08 FTF RFID 04

10
71 ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์

Transcript of 08 FTF RFID 04

71

ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์

72

ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์

73

ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์

การใชระบบฟชเทคฟารมบนัทกึขอมลูแบบรายตัวในปลานิล (Oreochromis niloticus, Linn.)

USING FISH TECH FARM SYSTEM FOR INDIVIDUALLY RECORDING

IN NILE TILAPIA (Oreochromis niloticus, Linn.)

รุงตะวัน พนากุลชยัวิทย1 และดุสติ เอ้ืออํานวย2

Rungtawan Panakulchaiwit1, and Dusit Aue-umneoy2

บทคัดยอ ระบบฟชเทคฟารมประกอบดวย (1) เครื่องคอมพิวเตอรที่มีโปรแกรมฟชเทคฟารม (2) อารเอฟไอดีแท็ก

(RFID tag) หรือทรานส-ปอนเดอร (Transponder) คือ อุปกรณระบุรหัสตัวสัตวที่ประกอบดวย รหัสประเทศ ชนิด

สัตว จังหวัด ป และรหัสตัวประจําตัวหรือกลุม (3) เครื่องสําหรับอานเขียนขอมูลในอารเอฟไอดีแท็ก (Reader/

Interrogator) ซึ่งเปนอุปกรณที่สําคัญในการเชื่อมตอกับคอมพิวเตอร และ (4) เคร่ืองชั่งน้ําหนัก เม่ือฝงอารเอฟไอดี

แท็กเขากลามเนื้อในปลานิลแลวเชื่อมตอสวนตางๆ ของอุปกรณดังกลาวดวยกัน หลังจากนั้นใชโปรแกรมฟชเทค

ฟารมบันทึกรหัสตัวและน้ําหนักอัตโนมัติ รวมทั้งสามารถปอนขอมูลอื่น ๆ ที่ตองการ เชน สายพันธุ การเพาะพันธุ

เปนตน จึงชวยประหยัดเวลาในการบันทึกขอมูล ลดการใชพ้ืนที่ในการเลี้ยงแยกแตละสายพันธุ และจัดการพอแม

พันธุไดอยางมีประสิทธิภาพ

ABSTRACT The FISH TECH FARM (FTF) system consists of four components which are, (1) the computer

hardware with FTF software besides. (2) The RFID tag/transponder, the RFID tag is very most important

as an object that can be programmed with country code, type of animal, provincial code, year and either

individual ID or group ID. (3) The reader is a handheld or fixed unit that can interrogate nearby RFID tags

and sends an ID number using radio frequency communication. The reader could be implemented into

software. (4) And electronic balance for recording automated weight. The RFID tags (microchip) were

injected into the muscle that situated anterior part of dorsal fin of Nile tilapia. FTF software can be running

ID number for automated recording and weighting. The most advantage, FTF software can held

researcher in others data to be recorded such as strains, breeding period, etc. The other benefits to

enable researchers to saving time for recorder reduce error for recorded and quantitative data for

recording, reducing area for rearing growth-out and enhancing high efficiency for broodstock

management.

คําสําคัญ: อารเอฟไอดี ไมโครชฟิ ปลานิล โปรแกรมฟชเทคฟารม

Key words: RFID, Microchip, Nile tilapia, FISH TECH FARM, FTF software

R. Panakulchaiwit: [email protected] 1,2 ภาควชิาวิทยาศาสตรการประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 1,2 Department of Fisheries Science, Faculty of Agricultural Technology, KMITL

การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 47 สาขาประมง

563

74

ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์

คํานาํ

อารเอฟไอดี (Radio Frequency Identification) เปนระบบระบุเอกลักษณหรือลักษณะของวัตถุดวยคลื่น

ความถี่วิทยุ ระบบอารเอฟไอดีมีองคประกอบหลัก 2 สวน สวนที่ 1 คือ อารเอฟไอดีแท็ก (RFID tag) หรือ ทรานส

ปอนเดอร (Transponder) คือ อุปกรณระบุรหัสตัวสัตวที่ประกอบดวย รหัสประเทศ ชนิดสัตว จังหวัด ป และรหัสตัว

ประจําตัวหรือกลุม เชน รหัส 764 191008000001 รหัส 764 คือรหัสผลิตในประเทศไทย 19 เปนกลุมสัตวน้ําประเภท

กลุมพอแมพันธุในบอเล้ียง 10 คือสถานที่ของฟารมในกรุงเทพมหานคร 08 คือปที่ผลิต (2008) และ00001 คือ

เลขประจําตัวสัตว สวนที่ 2 คือ เครื่องสําหรับอานเขียนขอมูลในอารเอฟไอดีแท็ก (Reader/Interrogator) และยังเปน

สวนสําคัญของการติดตอกับคอมพิวเตอร ดังนั้นการนําอารเอฟไอดีแท็ก ซึ่งเปนแท็กเพื่อติดตามรายตัวในสัตวน้ํานั้น

เพ่ือจะบงบอกถึงตนตอหรือสายพันธุสัตวน้ําชนิดนั้น ๆ ผลิตเมื่อไหร และเกิดจากการผสมพันธุของพอและแมตัวไหน

หรือแมกระทั่งขอมูลการเติบโตแบบรายตัว เพ่ือการปรับปรุงพันธุ จึงมีความจําเปน สําหรับเทคนิคการทํา

เคร่ืองหมาย (Marking) บนตัวสัตวหรือการติดรหัส (Tagging) ทั้งแบบภายนอก (External marking) และภายตัว

สัตวน้ํา (Internal Tagging) ลวนพบวาการจดบันทึกมีโอกาสผิดพลาดไดตลอดเวลา เนื่องจากรหัสท่ีมีอยางนอย 5

ตัวอักษร ที่ตองจดบันทึก และในระหวางการจดบันทึกลวนมีโอกาสผิดพลาดไดทั้งจากการฟงและการบันทึก

นอกจากนี้กอนการบันทึกขอมูลทุกครั้ง ผูวิจัยตองจัดเตรียมตารางสําหรับบันทึกขอมูลดิบเปนขั้นตอนที่ตองใชเวลา

เชนกัน Panakulchaiwit (2007) ไดเสนอแนะวาแนวทางในการนําเทคโนโลยีอารเอฟไอดีมาใชนั้นควรมีการพัฒนา

เพ่ือใหเกิดความยั่งยืนตออุตสาหกรรมสัตวน้ํา ทั้งอาจปรับปรุงรูปแบบของแท็ก การพัฒนาโปรแกรมเพื่อการใชงานใน

รูปอัตโนมัติ เพ่ือเปนการประหยัดเวลา ลดขั้นตอนการจดและบันทึกขอมูล ลดความผิดพลาดที่จะเกิดจากฟง อาน

และเขียน เพ่ือใหขอมูลท่ีบันทึกไดมีความสูงตองแมนยําสูง รวมทั้งตรวจสอบสายพันธุ นอกจากนี้ผูวิจัยยังไดพัฒนา

โปรแกรมแคแสดฟารม เวอรชั่น 1.0 ที่มีคุณลักษณะชวยอานเฉพาะรหัสอารเอฟไอดีแท็กอัตโนมัติ และไดพัฒนา

โปรแกรมตอเนื่องมาเปนลําดับจนกระทั่งมาเปนฟชเทคฟารม เวอรชั่น 2.0 โดยไฟลจะถูกจัดเก็บไวในสกุลจุดเอ็กแอล

เอส (filename.xls) ในเวอรชั่นนี้จะเพ่ิมความสามารถในการบันทึกน้ําหนักอัตโนมัติ และโปรแกรมยังไดออกแบบให

นักวิจัยสามารถปอนขอมูลเชิงปริมาณอื่น ๆ ไดอีกดวย ซึ่งคณะนักวิจัยไดนําโปรแกรมฟชเทคฟารม เวอรชั่น 2.0

มาทดลองใชในเคเอ็มไอทีแอลฟชเทคฟารม ที่ภาควิชาวิทยาศาสตรการประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบัน

เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

อุปกรณและวิธีการ

การวางแผนการทดลอง

วางแผนการทดลองออกเปน 2 กลุม คือ กลุมแรกจดบันทึกขอมูลแบบรายตัวดวยการใหคนจด และกลุมที่ 2

บันทึกขอมูลดวยโปรแกรมฟชเทคฟารม

564

สาขาประมง การประชมุทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งท่ี 47

75

ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์

การเตรียมปลานิล

เดือนมกราคม ป พ.ศ. 2550 นําปลานิลสายพันธุจิตรลดา อายุ 25 วัน มาจากฟารมจุพันธุปลา ลาดกระบัง

จํานวน 100 ตัว มาอนุบาลในเคเอ็มไอทีแอลฟชเทคฟารม (KMITL’S FISH TECH FARM) ที่ภาควิชาวิทยาศาสตร

การประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

การเตรียมอุปกรณสําหรับการฝงอารเอฟไอดีแท็ก

(1) อารเอฟไอดีแท็กมีลักษณะเปนหลอดแกว โดยภายในมีขดลวดขนาดเล็กที่ทําหนาที่เปนสายอากาศ

(Antenna) สําหรับรับสงสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุและเปนแหลงพลังงานของไมโครชิฟ และไมโครชิฟที่มีการบันทึก

หมายเลข (ID) ไวแลว ขนาด 1.0x0.2 cm น้ําหนักประมาณ 0.1 กรัม (ISO11784/11785 Animal ID Transponder

FDX-B; ผลิตโดยซิลิคอน คราฟ จํากัด) คล่ืนความถี่ 134.2 kHz

(2) กระบอกฉีด มีลักษณะเปนทอกลมและมีแกนอยูภายใน (Syringe) สําหรับดันแท็กเขาสูตัวปลา

บริเวณ ปลายกระบอกจะมีเกลียวสําหรับหมุนกับบริเวณดานปลายเข็มสําหรับฝงแท็ก (Implanter; injection

apparatus)

(3) อุปกรณอื่น ๆ เชน ปากคีบ สําลี แกลกอฮอล 70 เปอรเซ็นต น้ํากลั่น ยาสลบ น้ําแข็ง เกลือ เปนตน

สําหรับทําความสะอาดเครื่องมือกอนฝงแท็ก รวมทั้งเพื่อสลบปลากอนที่จะฝงแท็ก

การเตรียมระบบบันทึกขอมูลอัตโนมัติดวยระบบฟชเทคฟารม

(1) คอมพิวเตอรที่มี Serial Port Port หรือ USB Port โดยควรมีความเร็วของคอมพิวเตอร (CPU) ข้ันต่ํา

ประมาณ 500 MHz และมีหนวยความจํา (RAM) 512 Mb พรอมติดตั้งโปรแกรมฟชเทคฟารม

(2) RFID Tags แบบ Passive ความถี่ยาน 134.2 KHz ขนาดประมาณ 10-13 mm X 2mm

(3) Handheld Reader Model: SIC-Pi10-07 และ HL-163U (Fig. 1a & 1b)

(4) เครื่องชั่ง AND รุน EK-6100i และ ACU รุน ECM-SERIES (Fig. 1c & 1d)

a b c d

Figure 1 RFID Readers Model: SIC-Pi10-07 (a), HL-163U (b);

Electronic weights; AND; model EK-6100i (c), ACU; model ECM-SERIES (d)

การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 47 สาขาประมง

565

76

ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์

ข้ันตอนการฝงอารเอฟไอดีแท็ก

(1) เตรียมวัสดุอุปกรณตาง ๆ สําหรับฝงแท็ก ไดแก แท็ก แอลกอฮอล70เปอรเซ็นต ปากครีบ สําลี โดยใช

เทคนิคปลอดเชื้อ แลวสุมปลาจํานวน 50 ตัว จากที่พักไวในถังพลาสติกขนาด 0.8X1.24X0.5 เมตร เปนระยะเวลา

หนึ่งสัปดาหแลว ที่มีความยาวตัวเฉลี่ยเทากับ 8.1+0.07 เซนติเมตร มาทําการสลบในถังพลาสติกที่มีน้ําประมาณ

10 ลิตร ดวย MS222 ที่ระดับความเขมขน 200 หนึ่งสวนในลานสวน หลังจากปลาสลบแลว นํามามาวางบนโตะที่

สะอาด ที่ปูทับดวยผาชุมน้ํา แลวฝง RFID แท็กเขาบริเวณกลามเนื้อขางลําตัวใกลดานหลังของครีบหลัง (Fig. 2)

(2) หลังจากฝงแท็กแลว นําลูกปลานิลมาพักไวในถังพลาสติกขนาด 0.8X1.24X0.5 เมตร ใหออกซิเจน

ตลอดเวลา แลวเติมเกลือ 0.1เปอรเซ็นต

(3) งดอาหารวันแรก เปล่ียนน้ํา 50เปอรเซ็นต ทุกๆ 2 วัน รวมทั้งเติมเกลือและดางทับทิมความเขมขน 0.2

หนึ่งสวนในลานสวน สลับกันไปในแตละวัน ในชวง 3 วันแรกใหอาหารนอย ๆ และตักอาหารที่เหลือทิ้ง ภายในหนึ่ง

สัปดาหพบวาแผลที่เกิดจากการฝงแท็กจะหายสนิท

a b c

Figure 2 Showed the Materials for RFID Implantation (a), RFID tag injection (b),

and nets for Nile tilapia culture (c)

การทดลองเลี้ยงปลานิลท่ีฝงแท็ก

(1) นําลูกปลานิลท่ีฝงแท็กและพักปลาไวประมาณ 1 สัปดาห มาบันทึกรหัสแท็ก น้ําหนักและความยาว

เปนรายตัว ดวยโปรแกรมแคแสดและฟชเทคฟารม ตามลําดับ

(2) นําปลานิลท่ีฝงอารเอฟไอดีแท็กแลวมาเลี้ยงในบอซีเมนตนาน 60 วัน หลังจากนั้นนํามาปลอยเลี้ยง

ในกระชังขนาด 2x2x2 เมตร กระชังละ 21 ตัว ที่เคเอ็มไอทีแอลฟชเทคฟารม

(3) การเลี้ยงในบอซีเมนตใหอาหารแบบเต็มอิ่มวันละ 2 ครั้ง ในขณะที่การเลี้ยงในฟารมนั้นใหอาหาร

แบบสมทบวันละครั้ง โดยทุกครั้งที่พบลูกปลานิลเกิดขึ้นจะแยกลูกปลาออกจากกระชัง

การบันทึกขอมูลและการวิเคราะห

บันทึกเวลาในการบันทึกขอมูลแตละครั้ง ดวยการจดบันทึกแบบรายตัวดวยวิธีการใหคนจด และบันทึกดวย

โปรแกรมฟชเทคฟารมอยางนอย 3 คนๆ ละ 10 ตัวอยาง และบันทึกลักษณะน้ําหนักตัวและความยาวทั้งตัว 30, 60,

300, 420 และ 600 วัน ดวยโปรแกรมฟชเทคฟารม รวมทั้งวิเคราะหความแตกตางระหวางการบันทึกแบบปกติและ

ใชระบบฟชเทคฟารมดวยโปรแกรม SYSTAT Version.5.02 (Systat, Inc., 1990)

566

สาขาประมง การประชมุทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งท่ี 47

77

ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์

ผลการทดลองและวิจารณ

จากการเปรียบเทียบระหวางการใชคนอานรหัสแลวจดขอมูลตางๆ ไดแก รหัสประจําตัวปลานิล 5 ตัวอักษร

(XXXXX) น้ําหนัก (XX.XX) และความยาว (XX.X) และการใชโปรแกรมฟชเทคฟารม ซึ่งจะบันทึกรหัสประจําตัวปลา

นิล (XXXXX XXXXX XXXXX) และน้ําหนัก (XX.XX) อัตโนมัติ สําหรับความยาว (XX.X) จะอาศัยการปอนขอมูล

โดยตรง พบวาระยะเวลาที่ใชในการบันทึกขอมูลแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญ (P>0.05) คาเฉลี่ยระยะเวลาในการ

บันทึกขอมูลดวยการจดและผานโปรแกรมฟชเทคฟารมเทากับ 18.3+3.03 และ 19.9+3.63 วินาที ตามลําดับ

อยางไรก็ตามในการบันทึกขอมูลแตละคร้ังนั้นถึงแมจะจดบันทึกประมาณ 5 ตัวอักษร น้ําหนักอีกอยางนอย 3

ตัวอักษร และความยาวอยางนอยอีก 3 ตัวอักษร ดังนั้นถาตองฝงอารเอฟไอดีแทกจํานวน 1000 ตัว มีตัวอักษรท่ีตอง

จดบันทึกประมาณ 11,000 ตัวอักษร ใชเวลาอยางนอย 5 ชั่วโมงในการจดบันทึกผล รวมทั้งจะตองนําขอมูลดังกลาว

มาบันทึกตอในโปรแกรมคอมพิวเตอรอีก กรณีที่สามารถพิมพดวยความเร็ว 50 ตัวอักษรตอนาที ตองใชเวลาอยาง

นอย 3 ชั่วโมง หรืออาจจะตองใชเวลามากกวานี้ เนื่องจากการปอนขอมูลตัวเลขเพียงอยางเดียวจะทําใหผูบันทึกเกิด

ความเครียดและมีความผิดพลาดไดสูง รวมทั้งยังอาจเกิดความผิดพลาดจากการอานขอมูลไดอีก ดังนั้นจึงควรพัก

เปนระยะๆ ดังนั้นการใชโปรแกรมฟชเทคฟารมในการบันทึกขอมูลอันโนมัติจึงมีสวนสําคัญที่จะชวยประหยัดเวลา

ประหยัดแรงงาน และที่สําคัญขอมูลมีความถูกตองสูง ซึ่งสอดคลองกับนิพนธ และชัยศิริ (Online) ไดรายงานการใช

ไมโครชิฟขนาดประมาณ 2.1x14.6 มิลลิเมตร ฝงในปลาเสือตอจํานวน 12 ตัว โดยรหัสท่ีปรากฏ เชน

AVID*000*325*111 เนื่องจากจํานวนปลาเสือตอที่ฝงมีไมโครชิฟมีจํานวนไมมากการบันทึกขอมูลน้ันสามารถจด

เฉพาะตัวเลข 6 ตัว คือ 325111 ทําใหสะดวกในการปฏิบัติงาน จากการฝงไมโครชิฟในปลาเสือตอดังกลาวนับวา

เปนผลดีตอการเก็บขอมูล เพราะสามารถตรวจสอบขอมูลของปลาแตละตัวไดอยางตอเนื่อง ถูกตองและแมนยํา

นอกจากนี้ยังเปนการสะดวกในการจัดการพอแมพันธุปลาและเพ่ิมความแมนยําในการจดจําเพื่อแยกเพศ

จากการบันทึกขอมูลรหัสประจําตัวแตละตัวในปลานิลดวยระบบฟชเทคฟารมนั้น ในระยะแรกที่ปลานิลมี

อายุนอยนั้นจะแยกเพศยากมาก ในขณะที่ปลานิลอายุ 300 วัน พบความแตกตางระหวางเพศไดอยางชัดเจน จึง

สามารถทําการ Remark ในแตละรหัสประจําตัวเพิ่มเติมไดวาเปนเพศผูหรือเพศเมีย ทําใหสะดวกในการทํางานและ

ทราบขอมูลการเติบโตยอนหลัง และสามารถทราบการเติบโตแบบรายตัวแตละลักษณะทั้งน้ําหนักและความยาวตัว

และแยกเปนกลุมเพศผูและเพศเมียได (Fig. 3 และ Fig. 4) สําหรับการเติบโตของลักษณะน้ําหนักตัวในปลานิลเพศผู

พบวาน้ําหนักตัวระหวางเพศผูกับเพศเมียจะเริ่มแตกตางกันที่อายุ 300 วัน ในขณะที่ความยาวพบความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) ที่อายุ 600 วัน ดังนั้นแนวทางในการปรับปรุงสายพันธุปลานิลน้ันควรจะใช

น้ําหนักเปนเกณฑและมีอายุประมาณ 300 วัน หรือประมาณ 10 เดือน นอกจากนี้ในชวงเวลา 300 วัน ยังพบวาเปน

ชวงระยะเวลาที่มีอัตราการเติบโตตอวันดีที่สุดทั้งในเพศผูและเพศเมีย ปลานิลเพศผูที่อายุ 30, 60 ,90, 300, 420

การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 47 สาขาประมง

567

78

ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์

และ 600 วัน มีน้ําหนักเฉล่ียเทากับ 12.3+2.66, 20.4+3.90, 24.7+4.23, 168.4+34.68, 386.7+95.07 และ

765.2+168.34 กรัม ตามลําดับ และมีความยาวเฉลี่ยเทากับ 8.9+0.68, 10.0+0.65, 10.9+0.72, 11.4+0.77,

24.4+3.56 และ 34.4+2.86 เซนติเมตร ตามลําดับ สําหรับปลานิลเพศเมียที่อายุ 30, 60 ,90, 300, 420 และ 600

วัน มีน้ําหนักเฉลี่ยเทากับ 12.3+2.67, 20.2+3.26, 22.4+4.40, 105.2+23.82, 194.7+75.65 และ 398.9+121.91

กรัม ตามลําดับ และมีความยาวเฉลี่ยเทากับ 9.0+0.53, 9.8+0.76, 10.5+0.68, 11.1+0.74, 24.7+3.63 และ

27.6+2.93 เซนติเมตร ตามลําดับ (Fig. 5 a, b) ซึ่งการนําเทคโนโลยีอารเอฟไอดีมาใชสนับสนุนอุตสาหกรรมสัตวน้ํา

นั้นจะมีรูปแบบท่ีหลากหลายและแตกตางกันออกไป เชน กิจกรรมดึงดูดความสนใจของผูเขาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ

กรณี Under water world ในประเทศสิงคโปร มีการนํามาฝงในสัตวน้ํา เม่ือสัตวน้ําชนิดดังกลาววายน้ําผานเครื่อง

อานจะมีการแสดงภาพและชนิดเกี่ยวกับสัตวน้ําตัวนั้น รวมทั้งผูเขาชมสามารถเลือกกดไปยังขอมูลปลีกยอยตางๆ ที่

ตองการได (http://www.rfidjournal.com/magazine/article/2126) กรณีการติดตามรายตัวเพื่อการเพาะพันธุ

Debowski et al. (2005) ฝงไมโครชิฟในแมพันธุปลา Sea trout (Salmo trutta M.) เพ่ือศึกษาความสัมพันธระหวาง

ความดกและขนาดของไขกับความยาวตัว การฝงเปนรายตัวในกุงเพ่ือแยกสายพันธุ (Caceci et al., 1999)

Figure 3 Showed the individually weighting of Nile tilapia tagged with RFID tags

Figure 4 Showed the individually length of Nile tilapia tagged with RFID tags

568

สาขาประมง การประชมุทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 47

79

ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์

  Figure 5 Showed growth rate of Nile tilapia; a=weight, b=length

สรุปผล

การใชระบบฟชเทคฟารมในการจัดการขอมูลมีสวนสําคัญที่จะชวยประหยัดเวลา ประหยัดแรงงาน และที่

สําคัญขอมูลท่ีไดมีความถูกตองและแมนยําสูง นอกจากนี้ยังสามารถทําใหทราบขอมูลการเติบโตยอนหลัง

และทราบการเติบโตแบบรายตัวแตละลักษณะทั้งน้ําหนักและความยาวตัว และแยกเปนกลุมเพศผูและเพศเมียได

เพ่ือใชในการบริหารจัดการพอแมพันธุไดอีกตอไป

คํานิยม

ขอขอบคุณศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีแหงชาติ (NT-B-22-FR-23-50-07) ที่ไดใหการสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินงานวิจัย

เอกสารอางอิง

นิพนธ จันทรประทัด และชัยศิริ ศิริกุล. Online. การใชไมโครชิฟในปลาเสือตอ. ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด

นครสวรรค จ. นครสวรรค. www.fisheries.go.th/if-nakornsawan/papermicrochip_complete.htm

9/19/2551.

Panakulchaiwit, R. 2007. Application of RFID Technology for Individual Identification of Aquatic Animals.

In The International Conference on Engineering, Applied Sciences, and Technology (ICEAST

2007) on November 21- 23, 2007 at Swissôtel Le Concorde, Bangkok, Thailand. Pp.782-785 (CD)

http://www.rfidjournal.com/magazine/article/2126 9/19/2551

Debowski, P., Dobosz, S., Gradniewak, J., Kužmiñski, H., 2005. Fecundity and egg in sea trout (Salmo

trutta M.) in pond conditions. Arch. Pol. Fish. 13 (2) : 227-235 (Online)

Caceci, T., Smith, S. A., Toth, T. E., Duncan, R.B. and Walker, S.C. 1999. Brief technical communication:

Identification of individual prawns with implanted microchip transponders. Aquaculture 180:41-51

(Online).

Systat 5.02 for Windows. Copyright 1990-1993. Systat, Inc. Evanston, IL USA.

a b

การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 47 สาขาประมง

569

80

ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์