บุโรพุทโธ - Borobudur

15
ผลงานสรางสรรค .

Transcript of บุโรพุทโธ - Borobudur

ผลงานสรางสรรค .

“Borobudur”

ชื่อผลงานสรางสรรค / : “Borobudur”/ ชื่อผูสรางสรรค / / : อ.ดร.วรนันท โสวรรณี

สถานที่จัดแสดง / / : นิทรรศการผลงานสรางสรรคของคณาจารยคณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ? ? ? เนื่องในวันศิลป พีระศรี 15 กันยายน 2553 ? ? ? ณ หอศิลปะและการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ ? ? ? วันที ่ 15 -30 กันยายน 2553การตีพิมพเผยแพร / : คณะมัณฑนศิลป . (2553). นิทรรศการผลงานสรางสรรคของคณาจารย

คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร เนื่องในวันศิลป พีระศรี 15 กันยายน 2553, 15 -30 กันยายน 2553. ม.ป.ท.

10

ชื่อผลงานสรางสรรค / : Borobudur/ ชื่อผูสรางสรรค / / : อ.ดร.วรนันท โสวรรณี

สถานที่จัดแสดง / / : นิทรรศการผลงานสรางสรรคของคณาจารยคณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ? ? ? เนื่องในวันศิลป พีระศรี 15 กันยายน 2553 ? ? ? ณ หอศิลปะและการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ ? ? ? วันที ่ 15 -30 กันยายน 2553การตีพิมพเผยแพร / : คณะมัณฑนศิลป . (2553). นิทรรศการผลงานสรางสรรคของคณาจารยคณะ

มัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร เนื่องในวันศิลป พีระศร ี 15 กันยายน 2553, 15 -30 กันยายน 2553. ม.ป.ท.

11

คำอธิบายและบทวิเคราะหผลงานสรางสรรค

“Borobudur”

ที่มาและความสำคัญของการสรางสรรคผลงาน? ?

? ? ในการจัดการมรดกทางสถาปตยกรรม ประกอบดวย 3 ประเด็นหลัก ไดแก การบริหารงานอนุรักษ เทคนิคการอนุรักษ และ การแปลความหมาย ผลงานสรางสรรคชิ้นนี้เปนการแปลความหมาย “คติสุเมร”ุ แนวความคิดที่อยูเบื้องหลังมรดกทางสถาปตยกรรมในโลกตะวันออก ผานการปฏิบัติงานสรางสรรค หัวขอ “บุโรพุทโธ” แหลงมรดกโลกประเภทภูมิทัศนวัฒนธรรม ประเทศอินโดเนเซีย เพื่อมุงเนนการทำความเขาใจเปาประสงค และแนวทางการแปลความหมายคติสุเมรุในงานมรดกสถาปตยกรรมประเภทศาสนสถานและพื้นที่ศักดิ์สิทธิ ์?

? ? การศึกษาเรื่อง "คติสุเมรุ" มีการศึกษากันอยางกวางขวาง ผูรู ครูอาจารย ไดทำการศึกษากันในทุกแงทุกมุม สามารถยอนไปไดถึงไตรภูมิพระรวงของพระยาลิไท หรืองานของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ทรงแสดงความคิดเห็นไววา “เปนเรื่องที่นับถือกันแพรหลายมาแตโบราณ ถึงคิดขึ้นเปนรูปภาพเขียนไวตามฝาผนังวัด มีมาแตครั้งกรุงเกายังปรากฏอยูจนทุกวันนี้1 เอกสารที่มักใชอางอิงเรื่อง"คติสุเมร"ุ ในทางปรัชญา วรรณคดี ฯลฯ เชน อาจารยประเสริฐ ณ นคร อาจารยประภาศ สุรเสน ในทางศิลปะสถาปตยกรรม เชน งานของศาสตราจารยโชต ิกัลยาณมิตร รศ.อนุวิทย เจริญศุภกุล รศ.สน สีมาตรัง ดร.วันชัย มงคลประดิษฐ Adrian Snordgrass ฯลฯ เรียกไดวาในวงวิชาการ "คติสุเมรุ" ถูกศึกษาทุกแงทุกมุมจนแทบจะไมหลงเหลือประเด็นใดใหคนหาอีกก็วาได? ? เพื่อที่จะรับรูถึงความหมายในแงมุมอื่น จึงไดลองเปลี่ยนวิธีการ โดยกาวขามไปจากขอบเขตของวิชาสถาปตยกรรมเพื่อไมใหสาขาวิชาหรือแมแตตัวคติสุเมรุ กลายเปนอุปสรรคในการศึกษาเสียเอง ในการปฏิบัติงานสรางสรรคครั้งนี้ไดเลือกพื้นที่มรดกโลกบุโรพุทโธ แหลงมรดกโลกในประเทศอินโดเนเซียเปนสถานที่ศึกษา เพื่อสังเกตและทำความเขาใจทั้ง สถานที่ สิ่งแวดลอม ผูคน และ การเปลี่ยนแปลงภายในตนเองในสถานะตางๆกัน ทั้งนักวิจัย อาจารย นักศึกษา นักทองเที่ยว ไกด ไปจนถึงผูจาริกแสวงบุญ เพื่อคนหาวาเปาประสงคที่แทจริงของคติสุเมรุที่เปนแนวคิดหลักของมรดกสถาปตยกรรมประเภทศาสนสถานในวัฒนธรรมตะวันออกคืออะไร เหตุใดเมื่อกลาวถึงศาสนสถานและพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์จึงตองอาง "คติสุเมร"ุ

? ? สุ แปลวา ดี งาม งาย 2

? ? เมรุ เปนชื่อภูเขากลางจักรวาล มียอดเปนที่ตั้งแหงเมืองสวรรคชั้น ดาวดึงสซึ่งพระอินทรอยู 3

! ! เมรุ อาจตรงกันโดยบังเอิญกับคำวา Main ที่แปลวา แกน ในภาษาอังกฤษ

12

1 พระญาลิไทย. (2525) ไตรภูมิพระรวง พิมพครั้งที่ 8. พระนคร : สำนักพิมพคลังวิทยา.หนา 5.2 เปนคําอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต สําหรับเติมขางหนาคํา พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 25423 พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542

? ? เหตุที่เลี่ยงไมใชคำวา "เขาพระสุเมรุ" ก็เพื่อเนนย้ำวา "สุเมร"ุ ไมใชภูเขาที่มีสัณฐานเปนภูเขาแบบในธรรมชาติตามที่เรารูจัก แตเปนภูเขาในจินตภาพ เปนสัญลักษณเปรียบเทียบที่ใชในการเลาการอธิบายสภาวะธรรมที่เหนือขึ้นไปกวาการรับรูดวยประสาทสัมผัสของมนุษย

? ? ความเชื่อเรื่องสุเมรุเปนคติที่มีมาตั้งแตสังคมยุคโบราณจนมาถึงสมัยแวนแควนและกอตั้งอาณาจักร ที่มีความสำคัญยิ่งตอระบบวัฒนธรรมสังคม เปนแกนของอุดมการณ กรอบความคิด ความรู ความเชื่อและวิถีปฏิบัติของคนตะวันออก บางพื้นทีค่วามเชื่ออิงอยูกับเรื่อง ผี ธรรมชาติและบรรพชน บางกลุมพัฒนาความเชื่อนี้จนถึงขั้นจักรวาลทัศน ? ? “บุโรพุทโธ” มีตำแหนงที่ตั้งสัมพันธกับภูเขา Merapi ภูเขาศักดิ์สิทธิ์ตามธรรมชาติ ทั้ง บุโรพุทโธ และภูเขา Merapi สามารถเปนสัญลักษณของสุเมร ุ ขึ้นอยูกับวามนุษยมองจากตำแหนงใด หากมองจากตัวบุโรพุทโธ ภูเขาที่อยูลอมรอบดูเหมือนกำแพงจักรวาล หรือ หากจินตนาการวาภูเขาธรรมชาติคือ สุเมรุ สวนบุโรพุทโธคือแผนดินทวีปที่อยูอาศัยของมนุษยก็เปนได

ภาพ “บุโรพุทโธ” และภูเขาธรรมชาติ (ที่มาภาพ : บนซาย Dean Conger, National Geographic Image Collection ลางซายและขวา วรนันท โสวรรณี)

13

? ? การวางผังในสถาปตยกรรมที่มีที่มาจากคติพระสุเมรุ ทำใหเกิดการจัดวางผังและตัวอาคารตามเสนแกนที่สัมพันธกับทิศหลัก คือ ตะวันออก-ตะวันตก หรือ ทิศเหนือ-ทิศใต โดยมีอาคารประธานอันเปรียบเสมือนพระสุเมรุซึ่งเปนแกนจักรวาลอยูตรงกลาง การวางผังตามแนวแกนนี้สัมพันธกับการรับรูเรื่องทิศทางของมนุษย การโคจรของดวงอาทิตยและดวงดาว และความรูสึกตอความมืดความสวางและดานหนาดานหลัง ซึ่งทำใหเกิดการกำหนดความหมายของทิศที่เปนมงคล อมงคล ความด ีความชั่ว อดีตและอนาคต รวมทั้งความรูสึกเรื่องตำแหนงของนรกและสวรรค ? ? เสนแกนของสถาปตยกรรมทั้งตะวันออก-ตะวันตก หรือ ทิศเหนือ-ทิศใต จะสัมพันธกับการปรากฏการโคจรของดวงอาทิตยและปรากฏการณของทองฟา เปนการเนนจุดแหงดุลยภาพและความสงบนิ่ง ที่ใชอาคารประธานเปนสัญลักษณแหงจุดศูนยกลางที่เปรียบเสมือนศูนยกลางของโลก4 โดยใชการโคจรของดวงอาทิตยและทิศทางที่แสงสาดสอง ทำใหเกิดอาคารมีการเคลื่อนไหว ใชพื้นที่และเวลาภายนอกนอมนำใหพื้นที่และเวลาภายในจิตใจของผูพบเห็นสัมผัสกับภาวะของความศักดิ์สิทธิ์ เสนแกนของอาคารจึงทำหนาที่เหมือนเสนที่เชื่อมเราเขากับจิตวิญญาณ (Genius Loci)5 ของสถาปตยกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ที่มีพระสุเมรุเปนศูนยกลางนี้

ภาพ การวางผัง เสนแกน และ ความสัมพันธกับการปรากฏการโคจรของดวงอาทิตย และปรากฏการของแสงและเงาบนทองฟา (ที่มาภาพ : ภาพซาย http://www.oldroads.org/pastblogs/archive_2009_march.htm วันที ่7 มิถุนายน 2553

กลางและขวา วรนันท โสวรรณี)

? ? องคประกอบสถาปตยกรรมของบุโรพุทธโธ ประกอบดวยเจดียเล็กๆจำนวนมาก และมีการตกแตงดวยภาพประติมากรรมนูนต่ำอยูโดยรอบ เปนการจำลองสัณฐานของสุเมรุที่ดานบนยอดเปนที่ตั้งของสวรรคชั้นดาวดึงส มีพระอินทรหรือทาวสักกะเปนผูปกครอง ดานลางเปนนรกภูมิที่อยูอาศัยของอสูร สุเมรุถูกลอมรอบดวยภูเขาและมหาสมุทร รูปวงแหวน 7 วงสลับกัน ภูเขาทั้ง 7 ไดแก ยุคนธร อิสินธร กรวิก สุทัสนะ เนมินธร วินตกะ และ อัสสกัณณะ เรียงจากดานในไปนอกตามลำดับ สัณฐานของภูเขาทั้งเจ็ดเปนรูปวงแหวน ครึ่งหนึ่งโผลพนน้ำ อีกครึ่งจมอยู

14

4 Eliade cited in Kirtikhacara, J., 2007. Experiencing Angkor Vat : an Architectural Assessment, Chiang Mai: Faculty of Architecture. P.48-495 See Norberg-Schulz, C., 1980. Genius Loci: Towards a Phenomenology of Architecture, New York: Rizzoli. P.18-33

ดานลาง เขาแตละลูกมีขนาดลดหลั่นกันลงไปทีละครึ่ง ที่สุดขอบจักรวาลมีกำแพงจักรวาล6 ระหวางภูเขาลูกสุดทายกับกำแพงจักรวาลเปนที่ตั้งของทวีปทั้งสี่อันเปนที่อยูอาศัยของมนุษย ไดแก อุตรกุรุทวีปทางทิศเหนือ ชมพูทวีปทางทิศใต บูรพวิเทหะทางทิศตะวันออก และอมรโคยานทางทิศตะวันตก ถัดจากกำแพงจักรวาลออกไปเปนที่วางระหวางจักรวาลตางๆ ซึ่งเปนตำแหนงของโลกันตนรก นี่คือลักษณะคราวๆอันเปนที่รูจักของสุเมรุและองคประกอบ คตินี้ปรากฏชัดเจนเมื่อมองบุโรพุทโธจากดานลางในเวลาพลบค่ำ หรือเชามืด ซึ่งจะเห็นตัวสถาปตยกรรมในลักษณะรูปดาน 2 มิติ

ภาพ บุโรพุทโธในลักษณะรูปดาน สัณฐานที่ปรากฏมีลักษณะตามคติสุเมรุ(ที่มาภาพ : วรนันท โสวรรณี)

? ? จากการศึกษาและปฏิบัติงานสรางสรรคเพื่อการแปลความหมายคติสุเมรุที่ปรากฏในมรดกทาง

สถาปตยกรรมโดยมีบุโรพุทโธเปนกรณีตัวอยาง สามารถสรุปไดวา การกอสรางสถาปตยกรรมตามคติสุเมร ุ มีวัตถุประสงคเพื่อใชตัวสถาปตยกรรมเปนจุดอางอิงของจักรวาลวิทยาทั้งหมด ทั้งตำแหนงของโลก ตำแหนงแหงที่ของมนุษย และตำแหนงแหงที่ของสิ่งตางๆในจักรวาล เชน โลกมนุษย นรก สวรรค ที่มาของกษัตย ที่อยูของมนุษยและสัตว ไปจนถึงอธิบายปรากฏการณธรรมชาต ิ เชน การเปลี่ยนฤดูกาล เดือน ป การเปลี่ยนจากกลางวันเปนกลางคืน ฯลฯ การนำทุกสิ่งมาอางอิงกับคติสุเมร ุทำใหมนุษยทราบฐานะและความสัมพันธระหวางตนกับสิ่งอื่นๆในจักรวาลไดชัดเจน ? ? คติสุเมรุมีความสำคัญในฐานะ "ฐานคิด" ของผูคนในโลกตะวันออก เปนสิ่งหลอหลอมทัศนคติของคนที่มีตอธรรมชาติและทุกสิ่งรอบตัว เมื่อมี "สุเมรุ" เปนศูนยกลางของจักรวาล มนุษยสามารถกำหนดตำแหนงแหงที่ของตนได เขาจะทราบโดยอัตโนมัติวา ตนมีสิทธิ์ หนาที ่ และจะตองมีทาทีจะตองปฏิบัติเชนไรกับสิ่งรอบตัว ทั้งธรรมชาติ สิ่งมีชีวิต บุคคล สัตว สิ่งของ ไปจนถึงสิทธิ์และหนาที่ตอสังคมทั้งในโลกสามัญและโลกศักดิ์สิทธิ์อันเปนเปาหมายของชีวิตในอุดมคติ

15

6 .... the Cakavala mountain range, the walls of the Universe. ..... The Cakravala Range is 82,000 yojana high , 82,000 yojana under water and 82,000 yojana thick …..”

? ? ในทางศิลปะและการออกแบบ คติสุเมร ุ คือ สื่อในการแปลงภาวะนามธรรมใหปรากฏเปนรูปธรรม เพื่อใหคนธรรมดาสามารถรับรูและเขาใจได คติสุเมรุประกอบดวย "เนื้อหา หรือ สาร" ที่ตองการสื่อไปยังผูคน ดวย "สื่อ" นี้ จะชวยใหมนุษยธรรมดาสามัญประจักษถึงสิ่งที่สูงสง กวางไกลกวาเรื่องรูป รส กลิ่น เสียง ที่จับตองมองเห็นได? ? การรับรูความงามของงานศิลปะ จึงตองรับรูจากองครวมลงมาสูองคประกอบยอยทั้งหลาย7 โดยใชการเคลื่อนไหว เวลา การรับรู 8 สติ วุฒิภาวะ และประสบการณของแตละบุคคล

? ? ในมรดกทางสถาปตยกรรมประเภทศาสนสถาน มีการสื่อความหมาย คติสุเมรุ อยู 2 ขั้น คือ การใสรหัส และการถอดรหัส9 คติสุเมรุจึงเปนภาษาที่พูดถึงสิ่งตางๆในอีกความหมายหนึ่ง ดังนั้นผูรับสารจึงจำเปนตองตีความใหไดทั้งสองระดับจึงจะเขาใจสิ่งที ่ผูสรางตองการอธิบาย โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อผูสราง สรางงานดวยปญญา ผลงานนั้นจึงควรตองถูกแปลความดวยพุทธิปญญา10 ดวยประสบการณ ดวยประสาทสัมผัสและจิตใจ ดวยเชนกัน? ? มรดกทางสถาปตยกรรมประเภทศาสนสถานในโลกตะวันออกโดยเฉพาะอยางยิ่งที่ไดรับอิทธิพล

จากอันเดีย สวนใหญผูกโยงอยูกับ "คติสุเมร"ุ ที่ทำหนาที่เปน “อุปกรณ” เปนสื่อในการแปลงภาวะนามธรรมใหปรากฏเปนรูปธรรม เพื่อใหคนธรรมดาสามารถรับรูและเขาใจได ภาวะความศักดิ์สิทธิ์ถูกทำใหรูจักและรูสึกดวยวิธีการเปรียบเทียบอยางพิศดารโดยมีองคประกอบตางๆในคติสุเมรุเปนสื่อ เมื่อพิจารณาในมุมนี ้"คติสุเมร"ุ เปนระบบภาษาที่พูดถึงสิ่งตางๆในอีกความหมายหนึ่ง ดวยการเลาเรื่องผานสัญลักษณ ความรูเกี่ยวกับธรรมชาติ โลก และชีวิต โลกสามัญ โลกศักดิ์สิทธิ์ไปจนถึงระบบความสัมพันธอันสลับซับซอนของจักรวาล คอยๆถูกเปดเผยและถายทอดใหกับผูคนในระดับตางๆอยางเปนระบบ ซึ่งจะสัมพันธกับ ขนาดทางกายภาพของพื้นท่ ี และ เปาหมายตอการรับรูของคนตั้งแตระดับกวางไปหาแคบ คือ การรับรูรวมกันของคนในระดับภูมิภาค สังคม ประเทศ กลุมคนในเมือง ชุมชน และการรับรูในระดับบุคคล

? ? ในทางสถาปตยกรรม คติสุเมรุเปนแนวคิดที่มีอิทธิพลตอการสรางสรรคงานสถาปตยกรรมมาทุกยุคสมัย ในปจจุบันยังคงมีนักออกแบบออกแบบสรางสรรคผลงานโดยแนวคิดมาจากคติสุเมร ุ ในขณะเดียวกันนักออกแบบบางสวนก็ทำงานโดยที่ไมไดคำนึงถึงคติใดเปนหลัก เพียงแตมุงทำใหปุถุชนคนธรรมดาเกิดความเขาใจถึงเรื่องความเปนระบบและความเปนหนึ่งเดียวกันของสรรพสิ่ง ไมวาในรูปลักษณใด องคประธานอันเปรียบเสมือนสุเมรุซึ่งเปนแกนจักรวาล จะคอยย้ำเตือนใหตระหนึกถึงความยิ่งใหญของธรรมชาต ิ เตือนใหรูวามนุษยอยูใตอำนาจของธรรมชาติ ทั้ง ธรรมชาติในรูปของสิ่งแวดลอม กฏธรรมชาติและสัจจธรรม? ? จากตัวอยางงานสรางสรรค “บุโรพุทโธ” คติสุเมรุถูกนำมาใชในการสรางสถาปตยกรรม ในฐานะ "อุปกรณ" ในการแปลงภาวะ "นามธรรม" ใหปรากฏเปน "รูปธรรม" เปนอุปกรณในการสื่อ "สาร" ปลายทางของความคิดผานสัญลักษณคติสุเมรุคือ "ความจริง" คือ "ธรรม" ที่ถูกแทนคาดวยสัญลักษณใหบุคคลทั่วไปสามารถมองเห็น สัมผัสจับตองและรับรูได นับตั้งแตการวางตำแหนง การกำหนดเสนแกน การวางผัง การออกแบบรูปรางของอาคาร การ

16

7 ไดแนวคิดมาจากการรับรูความงามในงานสถาปตยกรรม ของ Kirtikhacara, J., 2007. Experiencing Angkor Vat : an Architectural Assessment, Chiang Mai: Faculty of Architecture. P.388 Merleau-Ponty, 1962. Phenomenology of Perception, London: Routledge & Kegan Paul. Pt.2, Chapter 1-2.9 คำวาใสรหัสและถอดรหัส ไดแนวคิดมาจาก Barthes, R., 1990. Mythologies, New York: The Noonday Press. P.11410 Kirtikhacara, J., 2007. Experiencing Angkor Vat : an Architectural Assessment, Chiang Mai: Faculty of Architecture. P.36

ประดับตกแตง ไปจนถึงการสรางบรรยากาศอันศักดิ์สิทธิ์ผานงานประติมากรรม สถาปตยกรรม มัณฑนศิลป และที่มีความสัมพันธกับสภาพแวดลอมและปรากฏการณในธรรมชาต ิ เพื่อนอมนำใหจิตใจของผูใชสถาปตยกรรมเกิดความศรัทธาตอพุทธศาสนาและสามารถสัมผัสถึงประสบการณแหงโลกุตตรภาวะตามแตระดับปญญาและภูมิธรรมของตน

? ? ในการแปลความหมายมรดกทางสถาปตยกรรมประเภทศาสนสถานและพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ จำเปนตองตระหนักอยูเสมอวาทั้งคติและตัวมรดกทางสถาปตยกรรมเปนเพียงเครื่องมือสำหรับเชื่อมตอสัจธรรมอยางหนึ่งกับ

สัจธรรมอีกอยางหนึ่ง ไมใชผลสิ้นสุด ปลายทางของความคิดผานงานทรดกทางสถาปตยกรรมประเภทศาสนสถานและพื้นที่ศักดิ์สิทธิ ์ คือ "ความจริง" คือ "ธรรม" ที่สัญลักษณแทนอยู ดังนั้นจึงในการแปลความหมายจึงควรพิจารณาดวยความมีสติและใชปญญาแปลสัญลักษณกลับมาเปนความจริงใหเกิดการรูแจงในธรรมใหได เพื่อใหมรดกทางสถาปตยกรรมยังคงคุณคาตามเปาประสงคที่แทจริงสืบไป

? ?

วัตถุประสงคของการสรางสรรคผลงาน1. เพื่อทำความเขาใจเปาประสงค คุณคา และแนวทางการแปลความหมายคติสุเมรุในงานมรดกสถาปตยกรรม2. เพื่อแปลความหมายมรดกทางสถาปตยกรรม “บุโรพุทโธ”

แนวความคิด? ? สุเมร ุ สื่อในการสำแดงและอธิบายภาวะนามธรรมของโลกศักดิ์สิทธิ์ใหปรากฏ ดวยสถาปตยกรรมที่สัมพันธสถาพแวดลอมและปรากฏการณในแตละชวงเวลาของทองฟา ชวยนอมนำใหจิตใจของผูพบเห็นสัมผัสกับภาวะของความศักดิ์สิทธิ ์และจิตวิญญาณ (Genius Loci) ของสถาปตยกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ “บุโรพุทโธ” กระบวนการของการสรางสรรคผลงาน

1. กำหนดประเด็น ขอบเขตในการนำเสนอผลงานสรางสรรค2. ศึกษาทฤษฎี แนวความคิด และทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับคติสุเมรุ3. ปฏิบัติงานสรางสรรค และเรียนรูทำความเขาใจคติสุเมรุที่แสดงออกในพื้นที ่4. คัดเลือกผลงานที่สมบูรณ สอดคลองกับขอบเขตและแนวความคิดในการนำเสนอ5. ออกแบบวิธีการนำเสนอผลงาน

6. ติดตั้งและแสดงผลงาน

7. เขียนบทวิเคราะหและอธิบายผลงานสรางสรรค

วัสดุในการสรางสรรคผลงาน? กลองถายภาพ Nikon D40

17

เทคนิคในการสรางสรรคผลงาน? การรับรูพื้นที่ตามแนว Phenomenology และการแสดงออกผาน Straight Photography ? ใชตนเองเปนอุปกรณในการรับรูและทำความเขาใจพื้นที ่ เพื่อคนหาวาเปาประสงคที่แทจริงของคติสุเมรุที่เปนแนวคิดหลักของมรดกสถาปตยกรรมประเภทศาสนสถานในวัฒนธรรมตะวันออกคืออะไร เหตุใดเมื่อกลาวถึงศาสนสถานและพื้นที่ศักดิ์สิทธิ ์โดยเฉพาะอยางยิ่งในงานสถาปตยกรรม อะไรๆก็ตองอาง "คติสุเมร"ุ

ขนาดของผลงานสรางสรรค? 24 x 80 นิ้ว และ 30 x 40 นิ้ว

องคความรูที่ไดรับจากการปฏิบัติงานสรางสรรค? ? จากการปฏิบัติงานสรางสรรค ขาพเจาไดพบองคความรูในดานการแปลความหมาย “คติสุเมรุ” ซึ่งเปนแนวความคิดหลักของมรดกทางสถาปตยกรรมประเภทพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์และศาสนสถาน ที่เปนประเด็นสำคัญ คือ? ? 1. "คติสุเมรุ" เปนระบบภาษาที่พูดถึงสิ่งตางๆในอีกความหมายหนึ่ง ดวยการเลาเรื่องผานสัญลักษณ ความรูเกี่ยวกับธรรมชาติ โลก และชีวิต โลกสามัญ โลกศักดิ์สิทธิ์ไปจนถึงระบบความสัมพันธอันสลับซับซอนของจักรวาล อุปลักษณ (Metaphor) ของมหาจักรวาล อนุจักรวาล พระสุเมร ุ ทวีป และสีทันดรสมุทร ไปจนถึงแนวคิดเรื่องเวลา คติพระพุทธเจาในภัทรกัปป เปนแนวคิด เปนคติในมโนทัศน เปนอุปกรณที่ตองการใหผูใชอนุมาน (inference) ดวยพุทธ ิถึงโลกียภาวะกับโลกุตตรภาวะ กาละของจักรวาลกับกาละของจิตภายใน และ สภาวะธรรมของธรรมชาติกับสภาวะธรรมของจิต การประเมินความสำคัญของคติสุเมรุในงานศิลปะและงานออกแบบ จำเปนตองมีปจจัย เชน สิ่งแวดลอม ลักษณะทางกายภาพที่ปรากฏ และที่สำคัญตองอาศัยประสบการณ ปญญาและภูมิธรรมของผูออกแบบ ผูสราง และ ผูใชสอยสถาปตยกรรมเปนหลัก? ? 2. คติสุเมรุ เปน "อุปกรณ" ในการแปลงภาวะ "นามธรรม" ใหปรากฏเปน "รูปธรรม" ใหบุคคลทั่วไปสามารถมองเห็น สัมผัสจับตองและรับรูได นำเสนอสาระและความหมายของคติสุเมรุในมุมมองที่ตางไป กลาวคือ คติสุเมร ุคือ หลักเหตุผลชุดหนึ่งในการจัดระบบคิดดวยวิธีการตางๆไมวาจะเปนการแยกแยะจัดประเภท การผสมผสาน และการจัดการความสัมพันธของสิ่งตางๆ เปนที่มาของจิตสำนึกและรูปแบบการดำรงอยูในชีวิตประจำวันของสังคม11 คติสุเมรุมีความสำคัญในฐานะ "ฐานคิด" ของผูคนในสังคม เปนสิ่งหลอหลอมทัศนคติของคนไทยที่มีตอธรรมชาติและทุกสิ่งรอบตัว คติภูเขาศักดิ์สิทธ์ิม ี "สุเมรุ" เปนศูนยกลางของโลก เมื่อมนุษยสามารถกำหนดตำแหนงแหงที่ของตนได เขาจะทราบโดยอัตโนมัติวา ตนมีสิทธิ ์ หนาที่ และจะตองมีทาท ี จะตองปฏิบัติเชนไรกับสิ่งรอบตัว ทั้งธรรมชาต ิ สิ่งมีชีวิต บุคคล สัตว สิ่งของ ไปจนถึงสิทธิ์และหนาที่ตอสังคมทั้งในโลกสามัญและโลกศักดิ์สิทธิ์อันเปนเปาหมายของชีวิตในอุดมคติ

18

11 Mercea Eliade, (1963) Myth and Reality, Trans. From the French by Willard K. Trask (New York: Harper & Row), p. 8. อางใน รณี เลิศเลื่อมใส, (2544). ฟา-ขวัญ-เมือง จักรวาลทัศนดั้งเดิมของไท ศึกษาจากคัมภีรโบราณไทยอาหม, - - กรุงเทพฯ : โครงการวิถีทรรศน. หนา 42.

บรรณานุกรมโชต ิกัลยาณมิตร. (1996). สถาปตยกรรมแบบไทยเดิม. กรุงเทพ : สมาคมสถาปนิกสยามฯ. รณ ีเลิศเลื่อมใส, (2544). ฟา-ขวัญ-เมือง จักรวาลทัศนดั้งเดิมของไท ศึกษาจากคัมภีรโบราณไทยอาหม, - - กรุงเทพฯ :

โครงการวิถีทรรศนพระญาลิไทย. (2525). ไตรภูมิพระรวง พิมพครั้งที่ 8. พระนคร : สำนักพิมพคลังวิทยา.หนา 5ศรีศักดิ ์วัลลิโภดม.(2552).การเสวนาเรอื่งอํานาจเหนือธรรมชาติในการจัดการน้ําโบราณ. กรุงเทพ : เมืองโบราณ.Barthes, R., 1990. Mythologies, New York: The Noonday Press.Brain Leigh Molyneaux, & Vitebsky, P. (2000). Sacred Earth, Sacred Stones. London: Duncan Baird

Publishers.Bunce, F. W. (2002). The Iconography of Architectural Plan. New Delhi: D.K.Printworld (P) Ltd.C.K.Ogden & I.A.Richards . (1985). The Meaning of Meaning: A Study of the Influence of Language

upon Thought and the Science of Symbolism. London: Ark Papernacks.Coomarasawamy, A. K. (1998). Elements of Buddhist Iconography. Cambridge: Harvard University

Press.Eliade, M. (1959). The Sacred and the Profane: The Nature of Religion. New York : A Harvest

Harcourt Brace Jovanovich.Eliade, M. (1985). Symbolism, the Sacred, and the Arts. New York: Crossroad.

Govinda, L. A. (1976). Psycho-Cosmic Symbolism of the Buddhist Stupa. California: Dharma Publishing.

Geertz, C. (1973). The Interpretation of Cultures. New York : Basic Books.H.G.Quaritch Wales, P. D., Litt.D., (1953). The Mountain of God; A Study in Early Religion and

Kingship. London: Bernard Quaritch, Ltd.Kapila. (1991). Concepts of Space: Ancient and Modern. New Delhi : Indira Gandhi National Centre

for the Arts Abhinav.John, L. (2005). The Living Tree (K. Sodsai, Trans.). Bangkok : Foundation For Children Publishing

house.Kirtikhacara, J. (2007). Experiencing Angkor Vat : an Architectural Assessment. Chiang Mai : Faculty of

Architecture.Le Corbusier. (1944). Toward a New Architecture (trans. F. Etchells), London: Architecture Press.Merleau-Ponty. (1962). Phenomenology of Perception. London: Routledge & Kegan Paul. Pt.2.Norberg-Schulz, C. (1980). Genius Loci: Towards a Phenomenology of Architecture. New York:

Rizzoli.Norberg-Schulz, C. (1968). Intensions in Architecture. Cambridge : M.I.T.Press.Taylor, K., (2003). Historical Landscape Planning: Borobudur, in Fourth International Experts Meeting

on Borobudur 4-8 July, 2003 Indonesia.UNESCO-MAB. (2006). Conserving Cultural and Biological Diversity : The Role of Sacred Natural Sites

and Cultural Landscapes. Paris : UNESCO.UNESCO. (2005). Report of the Thematic Expert Meeting on Asia-Pacific Sacred Mountains. Paris:

UNESCO.19

หลักฐานการตีพิมพเผยแพร

คณะมัณฑนศิลป . (2553). นิทรรศการผลงานสรางสรรคของคณาจารยคณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร เนื่องในวันศิลป พีระศรี 15 กันยายน 2553, 15 -30 กันยายน 2553. ม.ป.ท.

20