื่น ๆ

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 1 เมษายน 2545นายวีระพล บดีรัฐ //สองพันหารอยบาทถวน----------------------------------

2,500xx100

เช็ค

3. การซ้ือลดตั๋วเงิน- โดยการหักสวนลด- ตั๋วสัญญาใชเงิน, เช็ค, ตั๋วแลกเงิน

ต๋ัวเงินมี 3 ชนิด1. เช็ค2. ต๋ัวสัญญาใชเงิน3. ต๋ัวแลกเงิน

• เงินกูเพื่อทําการคา•ธนาคารรับซือ้ตั๋วเงินที่พอคา A ออกใหกับพอคา B เพื่อชําระ คาสินคา / บริการ•สวนตางทีธ่นาคารจายกบัจํานวนเงินหนาตั๋วถือเปนกําไรหรือดอกเบี้ยที่ธนาคารได

10

1. Cash แลกเปลี่ยนเปนเงินสด2. Traveler’s check เช็คเดินทาง3. Bank draft ใบสั่งจายเงินธนาคาร4. Export sight bill5. Telex transfer โอนเงินระหวางประเทศ

4. บริการแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ

5. การเก็บเงนิตามตราสาร- เปนธุระเรียกเก็บเงินใหลูกคา- เช็ค ดราฟท ตั๋วแลกเงนิ

6. การรับรองและการค้ําประกัน- เปนการรบัรองหรือคํ้าประกันใหลูกคา ถาเกิดความเสียหายหรือไมสามารถจะชําระหนี้ได

7. การลงทุนในหลักทรัพย- ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล ตั๋วเงินคลัง- ลงทุนในหุนสามัญ หุนกู (หามธนาคารลงทุนเกิน 20% ของเงินกองทุน)

8. ธุรกิจตางประเทศ- ใหกูเพือ่การสงออกและนําเขา- การเปด L/C- รับฝากเงนิตราตางประเทศ

9. ธุรกิจวาณชิธนกิจ- ที่ปรึกษาทางการเงินและที่ปรึกษานําบริษัทเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย

- ตัวกลางในการออกตราสาร- การแปรรูปสินทรัพยใหเปนตราสารทางการเงิน ( Securitization )

- จัดหาเงินกูใหโครงการ- เขารวมลงทุน

Securitization หมายถึงการแปลงสินทรัพยใหเปนหลักทรัพยคือธนาคารนําเอาหลักทรัพยท่ีลูกคานํามาเปน

หลักประกัน ไปเปนหลักประกันการออกหลักทรัพย ของธนาคาร

ลูกคา ธนาคารโฉนดท่ีดิน

ขายหลักทรัพย

การประกอบกิจการวเิทศธนกิจ1. Out - Out คือกูยืมเงินทุนมาจากตาง ประเทศแลวนําไปปลอยกูยงัตางประเทศ

2. Out - In คือกูยืมเงินทุนมาจากตางประเทศแลวนําไปปลอยกูในประเทศ

ประเทศไทย

เงินทุนตางประเทศ

11

• รับชําระคาสาธารณูปโภค คานํ้า คาไฟ คาโทรศัพท

• รับชําระคาบตัรเครดิตตางธนาคาร• ใหเชาตูนิรภยั• บัตรเดบติ• บัตร ATM (Automatic Teller Machine)

10. บริการอืน่ ๆ

บัตรเครดิต

ขอดี ขอเสียสามารถซื้อสินคาไดทันทีไดรับบริการดี มีเครดติปลอดภัย ไมตองถือเงนิสดไมตองชําระเงินสด –> หมุนเงิน

เสียดอกเบี้ย (แพงกวาหนี้อ่ืน ๆ )เสียคาบริการ (entry, annual)ไมมีวินัย ภาระหนีสิ้นเพิ่ม

ขาดความยับยั้งชั่งใจ

หนวยงานที่ใหบริการบางอยางคลายธนาคาร

ชําระคาสาธารณูปโภค : รานสะดวกซื้อบัตรเดบิต : ต๋ัวหนัง บัตรกํานัลหางราน บัตรสมาชิกรานคา pre-paid phone card, internet access card, UBC membership ฯลฯขายลดเช็ค : บุคคล หรือองคกร

…..

หนวยงานที่ใหบริการบางอยางคลายธนาคาร

โรงรับจํานําการกูยืมจากนายทุนเงินกูการเลนแชรเงินสดทันใจ : บัตรเครดิต ธนาคาร Aeon

แหลงท่ีมาของเงินทุน แหลงท่ีใชไปของเงินทุน

เงินกองทุน

เงินฝาก

เงินกูยืม

หน้ีสินอ่ืนๆ

เงินสดในมือ

เงินใหกู

เงินลงทุนในหลักทรัพย

สินทรัพยอ่ืนๆ

ธนาคารพาณิชย

แหลงที่มาของเงนิทุน

1. เงินกองทนุ- ทุนที่ชําระแลว- กําไรสะสม- เงินสํารองตางๆ เชน สํารองหน้ีสูญ สํารองคาเสื่อมราคา

- เงินกองทนุตอสินทรัพยเสี่ยง 1:10ตาม BIS

12

** เงินกองทุนมีหนาที่ใหความคุมครองเงินฝาก

เพื่อแสดงเสถียรภาพของธนาคาร เปนหลักประกันความสามารถของธนาคาร

*** เงินกองทุนตอสินทรัพยเสี่ยง 1:10 ตาม BIS ***

2. เงินฝาก- เปนแหลงที่มาของเงินทุนใหญที่สุด

3. เงินกูยืม- เปนแหลงที่มาของเงินทุนอันดับ 2- กูจากธนาคารกลาง- กูจากสถาบันการเงินตางประเทศ- กูจากสถาบันการเงินในประเทศ

แหลงที่ใชไปของเงินทุน1. เงินสดสํารองตามกฎหมาย(Cash Legal Reserve )

- เก็บไวประมาณ 5-7 % ของเงินฝาก- เงินสดสํารองอันดับหนึ่ง ( Primary Reserve ). เงินสดที่ตองมีไวตามกฎหมาย. เงินสดในมือธนาคาร. เงินสดฝากไวกับธนาคารชาติและธนาคาร

อ่ืนๆ. เช็คหรือตราสารอื่นๆท่ียังไมเรียกเก็บ

- เงินสดสํารองอันดับสอง (Secondary Reserve)

. หลักทรัพยรัฐบาล

2. การใหกูยืม- เงินเบกิเกินบัญชี ( O/D )- เงินกูทั้งจาํนวน ( Loan )- ตั๋วสญัญาใชเงิน ( P/N )- ซ้ือลดตั๋วเงิน ( Discount )

3. การลงทุนในหลักทรัพย- พันธบัตรรัฐบาล- หุนสามัญ หุนกู

วิกฤตการณ ของธนาคารพาณิชย อดีตจนถึงปจจุบันธนาคารมักจะประสบ

ปญหาดังน้ี 1. ปญหาขาดสภาพคลอง2. ปญหาไมสามารถชําระหนี้ตอบุคคล ภายนอกได

3. ปญหาความขัดแยงภายใน4. ปญหาการทุจริตภายใน

13

ธนาคารเกษตร ( พ.ศ. 2502 )- เริ่มดําเนินกิจการ พ.ศ. 2493- ใหเงินกูแกเกษตรกรและผูคาพืชผล การเกษตร- ปญหาเกิดจากใหเงินกูแกผูถือหุนรายใหญที่ทําธุรกิจหลายชนิด เชน โรงงานแปงมันสําปะหลังตัวแทนจําหนายรถแทรกเตอรฯ

- ธุรกิจประสบปญหาไมสามารถชําระหนี้- การขยายสาขาออกไปมากเกินไป

ธนาคารไทยพฒันา ( พ.ศ. 2513 )

- เดิมชื่อ ธนาคารตันเปงชุน- นักธุรกิจไดเขามาซื้อและเปลี่ยนชื่อเปน ธนาคารไทยพัฒนา

- เรงขยายสาขาและดําเนินงานเหมือนธนาคารเกษตร

- การใหกูยืมขาดหลักประกัน

- ธนาคารพาณิชยหลายแหงเขาชวยเหลือและซ้ือหุน โดยธนาคารศรีนครซ้ือมากที่สดุ

- ธนาคารศรีนคร เขาบริหารเปลี่ยนชื่อเปน ธนาคารมหานคร ( พ.ศ. 2520 )

ธนาคารเอเซียทรัสต ( พ.ศ. 2527 )- เนนการคาตางประเทศ- ใหกูกับบรษิัทในเครือของตนทั้งในประเทศ และตางประเทศ

- การบริหารเปนแบบธุรกจิครอบครัว- พ.ศ.2525ธนาคารชาติตรวจพบปญหาปลอยกูขาดหลักประกัน

- สั่งใหแกไขก็เพกิเฉย

- พ.ศ.2527 ธนาคารชาติสงคนเขาบรหิาร- พ.ศ.2528 เปลี่ยนชื่อเปนธนาคารสยาม- พ.ศ.2530 ยุบรวมกบัธนาคารกรงุไทย

14

ธนาคารมหานคร (2529)

- เติบโตอยางรวดเรว็มาก- พ.ศ. 2525 ธนาคารชาติตรวจพบปญหา- ธนาคารปลอยเงินกูธุรกจิสวนตัวในฮองกง ขาดทุน 2,000 ลานบาท และ ขาดทุนจาก การคาเงินตราตางประเทศ 2,800 ลานบาท

- เปนฝมือของกรรมการผูจัดการคนเดียว- พ.ศ. 2529 ธนาคารชาติไดเขาไปแกปญหา

ธนาคารนครหลวงไทย ( พ.ศ. 2529 )

- เริ่มกิจการ พ.ศ. 2484- ขยายสาขากจิการธนาคารในรูปคอมประโดร (พอคาชาวจนีมีฐานะการเงินดี รูจักคนในทองถิ่น คํ้าประกันลูกคาเงินกู เรงรัดหนี้สินแทนธนาคาร)

- เกิดความเสยีหายมาก

- พ.ศ. 2525 นายมงคล กาญจนพาสน และนายดิลกมหาดํารงคกุล เขามาซื้อกิจการตอ

- จาง นายบุญชู โรจนเสถยีร เขามาบรหิารแตเกิดความขัดแยง

- พ.ศ. 2526 ธนาคารชาติตรวจพบวามีปญหา- พ.ศ. 2530 ธนาคารชาตเิขาควบคุมกจิการ

ธนาคารกรงุเทพฯพาณิชยการ (พ.ศ. 2538)

- เริ่มกิจการ พ.ศ. 2487- พ.ศ. 2538 นายสุเทพ เทือกสุบรรณ ไดอภิปรายในสภา และเปดเผยขอมูลของความเสียหายของ BBC

- ประชาชนตกใจ พากันไปถอนเงิน-พ.ศ. 2540 เขาควบการดาํเนินงาน- พ.ศ. 2541 ใหยุบเลิกกิจการ

สรุปการแกไขปญหาของธนาคารชาติ :ธนาคารกรุงเทพฯพาณิชยการ ใหยุบเลิกกิจการธนาคารมหานคร ใหยุบรวมกับธนาคารกรุงไทยธนาคารสหฯธนาคาร ใหยุบรวมกับบริษัทเงินทุนหลักทรัพยกรุงไทยธนกิจ แลวใชชื่อธนาคารไทยธนาคารธนาคารแหลมทอง ยุบรวมกับธนาคารรัตนสินธนาคารศรีนคร ยุบรวมกับธนาคารนครหลวงไทย