วิธีปฏิบัติการสั่งการควบคุมการจ...

274
วิธีปฏิบัติการสั่งการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับ ศูนยควบคุมการจายไฟฟา ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา พฤษภาคม 2559

Transcript of วิธีปฏิบัติการสั่งการควบคุมการจ...

วิธีปฏิบัติการสั่งการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับ

ศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา

ฝายควบคุมระบบไฟฟา

พฤษภาคม 2559

คํานํา

เปนท่ีทราบกันดีวา การไฟฟาสวนภูมิภาค(PEA) เปนหนวยงานท่ีทําหนาท่ีจําหนายพลังงานไฟฟา

ใหแกประชาชนในภาคครัวเรือน ภาคการทองเท่ียวและภาคอุตสาหกรรม ในประเทศ ครอบคลุมพ้ืนท่ีท้ังหมด

73 จังหวัด แตนอกเหนือจากการจําหนายพลังงานไฟฟาแลว การไฟฟาสวนภูมิภาคยังมีหนาท่ีควบคุม

คาแรงดันไฟฟา, SAIFI, SAIDI ตัวประกอบกําลัง ฯลฯ ใหอยูในเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงตัวแปรดังกลาวสะทอนถึง

ความม่ันคงและความเชื่อถือไดของระบบไฟฟา โดยจะสงผลตอความพึงพอใจของผูใชไฟฟาโดยตรง โดยเฉพาะ

อยางยิ่งภาคอุตสาหกรรม และภาคการทองเท่ียว ท่ีมีอัตราการเติบโตอยางมาก และมีความตองการระบบ

ไฟฟาท่ีมีความม่ันคงและความเชื่อถือไดในระดับสูงข้ึนเรื่อยๆ ดังนั้นการปรับปรุงระบบไฟฟาใหมีความม่ันคงมี

ความพรอมรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจดานตางๆ จึงมีความสําคัญเปนอยางมาก

การปรับปรุงความม่ันคงและความเชื่อถือไดของระบบกําลังไฟฟา นอกจากการปรับปรุง/พัฒนา

อุปกรณในระบบกําลังไฟฟาใหทันสมัยแลว กระบวนการควบคุมการสงจายพลังงานไฟฟา ใหมีประสิทธิภาพ

ก็เปนสิ่งท่ีสําคัญมากอยางหนึ่ง หนวยงานของการไฟฟาสวนภูมิภาค ท่ีทําหนาท่ีกํากับดูแลการสงจายพลังงาน

ไฟฟา ควบคุมตัวแปรตางๆ ขางตน ใหอยูในเกณฑมาตรฐาน คือศูนยสั่งการระบบไฟฟา และศูนยควบคุมการ

จายไฟท้ัง 12 เขต โดยท่ีผานมานั้น ศูนยควบคุมการจายไฟท้ัง 12 เขต มีมาตรฐานดานการสั่งการควบคุมการ

จายไฟฟาในบางสวน ท่ียังไมเปนไปในแนวทางเดียวกัน และข้ันตอนการสั่งการฯ บางข้ันตอนกับบางอุปกรณ

ยังไมเปนไปตามหลักการท่ีถูกตองดานวิศวกรรมไฟฟาและดานการสั่งการฯ ซ่ึงมาตรฐานการสั่งการควบคุมการ

จายไฟฟา เปนสิ่งท่ีสําคัญมากในการพัฒนาความม่ันคงและความเชื่อถือไดของระบบกําลังไฟฟา เพราะจะทํา

ใหการสั่งการควบคุมการจายไฟเปนไปอยางมีแบบแผน ประสิทธิภาพสูง เปนไปในแนวทางเดียวกัน รวมถึงสง

ตอเปนองคความรูไดงาย สงผลตอการพัฒนาระบบไฟฟาในภาพรวม และสามารถชวยการยกระดับงานดาน

การสั่งการควบคุมการจายไฟ ของ PEA ใหเปนท่ียอมรับในระดับสากล

เนื้อหาของคูมือเลมนี้ จะประกอบไปดวยวิธีปฏิบัติการสั่งการพ้ืนฐานกับอุปกรณตางๆ ในระบบ

115 kV, 22 และ 33 kV และหลักปฏิบัติตางๆ ท่ีจําเปนสําหรับการสั่งการฯ รวมไปถึงความรูเสริมอ่ืนๆ ท่ี

จําเปนสําหรับการสั่งการฯ เพ่ือใหการสั่งการควบคุมการจายไฟฟาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและมีความ

ปลอดภัย

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา

ฝายควบคุมระบบไฟฟา

สารบัญ

หัวขอ หนา

1. นิยาม 1

2. ระบบไฟฟากําลัง 12

3. ความรูท่ัวไป

3.1 ระบบปองกันท่ีใชในระบบกําลังไฟฟาของ PEA 21

3.2 ความรูพ้ืนฐานเรื่องลักษณะการจัดบัสแบบตางๆ 48

3.3 การปฏิบัติงานดานการสั่งการควบคุมการจายไฟฟา 62 4. วิธีปฏิบัติการส่ังการพ้ืนฐานสําหรับอุปกรณในระบบ 115 kV (Basic Operation)

4.1 วิธีปฏิบัติการสั่งการกับอุปกรณภายในสถานไีฟฟา

- Main and transfer Scheme 72

- Breaker and a half Scheme 85

- Double buses single breaker Scheme 99

- H Scheme 115

- Double buses double breakers Scheme 127

- Double mains and transfer Scheme 136

4.2 วิธีปฏิบัติการสั่งการกับอุปกรณภายนอกสถานีไฟฟา

- Air Break Switch ระบบ 115 kV 152

- Load Break Switch ระบบ 115 kV 155

- Circuit Switcher 160

5. วิธีปฏิบัติการส่ังการพ้ืนฐานสําหรับอุปกรณในระบบ 22 และ 33 kV (Basic Operation)

5.1 วิธีปฏิบัติการสั่งการกับอุปกรณภายในสถานีไฟฟา

- เบรกเกอร Outgoing # 1 165

- เบรกเกอร Incoming # 1 166

- เบรกเกอร Tie 167

- Main Bus # 1 168

- Underground Cable ของไลน Incoming 170

- Underground Cable ของไลน Outgoing#1 172

- Capacitor ในสถานีไฟฟา 173

- หมอแปลง Service (TS1) 174

- ระบบจําหนาย Outgoing # 1 175

สารบัญ

หัวขอ หนา

5.2 วิธีปฏิบัติการสั่งการกับอุปกรณภายนอกสถานีไฟฟา

- Line Recloser 177

- Load Break Switch และ Remote Control Switch 180

- Disconnecting Switch 183

- Switching Capacitor 188

- Fix Capacitor 190

- Automatic Voltage Regulator (AVR) 192

- Single Phase Voltage Regulator (SVR) 195

6. หลักปฏิบัติสําหรับการส่ังการฯ

6.1 หลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา อุปกรณใดๆ ในระบบไฟฟา 199

6.2 หลักการสั่งการเพ่ือขนานและถายเทโหลด 208

- หลักการสั่งการเพ่ือขนานและถายเทโหลดสายสงระบบ 115 kV 209

- หลักการสั่งการเพ่ือขนานและถายเทโหลดหมอแปลง 211

- หลักการสั่งการเพ่ือขนานและถายเทโหลดฟดเดอรระบบ 22/33 kV 213

6.3 หลักการสั่งการเพ่ือแกไขกระแสไฟฟาขัดของ 215

6.4 หลักการสั่งการเพ่ือกูคืนโหลด หลังจากเกิดกระแสไฟฟาขัดของในระบบไฟฟา 220

6.5 หลักการตอลงดินเพ่ือปฏิบัติงานในระบบไฟฟา 225

6.6 หลักการ By Pass อุปกรณตางๆ ในระบบไฟฟา 230

ภาคผนวก

1. รายชื่อผูรวมจัดทํา 234

2 .ตัวอยางขอมูลดานเทคนิคของอุปกรณตางๆ ในระบบ 115 kV 235

3. ตัวอยางขอมูลดานเทคนิคของอุปกรณตางๆ ในระบบ 22-33 kV 244

4. สัญลักษณและความหมาย 268

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

1. นิยาม

คําศัพทเฉพาะดานการสั่งการ

Energize จายไฟ

De-energize ดับไฟ

Switching การปลด/สับ อุปกรณปองกันและอุปกรณตัดตอนในระบบไฟฟา เ พ่ือเปลี่ยนแปลงจุดเชื่อมตอทางไฟฟา/สภาพการจายไฟ

การขนาน การสวิตชิ่ง ซ่ึงทําใหจุด (node) สองจุด หรืออุปกรณไฟฟา สองอุปกรณ หรือวงจรไฟฟาสองวงจร (ซ่ึงอาจมีศักยไฟฟาแตกตางกัน) รวมเปนจุดเดียวกันทางไฟฟา ซ่ึงจะสงผลทําใหท้ังสองจุด/อุปกรณ/วงจร มีศักยไฟฟาเทากัน ในทางอุดมคติ เชน การขนานระหวางบัส/สายสง/ฟดเดอร/หมอแปลง เปนตน

Bay ใชบอกตําแหนงของวงจรท่ีรับไฟ/วงจรจายไฟ ในสถานีไฟฟา

Incoming วงจรท่ีรับไฟเขาบัส/สถานีไฟฟา

Outgoing วงจรท่ีจายไฟออกจากบัส/สถานีไฟฟา

Solid Bus การจายไฟผานบัส โดยท่ีไมมีระบบปองกัน เชนการจายไฟเขา-ออก เฉพาะ Transfer Bus โดยไมผานBreaker ดังนั้นระบบปองกัน จะใชของสถานีฯ ตนทาง ซ่ึงวิธี Solid Bus จะถูกใชในกรณีท่ีมีความจําเปนเทานั้น

Cold Standby การปลดอุปกรณออกจากระบบไฟฟา เพ่ือใชเปนอุปกรณสํารอง ในกรณีฉุกเฉิน โดยไมไดจายกระแสไฟเลี้ยงอุปกรณนั้นไว

Fault สิ่งผิดปกติ/สิ่งรบกวน ท่ีเกิดข้ึนในระบบไฟฟา ซ่ึงทําใหการจายไฟไมเปนไปตามสภาพปกติ เชน การเกิดลัดวงจร/การเปดวงจรท่ีผิดปกติ โดยปรากฏการณดังกลาว จะสงผลใหอุปกรณปองกันทํางาน เปดวงจรแยกสวนท่ีเกิดFaultออกจากระบบ

Hot Standby การจายกระแสไฟเลี้ยงอุปกรณไฟฟาไว แตอุปกรณไฟฟานั้นมิไดจายโหลด เพ่ือใชเปนอุปกรณสํารอง ในกรณีฉุกเฉิน

-1-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

Clear Line การตรวจสอบหาสิ่งผิดปกติในวงจรสายสง/ฟดเดอร ใชในกรณีเกิดFault ในวงจรสายสง/ฟดเดอร

Lock คาน การลอคกลไกทางกลของอุปกรณตัดตอน เพ่ือมิใหสามารถดําเนินการปลด/สับ อุปกรณตัดตอนดังกลาวได

Loop Current กระแสไฟฟาท่ีไหลวนอยูในวงจรปด ในกรณีท่ีมีการขนานสายสง, การขนาน หมอแปลง หรือการ Closed Loop ฯลฯ

By Pass การทําใหเกิดลัดวงจรกับอุปกรณใดๆ โดยตั้งใจ โดยการเชื่อมตอข้ัวบวกและลบของอุปกรณเขาหากัน เพ่ือใหกระแสไฟฟาไหลผานอุปกรณนั้นนอยลง เพ่ือท่ีจะปลดอุปกรณนั้นออกจากระบบ

Trip การเปดวงจรของอุปกรณปองกัน เพ่ือตัดกระแสลัดวงจร โดยสวนใหญใชกับ BreakerหรือRecloser โดยการ Trip ของอุปกรณปองกัน แบงเปน Trip Lockout (เปดวงจรถาวร) และ Trip Reclose (เปดวงจรชั่วคราวและปดกลับ)

Ground Trip Block การตั้งคาอุปกรณ/รีเลย ตรวจจับกระแส Fault ลงดิน ไมใหทํางาน

อุปกรณตัดตอน

อุปกรณตัดตอน อุปกรณท่ีติดตั้งอยูในระบบไฟฟา เพ่ือทําหนาท่ีเปด/ปดวงจรไฟฟา

Circuit Breaker อุปกรณตัดตอนท่ีมีกลไกการดับอารคในตัว ซ่ึงทําใหสามารถปลด/สับ ไดขณะจายโหลดอยู และยังสามารถรับคําสั่งจากรีเลยปองกัน เพ่ือเปดวงจร ตัดกระแสลัดวงจร หรือทํางานตามฟงกชั่นของรีเลยได โดยBreakerท่ีใชในระบบไฟฟาของ PEA จะเปนแบบ 3-Poles Operation คือ สามารถทํางานปลด/สับ พรอมกันไดท้ัง 3 เฟส

Disconnecting Switch อุปกรณตัดตอนท่ีไมมีกลไกการดับอารคในตัว ซ่ึงทําใหสามารถปลด/สับ ไดขณะไมมีโหลดเทานั้น โดยสวิตซใบมีดท่ีใชในระบบไฟฟาของ PEA จะมีท้ังแบบ 1-pole และ 3-Poles Operation ซ่ึงในปจจุบัน สวิตซใบมีดท่ีติดตั้งอยูในสถานีฯ ระบบ 115/22/33 kV (ลานไก) จะเปนแบบ 3-Poles Operation สวนสวิตซใบมีดในระบบจําหนาย 22/33 kV จะเปนแบบ 1 Pole Operation

-2-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

Load Break Switch อุปกรณตัดตอนท่ีมีกลไกการดับอารคในตัว ซ่ึงทําใหสามารถปลด/สับ ไดขณะจายโหลดอยู โดยโหลดเบรกสวิตซท่ีใชในระบบไฟฟาของ PEA จะเปนแบบ 3-Poles Operation คือ สามารถทํางานปลด/สับ พรอมกันไดท้ัง 3 เฟส

Remote Control Switch, RCS คือโหลดเบรกสวิตซท่ีติดตั้ง Feeder Remote Terminal Unit (FRTU) เพ่ือใหสามารถตรวจสอบ/สั่งการควบคุม สถานะของอุปกรณไดจากระยะไกล จากศูนยควบคุมการจายไฟ ผานระบบ SCADA/DMS

Air Break Switch อุปกรณตัดตอนท่ีไมมีกลไกการดับอารคในตัว สามารถปลด/สับ พรอมกันท้ัง 3 เฟส (3-Pole Operating) ในขณะไมมีโหลดเทานั้น โดยติดตั้งอยูในสายสงระบบ 115 kV

Ground Switch คือสวิตซใบมีด ท่ีถูกติดตั้งอยูระหวางระบบไฟฟากับจุดท่ีมีศักยเปนศูนยหรือดิน (Ground) เพ่ือใชในการเชื่อมตอระบบไฟฟาลงดินทําใหศักยไฟฟาท่ีอุปกรณเปนศูนย กรณีท่ีมีการบํารุงรักษาอุปกรณไฟฟานั้น

อุปกรณปองกัน

Directional Relay รีเลยปองกันแบบรูทิศทาง คือรีเลยท่ีนําทิศทางการไหลของกระแสลัดวงจร มาเปนเง่ือนไขหนึ่งในการสั่งตัดกระแส Fault

Non-direction Relay รีเลยปองกันแบบไมรู ทิศทาง คือรีเลยท่ีไมนําทิศทางการไหลของกระแสลัดวงจร มาเปนเง่ือนไขในการสั่งตัดกระแส Fault

Auto Reclosing Relay รีเลยท่ีทําหนาท่ีสั่งให Breaker ปดกลับ หลังจาก Breaker เปดวงจรเพ่ือตัดกระแส Fault โดยสามารถโปรแกรมการทํางานได เชน การกําหนดจํานวนครั้งท่ีปดกลับ และ Reclaim Time เปนตน

Overcurrent Relay รีเลยกระแสเกิน ใชหลักการนําคากระแสไฟฟาท่ีจายใหแกโซนปองกัน มาเปรียบเทียบกับคาปรับตั้ง เพ่ือเปนเง่ือนไขในการทํางาน โดยแบงเปน Directional Overcurrent Relay (รีเลยกระแสเกินแบบรูทิศทาง) และ Non-directional Overcurrent Relay รีเลยกระแสเกินแบบไมรูทิศทาง โดยในระบบไฟฟาของ PEA สวนใหญจะใชรีเลยกระแสเกินแบบรูทิศทาง เปนระบบปองกันสํารอง ในระบบ 115 kV และจะใชรีเลยกระแสเกินแบบไมรู

-3-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

ทิศทางเปนระบบปองกันหลักในระบบจําหนาย 22/33 kV เพ่ือปองกันไลน Incoming และ Outgoing ระบบ 22/33 kV

Distance Relay รีเลยระยะทาง ใชหลักการนําคากระแสท่ีจายใหแกโซนปองกันและแรงดันท่ี วัดได มาคํานวณหาระยะทาง และเปรียบเทียบกับคาท่ีปรับตั้ง เพ่ือเปนเง่ือนไขในการทํางาน โดยรีเลยระยะทาง เปนรีเลยแบบรูทิศทาง สําหรับในระบบไฟฟา ของ PEA จะใชเปน Distance Relay เปนระบบปองกันหลักของสายสงระบบ 115 kV

Differential Relay รีเลยผลตาง ใชหลักการเปรียบเทียบกระแสท่ีไหลเขาและไหลออกจากโซนปองกัน เปนเง่ือนไขในการทํางาน โดยรีเลยผลตาง เปนรีเลยแบบไมรูทิศทาง ซ่ึงในระบบของ PEA จะถูกนํามาใชในปองกันใน 3 ลักษณะ คือ การปองกันบัส (Bus Differential Relay), การปองกันหมอแปลง (Transformer Differential Relay) และการปองกันสายสงท่ีมีระยะทางสั้นๆ (Line Differential Relay)

Lockout Relay เปนรีเลยชวย (Auxiliary Relay) ท่ีทําหนาท่ีรับคําสั่งจาก Bus/Transformer Differential Relay เพ่ือสั่ง Breaker ในโซนปองกัน Trip Lockout โดยหลังจาก Trip Lockout ไปแลว จะไมสามารถสั่งควบคุม Breaker ในโซนปองกันได จนกวาจะดําเนินการ Reset สถานะของ Lockout Relay ใหกลับมาอยูท่ี Normal

Circulating Current Relay

เปนรีเลยท่ีทําหนาท่ีตรวจสอบสภาวะการขนานหมอแปลง โดยใชหลักการตรวจสอบกระแสท่ีไหลในวงจรปดระหวางหมอแปลงสองเครื่อง ขณะทําการขนานโหลดหมอแปลง โดยหากคากระแสสูงเกินกวาคาปรับตั้ง จะสั่งให Breaker Tie Trip Lockout เพ่ือ Open Loop เพ่ือเปนการลดคาความสูญเสียกําลังไฟฟา (Power Loss) และปองกันความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึนตอหมอแปลง

Tap Differential Control Circuit เปนวงจรควบคุมท่ีทําหนาท่ีตรวจสอบสภาวะการขนานหมอแปลง ใชหลักการตรวจสอบตําแหนง Tap หมอแปลงสองเครื่องท่ีจะทําการขนานกัน หากตําแหนง Tap หมอแปลงท้ังสองเครื่อง แตกตางกันจะไมสามารถสับ Breaker เพ่ือขนานหมอแปลงได

-4-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

CB Fail Relay เปนรีเลยท่ีตรวจสอบสภาวะการทํางานท่ีลมเหลวของ Breaker ในกรณีท่ีเกิดการลัดวงจร และ Breaker ไมสามารถเปดวงจรเพ่ือตัดกระแสลัดวงจรตามฟงกชั่นได ซ่ึงอาจเกิดจากปญหาภายใน Breaker เอง CB Fail Relay จะสั่งใหBreaker ตัวถัดไป ซ่ึงอยูใกลท่ีสุด และครอบคลุมโซนปองกัน Trip Lockout แทน

Sync Check Relay รีเลยท่ีทําหนาท่ีควบคุมจังหวะการสับของ Breaker ใหสับเขาในชวงเวลาท่ีเหมาะสม คือ คาแรงดันไฟฟา, มุมเฟสของแรงดันไฟฟา, ความถ่ีไฟฟา ของท้ังสองดานของ Breaker มีคาใกลเคียงกันตามเกณฑท่ีปรับตั้งไว เพ่ือปองกันปญหาดานเสถียรภาพของระบบซ่ึงอาจทําใหเกิดการ Trip ตอเนื่อง (Cascade Trip) โดย Sync Check Relay สวนใหญจะถูกติดตั้งกับ Breaker ระบบ 115 kV ท่ีมีการสับขนานโหลดระหวางสองแหลงจายหรือระหวางสายสงสองวงจรบอยครั้ง หรือ Breaker ในสายสงท่ีจายไฟแบบวงจรปด (Closed Loop)

Ground Relay รีเลยปองกันกระแส Fault ลงดิน ทําหนาท่ีตรวจจับกระแส Fault ลงดิน

Recloser อุปกรณปองกันท่ีมีกลไกการดับอารคในตัว และมีรีเลยปองกันในตัว (Built in Protection Relay) ซ่ึงสามารถโปรแกรมลักษณะการทํางานของรีเลยปองกันไดในระดับหนึ่ง สงผลให Recloser สามารถทํางานตัดกระแสลัดวงจร ไดคลายคลึงกับ Breaker แตไมเปนตองรับคําสั่งจากรีเลยปองกันเหมือนกับ Breaker โดยRecloser ท่ีใชงานในระบบของ PEA เปนแบบ 3-Pole Operation โดยสวนใหญถูกติดตั้งในระบบจําหนาย (Line Recloser, LRR) มีบางสวนท่ีถูกติดตั้งในสถานีฯ ชั่วคราว เพ่ือใชปองกันฟดเดอรระบบจําหนายแทน Breaker

Drop Out Fuse Fuseชนิดตกขาด ใชในระบบจําหนาย 22/33 kV โดยนิยมติดตั้งบริเวณกอนเขาหมอแปลงจําหนาย รวมถึงติดตั้งบริเวณไลนแยกระบบ 22/33 kV เพ่ือใชเปนระบบปองกันกระแสเกินของหมอแปลงจําหนาย และไลนแยก โดย Drop Out Fuse จะติดตั้งแยกเฟส ทําใหทํางานแยกจากกันโดยสิ้นเชิง โดยกระบอกFuse หรือชุด Fuse จะตกลงสูตําแหนงเปดวงจรโดยอัตโนมัติหลังจากท่ีระบบFuse ไดตัดวงจรแลว (Fuseขาด)

Circuit Switcher ชุดของอุปกรณซ่ีงถูกติดตั้งในสายสงระบบ 115 kV เพ่ือทําหนาท่ีปองกันสายสงท่ีรับไฟจาก Circuit Switcher ดังกลาว โดยท่ัวไปติดตั้งในสายสงท่ีมีระยะทางยาว และโหลดท่ีรับไฟจากสายสงมีปริมาณมาก เพ่ือแยก Section สายสงฯ ลดผลกระทบการเกิดไฟฟาดับเปนบริเวณกวาง โดยชุดของ Circuit Switcher

-5-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

จะประกอบไปดวย Load Break Switch ซ่ึงทําหนาท่ีตัดกระแส, Disconnecting Switch ซ่ึงถูกออกแบบใหทํางานสัมพันธกับการเปด-ปด Load Break Switch และชุดของอุปกรณปองกัน ไดแก Surge Arrestor, CT, VT, Distance Relay, Directional Overcurrent Relay

Circuit Breaker อุปกรณตัดตอนท่ีมีกลไกการดับอารคในตัว ซ่ึงทําใหสามารถปลด/สับ ไดขณะจายโหลดอยู และยังสามารถรับคําสั่งจากรีเลยปองกัน เพ่ือเปดวงจร ตัดกระแสลัดวงจร หรือทํางานตามฟงกชั่นของรีเลยได โดย Breaker ท่ีใชในระบบไฟฟาของ PEA จะเปนแบบ 3-Poles Operation คือ สามารถทํางานปลด/สับ พรอมกันไดท้ัง 3 เฟส

หนวยงานตางๆ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย(กฟผ.)

เปนรัฐวิสาหกิจดานกิจการพลังงานภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงพลังงาน กระทรวงการคลัง ดําเนินธุรกิจหลักในการผลิต จัดใหไดมา และจําหนายพลังงานไฟฟาใหแกการไฟฟานครหลวง (กฟน.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA) และผูใชไฟฟาตามกฎหมายกําหนดและประเทศใกลเคียง โดยแหลงท่ีมาของพลังงานไฟฟาไดมาจากโรงไฟฟาของ กฟผ. เอง โรงไฟฟาเอกชน (IPP., SPP.) และรวมถึงแหลงพลังงานไฟฟาจากประเทศเพ่ือนบาน โดย กฟผ. มีชื่อวาภาษาอังกฤษวา Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT)

การไฟฟานครหลวง (กฟน.) เปนรัฐวิสาหกิจ 1 ดานกิจการพลังงาน ภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงมหาดไทย 1 ดําเนินธุรกิจหลักในการจําหนายไฟฟา 1ใหกับประชาชน ในพ้ืนท่ีจังหวัด 1กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และ0 จังหวัดสมุทรปราการ 1 โดยแหลงของพลังงานไฟฟาหลัก ไดมาการรับซ้ือจาก กฟผ. และรวมถึงผูผลิตไฟฟาเอกชน(SPP., VSPP.) โดย กฟน. มีชื่อเรียกวาอังกฤษวา Metropolitan Electricity Authority (MEA)

การไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA)

เปนรัฐวิสาหกิจ 1 ดานกิจการพลังงาน ภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงมหาดไทย 1 ดําเนินธุรกิจหลักในการจําหนายไฟฟา 1ใหกับประชาชน ในพ้ืนท่ี 73 จังหวัดของประเทศไทย ยกเวนจังหวัด 1กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และ0 จังหวัดสมุทรปราการ 1 โดยแหลงของพลังงานไฟฟาไดมาการรับซ้ือจาก กฟผ. และรวมถึงผูผลิตไฟฟาเอกชน(SPP., VSPP.) โดย PEA มีชื่อเต็มภาษาอังกฤษวา Provincial Electrical Authority

-6-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

ผูผลิตไฟฟาเอกชนขนาดใหญ (IPP.) ผูผลิตไฟฟาเอกชน ท่ีมีกําลังผลิตมากกวา 90 MW เชนโรงไฟฟาราชบุรี โรงไฟฟาระยอง จําหนายพลังงานไฟฟาใหแก กฟผ. มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษวา Independent Power Producer (IPP.)

ผูผลิตไฟฟาเอกชนขนาดเล็ก (SPP.) ผูผลิตไฟฟาเอกชน ท่ีมีกําลังผลิตระหวาง 10 ถึง 90 MW จําหนายพลังงานไฟฟาให กฟผ. และรวมถึงผู ใชไฟท่ัวไป มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษวา Small Power Producer (SPP.)

SPP. (Non-Firm) SPP. ท่ีขนานจายไฟเขาระบบของ PEA หรือ EGAT โดยท่ีไมมีตารางเวลาในการขนานจายไฟเขาระบบท่ีแนนอน รวมถึงมิไดระบุปริมาณโหลดข้ันต่ําท่ีจายเขาระบบ โดยสามารถปลด/สับขนานจายไฟเขาระบบเม่ือใดก็ได แตตองประสานแจงทาง ศูนยฯ แหงชาติ กอนดําเนินการ

SPP. (Firm) SPP. ท่ีขนานจายไฟเขาระบบของ PEA หรือ กฟผ. โดยมีตารางเวลาในการ

ขนานจายไฟเขาระบบท่ีแนนอน รวมถึงมีการระบุปริมาณโหลดข้ันต่ําท่ีจายเขาระบบ (สัญญากับ กฟผ.) หากจายโหลดต่ํากวาสัญญา จะมีการคิดเบี้ยปรับ ดวยเหตุนี้ โดยท่ัวไปคาพลังงานไฟฟาตอหนวยจะสูงกวา SPP (Non-Firm)

ผูผลิตไฟฟาเอกชนขนาดเล็กมาก (VSPP.)

ผูผลิตไฟฟาเอกชน ท่ีมีกําลังผลิตไมเกิน 10 MW จําหนายพลังงานไฟฟาใหแก กฟน. และ PEA มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษวา Very Small Power Producer (VSPP.)

ศูนยฯ แหงชาติ ศูนยควบคุมระบบกําลังไฟฟาแหงชาติ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ทําหนาท่ีควบคุมและสั่งการระบบผลิตกําลังไฟฟา ของ กฟผ. และผูผลิตไฟฟาเอกชน (ยกเวนผูผลิตไฟฟารายเล็กมาก, VSPP)

ศูนยฯ ภาค ศูนยควบคุมกําลังไฟฟาภาคตางๆ ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยไดแก ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเ ฉียงเหนือ ภาคใต และ เขตนครหลวง การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ทําหนาท่ีควบคุมและ สั่งการระบบกําลังไฟฟา ของ กฟผ.(ยกเวนระบบผลิต) ในภูมิภาคท่ีรับผิดชอบ

-7-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

ศูนยฯ ระบบ ศูนยควบคุมระบบไฟฟา 3 การไฟฟานครหลวง ทําหนาท่ีควบคุมและสั่งการระบบสงกําลังไฟฟา 115 และ 69 kV ของ กฟน.

คําศัพทอ่ืนๆ

Voltage Detector อุปกรณท่ีใชตรวจสอบขนาดแรงดันไฟฟา

Current Transformer (CT)

หมอแปลงกระแสไฟฟาขนาดเล็ก ท่ีทําหนาท่ีแปลงกระแสไฟฟาใหต่ําลง และสงตอไปยังเครื่องมือวัด หรือ รีเลยปองกัน โดยท่ีใชในระบบของ PEA เปนแบบ Single Phase

Potential Transformer (PT) หรือ Voltage Transformer (VT)

คือหมอแปลงแรงดันไฟฟาขนาดเล็ก ท่ีทําหนาท่ีแปลงแรงดันไฟฟาใหต่ําลง และสงตอไปยังเครื่องมือวัด หรือ รีเลยปองกัน โดยท่ีใชในระบบของ PEA เปนแบบ Single Phase

TP ชื่อเรียกหมอแปลงกําลังขนาดใหญ ท่ีใชในระบบไฟฟา ของ PEA ซ่ึงทําหนาท่ีแปลงแรงดันจาก 115 kV ลงมาเปน 22/33 kV หรือแปลงแรงดันจาก 69 kV ลงมาเปน 22/33 kV เพ่ือจายโหลดใหแกผูใชไฟระบบจําหนาย

Truck อุปกรณท่ีหอหุม Breaker ระบบ 22/33 kV ในสถานี 22/33 kV แบบ Vacuum Indoor Type โดยสามารถเลื่อนตําแหนง Truck ออกจากตูSwitchgear ไดเพ่ือแยก Breaker ออกจากบัส กรณีท่ีตองการซอมแซม/บํารุงรักษา/เปลี่ยน Breaker ดังกลาว หรือเพ่ือความปลอดภัยในการปฏิบัติงานบํารุงรักษาบริเวณใกลกับ Breaker

Switchgear พ้ืนท่ี/อาณาบริเวณ/ตู ท่ีมีการรวมกันและเชื่อมตอทางไฟฟาของอุปกรณ เชน อุปกรณตัดตอน อุปกรณปองกัน อุปกรณเครื่องวัด เปนตน เพ่ือจุดประสงคในการตัด/จายกระแสไฟฟา

Riser Pole เสาตนท่ีเปนจุดเชื่อมตอระหวางสายเคเบิลใตดิน กับสายไฟฟาเหนือดิน (Overhead System) ท่ีเปนสายเปลือย หรือสายหุมฉนวน

-8-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

Substation Capacitor อุปกรณท่ีทําหนาท่ีชดเชย VAR ใหกับระบบไฟฟา เพ่ือปรับปรุงคา Power Factor ใหดีข้ึน เพ่ิมแรงดันใหระบบไฟฟา โดยติดตั้งอยูในภายในสถานีไฟฟา สําหรับ Substation Capacitor ท่ีใชงานในสถานีไฟฟาของ PEA จะทํางานได 3 STEP, STEP ละ 2.4 MVAR รวมเปนท้ังสิ้น 7.2 MVAR และสามารถตั้งใหทํางานปลด-สับ แบบอัตโนมัติได

Switching Capacitor อุปกรณท่ีทําหนาท่ีชดเชย VAR ใหกับระบบไฟฟา เพ่ือปรับปรุงคา Power Factor ใหดีข้ึน เพ่ิมแรงดันใหระบบไฟฟา โดยติดตั้งอยูในระบบจําหนาย 22/33 kV ของ PEA ทํางานไดเพียง 1 STEP มีพิกัด 1.2 MVAR และ 1.5 MVAR สามารถตั้งการทํางานใหปลด-สับ แบบอัตโนมัติได

Fix Capacitor อุปกรณท่ีทําหนาท่ีชดเชย VAR ใหกับระบบไฟฟา เพ่ือปรับปรุงคา Power Factor ใหดีข้ึน เพ่ิมแรงดันใหระบบไฟฟา โดยติดตั้งอยูในระบบจําหนาย 22/33 kV ของ PEA มีขนาด 0.3 MVAR และ 0.6 MVAR โดยปกติจะสับเขาใชงานในระบบตลอดเวลา ยกเวนกรณีท่ีมีการซอมแซม/บํารุงรักษา

Feeder สายปอนท่ีทําหนาท่ีจายไฟออกจากบัส/สถานีไฟฟา สงไปยังจุดโหลด โดยในระบบของ PEA หมายถึงวงจรจายไฟระบบจําหนาย 22/33 kV

Tap หมอแปลง จุดตอท่ีตอออกมาจากจุดระหวางปลายท้ังสองของชุดขดลวดชุดหนึ่งภายในหมอแปลงไฟฟา เพ่ือใหสามารถเปลี่ยนแปลงจํานวนรอบของขดลวดดาน ปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ ซ่ึงสงผลถึงการเปลี่ยนแปลงระดับแรงดันดานปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ

On Load Tap Changer (OLTC)

อุปกรณซ่ึงทําหนาท่ีปรับ Tap ของหมอแปลง เพ่ือใหไดแรงดันดานทุติยภูมิเปนไปตามคาตองการ โดยออกแบบใหทํางานไดขณะหมอแปลงจายโหลดอยู โดย OLTC สามารถตั้งคาใหทํางานแบบ Manual หรือ Auto ก็ได การทํางานแบบ Auto จะตองทํางานควบคูกับ Relay ปรับแรงดันไฟฟา (Voltage Regulator Relay)

Grounding คือ การตออุปกรณไฟฟาเขากับจุดท่ีมีศักยไฟฟาเปนศูนย หรือดิน (Ground) โดยการตอสายลีดระหวางอุปกรณไฟฟาและแทง Ground rod/Ground Grid

-9-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

หรือการสับ Ground Switch ท่ีมีอยูแลว เพ่ือทําใหศักยไฟฟาของอุปกรณไฟฟานั้นๆ เทากับศักยไฟฟาของดิน หรือใกลเคียงกับศูนย

Underground Cable สายเคเบิลใตดิน เปนสายตัวนําหุมฉนวนแบบ Fully Insulated Conductor ชนิดหนึ่ง ปจจุบัน PEA ใชงานเปนชนิดฉนวน XLPE ท้ังระดับแรงดัน 22/33 kV และ 115 kV

Automatic Transfer Scheme (ATS)

การสวิตชิ่งอัตโนมัติเพ่ือไปรับไฟจาก แหลงจายไฟสํารองภายในเวลาไมเกิน 1 นาที เม่ือเกิดเหตุการณไฟฟาดับจากแหลงจายไฟหลัก โดยใชหลักการ ตรวจจับแรงดันไฟฟา โดยใชกับสถานีไฟฟา/โหลด ท่ีรับไฟจาก 2 แหลงจายแบบ Opened Loop

Service Transformer (TS)

หมอแปลงลดระดับแรงดันไฟฟา เพ่ือจายกําลังไฟฟาใหกับอุปกรณตางๆ ภายในสถานีไฟฟา

Unbalance Load ภาวะท่ีระบบไฟฟา 3 เฟส มีแรงดันไฟฟา หรือโหลดไมเทากัน

ชุดปฏิบัติงาน Hotline ชุดปฏิบัติงานท่ีสามารถทํางานซอมแซม/แกไขระบบไฟฟา 22/33 kV ข้ึนไปได ไดโดยไมตองดับไฟฟา

หมอแปลงจําหนาย หมอแปลงลดระดับแรงดันไฟฟา จากระดับแรงดัน 22/33 kV ลงมาเปน 400/230 โวลต เพ่ือจายโหลดใหแกผูใชไฟแรงดันต่ํา

Load Buster อุปกรณท่ีใชปลด Drop Out Fuse และ Disconnecting Switch ในระบบจําหนาย 22/33 kV ขณะท่ีมีกระแสโหลด ทําหนาท่ีเปน Interrupter ในการดับอารคของกระแสโหลด ชวยปองกันการเกิดลําอารคซ่ึงจะเปนอันตรายกับผูปฎิบัติงานปลด Drop Out Fuse หรือ Disconnecting Switch

Automatic Voltage Regulation (AVR)

หมอแปลงรักษาระดับแรงดันไฟฟา ซ่ึงทํางานปรับแรงดันดานทุติยภูมิโดยอัตโนมัติ ท้ัง 3 เฟส เพ่ือใหระดับแรงดันท้ัง 3 เฟส อยูในเกณฑมาตรฐาน

-10-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

ตามท่ีมีการตั้งคาไว (Voltage Set Point) AVR ใชในการแกไขปญหาแรงดันตกปลายสาย โดยสวนใหญติดตั้งในระบบจําหนาย 22/33 kV ท่ีมีระยะทางยาว

Single-Phase Step Voltage Regulator (SVR)

อุปกรณรักษาระดับแรงดันไฟฟาอัตโนมัติ เพ่ือใหระดับแรงดันไฟฟาอยูในเกณฑท่ีมาตรฐานกําหนด ใชในการแกไขปญหาแรงดันตก โดยสามารถปรับแรงดันไฟฟาแบบแยกแตละเฟสได

-11-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2. ระบบไฟฟากําลัง 1. โครงสรางของระบบกําลังไฟฟา

เปนท่ีทราบกันดีวา การไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA) ทําหนาท่ีจําหนายพลังงานไฟฟาใหแกผูใชไฟฟา ซ่ึงก็คือประชาชนทุกภาคสวน ในเขต 74 จังหวัด ของประเทศไทย โดยเริ่มตน กฟผ. จะทําหนาท่ีผลิต/จัดหาพลังงานไฟฟา หลังจากนั้น จะสงจายพลังงานไฟฟาผานระบบสง ของ กฟผ. ในระดับแรงดัน 500, 230, 115 และ 69 kV มายังจุดรับซ้ือไฟ ซ่ึงมีกระจายอยูท่ัวประเทศ และทาง PEA จะสรางระบบกําลังไฟฟาของ PEA มารองรับอีกตอหนึ่ง เพ่ือรับซ้ือพลังงานไฟฟา และสงตอผานระบบของ PEA ไปยังผูใชไฟฟา

รูปท่ี 1 การสงจายพลังงานไฟฟาจากระบบผลิตไปสูผูใชไฟฟา

-12-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

รูปท่ี 2 แผนภาพแสดงการสงจายกําลังไฟฟาจาก EGAT ไปสูผูใชไฟของ PEA

หนวยงาน ระบบสง ระบบจําหนาย

EGAT 500kV, 230kV, 115kV, 69kV,

300kV HVDC

MEA 230kV, 115kV, 69 kV 24kV, 12kV, 400/230V

PEA 115kV, 69kV 33kV, 22kV, 400/230V

ตารางท่ี 1 แสดงระดับแรงดันไฟฟาท่ีใชงานในระบบของ EGAT, MEA และ PEA

จากรูปท่ี 1 และ 2 แสดงโครงสรางของระบบกําลังไฟฟาโดยภาพรวม ตั้งแตการผลิต จนกระท่ัง ไปสูผูใชไฟฟา หากพิจารณาเฉพาะในสวนของ PEA สวนของระบบแรงดัน 115 kV

-13-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

รวมถึงสถานีไฟฟา จะถูกเรียกโดยรวมวา ระบบสง และสายจําหนายท่ีออกจากสถานีไฟฟา 22/33 kV ไปจนถึงผูใชไฟระบบแรงต่ํา จะถูกเรียกโดยรวมวา ระบบจําหนาย

1.1 ระบบสง

ระบบสง คือสวนท่ีทําหนาท่ีรับพลังงานไฟฟาจากแหลงจายระบบ 115 kV และสงตอไปยังจุดโหลด (สถานีไฟฟา) ตางๆ ผานสายสงระบบ 115 kV โดยระบบสงของ PEA สวนใหญจะมีลักษณะวงจรการจายไฟแบบ Open Loop ในสภาวะปกติ กลาวคือสถานีไฟฟาจะรับไฟจากสายสงวงจรเดียว ซ่ึงหากเกิดเหตุขัดของ ทําใหสายสงวงจรดังกลาวไมสามารถจายไฟได จะทําใหสถานีไฟฟาเกิดไฟฟาดับ แตจะสามารถสวิตชิ่งยายโหลดสถานีไฟฟามารับไฟจากอีกสายสงอีกวงจรหนึ่งได แตในสวนของบางพ้ืนท่ีท่ีผูใชไฟมีความตองการความม่ันคงในการรับไฟคอนขางสูง เชน นิคมอุตสาหกรรม ซ่ึงไมตองการใหเกิดเหตุการณไฟดับบอยครั้ง PEA จะพิจารณาจายไฟแบบ Closed Loop ซ่ึงจะมีความม่ันคงสูงกวา โดยในภาวะปกติ สถานีไฟฟาจะเชื่อมตอทางไฟฟากับสายสงอยางนอยสองวงจร ทําใหเม่ือสายสงวงจรใดวงจรหนึ่งเกิดเหตุขัดของ สายสงอีกวงจรหนึ่งยังสามารถรับภาระโหลดและจายไฟตอไปได ทําใหไมสงผลใหสถานีไฟฟาเกิดไฟฟาดับ

รูปท่ี 3 ตัวอยางการจายไฟแบบ Opened Loop

-14-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

รูปท่ี 4 ตัวอยางการจายไฟแบบ Closed Loop

องคประกอบของระบบสง มีดังนี้ 1.1.1 แหลงจายพลังงานไฟฟา

แหลงจายพลังงานไฟฟาหลักของระบบของ PEA ไดจากโครงขายระบบกําลังไฟฟาของ กฟผ. ซ่ึงกระจายอยูทุกแหงท่ัวประเทศ โดย PEA จะเชื่อมตอกับ กฟผ. ณ จุดรับซ้ือไฟ ท่ีสถานีไฟฟาแรงสูงของ กฟผ. ในระดับแรงดันไฟฟา 115 kV โดยหลังจากจุดรับซ้ือไฟจะเปนระบบกําลังไฟฟาของ PEA ซ่ึงโดยปกติ PEA จะสรางสถานีไฟฟาเพ่ือใชในการบริหารจัดการพลังงานไฟฟา และสงตอไปยังจุดโหลดตางๆ

นอกจากนั้น ยังมีแหลงจายพลังงานไฟฟา จากโรงไฟฟาเอกชนรายเล็ก (Small Power Producer, SPP.) และโรงไฟฟาเอกชนรายเล็กมาก (Very Small Power Producer, VSPP.) ซ่ึงสามารถเชื่อมตอกับสายสงระบบ 115 kV ของ PEA ท้ังนี้ ในสวนของ SPP. ทาง PEA ตองรับซ้ือไฟจาก SPP. ผาน กฟผ. อีกตอหนึ่ง ตามขอกําหนดการรับซ้ือไฟ

-15-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

รูปท่ี 5 ตัวอยางสถานีไฟฟาระบบ 115 kV แบบกลางแจง (Outdoor Substation) 1.1.2 สถานีไฟฟา

สถานีไฟฟา คือองคประกอบท่ีทําหนาท่ีรับพลังงานไฟฟา เพ่ือจัดสรรปริมาณโหลด และสงตอไปยังจุดโหลดตางๆ ผานระบบสายสง และระบบสายจําหนาย โดยภายในสถานีไฟฟาจะประกอบไปดวยอุปกรณตัดตอน ระบบปองกัน หมอแปลง เมนบัส ฯลฯ ประกอบกันเปนสถานีไฟฟา เพ่ือจุดประสงคในการเพ่ิมความม่ันคงเชื่อถือได และพิกัดการจายโหลด ท้ังนี้ หากแบงสถานีไฟฟาท่ีใชงานระบบของ PEA ตามระดับแรงดันไฟฟา จะสามารถออกไดเปน 2 แบบ คือ

a) สถานีไฟฟาระบบ 115 kV สถานีไฟฟาจะรับไฟในระบบแรงดัน 115 kV เขามาท่ีบัส

เพ่ือจัดสรร และจายออกไป โดยหากเปนสถานีไฟฟาตนทาง ท่ีรับไฟจากจุดซ้ือไฟ ของ

กฟผ. และจายผานสายสงตอไปยังสถานีไฟฟาอ่ืนๆ หรือสถานีไฟฟาปลายทาง จะเรียก

สถานีลักษณะนี้วา Switching Substation โดยสถานีลักษณะนี้ จะรับภาระโหลด

ปริมาณมาก โดยท่ัวไปจึงตองถูกออกแบบใหมีความม่ันคงสูง

หากสถานีไฟฟาระบบ 115 kV ตั้งอยูใกลกับจุดโหลด จะมีหมอแปลงกําลังไฟฟาขนาดใหญ (TP) ติดตั้งอยู เพ่ือทําหนาท่ีแปลงแรงดันไฟฟาจาก 115 kV ลงเปน 22, 33 kV เพ่ือสงตอไปยังผูใชไฟในพ้ืนท่ีใกลเคียง

b) สถานีไฟฟาระบบ 22 และ 33 kV

-16-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

ทําหนาท่ีรับพลังงานไฟฟาจากสถานีไฟฟาระบบ 115 kV ของ PEA (ผาน

หมอแปลง TP) หรืออาจรับจากสถานีไฟฟาแรงสูงของ กฟผ. (ผานหมอแปลง KT) และ

กระจายโหลดสงไปยังระบบจําหนาย ผานวงจรฟดเดอรตางๆ โดยท่ัวไปสถานีไฟฟา

ระบบ 22 หรือ 33 kV จะมีวงจรฟดเดอรท้ังสิ้น 10 ฟดเดอร จะมีบางสถานีท่ีรับภาระ

โหลดมาก อาจมีถึง 15 วงจรฟดเดอร โดยอาจรับไฟจากหมอแปลง (TP, KT) เพียงหนึ่ง

เครื่อง หรือหากรับภาระโหลดเยอะ อาจรับไฟมากถึง 3 เครื่อง

สถานีไฟฟาระบบ 22 และ 33 kV จะมีท้ังแบบกลางแจง (Outdoor Type) และในรม (Indoor Type) โดยสถานีท่ีถูกออกแบบกอสรางในระบบของ PEA ในระยะหลังจะเปน Indoor Type ท้ังหมด ซ่ึงอุปกรณตัดตอนท้ังหมด บัสบาร จะถูกบรรจุในตูระบบปด ซ่ึงอัดฉนวนไวภายในเพ่ือปองกันการลัดวงจร โดย PEA ติดตั้งใชงานสถานี Indoor Type 2 แบบ คือแบบ Vacuum Insulated Switchgear (VIS) ใชสุญญากาศเปนฉนวนค่ันระหวางอุปกรณไฟฟาและตัวนําไฟฟา และแบบ Gas Insulated Switchgear (GIS) ซ่ึงใชกาซ SF6 เปนฉนวนค่ันระหวางอุปกรณไฟฟาและตัวนําไฟฟา โดยในระบบ 22 kV จะใชงานแบบ VIS แตในระบบ 33 kV จะใชงานแบบ GIS เนื่องจากมีระดับแรงดันท่ีสูงกวา จึงตองการความเปนฉนวนมากกวา ซ่ึงกาซ SF6 มีความเปนฉนวนมากกวา สุญญากาศ ท่ีสภาวะเดียวกัน (ปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ เดียวกัน)

-17-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

รูปท่ี 6 ตัวอยางสถานีไฟฟาระบบ 22 kV แบบ VIS Indoor Substation

1.1.3 ระบบสายสง

ระบบสายสง เปนองคประกอบท่ีสําคัญ ในการสงพลังงานไปจุดโหลดตางๆ ท่ัวประเทศ เปรียบเสมือนทอประปา ท่ีลําเลียงน้ําจากแหลงน้ําไปสูผูบริโภค สายสงจะทําหนาท่ีสงพลังงานจากแหลงจาย หรือจากสถานีไฟฟาหนึ่ง ไปยังสถานีไฟฟาปลายทางตางๆ โดยสายสงสวนใหญ ของ PEA จะอยูเหนือดิน ใชสายเปลือย โดยมีลูกถวย คอน เสา เปนตัวรับน้ําหนัก ใหสายสงพาดผาน

รูปท่ี 7 ตัวอยางสายสงระบบ 115 kV

-18-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

1.1.4 ผูใชไฟฟาระบบ 115 kV คือผูใชไฟรับพลังงานไฟฟา โดยตรงจากสายสงระบบ 115 kV ของ PEA ใชพลังงาน

ไฟฟาในปริมาณมาก อาจมากถึงหลายสิบ MW.hr ทําใหตองรับซ้ือไฟระดับแรงดัน 115 kV เนื่องจากมีอัตราคาพลังงานไฟฟาท่ีถูกกวาแบบแรงดันต่ํากวา โดยในสวนพ้ืนท่ีของผูใชไฟจะมีสถานีไฟฟาเปนของตนเอง เพ่ือแปลงระดับแรงดันไฟฟาใชงานเอง ผูใชไฟประเภทนี้ สวนใหญจะเปนผูประกอบการรายใหญ ในภาคธุรกิจตางๆ เชน โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรมขนาดใหญ เปนตน

1.2 ระบบจําหนาย

คือสวนท่ีรับพลังงานไฟฟาจากสถานีไฟฟาระบบ 22 หรือ 33 kV และแจกจายพลังงานไฟฟาไปยังผูใชไฟฟาตางๆ ผานฟดเดอรระบบจําหนาย โดยระบบจําหนายของ PEA จะมีลักษณะวงจรการจายไฟแบบ Radial คือวงจรฟดเดอรรับไฟทางเดียว และในกรณีเกิดเหตุขัดของในฟดเดอรดังกลาว จะสามารถยายโหลดบางสวนไปรับไฟจากฟดเดอรขางเคียงได ผาน Tie Switch โดยองคประกอบของระบบจําหนาย มีดังนี้

1.2.1 ระบบจําหนายแรงสูง จะถูกพิจารณาตั้งแตสวนท่ีออกจากสถานีไฟฟา มีระดับแรงดัน 22 หรือ 33 kV

ประกอบดวยสายฟดเดอรท่ีสวนใหญพาดผานเหนือดิน โดยมีลูกถวย คอนและเสารองรับสาย บางชวงของฟดเดอรอาจฝงอยูใตดิน แลวแตตามสภาพพ้ืนท่ี โดยอุปกรณรองรับสายตางๆ จะมีขนาดท่ีเล็กกวาระบบ 115 kV และในฟดเดอรจะมีการติดตั้งอุปกรณตัดตอนอยูเปนระยะ เชน โหลดเบรกสวิตซ สวิตซใบมีด เปนตน เพ่ือใชในการแบง Section ของฟดเดอร เพ่ือใชในกรณีเม่ือเกิดเหตุขัดของใน Section ใด Section หนึ่ง จะทําใหสามารถแยก Section นั้นออกจากระบบได นอกจากนี้ยังมีการติดตั้งหมอแปลงจําหนาย เพ่ือแปลงแรงดันไฟฟาลงเปน 400/230 V สงไปยังผูใชไฟ ผานระบบจําหนายแรงต่ํา และอาจมีการติดตั้งอุปกรณเพ่ิมแรงดันไฟฟา(AVR) และอุปกรณชดเชยคา VAR (Switching Capacitor) ติดตั้งเพ่ิมในระบบตามความจําเปน

-19-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

รูปท่ี 8 ตัวอยางอุปกรณท่ีถูกติดตั้งในระบบจําหนายแรงสูง

1.2.2 ระบบจําหนายแรงต่ํา 400/230 โวลต รับไฟจากหมอแปลงจําหนาย สงตอไปยังบานเรือน หมูบาน ผูใชไฟรายเล็กตางๆ

โดยลักษณะการสงพลังงานจะเปนแบบ 3 เฟส 4 สาย กรณีโหลดเยอะ และอาจใชแบบ 1 เฟส 2 สาย กรณีโหลดนอย โดยสายระบบจําหนายแรงต่ํา สวนใหญจะติดตั้งอยูใตระบบจําหนายแรงสูง

1.2.3 ผูใชไฟฟา ผูใชไฟฟาในระบบจําหนาย แบงออกตามระดับแรงดันไฟฟา ไดดังนี้

a) ผูใชไฟฟาระบบ 22 หรือ 33 kV คือผูใชไฟภาคธุรกิจตางๆ ท่ีมีขนาดรองลงมา

จากผูใชไฟระบบ 115 kV รับไฟโดยตรงจากสายระบบจําหนาย 22 หรือ 33 kV

โดยผูใชไฟจะมีหมอแปลงระบบจําหนายเปนของตนเอง เพ่ือใชแปลงระดับไฟฟา

ใชงานภายในพ้ืนท่ีของตนเอง

b) ผูใชไฟฟาระบบแรงต่ํา 400/230 V คือ บานพักอาศัย ประชาชนท่ัวไป ธุรกิจ

ขนาดเล็ก ท่ีใชไฟฟาปริมาณนอย ในหนวย kW.hr จะรับไฟจากระบบจําหนาย

แรงต่ํา

-20-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3. ความรูทั่วไป

3.1 ระบบปองกันท่ีใชในระบบกําลังไฟฟาของ PEA

1. ความรูเบื้องตนเก่ียวกับระบบปองกัน

1.1 ท่ีมาของการมีระบบปองกันในระบบกําลังไฟฟา ความผิดพรองในระบบกําลังไฟฟา (Fault) คือ ปรากฏการณตางๆ ท่ีเกิดตอระบบกําลังไฟฟาท้ัง

โดยทางตรง หรือทางออม ซ่ึงทําใหคาพารามิเตอรทางไฟฟา เชน กระแสไฟฟาหรือแรงดันไฟฟา ใน

วงจรไฟฟามีการเปลี่ยนแปลงไปจากคาปกติ โดยความเปลี่ยนแปลงอาจสงผลใหอุปกรณไฟฟาอ่ืนๆ ใน

ระบบ ไดรับความเสียหาย เชน การเกิดการลัดวงจร การเกิดปรากฏการณฟาผา การปลด-สับอุปกรณบาง

ชนิด ซ่ึงทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของแรงดันหรือกระแสไฟฟาอยางกระทันหัน เปนตน

จากความผิดพรองในระบบกําลังไฟฟา (Fault) ท่ีอาจเกิดข้ึนไดตลอดเวลาในระบบกําลังไฟฟา

ดังนั้นจึงมีการออกแบบระบบปองกันข้ึน เพ่ือใชในการปองกันความเสียหายตออุปกรณไฟฟาตางๆ ใน

กรณีท่ีเกิด Fault รวมถึงการปองกันระบบกําลังไฟฟาหลักใหคงอยู โดยทําการตัดระบบไฟฟาสวนนอยท่ี

เกิด Fault ออกไปกอน

1.2 องคประกอบของระบบปองกัน

ระบบปองกัน ประกอบดวยรีเลยปองกัน อุปกรณตัดตอน และระบบสื่อสาร โดยรีเลยปองกันทํา

หนาท่ีตรวจจับ Fault แบบตางๆ ตามหนาท่ีของตัวเองท่ีไดรับการออกแบบมา โดยเม่ือตรวจจับ Faultได

จะสงคําสั่งไปยังอุปกรณตัดตอน (โดยท่ัวไปใช Breaker) เพ่ือตัดวงจรสวนท่ีเกิด Fault ออกจากระบบ

รวมท้ังการสงการแจงเตือนในรูปของสัญญาณไฟ หรือเสียง ใหผูดูแลระบบกําลังไฟฟาไดรับทราบ ซ่ึงการ

ตรวจจับ Fault บางชนดิ อาจตองใชรีเลยมากกวาหนึ่งตัว การสื่อสารระหวางรีเลยกับรีเลย หรือรีเลยกับ

อุปกรณตัดตอน จะตองมีระบบสื่อสารเปนตัวกลางในการรับสงขอมูลดังกลาว

1.3 หลักการเบื้องตนของรีเลยปองกัน

รีเลยปองกัน แบงตามลําดับการทํางานได 2 ประเภท คือ

1) รีเลยหลัก (Primary Relay) เปนรีเลยท่ีใชปองกัน โดยปกติการปองกันจะแบงเขตปองกันไว

เฉพาะ โดยเม่ือเกิด Fault ข้ึนภายในเขตปองกัน รีเลยหลักจะสั่งใหBreakerทุกตัวในเขต

ปองกันนั้นเปดวงจร (Trip) โดยเขตปองกันของรีเลยหลักจะจัดแบงใหคาบเก่ียวกัน

(Overlap) เพ่ือปองกันมิใหมีจุดบอดข้ึนในระบบปองกัน รีเลยหลักท่ีทํางานถูกตองจะสั่งให

Breaker ทํางานนอยท่ีสุด โดยจะเปดวงจรเฉพาะสวนท่ีเกิด Fault ข้ึนเทานั้น

2) รีเลยทํางานสํารอง (Back-up Relay) จะใชปองกันแทนรีเลยหลัก กรณีท่ีรีเลยหลักไมทํางาน

ซ่ึงอาจเกิดข้ึนเนื่องจากวงจรทริป (Trip Circuit) ของรีเลยหลักเกิดขัดของ โดยเวลาการ

ทํางานของรีเลยทํางานสํารองจะชากวารีเลยหลัก โซนการปองกันของรีเลยสํารองอาจเปน

-21-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

โซนเดียวกันกับรีเลยหลัก หรืออาจมีโซนการปองกันท่ีมากกวา จึงอาจทําใหพ้ืนท่ีสวนท่ีไมไดมี

Fault เกิดข้ึน เกิดไฟดับไปดวย เม่ือรีเลยสํารองทํางานแทนรีเลยหลัก

1.4 โซนการปองกันของรีเลยปองกัน

ระบบการปองกันการผลิตไฟฟา ระบบสงและการจายไฟฟานั้นจะมีเขตรับผิดชอบในการปองกัน

เม่ือมีFaultเกิดข้ึนในสวนตางๆ โดยแตละสวนนั้นจะทําหนาท่ีปองกันอยางเหมาะสม ในการปองกันระบบ

ไฟฟาจะแบงเขตปองกันตามชนิดของอุปกรณ ไดแก

- เขตการปองกันเครื่องกําเนิด

- เขตการปองกันหมอแปลง

- เขตการปองกันบัส

- เขตการปองกันสายสงหรือสายจําหนาย

- เขตการปองกันมอเตอร

รูปท่ี 1 การแบงเขตการปองกันระบบไฟฟา

จากรูปท่ี 1 แสดงเขตปองกันระบบไฟฟา ซ่ึงโซนปองกันจะออกแบบมิใหเกิดจุดบอดในการ

ปองกันอยางเชน เขตการปองกันท่ี 1 จะคาบเก่ียวกับเขตการปองกันท่ี 3 และเขตการปองกันท่ี 3 จะคาบ

เก่ียวกับเขตการปองกันท่ี 4 เปนตน

ท่ีมา : ธนบูรณ ศศิภานุเดช (2538 : 315)

-22-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

1.5 ลักษณะเฉพาะท่ีสําคัญของรีเลยปองกัน

1) ความไว (Sensitivity) รีเลยจะตองมีความไวพอท่ีจะรูถึงความผิดปกติซ่ึงอาจจะเกิดข้ึนใน

ระบบไมวาจะอยูในสภาพใดก็ตาม เพ่ือใหสามารถทํางานไดแนนอนเม่ือถึงเวลาจะเปนท่ีตอง

ทํางาน

2) ความเชื่อถือ (Reliability) รีเลยตองทํางานไดถูกตองตามคุณสมบัติและขอบเขตท่ีกําหนดให

ทํางานและหลีกเลี่ยงการทํางานท่ีไมจําเปน

3) ความงาย (Simplicity) รีเลยตองมีโครงสรางงายในการติดตั้ง ในการถอดเขาออกเพ่ือการ

บํารุงรักษาและงายตอการตรวจสอบความถูกตอง

4) ความสามารถแยกแยะ (Selectivity) รีเลยจะตองแยกแยะไดวา ในสภาวะใดท่ีตองทํางาน

ทันทีหรือในสภาวะใดท่ีไมตองทํางาน หรือตองทํางานตามเวลาท่ีหนวงไว

5) ความเร็ว (Speed) รีเลยตองทํางานโดยเร็ว เพ่ือใหมีการตัดตอนสวนท่ีเกิดFaultออกจาก

ระบบใหเร็วท่ีสุดเทาท่ีเปนไปได ท้ังนี้เพ่ือชวยลดความเสียหายท่ีอาจจะเกิดข้ึน

6) ความประหยัด (Economy) ควรเลือกรีเลยปองกันใหถูกสุด แตสามารถใหการปองกันท่ี

สมบูรณ

1.6 ชนิดของรีเลยปองกัน

ตัวอยางของรีเลยปองกัน ท่ีใชกันอยางแพรหลาย ในระบบกําลังไฟฟา มีดังนี้

1) รีเลยกระแสเกิน (Overcurrent Relay) [50,51,50/51] มีหนาท่ีตัดวงจร เม่ือคากระแสของ

ระบบเกินคาท่ีตั้งไว โดยในเวลาการทํางานอาจจะทํางานทันทีในเวลา 10 – 40 ms เรียกวา

แบบ Instantaneous Overcurrent Relay (50) หรือทํางานโดยมีการหนวงเวลา เรียกวา

Time Delay Overcurrent Relay (51) มีอินพุต เปนคากระแส

รูปท่ี 2 แสดง Wiring Diagram ของรีเลยกระแสเกิน

-23-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

รูปท่ี 3 แสดงลักษณะสมบัติเวลา กระแสของ Overcurrent Relay

2) รีเลยกระแสเกินแบบรูทิศทาง [67] หลักการทํางานเหมือนกับรีเลยกระแสเกิน [50,51] แต

สามารถกําหนดทิศทางของกระแส Fault ท่ีจะใหรีเลยตัดกระแสได วาเปนกระแส Fault

ทิศทางท่ีไหลมาจากดานแหลงจาย หรือไหลมาจากดานโหลด โดยรีเลยกระแสเกินแบบรู

ทิศทาง [67] จะมีอินพุตเปนคากระแส และแรงดันไฟฟา โดยแรงดันไฟฟา จะถูกนํามา

คํานวณเพ่ือวิเคราะหทิศทางการไหลของกระแส Fault

3) รีเลยผลตาง (Differential Relay) [87] รีเลยวัดคาผลตาง จะทํางานโดยอาศัยหลักการวัด

ผลรวมของเวคเตอรปริมาณไฟฟาท่ีไหลเขาขอบเขตการปองกัน และไหลออกจากขอบเขต

ปองกัน รีเลยประเภทนี้ใชในการปองกันการผิดพรองภายในอุปกรณไฟฟาตางๆ เชน มอเตอร

เครื่องกําเนิดไฟฟาหมอแปลงไฟฟา หรือเมนบัส เปนตน การทํางานของรีเลยประเภทนี้จะใช

CT ตอท่ีวงจรดานหนาและดานหลังของอุปกรณไฟฟา การตอข้ัวของ CT จะตองถูกตอง

เพ่ือใหกระแสผลตางท่ีปอนใหรีเลยเปนศูนย ในสภาวะปกติหรือเกิดการผิดพรองนอกเขต

-24-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

ปองกัน และกระแสผลตางท่ีปอนใหรีเลยจะไมเปนศูนยกรณีท่ีเกิดการผิดพรองในเขตปองกัน

ซ่ึงจะทําใหรีเลยสามารถตรวจสอบจับความผิดปกติดังกลาวได

รูปท่ี 4 แสดง Wiring Diagram อยางงายของ Differential Relay

4) รีเลยระยะทาง (Distance Relay) [21] อาศัยหลักการวัดคาความตานทาน (Impedance)

ของจุดท่ีเกิดการผิดพรองจนถึงจุดท่ีติดตั้ง CT และ VT โดยใชการวัดคากระแสและแรงดัน

แลวนํามาคํานวณคาอิมพีแดนซ และนําคาอิมพีแดนซท่ีคํานวณได ไป Plot บน R-X

Diagram ของรีเลย เพ่ือดูวาอยูในขอบเขตการปองกันหรือไม หากจุดท่ี Plot อยูในขอบเขต

การปองกันแสดงวา Fault เกิดในโซนการปองกัน รีเลยระยะทางจะสั่ง Breaker Trip เปด

วงจรเพ่ือตัดกระแส Fault ท้ังนี้รีเลยระยะทางจะแบงเปนหลายประเภท ตามลักษณะการ

กําหนดขอบเขตการปองกันใน R-X Diagram เชน Reactance relay, Impedance relay,

Mho relay, Off set mho relay, Quadrilateral Relay เปนตน

รูปท่ี 5 แสดง Wiring Diagram อยางงาย ของรีเลยระยะทาง

-25-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

รูปท่ี 6 แสดงขอบเขตการปองกันของ Distane Relay แบบตางๆ บน R-X Diagram

-26-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

5) รีเลยแรงดัน (Voltage Relay) , Overvoltage Relay [59] , Undervoltage Relay [27] เปนรีเลย

ท่ีมีหนาท่ีตรวจจับความผิดปกติของแรงดันมากเกินไปหรือนอยเกินไป อาจจะทํางานแบบ

ทันทีทันใดหรือมีการหนวงเวลาก็ได

รูปท่ี 7 แสดง Wiring Diagram อยางงาย ของรีเลยแรงดัน (Voltage Relay)

6) รีเลยปดซํ้าอัตโนมัติ (Auto-Reclosing Relay) [79] ทําหนาท่ีตรวจสอบความพรอมของระบบ

ไฟฟากอนใหสัญญาณปดวงจร (Close Signal) ไปยัง Circuit Breaker โดยไดรับสัญญาณกระตุน

(Initiate) จากรีเลยปองกันวงจรสายสงไฟฟา (Line Protection Relay) ซ่ึงสามารถตรวจพบ

Faultและสั่งให Trip Circuit Breaker

รูปท่ี 8 แสดง Wiring Diagram อยางงาย ของรีเลยปดซํ้าอัตโนมัติ (Auto-Reclosing Relay)

-27-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

7) รีเลยซิงโครไนซ (Synchronizing Relay) [25] ใชเพ่ือตรวจสอบวงจรสองวงจรมีความถ่ีและ

มุมเฟสของแรงดันตามท่ีกําหนดใหหรือไม เพ่ือท่ีจะนําสองวงจรมาตอขนานกัน

รูปท่ี 9 แสดง Wiring Diagram อยางงาย ของรีเลยซิงโครไนซ (Synchronizing Relay)

8) Lockout Relay [86] ใชรวมกับ Differential Relay, CB Fail Relay หรือรีเลยปองกันใดๆ

ก็ตาม ท่ีเม่ือทํางานสั่ง Breaker Trip แลว ตองการใหมีการตรวจสอบอุปกรณกอนการนํา

อุปกรณกลับเขาใชงาน เนื่องจากอุปกรณอาจมีราคาแพง หรือเปนอุปกรณท่ีมีความสําคัญ

เชน หมอแปลง เครื่องกําเนิดไฟฟา หรือแมกระท่ัง Breaker เปนตน โดย Lockout Relay

จะมีระบบ Interlock to Close Circuit Breaker คือ เม่ือรีเลยหลักทํางานสั่งทริป Breaker

ผาน Lockout Relay หลังจาก Breaker เปดวงจรไปแลว จะไมสามารถสั่งปดกลับ Breaker

ได โดยตองใหผูปฏิบัติงานมาทําการ Reset Lockout Relay ใหกลับมาอยูท่ีสถานะปกติท่ี

ตูควบคุมใกลกับตัวอุปกรณเสียกอน จึงจะสามารถปดกลับ Breaker ได เพ่ือเปนการบังคับให

มีการตรวจสอบท่ีตัวอุปกรณกอนทุกครั้ง กอนปดกลับ Breaker เพ่ือความปลอดภัยตอ

อุปกรณ และผูปฏิบัติงาน

-28-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

9) รีเลยความถ่ี (Frequency Relay) [81] รีเลยความถ่ีจะใชตรวจจับการเกิดความถ่ีสูงหรือต่ํา

เกินไป รีเลยความถ่ีสวนมากจะมีการปรับความถ่ีและแรงดันของการทํางานของรีเลยได

ความเร็วของการทํางานของรีเลยจะข้ึนอยูกับความแตกตางของความถ่ีจริงกับความถ่ีท่ีตั้งไว

รีเลยความถ่ีบางชนิดจะทํางานเม่ือความถ่ีแตกตางจากคาท่ีตั้งไว บางชนิดจะทํางานโดยอาศัย

อัตราความเปลี่ยนแปลงของความถ่ี การใชงานปกติของรีเลยประเภทนี้คือ จะใชในการปลด

โหลด เม่ือความถ่ีตกลง (Load Shedding) เพ่ือทําใหระบบกลับสูเสถียรภาพอีกครั้ง

STEP Frequency(Hz) RELAY TIME(msec) BREAKER TIME(msec) LOAD TO SHED (%)

1 49.0 150 100 10

2 48.8 150 100 10

3 48.6 150 100 10

4 48.3 150 100 10

5 47.9 150 100 10

CUT Off Under Voltage Setting = 0.8 pu.

ตารางท่ี 1 แสดงคาปรับตั้งและเง่ือนไขการทํางาน Underfrequency Relay ของ กฟผ. และ PEA

ตารางท่ี 2 ตัวอยางการปรับตั้ง Underfrenquency Relay ของเขต กฟก.1 ป 2557

-29-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2. รีเลยปองกันท่ีใชงานในระบบกําลังไฟฟาของ PEA

รีเลยปองกันท่ีใชงานในระบบกําลังไฟฟาของ PEA โดยสวนใหญจะถูกติดตั้งในสถานีไฟฟาของ

PEA โดยรายละเอียดของรีเลยปองกันท่ีติดตั้งในสถานีไฟฟา มีดังนี้

1) สถานีไฟฟาระบบ 115 kV จัดบัสแบบ Main and transfer

รูปท่ี 10 Wiring Diagram ระบบปองกันของสถานีฯ ระบบ 115 kV จัดบัสแบบ Main and transfer

-30-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

87T 50,50N 21-1 21-2 21-3 27

87REF 51,51N 21N-1 21N-2 21N-3 59

86B

HS HS HS HS HS HS HS

ER ER ER ER ER ER ER

01YB-01 TL TL TL TL TL TL TL

02YB-01 TL TL TR T T T T TL

0BYB-01 TL TL TL TL TL TL TR T T T T TL

1BVB-01 TL TL TL TLFunc

tion

of

Devi

ce

Protection Device And Their Designation

Y Y Y Y Y YAudible Alarm

51GB 67 67N 50BF

86B

YY Y Y Y

86B

Y Y Y

115 kV

Main busTransformer-TP1

Operation Target

87B 95BTP1

Devices50BFDevice No.

Location of device

86T1 86T1Auxiliary Tripping Relay

Tripping Relay Characteristic

Incoming/Outgoing Line

Primary

ProtectionBackup Protection

86T2 86T2

-31-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2) สถานีไฟฟาระบบ 115 kV จัดบัสแบบ Breaker and a half

รูปท่ี 11 Wiring Diagram ระบบปองกันของสถานีฯ ระบบ 115 kV จัดบัสแบบ Breaker & A Half

-32-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

21-1 21-2 21-2 67 50BF 50BF 50BF 27 21-1 21-2 21-2 67 50BF 50BF 27

21N-1 21N-2 21N-3 67N 1YB-01 1YB-02 EGAT 59 21N-1 21N-2 21N-3 67N 1YB-03 EGAT 59

86 86 86B1 86B2

B1 B1 86BF 86BF

HS HS HS HS HS HS HS

ER ER ER ER ER ER ER

Y

1YB-01 TL TR TR T T T TL TL TL

1YB-02 TR TR T T T TL TL TL TR TR T T T TL TL

1YB-03 TL TL TR TR T T T TL TL

2YB-01 TL TL

2YB-02

2YB-03 TL TL

EGAT Upstream

CB No.1T(L)

EGAT Upstream

CB No.2T(L)

Protection Device And Their Designation

86L

Y

Incoming#2

Y Y Y Y YY Y

87L

Func

tion

of D

evic

e

Auxiliary Tripping Relay

Tripping Relay Characteristic

Audible Alarm

86L86BF

Y Y Y Y YY Y Y Y

Bus1 Bus2 Incoming#1

Operation Target

87B1 95B1 87B2 95B2 87LDevice No.

Location of device

Y YY

-33-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3) สถานีไฟฟาระบบ 115 kV จัดบัสแบบ Double bus Double Breaker (DBDB)

รูปท่ี 12 Wiring Diagram ระบบปองกันของสถานีฯ ระบบ 115 kV จัดบัสแบบ

Double bus Double Breaker

-34-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

50BF 50BF 21-1 21-2 21-2 67 50BF 50BF 21-1 21-2 21-2 67 50BF 50BF

EGAT EGAT 21N-1 21N-2 21N-3 67N 2YB-01 2YB-02 21N-1 21N-2 21N-3 67N 3YB-01 3YB-02

62 62 62 62

BF BF BF BF

86 86 86 86

B1 B1 B2 B2

HS HS HS HS HS HS HS HS

ER ER ER ER ER ER ER ER

2YB-01 TL TL TR T T T TL TL TL

2YB-02 TL TL T T T T TL TL TL

3YB-01 TL TL TL TR T T T TL TL

3YB-02 TL TL TL T T T T TL TL

EGAT Upstream

CB No.1TL TL TL TL

EGAT Upstream

CB No.2TL TL TL TL

Bus2 (EGAT) Outgoing #1

Operation Target

87B1 95B1 87B2 59Device No.

Location of device Bus1 (EGAT)

Tripping Relay Characteristic

Audible AlarmY Y

Protection Device And Their Designation

Func

tion

of D

evic

e

Y Y

Auxiliary Timing Relay

Y Y Y Y Y Y Y YYY Y

Auxiliary Tripping Relay

Outgoing #2

YY Y Y Y Y Y

27 59 95B2 27

-35-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

4) สถานีไฟฟาระบบ 115 kV จัดบัสแบบ Double bus single Breaker (DBDS)

รูปท่ี 13 Wiring Diagram ระบบปองกันของสถานีฯ ระบบ 115 kV จัดบัสแบบ

Double bus Single Breaker

-36-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

21-1 21-2 21-2 67 50BF 27

21N-1 21N-2 21N-3 67N 59

86 86 86BF 86BF, 86B1

B1 B1 86B2

HS HS HS HS

ER ER ER ER

1YB-01 TR TR T T T TL

2YB-01

3YB-01

0BYB-01 TL TL TL TL

Trip All

Bus No.1TL TL TL

Trip All

Bus No.2TL TL TL

1BVB-01

2BVB-01

Incoming#1 (1YB-01)

Operation Target/

87B1 95B1 87B2 95B2Device No.

Location of device

87L

Y

Bus

Coupler

YY Y Y Y Y Y Y Y Y Y

Bus2

50 BF

Func

tion

of D

evic

e

Protection Device And Their Designation

Auxiliary Tripping

Relay

Tripping Relay

Characteristic

Bus1

Audible Alarm

See Note 1

-37-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

21-1 21-2 21-2 67 50BF 27 87T Internal 50,50N 51GB 50BF

21N-1 21N-2 21N-3 67N 59 87REF Protection 51,51N

86BF 86T1 86T1 86T2 86T2 86BF

HS HS HS HS HS HS

ER ER ER ER ER ER

1YB-01

2YB-01 TL TL TL TL TL

3YB-01 TR T T T TL

0BYB-01 TL TL

Trip All

Bus No.1TL TL

Trip All

Bus No.2TL TL

1BVB-01 TL TL TL TL

2BVB-01

Y

TP1 (2YB-01)

Protection Device And Their Designation (Cont.)

Outgoing#1 (3YB-01)

Func

tion

of D

evic

e

Location of device

Auxiliary Tripping

Relay

Tripping Relay

Characteristic

Operation Target

Device No.

Audible AlarmY Y Y Y Y YY Y Y Y

See Note 1See Note 1

-38-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

Note

1. The breaker failure auxiliary tripping and lockout Relay (86BF) shall be intiated by line or transformer protection , and it shall trip all bus No.1 And the relevant bus couple breaker when the failure breaker is connect with the bus No.1, or trip all bus No.2 breaker and the relevant bus couple breaker when the failure breaker is connent with the bus No.2

2. Transformer internal protection device refer to the following devices as follow:

2.1 Buchholz Relay State 2 Trip 2.2 Transformer pressure relief devices 2.3 Transformer sudden pressure relay 2.4 OLTC Diverter switch pressure relief device 2.5 OLTC Diverter switch sudden oil flow 2.6 Transformer winding Temp trip

-39-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

5) สถานีไฟฟาระบบ 115 kV จัดบัสแบบ H Scheme

รูปท่ี 14 Wiring Diagram ระบบปองกันของสถานีฯ ระบบ 115 kV จัดบัสแบบ

H Scheme

-40-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

21-1 21-2 21-2 67 50BF 50BF 27 21-1 21-2 21-2 67 50BF 27

21N-1 21N-2 21N-3 67N 1YB-01 EGAT 59 21N-1 21N-2 21N-3 67N 2YB-01 59

86 86 86B1 86B2

B1 B1 86BF 86BF

HS HS HS HS HS HS

ER ER ER ER ER ER

BYB-01 TL TL TL TL

1YB-01 TL TL TR T T T TL TL

1YB-02 TL TL

2YB-01 TL TR T T T TL

2YB-02 TL TL

1BVB-01

2BVB-01

EGAT/Upstream

CBT(L) T(L)

Func

tion

of D

evic

e

Incoming

87L

Y

86L

OutgoingBus1 Bus2

Operation Target

87B1 95B1 87B2 95B2Device No.

Location of device

Y Y Y YY

Auxiliary Tripping Relay

Tripping Relay Characteristic

Audible Alarm

86L

Y Y Y Y YY Y Y Y Y

Protection Device And Their Designation

Y Y

-41-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

TP 87T 50,51 27 TP 87T 50,50N 27

DEVICES 87REF 50N,51N 59 DEVICES 87REF 51,51N 59

BYB-01

1YB-01

1YB-02

2YB-01

2YB-02

1BVB-01

2BVB-01

EGAT/Upstream

CB

TLFunc

tion

of D

evic

e

TP1 TP2

Protection Device And Their Designation (Cont.)

86T1

HS

ER

Y

TL

TL

86T1

HS

ER ER

Operation Target

Tripping Relay Characteristic

Auxiliary Tripping Relay

Device No.

Location of device

YAudible Alarm

51GB

1YB-02

86T2 86BF

HS

ER

Y

86T2 86BF

50BF

1YB-02

50BF

2YB-02

HS

TL

TLTL

TL

51GB

2YB-02

ER

Y

TL

TL

TL

HS

ER

Y Y

TL

TL

HS

Y

TL

Y

TL

-42-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

6) สถานีไฟฟาระบบ 22/33 kV จัดบัสแบบ Single bus single breaker (GIS)

รูปท่ี 15 Wiring Diagram ระบบปองกันของสถานีฯ ระบบ 22/33 kV (GIS)

-43-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

27 50,50N 50,50N 50,50N 50,50N 50,50N 50,50N

59 51,51N 51,51N 51,51N 51,51N 51,51N 51,51N

SS HS HS HS HS HS HS

SR ER ER ER ER ER ER

1BVB-01 T TL TL TL TL TL TL

1VB-01 T TL TR TL TL TL TL

2VB-01 T TL TL TR TL TL TL

1CVB-01 TL TL TL T TL TL

1TVB-01 TL TL TL TL T TL

0BVB-01 TL TL TL T TL TL TL

2BVB-01 TL

C-Bank Vacuum Switch SWGR#1 TL TL

Protection Device And Their Designation

TS1

50BF

86BF

Y Y

Device No.

Location of device Outgoing#1

Y Y

Incoming#1

Auxiliary Tripping Relay

Tripping Relay Characteristic

Audible Alarm

Operation Target

Funct

ion o

f D

evic

e

Y YY Y Y Y

Tie Bus

50BF

86BF

Y Y Y Y Y

BUS#1 C1A

50BF 60

86BF

Outgoing#2

50BF

86BF86BF 86BF

50BF81

81X

50BF

-44-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

7) สถานีไฟฟาระบบ 22/33 kV จัดบัสแบบ Single bus single breaker (VIS)

รูปท่ี 16 Wiring Diagram ระบบปองกันของสถานีฯ ระบบ 22/33 kV (VIS)

-45-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

27 50,50N 50,50N 50,50N 50,50N 50,50N 50,50N

59 51,51N 51,51N 51,51N 51,51N 51,51N 51,51N

SS HS HS HS HS HS HS HS

SR ER ER ER ER ER ER ER

1BVB-01 T TL TL TL TL TL TL TL

1VB-01 T TL TL TR TL TL TL TL

2VB-01 T TL TL TL TR TL TL TL

1CVB-01 TL TL TL TL T TL TL

1TVB-01 TL TL TL TL TL T TL

0BVB-01 TL TL TL TL T TL TL TL

2BVB-01 TL

C-Bank Vacuum Switch SWGR#1 TL TL

Protection Device And Their Designation

TS1

50BF

86BF

Y Y

Device No.

Location of device Outgoing#1

Y Y

Auxiliary Tripping Relay

Tripping Relay Characteristic

Audible Alarm

Operation Target

86BF

Func

tion

of D

evic

e

Y YY Y Y Y Y

86BF86ARC

Y

Incoming#1

Y Y

Outgoing#2

50BF

86BF

Y Y

50BF50BF 50ARC

BUS#1 C1A

50BF 60

86BF

Tie Bus

50BF

86BF

81

81X

-46-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

ตาราแสดงความหมายของตัวยอท่ีใชในตาราง Protection Device And Their Designation

Legend Explaination

Y Yes

HS High Speed

SS Standard Speed

ER Electrical Reset

SR Self Reset

TL 3 Pole Trip & Lockout (ER)

T 3 Pole Trip & No Reclose (SR)

TR 3 Pole Trip & Reclose

-47-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

3.2 ความรูพ้ืนฐานเรื่องลักษณะการจัดบัสแบบตางๆ

1. ประเภทของสถานีไฟฟา

ประเภทของสถานีไฟฟา จําแนกตามสถานท่ีในการติดตั้งสถานีไฟฟา สภาพแวดลอมบริเวณท่ีตั้งสถานี

ไฟฟา และความตองการในเรื่องของความม่ันคงปลอดภัยในการจายไฟ ตลอดจนความตองการในเรื่อง

คาใชจาย ซ่ึงมีอยู 3 ประเภท ดังนี้

1.1 สถานีไฟฟาแบบนอกอาคาร (Outdoor Substation) หมายถึงสถานีไฟฟาท่ีมีสวิตซตัดตอน

Breaker หมอแปลง รวมถึงอุปกรณอ่ืนๆ อยูบนลานไกภายนอกอาคาร เหมาะสําหรับกรณีท่ีสถานีไฟฟาอยูหาง

จากชุมชน และไมมีโอกาสท่ีชุมชนจะขยายตัวไปถึง โดยสถานีไฟฟาประเภทนี้ มีขอดีคือ มีราคาถูก บํารุงรักษา

ไดงาย แตมีขอเสียเม่ือเทียบกับแบบในอาคาร คือเรื่องความม่ันคงในการจายไฟต่ํากวา เนื่องจากมีปจจัยจาก

สภาพแวดลอมภายนอกท่ีไมสามารถควบคุมได เชน สภาพอากาศ รวมถึงความปลอดภัยตอผูปฏิบัติงาน

บํารุงรักษา ต่ํากวาแบบในอาคาร อีกท้ังการใชอากาศเปนฉนวนระหวางตัวนํา ทําใหตองการพ้ืนท่ีในการ

กอสรางมาก

1.2 สถานีไฟฟาแบบในอาคาร (Indoor Substation) หมายถึงสถานีไฟฟาท่ีมีสวิตชตัดตอน Breaker

หมอแปลง รวมถึงอุปกรณอ่ืนๆ อยูภายในอาคาร โดยอยูในระบบปด ซ่ึงใชกาซ หรือสุญญากาศ เปนฉนวน

ระหวางตัวนํา ทําใหใชพ้ืนท่ีนอยกวาแบบนอกอาคาร ซ่ึงใชอากาศเปนฉนวน เหมาะสําหรับกรณีท่ีสถานีไฟฟา

ตั้งอยูในบริเวณชุมชน ซ่ึงมีพ้ืนท่ีจํากัด และมีการรบกวนจากปจจัยภายนอกคอนขางมาก โดยขอดีของสถานี

ไฟฟาแบบภายในอาคารคือมีความม่ันคงสูง และความปลอดภัยตอปฏิบัติงานบํารุงรักษามากกวาแบบนอก

อาคาร แตมีขอเสียคือมีราคาแพง

1.3 สถานีไฟฟาแบบชั่วคราว (Temporary Substation) หมายถึง สถานีไฟฟาท่ีมีจุดประสงคในการใชงาน

เพียงชั่วคราวในกรณีท่ีตองการเพ่ิมจุดจายกระแสไฟฟาโดยเรงดวน และไมสามารถจัดหาหรือกอสราง สถานี

ไฟฟาใหมแบบถาวรไดทัน ขอดีคือสามารถติดตั้งไดเร็วตามความตองการเรงดวน และใชพ้ืนท่ีนอย แตมีขอเสีย

คือ ความสามารถในการจายโหลดมีจํากัด เนื่องจากมีขนาดเล็ก ตัวอยางของสถานีฯ ชั่วคราว เชน Compact

Substation, Mobile Substation, Modular Substation เปนตน

-48-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

2. การจัดเรียงบัสของสถานีไฟฟา (Bus Scheme)

การจัดเรียงบัสของสถานีไฟฟา มีวิธีการจัดเรียงหลายรูปแบบ โดยแตละรูปแบบมีความม่ันคงและ

เชื่อถือได รวมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ท่ีแตกตางกัน ซ่ึงปจจัยดังกลาว สงผลตอคาใชจายในการ

กอสรางสถานีไฟฟา ,คาบํารุงรักษาอุปกรณในสถานีไฟฟา รวมถึงคาสูญเสียโอกาสทางเศรษฐกิจกรณีไฟฟา

ขัดของ ดังนั้นการเลือกรูปแบบบัสของสถานีไฟฟาจึงตองพิจารณาจากผลกระทบตางๆ ดังกลาวขางตน ซ่ึงมี

หลายรูปแบบ ดังนี้

2.1 การจัดเรียงบัสแบบ Single Bus Single Breaker

เปนการจัดเรียงบัสเปนการจัดเรียงบัสแบบท่ีงายท่ีสุด เหมาะสมสําหรับการจายไฟใหกับพ้ืนท่ีบริการท่ี

มีความตองการใชโหลดนอย และตองการความม่ันคงและเชื่อถือไดของระบบไมสูงมาก โดยจะใช Breaker

หนึ่งตัวในการปองกันไลน Incoming หรือ Outgoing หนึ่งวงจร รูปแบบการจัดเรียงบัสแสดงดังรูปท่ี 1

รูปท่ี 17 การจัดเรียงบัสแบบ Single Bus Single Breaker

การจัดบัสลักษณะนี้มีขอดีคือ และมีราคาถูกท่ีสุด แตก็มีขอเสียคือ หากตองการตรวจซอมแซมหรือ

บํารุงรักษาบริเวณบัส จะตองดําเนินการยายโหลดออกและดับไฟท้ังสถานีฯ และหากตองการบํารุงรักษาท่ี

Breaker หรือสวิตซตัดตอน จะตองดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจากBreakerหรือสวิตซตัดตอนตัวนั้นออก

กอน

-49-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

2.2 การจัดเรียงบัสแบบ Main and Transfer

เปนการจัดเรียงบัสท่ีไดรับความนิยมมากท่ีสุด เนื่องจากมีความม่ันคงและเชื่อถือไดอยูในเกณฑท่ี

ยอมรับได และราคาการกอสรางและบํารุงรักษาไมแพง โดยลักษณะการจัดบัสจะเหมือนกับแบบ Single Bus

Single Breaker คือใช Breaker หนึ่งตัวในการปองกันไลน Incoming หรือ Outgoing หนึ่งวงจร แตจะมีการ

เพ่ิม Transfer Bus และสวิตซใบมีดรหัส _YS-03 ในแตละ Bay รวมถึง Bay ของ Breakerสํารอง (BYB-01)

ข้ึนมา เพ่ือเพ่ิมความยืดหยุนในการบํารุงรักษา Breaker หรือสวิตซตัดตอน เหมาะสําหรับพ้ืนท่ีบริการท่ีมีความ

ตองการใชโหลดปานกลางถึงมาก แบบการจัดเรียงบัสแสดงดังรูปท่ี 2.1

รูปท่ี 18 การจัดเรียงบัสแบบ Main and Transfer

การจัดเรียงบัสลักษณะนี้ มีขอดีคือ กรณีท่ีมีการบํารุงรักษา Breaker หรือสวิตซตัดตอน สามารถทําได

โดยไมตองถายโอนโหลดไปรับไฟจากสถานีฯ ขางเคียง เนื่องจากสามารถใช Breaker สํารอง (Spare Breaker)

รหัส BYB-01 จายไฟแทนได ตามรูปท่ี 2.2 แตถาหากตองการซอมแซมหรือบํารุงรักษาท่ีเมนบัส ยังคงตองยาย

โหลดออกท้ังสถานีฯ ไปรับไฟจากสถานีไฟฟาขางเคียง จึงจะสามารถบํารุงรักษาได

-50-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

รูปท่ี 19 การจัดเรียงบัสแบบ Main and Transfer กรณีท่ีมีการบํารุงรักษา Breaker รหัส 5YB-01

2.3 การจัดเรียงบัสแบบ Double Bus Single Breaker

ลักษณะการจัดเรียงบัส จะคลายกับ Single Bus Single Breaker แตจะมีเมนบัสท้ังสิ้น 2

เมนบัส โดย Breaker ปองกันไลนสามารถเลือกรับไฟจากบัสใดก็ได และสามารถถายเทโหลดระหวางบัสได

ผาน Bus Coupler Breaker (BYB-01) การจัดบัสลักษณะนี้ เหมาะสมกับพ้ืนท่ีท่ีมีความตองการโหลดสูง และ

มีการปรับเปลี่ยนการรับ-จายไฟ และถายเทโหลดผานสถานีดังกลาวอยูบอยครั้ง มีความยืดหยุนในการจาย

โหลดสูง เนื่องจากสามารถเลือกจายโหลดโดยใชเพียงบัสเดียว หรือใชท้ังสองบัสรวมกันก็ได การรับ-จายโหลด

สามารถปรับเปลี่ยนไดตามแตสถานการณ ซ่ึงในระบบไฟฟาของ PEA สถานีไฟฟาท่ีมีการจัดบัสลักษณะนี้จะ

เปนสถานีไฟฟาแบบติดตั้งในอาคาร (Indoor Substation) โดยสามารถแยกยอยวิธีการรับ-จายโหลด ออกได

เปน 3 แบบ แสดงดังรูปท่ี 3 ถึง รูปท่ี 5

-51-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

รูปท่ี 20 แบบรับไฟ 1 incoming จายไฟ 1 เมนบัส อีกเมนบัสท่ีเหลือ Hot Standby

รูปท่ี 21 แบบรับไฟ 1 incoming จายไฟออกท้ัง 2 เมนบัส

-52-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

รูปท่ี 22 แบบรับไฟ 2 incoming จายไฟแยก 2 เมนบัส

จากรูปท่ี 3 ถึงรูปท่ี 5 แสดงการจัดเรียงบัสของ Double Bus Single Breaker แบบยอยตางๆ ซ่ึงจะ

เห็นวาทําใหการวางแผนจายไฟมีความยืดหยุนมากข้ึน อีกท้ังกรณีท่ีตองการบํารุงรักษาเมนบัส ไมจําเปนตอง

ยายโหลดและดับไฟท้ังสถานีฯ แตสามารถโอนโหลดเมนบัสท่ีตองการบํารุงรักษาไปรับไฟจากอีกเมนบัสหนึ่งได

เลย ทําใหการปฏิบัติงานบํารุงรักษาบริเวณเมนบัสมีความรวดเร็วมากข้ึน แตถึงอยางไรก็ตาม กรณีท่ีตองการ

บํารุงรักษา Breaker ปองกันไลน Outgoing ยังคงตองดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจากBreakerดังกลาว ไปรับ

ไฟจากสถานีไฟฟาขางเคียง เนื่องจากยังคงใช Breaker 1 ตัว ในการปองกันไลน Outgoing 1 วงจร

-53-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

2.4 การจัดเรียงบัสแบบ Ring

เปนแบบท่ีเหมาะสําหรับการใชงานในพ้ืนท่ีตองการความม่ันคงและความเชื่อถือไดสูง แตยังไมตองการ

การลงทุนสูงมากในระยะแรก แตในระยะยาว หากมีโหลดมากข้ึน และตองการวงจรการจายไฟมากข้ึน อาจถูก

ปรับปรุงใหเปนแบบ Breaker and A Half ได โดยลักษณะการจัดเรียงบัสแบบ Ring แสดงดังรูปท่ี 6.1

รูปท่ี 23 การจัดเรียงบัสแบบ Ring

ลักษณะการจัดเรียงบัสแบบ Ring Breakerทุกตัว จะเชื่อมตอกันเปนวงรอบเปด โดยระหวางBreaker

แตละตัว คือไลน Incoming หรือ Outgoing ใดๆ ขอดีของการจัดบัสลักษณะนี้ คือมีความม่ันคงคอนขางสูง

เนื่องจากในสภาวะปกติ ท่ีการจายไฟเปนแบบวงรอบปด แตละวงจรจะมี Breaker จายไฟใหสองตัว ทําใหการ

ทํางานของระบบปองกันมีความถูกตองและแมนยํามากกวาใชBreakerปองกันเพียง 1 ตัว และสงผลใหกรณีท่ี

ตองการบํารุงรักษา Breaker ตัวใดตัวหนึ่ง สามารถดับไฟ Breaker เพ่ือบํารุงรักษาไดเลยโดยไมจําเปนตอง

ถายเทโหลด เนื่องจากยังมี Breaker อีกตัวหนึ่งจายไฟแทนอยู โดยหาการจัดเรียงบัสดังกลาว มีการรับไฟ

มากกวา 1 Incoming จะสงผลใหความม่ันคงของระบบสูงข้ึนไปอีก แตการจัดเรียงบัสแบบดังกลาว ก็มีขอเสีย

-54-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

ในกรณีท่ีมีการรับไฟเพียง 1 Incoming โดยหาก Breaker ตัวใดตัวหนึ่งเกิดการ Trip Lockout จะทําให

จายไฟอยูในลักษณะ Radial ซ่ึงทําใหความม่ันคงในการจายไฟต่ําลงกวาเดิมมาก ดังแสดงในรูปท่ี 6.2

รูปท่ี 24 การจัดเรียงบัสแบบ Ring กรณีท่ี Breaker รหัส 2YB-01 และ 3YB-01 เปดวงจร

จากรูปท่ี 6.2 แสดงการจัดเรียงแบบ Ring กรณีท่ีเกิด Fault ในไลน Outgoing#3 ซ่ึงสงผลให

Breakerรหัส 2YB-01 และ 3YB-01 เปดวงจร ตัดกระแส Fault ทําใหการจายไฟจะอยูในลักษณะ Radial ซ่ึง

หากเกิดการลัดวงจรข้ึนอีกท่ีไลน Outgoing#4 จะทําให Breaker รหัส 4YB-01 และ 5YB-01 เปดวงจรออก

และจะสงผลใหไลน Outgoing#5 เกิดไฟฟาดับตามไปดวย

การจัดเรียงบัสแบบ Ring ไมไดจํากัดจํานวน Breakerวาจะตองเปน 6 ตัว เสมอไป แตข้ึนอยูกับ

ปริมาณโหลด จํานวนวงจร สามารถปรับเปลี่ยนไดตามความเหมาะสม

-55-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

2.5 แบบ Breaker and a Half

ลักษณะการจัดเรียงบัสจะใช Main Bus ท้ังสิ้น 2 เมนบัส และใช Breaker ในแตละ Bay จํานวน

3 ตัว แตละ Bay จายไฟออก 2 สองวงจร ดังนั้น ในการปองกัน 1 วงจร จะใช Breaker ปองกัน 1.5 ตัว เปน

การจัดบัสแบบท่ีมีความม่ันคงและพิกัดการจายโหลดสูง แตใชเงินลงทุนตอวงจรสูงเชนกัน เนื่องจากอุปกรณท่ี

ใชในการกอสรางมีมากกวาการจัดบัสแบบกอนหนา ท่ีกลาวมา โดยท่ัวไปในระบบของ PEA การจัดบัสแบบ

ดังกลาวจะใชสําหรับสถานีไฟฟาตนทาง

รูปท่ี 25 การจัดเรียงบัสแบบ Breaker and a Half

จากท่ีกลาวมาแลว การจัดเรียงบัสแบบ Breaker and a half จะมีความม่ันคงสูง เนื่องจากใช

Breaker 1.5 ตัว ตอการปองกัน 1 วงจร นอกจากนั้น การใชเมนบัสสองเมนบัสในการรวมกันจายไฟ ทําใหเม่ือ

-56-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

เกิดเหตุขัดของท่ีเมนบัสใดเมนบัสหนึ่ง ซ่ึงสงผลใหเมนบัสนั้นไมสามารถจายไฟได อีกเมนบัสหนึ่งยังสามารถ

รับภาระและจายโหลดไดตามปกติ และการปฏิบัติงานบํารุงรักษาอุปกรณในสถานีไฟฟาท่ีมีการจัดเรียงบัสแบบ

ดังกลาว จะมีความสะดวกและยืดหยุนในการปฏิบัติงานอยางมาก อยางเชน กรณีท่ีตองการบํารุงรักษา

Breakerหรือสวิตซใบมีดตัวใดตัวหนึ่ง หรือเมนบัสใดเมนบัสหนึ่ง สามารถกระทําไดเลย โดยไมจําเปนตอง

ถายเทโหลด เนื่องจากไมสงผลใหวงจรท่ีรับไฟจากสถานีฯ หรือจายไฟใหแกสถานีฯ เกิดไฟดับ

2.6 การจัดเรียงบัสแบบ Double Bus Double Breaker

ลักษณะการจัดเรียงบัสจะใช Main Bus ท้ังสิ้น 2 เมนบัส และใช Breaker ในแตละ Bay จํานวน

2 ตัว แตละ Bay จายไฟออก 1 วงจร ดังนั้น ในการปองกัน 1 วงจร จะใช Breaker ปองกันท้ังสิ้น 2 ตัว เปน

การจัดบัสแบบท่ีมีความม่ันคงสูงท่ีสุด แตใชเงินลงทุนตอวงจรสูงมาก เนื่องจากอุปกรณท่ีใชในการกอสราง

มากกวาการจัดบัสแบบกอนหนา ท่ีกลาวมา โดยท่ัวไปแลว การจัดบัสแบบดังกลาวจะใชสําหรับสถานีไฟฟาตน

ทางท่ีมีการจายโหลดปริมาณมาก และเปนโหลดท่ีมีความสําคัญ

รูปท่ี 26 Double Bus Double Breaker แบบ Incoming จายเขา Main Bus โดยตรง

-57-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

รูปท่ี 27 Double Bus Double Breaker แบบ Incoming จายเขา Bay

จากรูปท่ี 26 และ 27 แสดงรูปแบบการจัดเรียงบัสแบบ Double Bus Double Breaker 2 แบบยอย

ซ่ึงแตกตางกันท่ีวิธีการรับไฟ ซ่ึงข้ึนอยู กับสภาพหนางาน และความเหมาะสม จากท่ีกลาวมาแลว

การจัดเรียงบัสแบบ Double Bus Double Breaker มีความม่ันคงสูงท่ีสุด เนื่องจากใช Breaker ถึง

2 ตัว ตอการปองกันไลน 1 วงจร นอกจากนั้น ยังใชเมนบัสสองเมนบัสในการรวมกันจายไฟ เหมือนกับการ

จัดเรียงบัสแบบ Breaker and a half ทําใหเม่ือเกิดเหตุขัดของท่ีเมนบัสใดเมนบัสหนึ่ง หรือกรณีท่ีมีการ

บํารุงรักษาเมนบัสใด เมนบัสหนึ่ง ท่ีจําเปนตองดับไฟเมนบัสดังกลาว เมนบัสท่ีเหลือยังสามารถจายไฟไดปกติ

จึงไมสงผลกระทบตอการจายไฟในภาพรวม และการบํารุงรักษาอุปกรณตางๆ เชน Breaker หรือสวิตซใบมีด

ในสถานีไฟฟา สามารถกระทําได โดยไมสงผลกระทบตอการจายไฟ เชนเดียวกัน

-58-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

2.7 การจัดเรียงบัสแบบ Double Main and Transfer

เปนการจัดเรียงบัสท่ีใชหลักการเดียวกับการจัดบัสแบบ Main and Transfer คือการจายไฟในภาวะ

ปกติ จะจายไฟผานเมนบัส แตกรณีท่ี Breaker หรือสวิตซใบมีด ปองกันไลนชํารุด สามารถใช Transfer Bus

และBreakerสํารอง (Spare Breaker) ในการจายไฟแทนอุปกรณท่ีชํารุดดังกลาว ท้ังนี้ การจัดเรียงบัสแบบ

Double Main and Transfer จะใชเมนบัสท้ังสิ้น 2 เมนบัสดวยกัน เพ่ือรวมกันจายไฟ ทําใหสามารถรับภาระ

โหลดไดมากข้ึน โดยท้ังสองเมนบัส จะใช Transfer Bus และ Spare Breaker รวมกัน

\

รูปท่ี 28 การจัดเรียงบัสแบบ Double Main and Transfer

ในภาวะปกติ กรณีท่ีจายไฟแบบ Radial แตละเมนบัสจะรับไฟและจายไฟแยกจากกันโดยสิ้นเชิง แต

ในสภาวะท่ี Breaker ตัวใด ตัวหนึ่งชํารุด สามารถใช Breaker สํารองและ Transfer Bus ในการจายไฟแทน

ได โดยใน Bay ของ Breaker สํารอง จะติดตั้งสวิตซใบมีดท้ังสิ้น 4 ตัว (มากกวาแบบ Main and transfer ซ่ึง

มีเพียง 2 ตัว) ซ่ึงแตละตําแหนงมีหนาท่ีแตกตางกัน โดยมีรายละเอียดดังนี้

- สวิตซใบมีด BYS-01 และ BYS-02 ใชกําหนดวา Spare Breaker จะรับไฟจากเมนบัสใด กรณีท่ี

จะรับไฟจากเมนบัส 1 ตองสับ BYS-01 สวนกรณีท่ีรับไฟจากเมนบัส 2 ตองสับ

BYS-02

-59-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

- สวิตซใบมีดรหัส BYS-03 และ BYS-04 ใชกําหนดวา ไลนท่ี Breaker ชํารุดและจะใช Spare

Breaker จายไฟแทนนั้น จะเลือกรับไฟจากแหลงจายเดิม (เมนบัสเดิม) หรือรับไฟจากอีก

แหลงจาย(อีกเมนบัส)

รูปท่ี 29 Double Main and Transfer กรณี Breaker ปองกันไลน Outgoing#1 ชํารุด

จากรูปท่ี 29 แสดงกรณี Breaker ปองกันไลน Outgoing#1 ชํารุด และใช Spare Breaker จายไฟ

แทน โดยเลือกรับไฟจากเมนบัส 1 เชนเดิม (สับ BYS-01 และ BYS-03 ตามลําดับ)

รูปท่ี 30 Double Main and Transfer กรณีBreakerปองกันไลน Outgoing#2 ชํารุด

-60-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

จากรูปท่ี 30 แสดงกรณี Breaker ปองกันไลน Outgoing#2 ชํารุด และใช Spare Breaker จายไฟ

แทน โดยเลือกรับไฟจากเมนบัส 2 เชนเดิม (สับ BYS-02 และ BYS-03 ตามลําดับ)

รูปท่ี 31 Double Main and Transfer กรณี Breaker ปองกันไลน Outgoing#1 ชํารุด และจายไฟจากเมนบัส 2 แทน

จากรูปท่ี 31 แสดงกรณี Breaker ปองกันไลน Outgoing#1 ชํารุด และใช Spare Breaker จายไฟ

โดยเลือกรับไฟจากเมนบัส 2 แทน (ในสภาวะปกติ Outgoing#1 รับไฟจากเมนบัส 1 ทําใหกรณีดังกลาว

ตองสับ BYS-02 และ BYS-04 ตามลําดับ)

-61-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

3.3 การปฏิบัติงานดานการสั่งการควบคุมการจายไฟฟา ศูนยควบคุมการจายไฟฟา เปนหนวยงานท่ีทําหนาท่ีควบคุมการจายพลังงานไฟฟาจากแหลงจาย

ไฟฟา ไปสูผูใชไฟฟา ใหเปนไปอยางตอเนื่อง มีความเชื่อถือได รวมถึงควบคุมคุณภาพกําลังไฟฟาใหอยูใน

เกณฑมาตรฐาน โดยลักษณะงาน ตองมีพนักงานศูนยควบคุมการจายไฟ ปฏิบัติงานอยูเวรตลอด 24 ชม. ซ่ึง

สามารถจําแนกงานดานการสั่งการควบคุมการจายไฟ ออกเปน 3 สวน ดังนี้

1. การตรวจสอบและเฝาระวังระบบไฟฟาในสภาวะปกติ

ในสภาวะปกติ พนักงานศูนยควบคุมการจายไฟ ตองทําหนาท่ีเสมือนเปนยามเฝาระวังสิ่งผิดปกติท่ี

อาจจะเกิดข้ึนในระบบไฟฟา โดยตองคอยตรวจสอบสถานะโหลดและพารามิเตอรตางๆ อยูตลอดเวลา รวมถึง

สั่งการควบคุมอุปกรณตางๆ ในระบบไฟฟาตามความจําเปน เพ่ือควบคุมคาพารามิเตอรตางๆ ใหอยูในเกณฑ

มาตรฐาน ไดแก

1.1 แรงดันไฟฟา ณ บัส สถานีไฟฟา และจุดโหลดตางๆ ในระบบไฟฟาตองอยูในเกณฑมาตรฐาน

+ 5%

1.2 กระแสโหลดตอเนื่อง ไมเกินพิกัดจายไฟ ของอุปกรณตางๆ ในระบบไฟฟา

1.3 คา PF ณ จุดรับซ้ือไฟ จาก กฟผ. ตองไมต่ํากวา 0.875 เพ่ือลดการสูญเสียเนื่องจาก VAR

2. การสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา/ซอมแซมอุปกรณไฟฟา อุปกรณไฟฟา ท่ีถูกใชงานในระบบ เชน หมอแปลง อุปกรณปองกัน และ สวิตซตัดตอนตาง ๆเปนตน ลวนมี

อายุการใชงาน และบางครั้งอาจเกิดเหตุการณ ซ่ึงสาเหตุอาจมาจากปจจัยภายนอก หรือปจจัยภายใน สงผลทํา

ใหอายุการใชงานของอุปกรณสั้นลง หรือเลวรายท่ีสุด คือไมสามารถใชงานได (เสีย) ดังนั้น การปฏิบัติงาน

ซอมแซม/บํารุงรักษา/เปลี่ยนอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา จึงมีอยูตลอดเวลา ซ่ึงหนวยงานท่ีเขาปฏิบัติงาน

ซอมแซม/บํารุงรักษา/เปลี่ยนอุปกรณ ตองการความปลอดภัย ในบางครั้งจึงจําเปนตองมีการดับไฟบริเวณ

อุปกรณ เพ่ือใหหนวยงานดังกลาวปฏิบัติงาน เชน การดับไฟเพ่ือซอมแซม Breaker ระบบ

22 kV ท่ีสถานีไฟฟา ซ่ึงจะตองมีการปลดสวิตซตัดตอน หัวทาย Breaker รวมท้ังการตอลงดิน ท่ีตัวBreaker

เสียกอน เพ่ือใหแนใจวาจุดปฏิบัติงานไมมีไฟ กอนท่ีหนวยงานบํารุงรักษาจะเขาปฏิบัติงาน เปนตน แตใน

บางครั้งการปฏิบัติงานไมจําเปนตองมีการดับไฟ เนื่องจากสามารถใหหนวยงาน Hotlineปฏิบัติงานแทนได

เชน การเปลี่ยนลูกถวยท่ีชํารุดโดยใชชุดปฏิบัติงาน Hotline แบบ Hot Stick ปฏิบัติงานแทน เปนตน

จากท่ีกลาวมา ไมวาจะเปนการปฏิบัติงานซอมแซมอุปกรณแบบดับไฟ หรือแบบไมดับไฟ

ศูนยควบคุมการจายไฟ จะตองทําหนาท่ีกํากับควบคุม/ดูแล ใหการจายไฟฟาไปสูผูใชไฟฟา เปนไปอยาง

-62-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

ตอเนื่อง คอยควบคุมคาพารามิเตอรตามขอ 1.1 ถึง 1.3 ใหอยูในเกณฑมาตรฐาน ในระหวางท่ีมีการปฏิบัติงาน

ดังกลาว นอกเหนือจากนั้น ตองควบคุมการทํางานใหเกิดการความปลอดภัยตอผูปฏิบัติงานดวย

รูปท่ี 32 ตัวอยางระบบกําลังไฟฟา ระดับแรงดัน 115 kV ของ PEA

-63-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

รูปท่ี 33 ตัวอยางภายในสถานีไฟฟา KPH

2.1 ตัวอยางงานบํารุงรักษาแบบไมดับไฟปฏิบัติงาน การเปลี่ยนลูกถวยแขวนระบบ 115 kV ท่ีชํารุด ใน

สายสงชวงสถานีฯ APE-VIE

จากรูปท่ี 32 สมมติใหมีการปฏิบัติงานเปลี่ยนลูกถวยแขวนระบบ 115 kV ท่ีชํารุดในสายสงชวงสถานี

ฯ APE-VIE โดยใชชุดปฏิบัติงาน Hotline ปฏิบัติงานแบบไมดับไฟ โดยท้ังนี้ กอนปฏิบัติงาน ทางศูนยควบคุม

การจายไฟ ตองประสานงานกับทางชุดปฏิบัติงานในการเตรียมความพรอมตางๆ และตองดําเนินการ Off

Auto Reclosing Relay ของ Breaker ปองกันสายสงชวง APE-VIE เพ่ือปองกันการปดกลับของ Breaker ใน

กรณีท่ีเกิดลัดวงจร ณ จุดปฏิบัติงานเนื่องจากอุบัติเหตุหรือเหตุท่ีคาดไมถึง ซ่ึงการ Off Auto Reclosing

Relay นั้น เพ่ือใหอุปกรณปองกันมีการทํางานเพียงครั้งเดียว และ Lockout ลดอันตรายท่ีจะเกิดตอ

ผูปฏิบัติงานใหนอยท่ีสุด

ท้ังนี้ ในระหวางท่ีชุดปฏิบัติงานกําลังปฏิบัติงานอยู ศูนยควบคุมการจายไฟตองประสานกับทางชุด

ปฏิบัติงานอยูเปนระยะเพ่ือตรวจสอบสถานะการทํางาน และชวยอํานวยความสะดวกตางๆ ตามการรองขอ

เพ่ือใหการปฏิบัติงานสําเร็จลุลวงไปดวยดี

-64-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

2.2 ตัวอยางงานบํารุงรักษาแบบดับไฟปฏิบัติงาน

1) การซอมแซม/เปลี่ยนอุปกรณประกอบเสาระบบ 115 kV ชวงสถานี APE – KPH

จากรูปท่ี 32 จะเห็นวาสถานี APE ทําหนาท่ีเปนสถานีฯ ตนทาง จายไฟใหแก KPH และ

สถานี VIE โดยสายสงชวงสถานีฯ APE – KPH จายโหลดสถานี KPH Transformer TP1 และ

TP2 รวมท้ังสิ้น 70 MW และโหลดผูใชไฟระบบ 115 kV บริษัท เดอะมอลล ประมาณ 30 MW

รวมโหลดท่ีจายท้ังสิ้น 100 MW ดังนั้นหากมีการดับไฟปฏิบัติงานในสายสงชวง APE-KPH โดยไม

มีการยายโหลด จะมีผูใชไฟไดรับผลกระทบ โหลดประมาณ 100 MW หนาท่ีของศูนยควบคุมการ

จายไฟคือ สั่งการควบคุมปกรณตางๆ ไมวาจะเปน Breaker , Disconnecting Switch, Air Break

Switch ฯลฯ โดยสั่งการผานระบบ SCADA/ผานชุดปฏิบัติงานท่ีอยูหนางาน เพ่ือแยกสายสงสวน

ท่ีจะปฏิบัติงานบํารุงรักษา (ชวงสถานีฯ APE – KPH) ออกจากระบบหลักท่ีมีไฟ เพ่ือใหหนวยงาน

บํารุงรักษาเขาปฏิบัติงานอยางปลอดภัย แตตองไมใหผูใชไฟท่ีรับไฟจากสายสงชวงดังกลาวไดรับ

ผลกระทบ หรือหากสุดวิสัย ตองไดรับผลกระทบนอยท่ีสุด ดังนั้นจึงจะตองทําสวิตซชิ่งยายโหลด

ผูใชไฟท่ีรับไฟจากสายสงชวง APE-KPH มารับไฟจากสายสงชวงสถานีฯ VIE-KPH แทนกอน โดย

วิธีการขนานโหลดชั่วคราว (สับขนานท่ี Breaker VIE04YB-01 และปลดขนานท่ี Breaker

KPH01YB-01) และหลังจากนั้นจึงปลดสายสงชวง APE-KPH ออก (ปลด Breaker รหัส

APE03YB-01, APE3YB-02) เปนการแยกสายสงชวง APE-KPH ออกจากระบบอยางสมบูรณ โดย

ไมมีผูใชไฟเกิดไฟฟาดับ ตอจากนั้นดําเนินการปลด Disconnecting Switch ครอมสายสงชวง

ดังกลาวออกดวย เพ่ือความปลอดภัยอีกชั้นหนึ่ง (Disconnecting Switch รหัส APE03YS-02,

APE03YS-03 KPH01YS-02)

2) การซอมแซม/เปลี่ยน Breaker รหัส KPH01YB-01

จากรูปท่ี 32 จะเห็นวาBreakerรหัส KPH01YB-01 ทําหนาท่ีรับไฟจากสายสงชวง APE-KPH

ดังนั้น หากดับไฟ Breaker โดยไมมีการยายโหลดผูใชไฟ จะสงผลใหผูใชไฟไดรับผลกระทบเกิด

ไฟฟาดับ เหมือนกันกรณี ก. (โหลดประมาณ 100 MW) ดังนั้นจึงตองมีการทําสวิตซซ่ิง ยายโหลด

กอนเพ่ือมิใหผูใชไฟไดรับผลกระทบเกิดไฟดับ เนื่องจากสถานีฯ KPH มีลักษณะการจัดบัสแบบ

Main & Transfer ซ่ึงจะมี Breaker สํารอง (KPH0BYB-01) และ Transfer Bus ติดตั้งอยู โดย

ประโยชนของ Breaker สํารองและ Transfer Bus คือสามารถใชในการ รับ/จายไฟ แทน

Breaker ตัวขางเคียง (KPH01YB-01 ถึง KPH05YB-01) ในกรณีตองการดับไฟบํารุงรักษา

Breaker ตัวขางเคียงได ในกรณีท่ีตองการบํารุงรักษา Breaker รหัส KPH01YB-01 วิธีการคือการ

สับ Disconnecting Switch รหัส KPH01YS-03 เพ่ือ Energize Transfer Bus หลังจากนั้นสับ

-65-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

ขนานระหวาง Main Bus และ Transfer Bus ผาน Breaker รหัส KPH0BYB-01 และปลดขนาน

ผาน Breaker รหัส KPH01YB-01 โดยหลังจากปลดขนานแลว Breaker KPH0BYB-01 จะทํา

หนาท่ีรับไฟแทน Breaker รหัส KPH01YB-01 ตามรูปท่ี 4 หลังจากนั้นจึงทําการแยก Breaker

รหัส KPH01YB-01 ออกจากระบบสวนท่ีมีไฟ โดยการปลดDisconnecting Switch ครอมหัว-ทาย

Breaker ดังกลาว (Disconnecting Switch รหัส KPH01YS-01, KPH01YS-02 )

รูปท่ี 34 สภาพการจายไฟกอนทําสวิตชิ่ง

รูปท่ี 35 สภาพการจายไฟหลังจากทําสวิตชิ่ง

-66-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

ท้ังนี้จะเห็นวาระบบตัวอยางดังกลาว มี SPP ขนานจายไฟเขาระบบผานสถานีฯ VIE

ดังนั้น จาก ตัวอยาง ก. และ ข. ในหัวขอ 2.2 กอนการปลด/สับ Breaker เพ่ือขนานโหลด ตอง

ตรวจสอบ ดวยวาทาง SPP มี Inter Trip กับระบบของ PEA หรือไม หากมี ตองตรวจสอบตอไป

วาข้ันตอนการปลด/สับBreaker สงผลใหระบบ Inter Trip ทํางานปลดโรงไฟฟาออกจากระบบ

หรือไม หากข้ันตอนฯ สงผลใหระบบ Inter Trip ทํางาน ศูนยฯ ตองประสานงานสวนเก่ียวของ

(กฟผ.และ SPP) เพ่ือ Off ระบบ Inter Trip ดังกลาว ในชวงท่ีมีการปลด/สับ Breaker เพ่ือขนาน

โหลด เพ่ือปองกัน SPP Trip หลุดจากระบบโดยไมจําเปน ซ่ึงจะสงผลใหกําลังผลิตสวนหนึ่งหายไป

3) การบํารุงรักษา Transformer TP1 ท่ีสถานีฯ KPH

จากรูปท่ี 33 หากจะดําเนินการบํารุงรักษาหมอแปลง TP1 ท่ีสถานีฯ KPH ศูนยควบคุมการ

จายไฟ ตองดําเนินการดับไฟ หมอแปลง TP1 และแยก (Isolation) หมอแปลง TP1 ออกสวนท่ีมี

ไฟ เพ่ือใหผูปฏิบัติงานเกิดความปลอดภัย แตกอนท่ีจะดําเนินการดับไฟฯ ตองยายโหลดท่ีรับไฟ

จากTransformer TP1 ไปรับไฟแหลงจายอ่ืนๆ เพ่ือมิใหผูใชไฟท่ีรับไฟจากหมอแปลง TP1 ไดรับ

ผลกระทบ เบื้องตนพิจารณาทางเลือกท่ีงายท่ีสุด โดยยายรับไฟจาก TP2 โดยอาศัยวิธีการขนาน

โหลดหมอแปลงชั่วคราว ท้ังนี้ กอนการขนานโหลดฯ พนักงานศูนยฯ ตองตรวจสอบปริมาณโหลด

และพิกัดของหมอแปลง TP2 วายังสามารถรับโหลดหมอแปลง TP1 ไดก่ี MW ซ่ึงจากตัวอยางจะ

เห็นวา หมอแปลง TP2 สามารถรับโหลดเพ่ิมไดอีกประมาณ 10 MW เทานั้น (พิกัดหมอแปลง

TP2 เทากับ 50 MVA หรือ 45 MW ท่ี P.F 0.9*) ดังนั้น พนักงานศูนยจําเปนตองยายโหลดหมอ

แปลง TP1 บางสวนประมาณ 25 MW ไปรับไฟจากสถานีฯ ขางเคียง ผานทางระบบจําหนาย 33

kV และหลังจากนั้น จึงทําการขนานโหลดหมอแปลง ชั่วคราว โดยสับขนานท่ี Breaker รหัส

KPH0BVB-01 และปลดขนานท่ี Breaker รหัส KPH1BVB-01 เพ่ือยายโหลดหมอแปลง TP1 ท่ี

เหลืออีกประมาณ 10 MW ไปรับไฟจากหมอแปลง TP2 (ดูรายละเอียดเพ่ิมเติมไดในหลัก

ปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดหมอแปลงชั่วคราว)

หลังจากดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ท้ังหมดแลว ตอมาจึงดําเนินการดับไฟ

หมอแปลง TP1 โดยปลด Breaker รหัส KPH2YB-01 รวมท้ังปลด Disconnecting Switch ดาน

ท่ีใกลกับTransformer เพ่ือความปลอดภัยดวยอีกชั้นหนึ่ง (Disconnecting Switchรหัส

KPH2YS-02, KPH1BVS-01) หลังจากนั้นจึงแจงหนวยงานบํารุงรักษาเขาปฏิบัติงานท่ีหมอแปลง

TP1 ได ท้ังนี้ กอนการปฏิบัติงานตองแจงหนวยงานบํารุงรักษา ทําการตอลงดินหัว-ทายจุด

ปฏิบัติงานทุกครั้ง เพ่ือความปลอดภัย กรณีเกิดไฟยอน (ดูรายละเอียดเพ่ิมเติมท่ีหลักปฏิบัติการตอ

ลงดิน)

-67-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

จากตัวอยางในหัวขอ 2.2 ท่ีกลาวมา การถายเทโหลดทุกครั้ง ศูนยควบคุมการจายไฟตองประเมิน

วาหลังจากถายเทโหลดไปแลว ตองไมทําใหเกิดการ Overload กับอุปกรณตางๆ ท่ีรับภาระโหลด

เพ่ิมข้ึน เชน Breaker ตนทาง , หมอแปลง , สายสง และ CT ฯลฯ รวมถึงตองรักษาระดับ

แรงดันไฟฟาโดยรวมในระบบ โดยเฉพาะจุดท่ีมีผูใชไฟรับไฟ ใหอยูเกณฑมาตรฐาน ท้ังนี้วิธีการ

ประเมินอาจตองใชโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยในการประเมิน เชนโปรแกรมวิเคราะหการไหลของ

กําลังไฟฟา (Load Flow Study) เปนตน

3. งานแกไขเหตุการณฉุกเฉินท่ีเกิดข้ึนในระบบไฟฟา เหตุการณฉุกเฉินในระบบไฟฟา แบงออกไดเปนสอง

สวนยอย คือ

3.1 เหตุการณฉุกเฉินท่ีทําสงผลรบกวนตอระบบไฟฟาทันที เชน เหตุการณกระแสไฟฟาขัดของ(ไฟฟาดับ),

เหตุการณแรงดันไฟฟาตก(Voltage Sag, Voltage Dip) เปนตน

3.2 เหตุการณฉุกเฉินท่ีอาจสงผลรบกวนตอระบบไฟฟาในอนาคต เชน เหตุการณโรงไฟฟาหรือสายสงTrip

ซ่ึงกอใหเกิด Overload ในสายสงบางวงจร โดยหากปลอยไว ไมมีการแกไข อาจกอใหเกิดการ Trip

ตอเนื่อง และเกิดเหตุการณ Blackout/Partial Blackout ในอนาคตอันใกล เปนตน ศูนยสั่งการระบบไฟฟา

และศูนยควบคุมการจายไฟ จะทําหนาท่ีเฝามองระบบอยางใกลชิดตลอด 24 ชม.เม่ือเกิดเหตุการณฉุกเฉิน

ตามขางตน จะตองดําเนินการแกไขปญหาเพ่ือใหสามารถจายไฟไดอยางตอเนื่อง ใหเร็วท่ีสุด รวมถึง

การควบคุมพารามิเตอรตางๆ ตามขอ 1.1 ถึง 1.3 ใหอยูในเกณฑมาตรฐาน

-68-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

รูปท่ี 36 แสดงการเกิดลัดวงจรท่ีสายสงชวง APE – VIE

ตัวอยางเหตุการณฉุกเฉิน

1) เหตุการณกระแสไฟฟาขัดของบริเวณสายสงชวง APE – VIE

จากรูปท่ี 36 สมมติให ณ เวลา 11.30 น. เกิดกระแสไฟฟาลัดวงจรในสายสงชวง APE – VIE

เนื่องจากพายุฤดูรอนพัดเสาลม โดยเม่ือเกิดเหตุการณ รีเลยตนทาง ท่ีสถานีฯ APE จะสั่งBreaker

ตนทางรหัส APE03YB-02 และ APE3YB-03 Trip Lockout เพ่ือตัดกระแส Fault โดยจะสง

สัญญาณมาแจงเตือนท่ี SCADA Alarm รวมถึงแจงเตือนท่ีสถานีไฟฟาดวย พนักงานศูนยควบคุม

การจายไฟ/พนักงานสถานีฯ APE จะทราบวาเกิดการ Trip ข้ึน และจะประสานงานรวมกัน โดย

พนักงานศูนยฯ ตองจัดการแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึน ข้ันตอนแรกตองวิเคราะหใหไดวาการลัดวงจรเกิด

ท่ีใดในระบบ โดยอาศัยแหลงขอมูลตางๆ เชน จาก Sequence of Event ใน SCADA Alarm

หรือจากรายละเอียดรีเลย (ชนิดรีเลย, เฟส, ระยะทาง ฯลฯ) เปนตน หลังจากวิเคราะหไดแลววา

การลัดวงจรเกิดในชวง APE – VIE จึงทําการแยกสวนท่ีเกิดลัดวงจรออกจากระบบ โดยการปลด

อุปกรณตัดตอนครอมหัว-ทายสายสง (ปลด Breaker รหัส VIE01YB-01 และ Disconnecting

Switch รหัส VIE01YS-02 APE03YS-04 APE03YS-05) หลังจากนั้นจึงยายโหลดผูใชไฟท่ีเกิด

-69-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

ไฟดับไปรับไฟจากแหลงจายไฟขางเคียงใหเร็วท่ีสุด ในตัวอยางนี้ คือสามารถยายโหลดสถานีฯ VIE

รับไฟจากสถานีฯ KPH ไดท้ังหมด โดยการสับ Breaker VIE04YB-01 ผูใชไฟท่ีไดรับผลกระทบก็

จะกลับเขาสูสภาวะท่ีมีไฟฟาใชอีกครั้ง นอกจากการดําเนินการถายเทโหลด เพ่ือจายไฟใหแกผูใช

ไฟใหเร็วท่ีสุดแลว ศูนยฯ ตองประสานงานแจงหนวยงานท่ีเก่ียวของ เขาตรวจสอบ และซอมแซม

แกไข บริเวณสายสง APE – VIE ท่ีเกิดปญหา โดยตองประสานงานกับหนวยงานดังกลาว และ

อํานวยความสะดวกตามท่ีมีการรองขอ จนกวาจะซอมแซมแกไขจุดเกิดเหตุแลวเสร็จ หลังจากท่ี

ไดรับคํายืนยันวาซอมแซมแกไขแลวเสร็จ ก็ดําเนินการถายเทโหลดใหกลับมารับไฟตามสภาพปกติ

2) เหตุการณโรงไฟฟา SPP Trip ออกจากระบบ

ตอเนื่องจากเหตุการณฉุกเฉิน ก. หลังจากท่ีศูนยฯ ดําเนินการยายโหลดสถานีฯ VIE มารับ

ไฟจาก KPH แลว และอยูระหวางการแกไขจุดเกิดเหตุบริเวณสายสงชวง APE – VIE ตอมาเวลา

ประมาณ 16.30 น. เกิดเหตุการณโรงไฟฟา SPP (40 MW) Trip ออกจากระบบ ข้ึนอีก สาเหตุ

เนื่องจากปญหาภายในโรงไฟฟาเอง จากเหตุการณท่ีเกิดข้ึนนั้น สงผลใหแหลงจายพลังงานไฟฟา

หายไป 40 MW ซ่ึงทําใหสายสงชวง APE – KPH รับภาระโหลดเพ่ิมข้ึนอีก 40 MW รวมเปน

ท้ังสิ้น 180 MW (สมมติใหพิกัดสายสงชวง APE – KPH เทากับ 200 MW) เหตุการณโรงไฟฟา

SPP Trip นี้ยังไมกอใหเกิดไฟฟาดับในทันที เนื่องจากสายสง APE – KPH ยังสามารถรับภาระ

โหลดไดท้ังหมด แตหากในชวง Peak Load (18.00-22.00 น.) ปริมาณโหลดจะเพ่ิมสูงข้ึน และมี

แนวโนมการเกิด Overload สายสงฯ ทําใหสายสงฯ ดังกลาว Trip Lockout ในท่ีสุด ซ่ึงจะทําให

เกิดไฟฟาดับเปนบริเวณกวาง

ดังนั้น เม่ือเกิดเหตุการณฉุกเฉินข้ึน ศูนยควบคุมการจายไฟ ตองประเมินระบบไฟฟา วามี

ความม่ันคงมากนอยเพียงใด หากประเมินแลววามีความเสี่ยงท่ีจะเกิดไฟฟาดับเปนบริเวณกวาง

ตองดําเนินการถายเทโหลด เพ่ือลดความเสี่ยงท่ีผูใชไฟจะเกิดไฟฟาดับ จากเหตุการณนี้ อาจ

พิจารณายายโหลดสถานี KPH, VIE บางสวน รับไฟจากสถานีฯ ขางเคียง ผานระบบจําหนาย

22/33 kV เพ่ือลดปริมาณโหลดในสายสงชวง APE- KPH ในชวง Peak Load รวมถึงอาจมีการ

ประชาสัมพันธแจงผูใชไฟท่ัวไป และผูใชไฟระบบ 115 kV บริษัท เดอะมอลล ใหเตรียมแผน

รองรับกรณีเกิดไฟฟาดับ

-70-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

รูปท่ี 37 แผนผังโครงสรางการสั่งการควบคุมการจายไฟฟา

จากรูปท่ี 37 แสดงแผนผังโครงสรางการสั่งการควบคุมการจายไฟฟา ซ่ึงจะแสดงหนวยงาน

ตางๆ (ท้ังภายในและภายนอก PEA) ท่ีเก่ียวของในการสั่งการฯ ของศูนยควบคุมการจายไฟฟา

รวมถึงแสดงลําดับข้ันของการประสานงานและการสั่งการฯ

-71-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4. วิธีปฏิบัติการสั่งการพ้ืนฐานสําหรับอุปกรณในระบบ 115 kV (Basic Operation) 4.1 วิธีปฏิบัติการสั่งการกับอุปกรณภายในสถานไีฟฟา แบงตามโครงสรางการจัดเรียง Bus ดังนี้

1. สถานีไฟฟาจัด Bus แบบ Main and Transfer Bus

รูปท่ี 1 Single Line Diagram สถานีไฟฟาจัด Bus แบบ Main and Transfer Bus

หมายเหตุ กําหนดใหใชสถานะของอุปกรณตามรูปท่ี 1 เปนสถานะเริ่มตนในการจัดทําข้ันตอนวิธีปฏิบัติฯ

1. การซอมแซม/บํารุงรักษาเบรกเกอรระบบ 115 kV (Incoming)รหัส AAA01YB-01 (กรณียายโหลดรับ

ไฟจาก AAA0BYB-01) หมายเหตุ กรณีสถานีไฟฟา ไมมีระบบการโอนระบบปองกันไปยัง AAA0BYB-01 แบบอัตโนมัติ ตรวจสอบคูมือวิธีการโอนระบบปองกันของสถานีไฟฟาแตละผลิตภัณฑ กอนปฏิบัติงาน 1.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบเบรกเกอร Spare รหัส AAA0BYB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02, AAA01YS-03 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

3) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง ท่ีจายไฟใหสถานีฯ AAA

4) ดําเนินการทดสอบ Transfer Bus

-72-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

a. แจงพนักงานสถานีไฟฟา AAA ตรวจสอบ Transfer Bus ดวยสายตา b. สับสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01,AAA0BYS-02 และตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง

3 เฟส c. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Transfer Bus และตรวจสอบ

สถานะการจายไฟปกต ิd. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 และตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “ปลด”

5) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-03 เพ่ือ Energize Transfer Bus และตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส รวมท้ังสถานะการจายไฟปกติ

6) สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือขนานระหวาง Main Bus และ Transfer Bus 7) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus 8) ปลดสวิตชใบมีดครอมหัว – ทายเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (สวิตซใบมีดรหัส

AAA01YS-01, AAA01YS-02) พรอมตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 9) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01,

AAA01YS-02 10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว) 12) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน(ยายโหลดกลับคืนสภาพปกติ)

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และของสถานีฯ ตนทางท่ี

จายไฟใหสถานีฯ AAA 3) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02

อยูในสถานะ “ปลด” 4) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 ออก 5) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) และแจงสวนท่ี

เก่ียวของตรวจสอบสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 6) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ออก 7) สับเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือขนานระหวาง Main Bus และ Transfer Bus พรอม

ท้ังตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ” และสถานะการจายไฟปกติ 8) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus และตรวจสอบเบรกเกอรอยูใน

สถานะ “ปลด”

-73-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

9) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-03 เพ่ือ De-energize Transfer Bus และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส

10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว)

2. การซอมแซม/บํารุงรักษาเบรกเกอรระบบ 115 kV(Outgoing#1)รหัส AAA03YB-01 (กรณียายโหลด

รับไฟจาก AAA0BYB-01) หมายเหตุ กรณีสถานีไฟฟา ไมมีระบบการโอนระบบปองกันไปยัง AAA0BYB-01 แบบอัตโนมัติ ตรวจสอบคูมือวิธีการโอนระบบปองกันของสถานีไฟฟาแตละผลิตภัณฑ กอนปฏิบัติงาน 2.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบเบรกเกอร Spare รหัส AAA0BYB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01, AAA03YS-02 ,AAA03YS-03 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

3) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 และของเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหสถานีฯ AAA

4) ทดสอบ Transfer Bus a. แจงพนักงานสถานีไฟฟา AAA ตรวจสอบ Transfer Bus ดวยสายตา b. สับสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) และแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส c. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Transfer Bus และตรวจสอบ

สถานะการจายไฟปกติ d. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 และตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “ปลด”

5) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA03YS-03 เพ่ือ Energize Transfer Bus และตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส รวมท้ังสถานะการจายไฟปกติ

6) สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือขนานระหวาง Main Bus และ Transfer Bus 7) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus 8) ปลดสวิตชใบมีดครอมหัว – ทายเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 (สวิตซใบมีดรหัส

AAA03YS-01, AAA03YS-02) พรอมตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 9) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01,

AAA03YS-02 10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง ท่ีจายไฟใหสถานีฯ AAA 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 12) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

-74-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน(ยายโหลดกลับคืนสภาพปกติ)

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01, AAA03YS-02

อยูในสถานะ “ปลด” 3) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 และของสถานีฯ ตนทางท่ี

จายไฟใหสถานีฯ AAA 4) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01, AAA03YS-02 ออก 5) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA03YS-01, AAA03YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) และแจงสวนท่ี

เก่ียวของตรวจสอบสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 6) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 ออก 7) สับเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 เพ่ือขนานระหวาง Main Bus และ Transfer Bus พรอม

ท้ังตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ” และสถานะการจายไฟปกติ 8) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus และตรวจสอบเบรกเกอรอยูใน

สถานะ “ปลด” 9) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA03YS-03 เพ่ือ De-energize Transfer Bus และแจงสวนท่ี

เก่ียวของตรวจสอบสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง ท่ีจายไฟใหสถานีฯ AAA 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01

3. การซอมแซม/บํารุงรักษา ในสายสง Outgoing#1

3.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-02 ตองไมมีปาย

หามควบคุมตางๆ 2) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 3) ดําเนินการยายโหลดออกจากสายสง Outgoing#1 โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือ

บํารุงรักษา ขอยอย 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ ใดๆ โดยหลังจากยายโหลดแลวเสร็จ ดําเนินการตรวจสอบดังนี้ a. ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” และมีการ

แขวน Tag หามควบคุม ท่ีอุปกรณฯ ดังกลาว b. ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอน ในขอ a)

(ถามี) อยูในสถานะ “ปลด”

-75-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 เพ่ือ De-energize สายสงฯ พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดสายสงฯ (MW, MVAR, Current) เปนศูนย

5) ปลด สวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-02 พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 6) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 7) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

3.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบ สวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01 อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 4) ตรวจสอบ สวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-02 อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 5) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 6) ตรวจสอบสถานะ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟ

จากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 7) ตรวจสอบ Ground Switch ครอมหัว-ทาย สายสง (ถามี) อยูในสถานะ “ปลด”

c. Ground Switch ตนทาง รหัส AAA03YG-01 8) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 อยูในสถานะ Off 9) ดําเนินการ Energize สายสงฯ

a. สับ สวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-02 พรอมตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส b. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 ออก และสับเบรกเกอรดังกลาว

เพ่ือ Energize สายสงฯ 10) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือ

บํารุงรักษา ขอยอย 3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ ใดๆ 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01

4. การดับ/จายไฟหมอแปลง TP1

4.1 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา ท่ี/บริเวณ หมอแปลง TP1 1) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side (รหัส AAA02YB-01)

และ Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ตรวจสอบสถานะ Disconnecting Switch/Truck ตําแหนงหัว-ทายหมอแปลง TP1 (ดาน

High Side รหัส AAA02YS-02) ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 3) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1

-76-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP2 ในสถานีฯเดียวกัน ปฏิบัติตามหลักการขนานและ

ถายเทโหลดหมอแปลง b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเท

โหลดฟดเดอร 5) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side (กรณี เบรกเกอรยังไมถูกปลด เนื่องจาก

ยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

6) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YB-01 เพ่ือ De-energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

7) จากขอ 4) และ 5) หากปริมาณโหลดไมเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเพ่ือตรวจสอบ 8) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side 9) ดําเนินการปลด สวิตซใบมีดดาน High Side รหัส AAA02YS-02 พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ

“ปลด” ท้ัง 3 เฟส 10) ดําเนินการปลด Disconnecting Switch/Truck Out Service ของเบรกเกอรดาน Low

Side พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” หรือ Out Service ตามลําดับ 11) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. แจงสวนเก่ียวของดําเนินการสับ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 (ถา

มี) หรือดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

4.2 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากซอมแซม/บํารุงรักษาท่ี/บริเวณหมอแปลง TP1

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบอุปกรณดาน High Side ของหมอแปลง TP1

a. เบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” b. สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01 อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส c. สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02 อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส

3) ตรวจสอบอุปกรณดาน Low Side ของหมอแปลง TP1 a. เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side อยูในสถานะ “ปลด” b. Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low

Side อยูในสถานะ “ปลด” หรือ Truck Out Service 4) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “ปลด”(ถามี) 5) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “Manual”

-77-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6) ปรับตําแหนง Tap ของ TP1 ใหอยูในตําแหนง Center Tap 7) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

a. สับ สวิตซใบมีดของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YS-02 พรอมตั้งแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

b. นํา Tag ท่ีแขวนไวท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YB-01 ออก

c. สับเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 เพ่ือ Energize หมอแปลง และรอเวลาประมาณ 15 นาที 8) สับ Disconnecting Switch/Truck In Service ของเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1

ดาน Low Side พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับ” หรือ In Service ตามลําดับ 9) นํา Tag ท่ีแขวนไวท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side ออก 10) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1

a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด หมอแปลง

b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร i. สับ เบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side เพ่ือ Energize Main Bus ระบบ

22/33 kV และตรวจสอบแรงดัน Main Bus ตองอยูในคามาตรฐานแรงดัน 22/33 kV

ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

4.3 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือปลด Cold Standby 1) ตรวจสอบเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side (รหัส AAA02YB-01) และ

Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 3) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก

a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP2 ในสถานีฯ เดียวกัน ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

4) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side (กรณี เบรกเกอรยังไมถูกปลด เนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

-78-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

5) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YB-01 เพ่ือ De-energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

6) จากขอ 4) และ 5) หากปริมาณโหลดไมเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเพ่ือตรวจสอบ 7) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side

4.4 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากปลด Cold Standby

1) ตรวจสอบอุปกรณดาน High Side ของหมอแปลง TP1 a. เบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” b. สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01 และ AAA02YS-02 อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

2) ตรวจสอบอุปกรณดาน Low Side ของหมอแปลง TP1 a. เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side อยูในสถานะ “ปลด” b. Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low

Side อยูในสถานะ “สับ” หรือ Truck In Service 3) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “ปลด”(ถามี) 4) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “Manual” 5) ปรับตําแหนง Tap ของ TP1 ใหอยูในตําแหนง Center Tap 6) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

a. นํา Tag ท่ีแขวนไวท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YB-01 ออก

b. สับเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 เพ่ือ Energize หมอแปลง และรอเวลาประมาณ 15 นาที 7) นํา Tag ท่ีแขวนไวท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side ออก 8) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1

a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด หมอแปลง

b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร i. สับเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side เพ่ือ Energize Main Bus ระบบ

22/33 kV และตรวจสอบแรงดัน Main Bus ตองอยูในคามาตรฐานแรงดัน 22/33 kV ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเท

โหลดฟดเดอร iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

-79-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

5. การซอมแซม/บํารุงรักษาท่ี Main Bus 5.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรระบบ 115 kV สถานีฯ AAA ทุกตัว และ เบรกเกอรสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟใหสถานีฯ AAA

2) ตรวจสอบเบรกเกอรระบบ 115 kV สถานีฯ AAA ไมมีปายหามควบคุมตางๆ 3) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 อยูในสถานะ “ปลด” และแขวน Tag หามควบคุม

ท่ีเบรกเกอรดังกลาว 4) ดําเนินการยายโหลดสถานีฯ AAA ฝากยังสถานีฯ ขางเคียง ทีละ Bay

a. Bay หมอแปลง TP1, TP2 ปฏิบัติตามขอ 4.3 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือปลด Cold Standby

b. Bay สายสง Outgoing#1, Outgoing#2 ตรวจสอบการเชื่อมตอสายสงฯ ดังกลาว กับแหลงจายขางเคียง และเง่ือนไขของหลักการขนานและถายเทโหลดตางๆ i. กรณีตรวจสอบแลว สามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ไดท้ังหมด ปฏิบัติตาม

หลักการขนานและเทโหลดสายสงระบบ 115 kV (ปลดขนานท่ีเบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1, Outgoing#2 )

ii. กรณีตรวจสอบแลว สามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ไดบางสวน ดําเนินการยายโหลด สวนท่ีเหลือ(ท่ีไมสามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ได) ผานระบบจําหนาย 22/33 kV โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายโหลด Feeder

iii. กรณีมีโหลดบางสวน เชน ผูใชไฟระบบ 115 kV หรือ SPP ซ่ึงตรวจสอบและพิจารณาแลวไมสามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV และ 22/33 kV ดําเนินการแจงผูใชไฟงดรับไฟฯ หรือแจง SPP งดการขนานฯ ในชวงเวลาท่ีปฏิบัติงานดังกลาว

iv. หลังจากดําเนินการยายโหลดตามขอ i ถึง iii แลวเสร็จ ดําเนินการตรวจสอบ เบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1, Outgoing#2 อยูในสถานะ “ปลด” และแขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรดังกลาว

5) ดําเนินการปลด Bay Incoming a. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือ De-energize Main Bus และแจงสวนท่ี

เก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “ปลด” b. ตรวจสอบแรงดันท่ี Main Bus ตองเปนศูนย ท้ัง 3 เฟส หากไมเปนศูนย ใหแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบ c. แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01

6) ปลดสวิตซใบมีดติด Main Bus ทุกตัว (AAA01YS-01, AAA02YS-01, AAA03YS-01, AAA04YS-01, AAA05YS-01 และ AAA0BYS-01)

7) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง ท่ีจายไฟใหสถานีฯ AAA 8) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

-80-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปน ศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

5.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรติด Main Bus ทุกตัว (รหัส AAA01YB-01, AAA02YB-01, AAA03YB-01,

AAA04YB-01, AAA05YB-01, AAA0BYB-01) อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดติด Main Bus ทุกตัว (รหัส AAA01YS-01, AAA02YS-01, AAA03YS-01,

AAA04YS-01, AAA05YS-01, AAA0BYS-01) อยูในสถานะ “ปลด” 4) Off Auto Reclosing Relay สถานีฯ ตนทาง และตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของ

เบรกเกอรระบบ 115 kV ท่ีสถานีฯ AAA ทุกตัว อยูในสถานะ “Off” 5) สับสวิตซใบมีดติด Main Bus ทุกตัว และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูใน

สถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 6) ดําเนินการ Energize Main Bus

a. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ออก b. สับ เบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือ Energize Main Bus และตรวจสอบระดับ

แรงดันท่ี Main Bus ท้ัง 3 เฟส ตองใกลเคียงกับคามาตรฐาน 115 kV 7) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟตามสภาพปกติ ทีละ Bay

a. Bay หมอแปลง TP1, TP2 ปฏิบัติตามขอ 4.4 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากปลด Cold Standby

b. Bay สายสง Outgoing#1, Outgoing#2 i. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1, Outgoing#2 ออก ii. ดําเนินการสับเบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1,Outgoing#2

i. กรณีการสับเบรกเกอรดังกลาว เปนการสับขนานโหลดสายสงฯ ใหปฏิบัติตามหลักการขนานและเทโหลดสายสงระบบ 115 kV

ii. กรณีการสับเบรกเกอรดังกลาว เปนการ Energize สายสงฯ ตรวจสอบสถานะ Ground Switch ครอมหัว-ทาย สายสงฯ และอุปกรณตัดตอนท่ีเชื่อมตอกับสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” หลังจากนั้นจึงดําเนินการสับเบรกเกอรฯ เพ่ือ Energize สายสงฯ ดังกลาว

iii. กรณีท่ีมีการยายโหลดผานระบบจําหนาย 22/33 kV หลังจากดําเนินการตามขอ i และ ii แลว ดําเนินการยายโหลดระบบ 22/33 kV กลับคืน โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและเทโหลด Feeder

-81-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

iv. กรณีมีการปลดโหลดออกบางสวน เชน ผูใชไฟระบบ 115 kV หรือ SPP หลังจากดําเนินการตามขอ i และ ii แลว ดําเนินการแจง ผูใชไฟรับไฟจาก PEA หรือ แจง SPP ขนานเขาระบบ ตามสภาพปกติ

8) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกันสายสงท่ีสถานีฯ AAA (ไดแกเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว), AAA03YB-01, AAA05YB-01)

9) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟใหสถานีฯ AAA 6. การซอมแซม/บํารุงรักษาท่ี Main Bus (กรณีจายไฟแบบ Solid Bus)

6.1 ข้ันตอนกอนบํารุงรักษา 1) ตรวจสอบเบรกเกอรระบบ 115 kV สถานีฯ AAA ทุกตัว ไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรระบบ 115 kV สถานีฯ AAA ทุกตัว และเบรก

เกอรสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟใหสถานีฯ AAA 4) ดําเนินการถายเทโหลดสถานีฯ AAA ไปรับไฟจากสถานีฯ ขางเคียง ใหไดมากท่ีสุด

a. กรณียายโหลดผานระบบ 115 kV ดําเนินการตามหลักการขนานและเทโหลดสายสงระบบ 115 kV

b. กรณียายโหลดผานระบบ 22/33 kV ดําเนินการยายโหลด ตามหลักการขนานและเทโหลดฟดเดอร

c. หลังจากยายโหลดตามขอ a และ b แลว ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรท่ีสามารถยายโหลดไดท้ังหมด อยูในสถานะ “ปลด”

5) ทดสอบ Transfer Bus a. แจงสวนเก่ียวของตรวจสอบ Transfer Bus ท่ีสถานีไฟฟา AAA ดวยสายตา b. สับสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) และแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส c. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมท้ังแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ” และสถานะการจายไฟปกติ d. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูใน

สถานะ “ปลด” 6) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-03 เพ่ือ Energize Transfer Bus และแจงสวนท่ีเก่ียวของ

ตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 7) สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือขนาน Bus และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบ

เบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ” 8) แจงสวนเก่ียวของปดการทํางานเบรกเกอรระบบ 115 kV ท่ีสถานีฯ AAA เฉพาะ Bay ท่ีสับ

เบรกเกอรจายโหลดอยู (ไมสามารถยายโหลดรับสถานีฯ ขางเคียงไดท้ังหมด)

-82-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

9) แจงสวนเก่ียวของปลด Inter Lock ใหสามารถสับสวิตซใบมีดรหัส AAA_YS-03 ใดๆ ไดมากกวา 1 ตัว

10) แจงสวนเก่ียวของสับสวิตซใบมีดรหัส AAA_YS-03 เฉพาะ Bay ท่ีจายโหลดอยู ตามขอ 8) 11) แจงสวนเก่ียวของเปดการทํางานเบรกเกอรระบบ 115 kV ท่ีถูกปดไว ตามขอ 8) 12) ปลดเบรกเกอรติด Main Bus ท่ีเหลือท้ังหมด และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอร

อยูในสถานะ “ปลด” 13) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรติด Main Bus ท้ังหมด 14) ปลดสวิตซใบมีดครอมหัว-ทาย เบรกเกอรติด Main Bus ท้ังหมด และแจงสวนท่ีเก่ียวของ

ตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 15) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

หมายเหตุ การจายไฟผาน Transfer Bus แทนการจายไฟผาน Main Bus แบบขางตน (Solid Bus) จะใชใน

กรณีท่ีมีความจําเปน ตองซอมแซม/บํารุงรักษา Main Bus แตไมสามารถยายโหลดของสถานีฯ AAA ไปรับไฟจากสถานีฯ ขางเคียงไดท้ังหมด ทําใหโหลดท่ีเหลือจําเปนตองยายมารับไฟจาก Transfer Bus แทนเปนการชั่วคราว ซ่ึงขอดอยของการจายไฟลักษณะนี้ คือ สถานีฯ AAA จะไมมีระบบปองกันใดๆ เลย ระบบปองกันของสถานีฯ AAA จะใชระบบปองกันสายสงฯ ของสถานีฯ ตนทาง แทน

ดังนั้น กอนดําเนินการทํา Solid Bus ตองแจงหนวยงานท่ีเก่ียวของ ตรวจสอบ/ปรับตั้งการทํางานของรีเลยปองกันสายสงท่ีสถานีฯ ตนทาง ใหทํางานครอบคลุมและสัมพันธกันกับอุปกรณท่ีสถานีฯ AAA รวมไปถึงสถานีฯ ปลายทางท่ีรับไฟจากสถานีฯ AAA

6.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรระบบ 115 kV สถานีฯ AAA ทุกตัว อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดครอมหัว-ทาย เบรกเกอรระบบ 115 kV สถานีฯ AAA ทุกตัว อยูใน

สถานะ “ปลด” 4) Off Auto Reclosing Relay สถานีฯ ตนทาง และตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของ

เบรกเกอรระบบ 115 kV สถานีฯ AAA ทุกตัว อยูในสถานะ “Off” 5) ดําเนินการ Energize Main Bus

a. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02 (ครอมหัว-ทายเบรกเกอร) และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

b. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 ออก

-83-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

c. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Main Bus และตรวจสอบระดับแรงดันไฟฟาท่ี Main Bus ท้ัง 3 เฟส ตองใกลเคียงกับคามาตรฐาน 115 kV

6) สับสวิตซใบมีดครอมหัว-ทายเบรกเกอรระบบ 115 kV ท้ังหมด และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

7) สับเบรกเกอรระบบ 115 kV (เฉพาะ Bay Incoming และ Bay ท่ีรับไฟจาก Transfer Bus) และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ”

8) แจงสวนเก่ียวของปดการทํางานเบรกเกอรระบบ 115 kV เฉพาะตัวท่ีสับอยู 9) ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA_YS-03 (ตัวท่ีถูกสับไวทุกตัว ยกเวน AAA01YS-03) และแจงสวน

ท่ีเก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 10) แจงสวนเก่ียวของเปดการทํางานเบรกเกอรระบบ 115 kV ในขอ 7 11) ปลดขนาน Bus ท่ีเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบเบรก

เกอรอยูในสถานะ “ปลด” 12) ปลดสวิตซใบมีดครอมหัว-ทายเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 (AAA0BYS-01, AAA0BYS-02) และ

แจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 13) ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-03 เพ่ือ De-energize Transfer Bus และแจงสวนท่ี

เก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 14) ดําเนินการยายโหลดสถานีฯ AAA Bay ท่ียายไปรับไฟจากสถานีฯ ขางเคียง กลับมารับไฟ

ตามสภาพปกติ a. กรณียายโหลดผานระบบ 115 kV ดําเนินการตามหลักการขนานและเทโหลดสายสง

ระบบ 115 kV b. กรณียายโหลดผานระบบ 22/33 kV ดําเนินการยายโหลด ตามหลักการขนานและเท

โหลดฟดเดอร 15) แจงหนวยงานท่ีเก่ียวของ ตรวจสอบ/ปรับตั้งการทํางานของรีเลยปองกันสายสงท่ีสถานีฯ

ตนทาง ใหทํางานสัมพันธกันกับรีเลยปองกันของสถานีฯ AAA 16) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง และเบรกเกอรปองกันสายสงท่ี

สถานีฯ AAA

-84-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2. สถานีฯ จัด Bus แบบ Breaker & a Half

รูปท่ี 2 Single Line Diagram สถานีไฟฟาจัด Bus แบบ Breaker & a Half

หมายเหตุ กําหนดใหใชสถานะของอุปกรณตามรูปท่ี 2 เปนสถานะเริ่มตนในการจัดทํา ข้ันตอนวิธีปฏิบัติฯ

1. การซอมแซม/บํารุงรักษาเบรกเกอรติด Main Bus # 1 รหัส AAA01YB-01 (ปองกันสายสง Incoming # 1)

1.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02

(หัว – ทายเบรกเกอร) ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ตรวจสอบปริมาณโหลดของ Incoming#1 และ Incoming#2 ตองไมเกินคาพิกัดของ

เบรกเกอรรหัส AAA01YB-03 3) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว) 4) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-02 อยูในสถานะ Off

-85-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

5) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหแกสายสง Incoming#1

6) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะเบรกเกอร AAA01YB-01 อยูในสถานะ “ปลด”

7) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 8) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) และแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบสถานะสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 9) แขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 10) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตน

ทางท่ีจายไฟใหแกสายสง Incoming#1 11) กรณีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ถูกตั้งคาให On Auto Reclosing Relay ไว ดําเนินการ

On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-02 แทน (ถามี) 12) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01,AAA01YS-02 (หัว-ทาย เบรกเกอร) อยูในสถานะ

“ปลด” 4) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ Off 5) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA0YB-02 (ถามี และถูกตั้งคาให On

แทน Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01) 6) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตน

ทางท่ีจายไฟใหแกสายสง Incoming#1 7) นํา Tag ท่ีแขวนไว ท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 ออก 8) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 และแจงสวนเก่ียวของเขาตรวจสอบ

สวิตชใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 9) นํา Tag ท่ีแขวนไว ท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ออก 10) สับเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะของเบรกเกอรอยู

ในสถานะ “สับ” 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว) 12) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตน

ทางท่ีจายไฟใหแกสายสง Incoming#1

-86-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2. การบํารุงรักษาเบรกเกอรติด Main Bus#2 รหัส AAA2YB-03 (ปองกัน TP1) 2.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบเบรกเกอร รหัส AAA02YB-03 และสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-05,AAA02YS-06 (หัว-ทาย เบรกเกอร) ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ตรวจสอบปริมาณโหลดของหมอแปลง TP1 และสายสง Outgoing#1 ตองไมเกินคาพิกัดของเบรกเกอร รหัส AAA02YB-01

3) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของ เบรกเกอรรหัส AAA02YB-02 อยูในสถานะ Off (ถามี) 4) ปลดเบรกเกอร รหัส AAA02YB-03 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ

“ปลด” 5) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA02YB-03 6) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-05, AAA02YS-06 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสวิตช

ใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 7) แขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-05, AAA02YS-06 8) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงานยืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังแจงปลดการตอลงดิน ณ หัว-ทายจุดปฏิบัติงาน

2) แจงสวนเก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA2YB-03 อยูในสถานะ “ปลด” 3) แจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสวิตชใบมีดรหัส AAA2YS-05, AAA2YS-06 (หัว – ทายเบรกเกอร)

อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 4) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA2YB-02 อยูในสถานะ Off (ถามี) 5) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA2YS-05, AAA2YS-06 ออก 6) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA2YS-05, AAA2YS-06 และแจงสวนเก่ียวของ ตรวจสอบสวิตซ

ใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 7) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA2YB-03 ออก 8) สับเบรกเกอรรหัส AAA2YB-03 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ”

3. การบํารุงรักษาเบรกเกอรติด Main Bus # 1 รหัส AAA4YB-01 (ปองกันสายสง Outgoing#3)

3.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบเบรกเกอร รหัส AAA04YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-01,AAA04YS-02

(หัว-ทาย เบรกเกอร) ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

-87-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2) ตรวจสอบปริมาณโหลดของสายสง Outgoing#3 และ Outgoing#4 ตองไมเกินคาพิกัดของ เบรกเกอร รหัส AAA04YB-03

3) Off Auto Reclosing Relay ของ เบรกเกอรรหัส AAA04YB-01 4) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-02 อยูในสถานะ Off (ถามี) 5) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “ปลด” 6) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01 7) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA04YS-01, AAA04YS-02 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสวิตชใบมีดอยู

ในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 8) แขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA04YS-01, AAA04YS-02 9) On Auto Reclosing Relay ของ เบรกเกอรรหัส AAA04YB-02 (ถามี) 10) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

3.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-01, AAA04YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) อยูใน

สถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01 อยูในสถานะ Off 5) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-02 (ถามี) 6) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-01, AAA04YS-02 ออก 7) สับสวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-01, AAA04YS-02 และแจงสวนเก่ียวของเขาตรวจสอบ

สวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 8) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01 ออก 9) สับเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ” 10) On Auto Reclosing Relay ของ เบรกเกอรรหัส AAA04YB-01

4. การบํารุงรักษาเบรกเกอรตัวกลาง รหัส AAA1YB-02 (ปองกันสายสง Incoming)

4.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-02 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-03, AAA01YS-04

(หัว - ทายเบรกเกอร) ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรท่ี

จายไฟใหแกสายสง Incoming#1 และ Incoming#2

-88-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02 (ถามี), AAA01YB-03

4) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-02 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “ปลด”

5) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-02 6) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-03, AAA01YS-04 (หัว – ทายเบรกเกอร) และแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 7) แขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-03, AAA01YS-04 8) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตน

ทางท่ีจายไฟใหแกสายสง Incoming#1 และ Incoming#2 9) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-03 (กรณีท่ีถูก

ตั้งคาให On ไว) 10) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

4.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรรหัส AAA01YB-02 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-03, AAA01YS-04 (หัว – ทายเบรกเกอร) อยูใน

สถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 4) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตน

ทางท่ีจายไฟใหแกสายสง Incoming#1 และ Incoming#2 5) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-03 6) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของ AAA01YB-02 อยูในสถานะ Off (ถามี) 7) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-03, AAA01YS-04 ออก 8) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-03, AAA01YS-04 (หัว – ทายเบรกเกอร) และแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 9) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-02 ออก 10) สับเบรกเกอรรหัส AAA01YB-02 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ

“สับ” 11) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตน

ทางท่ีจายไฟใหแกสายสง Incoming#1 และ Incoming#2 12) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-03 (กรณีท่ีถูก

ตั้งคาให On ไว)

-89-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

5. การบํารุงรักษาเบรกเกอรตัวกลาง รหัส AAA4YB-02 (ปองกันสายสง Outgoing) 5.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA04YB-02 และสวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-03,AAA04YS-04 (หัว-ทาย เบรกเกอร) ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01, AAA04YB-02 (ถามี), AAA04YB-03

3) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA04YB-02 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “ปลด”

4) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA04YB-02 5) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA04YS-03, AAA04YS-04(หัว – ทายเบรกเกอร) และแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 6) แขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA04YS-03, AAA04YS-04 7) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01, AAA04YB-03 8) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

5.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA04YB-02 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตชใบมีดรหัส AAA04YS-03, AAA04YS-04(หัว – ทายเบรกเกอร) อยูใน

สถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 4) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01, AAA04YB-03 5) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-02 (ถามี) อยูในสถานะ Off 6) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA04YS-03, AAA04YS-04 ออก 7) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA04YS-03, AAA04YS-04 (หัว – ทายเบรกเกอร) และแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 8) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA04YB-02 ออก 9) สับเบรกเกอรรหัส AAA04YB-02 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ” 10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01, AAA04YB-03

-90-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6. การบํารุงรักษาในสายสง Incoming#1 6.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบพิกัดสายสง Incoming#2 รวมท้ังอุปกรณท่ีสถานีฯ AAA หลังจากปลดสายสง Incoming#1 ไปแลว ตองสามารถรับภาระโหลดท้ังหมดได

2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02 และสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-02, AAA01YS-03 ไมมีปายหามควบคุมตางๆ

3) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหแกสายสง Incoming#1

4) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02(ถามี) 5) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02 และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบเบรก

เกอรอยูในสถานะ “ปลด” 6) ตรวจสอบปริมาณโหลด Incoming#1 (MW,MVAR, Current) เปนศูนย หากไมเปนศูนย

ใหแจงสวนเก่ียวของเขาตรวจสอบ 7) แจง ศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ ดําเนินการปลดเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหแก

Incoming#1 พรอมปลดสวิตซใบมีดออกไลนดวย 8) ตรวจสอบยืนยันศูนย กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ ดําเนินการปลดอุปกรณตามขอ 8) เรียบรอยแลว 9) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02 10) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-02, AAA01YS-03 (ติดกับสายสง Incoming#1) และแจง

สวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 11) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

6.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังแจงใหปลดการตอลงดินออกดวย 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-02, AAA01YS-03 (ติดกับสายสง Incoming#1) อยู

ในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบ Ground Switch ของสายสง Incoming#1 อยูในสถานะ “ปลด” 5) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02 (ถา

มี) อยูในสถานะ “Off” 6) สับสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-02, AAA01YS-03 (ติดกับสายสง Incoming#1) และแจง

สวนเก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 7) แจงศูนย กฟผ. ดําเนินการสับเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหแก Incoming#1 เพ่ือ Energize

สายสง Incoming#1

-91-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

8) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02 ออก 9) สับเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02 และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบเบรก

เกอรอยูในสถานะ “สับ” 10) ตรวจสอบปริมาณโหลด Incoming#1 (MW, MVAR, Current) ตองไมเปนศูนย ท้ัง 3 เฟส

หากเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเขาตรวจสอบ 11) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตน

ทางท่ีจายไฟใหแกสายสง Incoming#1 12) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว)

7. การซอมแซม/บํารุงรักษา ในสายสง Outgoing#3

7.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01, AAA04YB-02 และสวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-02,

AAA04YS-03 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01, AAA04YB-02 (ถามี) 3) ดําเนินการยายโหลดออกจากสายสง Outgoing#3 โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือ

บํารุงรักษา ขอยอย 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ ใดๆ โดยหลังจากยายโหลดแลวเสร็จ ดําเนินการตรวจสอบดังนี้ a. ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” และมีการ

แขวน Tag หามควบคุมท่ีอุปกรณฯ ดังกลาว b. ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอน ในขอ a)

(ถามี) อยูในสถานะ “ปลด” 4) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01,AAA04YB-02 เพ่ือ De-energize สายสงฯ พรอมท้ัง

ตรวจสอบปริมาณโหลดสายสงฯ (MW, MVAR, Current) เปนศูนย 5) ปลด สวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-02,AAA04YS-03 พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง

3 เฟส 6) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01,AAA04YB-02 7) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

7.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01,AAA04YB-02 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบ สวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-01,AAA04YS-04 อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3

เฟส

-92-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4) ตรวจสอบ สวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-02,AAA04YS-03 อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 5) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 6) ตรวจสอบสถานะ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนท่ีรับ

ไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 7) ตรวจสอบ Ground Switch ครอมหัว-ทาย สายสง (ถามี) อยูในสถานะ “ปลด” 8) Ground Switch ตนทาง รหัส AAA04YG-01 9) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01,AAA04YB-02(ถามี)

อยูในสถานะ Off 10) ดําเนินการ Energize สายสงฯ

a. สับ สวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-02, AAA04YS-03 พรอมตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

b. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01,AAA04YB-02 ออก และสับ เบรกเกอรดังกลาว เพ่ือ Energize สายสงฯ

11) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา ขอยอย 3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ ใดๆ

12) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01

8. การดับ/จายไฟหมอแปลง TP1

8.1 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา ท่ี/บริเวณ หมอแปลง TP1 1) ตรวจสอบเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side (รหัส AAA02YB-02,

AAA02YB-03) และ Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Truck ตําแหนงหัว - ทายหมอแปลง TP1 (ดาน High

Side รหัส AAA02YS-04, AAA02YS-05) ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 3) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 4) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก

a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP2 ในสถานีฯเดียวกัน ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

5) ปลด เบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side (กรณี เบรกเกอรยังไมถูกปลด เนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

-93-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6) ปลด เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YB-02,AAA02YB-03 เพ่ือ De-energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

7) จากขอ 4) และ 5) หากปริมาณโหลดไมเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเพ่ือตรวจสอบ 8) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side 9) ดําเนินการปลด สวิตซใบมีดดาน High Side รหัส AAA02YS-04,AAA02YS-05 พรอมท้ัง

ตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 10) ดําเนินการปลด Disconnecting Switch/Truck Out Service ของ เบรกเกอรดาน Low

Side พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” หรือ Out Service ตามลําดับ 11) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. แจงสวนเก่ียวของดําเนินการสับ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 (ถา

มี) หรือดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

8.2 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากซอมแซม/บํารุงรักษาท่ี/บริเวณ หมอแปลง TP1

1) ตรวจสอบหนวยงานบํารุงรักษายืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังแจงปลดการตอลงดินท่ีหัว – ทายจุดปฏิบัติงานดวย

2) ตรวจสอบอุปกรณดาน High Side ของหมอแปลง TP1 a. เบรกเกอรรหัส AAA02YB-02,AAA02YB-03 อยูในสถานะ “ปลด” b. สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-03,AAA02YS-06 อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส c. สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-04,AAA02YS-05 อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส

3) ตรวจสอบอุปกรณดาน Low Side ของหมอแปลง TP1 a. เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side อยูในสถานะ “ปลด” b. Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low

Side อยูในสถานะ “ปลด” หรือ Truck Out Service 4) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “ปลด”(ถามี) 5) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “Manual” 6) ปรับตําแหนง Tap ของ TP1 ใหอยูในตําแหนง Center Tap 7) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

a. สับ สวิตซใบมีดของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YS-04,AAA02YS-05 พรอมท้ังแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

b. นํา Tag ท่ีแขวนไวท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YB-02,AAA02YB-03 ออก

-94-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

c. สับ เบรกเกอรรหัส AAA02YB-02,AAA02YB-03 เพ่ือ Energize หมอแปลง และรอเวลาประมาณ 15 นาที

8) สับ Disconnecting Switch/Truck In Service ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับ” หรือ In Service ตามลําดับ

9) นํา Tag ท่ีแขวนไว ท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side ออก 10) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1

a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด หมอแปลง

b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร i. สับเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side เพ่ือ Energize Main Bus ระบบ

22/33 kV และตรวจสอบแรงดัน Main Bus ตองอยูในคามาตรฐานแรงดัน 22/33 kV ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเท

โหลดฟดเดอร iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

8.3 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือปลด Cold Standby

1) ตรวจสอบเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side (รหัส AAA02YB-02, AAA02YB-03) และ Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 3) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก

a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP2 ในสถานีฯเดียวกัน ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

4) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side (กรณีเบรกเกอรยังไมถูกปลด เนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

5) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YB-02, AAA02YB-03 เพ่ือ De-energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

6) จากขอ 4) และ 5) หากปริมาณโหลดไมเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเพ่ือตรวจสอบ 7) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side

-95-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

8.4 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากปลด Cold Standby 1) ตรวจสอบอุปกรณดาน High Side ของหมอแปลง TP1

a. เบรกเกอรรหัส AAA02YB-02,AAA02YB-03 อยูในสถานะ “ปลด” b. สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-03, AAA02YS-04, AAA02YS-05, AAA02YS-06 อยูใน

สถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 2) ตรวจสอบอุปกรณดาน Low Side ของหมอแปลง TP1

a. เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side อยูในสถานะ “ปลด” b. Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low

Side อยูในสถานะ “สับ” หรือ Truck In Service 3) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “ปลด”(ถามี) 4) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “Manual” 5) ปรับตําแหนง Tap ของ TP1 ใหอยูในตําแหนง Center Tap 6) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

a. นํา Tag ท่ีแขวนไวท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YB-02, AAA02YB-03 ออก

b. สับเบรกเกอรรหัส AAA02YB-02,AAA02YB-03 เพ่ือ Energize หมอแปลง และรอเวลาประมาณ 15 นาที

7) นํา Tag ท่ีแขวนไว ท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side ออก 8) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1

a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด หมอแปลง

b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร i. สับ เบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side เพ่ือ Energize Main Bus ระบบ

22/33 kV และตรวจสอบแรงดัน Main Bus ตองอยูในคามาตรฐานแรงดัน 22/33 kV ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเท

โหลดฟดเดอร iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

9. การซอมแซม/บํารุงรักษา Main Bus#1

9.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบเบรกเกอรระบบ 115 kV สถานีฯ AAA ท่ีติด Main Bus # 1 ทุกตัว (รหัส

AAA01YB-01, AAA02YB-01, AAA03YB-01, AAA04YB-01) ไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ตรวจสอบสวิตซใบมีดระบบ 115 kV สถานีฯ AAA ท่ีติด Main Bus # 1 ทุกตัว (รหัส

AAA01YS-01, AAA02YS-01, AAA03YS-01, AAA04YS-01) ไมมีปายหามควบคุมตางๆ

-96-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3) ตรวจสอบพิกัดโหลดของอุปกรณท่ียังจายไฟอยูหลังจากปลด Main Bus # 1 ไปแลว ตองสามารถรับโหลดได

4) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรติด Main Bus # 1 ท้ังหมด 5) ปลดเบรกเกอรติด Main Bus# 1 ท้ังหมด (ปลดทีละตัว) และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบ

เบรกเกอรอยูในสถานะ “ปลด” 6) ตรวจสอบแรงดันท่ี Main Bus# 1 เปนศูนย ท้ัง 3 เฟส 7) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรติด Main Bus # 1 ท้ังหมด 8) ปลดสวิตชใบมีดติด Main Bus#1 ท้ังหมด (ปลดทีละตัว) และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบ

สวิตซใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 9) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกันสายสง (ตัวกลาง) รหัส AAA02YB-02

(ถามี), AAA03YB-02 (ถามี), AAA04YB-02 (ถามี) 10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกันสายสง Incoming (ตัวกลาง) รหัส

AAA01YB-02 (ถามี และเบรกเกอรปองกัน Incoming#1 ถูกตั้งคาให On Auto Reclosing Relay ไว

11) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้ a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปน ศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

9.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบหนวยงานบํารุงรักษาพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังแจงปลดการตอลงดินท่ี Main

Bus#1 2) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรติด Main Bus#1 ท้ังหมด อยูในสถานะ Off 3) ตรวจสอบเบรกเกอรติด Main Bus#1 ทุกตัว (AAA01YB-01,AAA02YB-01,AAA03YB-01,

AAA04YB-01) อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบสวิตซใบมีดติด Main Bus#1 ทุกตัว(AAA01YS-01, AAA02YS-01,AAA03YS-01,

AAA04YS-01) อยูในสถานะ “ปลด” 5) ดําเนินการสับสวิตชใบมีด ติด Main Bus# 1 ทุกตัว (สับทีละตัว) และแจงสวนเก่ียวของ

ตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 6) นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรติด Main Bus#1 ทุกตัว ออก 7) ดําเนินการสับเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือ Energize Main Bus#1 8) ตรวจสอบแรงดันท่ี Main Bus#1 ตองใกลเคียงกับแรงดันมาตรฐาน 115 kV ท้ัง 3 เฟส 9) ดําเนินการสับเบรกเกอรติด Main Bus#1 ท่ีเหลือ ทุกตัว (สับทีละตัว) และแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ” 10) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-02 (ถามี), AAA02YB-02 (ถา

มี), AAA03YB-02 (ถามี), AAA04YB-02 (ถามี)

-97-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01(กรณีถูกตั้งให On ไว), AAA02YB-01, AAA03YB-01, AAA04YB-01

-98-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3. สถานีฯ จัด Bus แบบ Double Bus Single Breaker (GIS SubstatiOn)

แบบท่ี 1 : รับไฟ 1 Incoming จายโหลด 1 Main Bus และอีก 1 Main Bus จายไฟเล้ียงไว

รูปท่ี 3.1 Single Line Diagram สถานีไฟฟาจัด Bus แบบ DBSB (แบบท่ี 1)

แบบท่ี 2 : รับไฟ 1 Incoming จายโหลด 2 Main Bus

รูปท่ี 3.2 Single Line Diagram สถานีไฟฟาจัด Bus แบบ DBSB (แบบท่ี 2)

-99-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

แบบท่ี 3 : รับไฟ 2 Incoming จายโหลด 2 Main Bus แยกจากกัน

รูปท่ี 3.3 Single Line Diagram สถานีไฟฟาจัด Bus แบบ DBSB (แบบท่ี 3) หมายเหตุ กําหนดใหใชสถานะของอุปกรณตามรูปท่ี 3.1, 3.2 และ 3.3 เปนสถานะเริ่มตน ในการจัดทําข้ันตอนวิธีปฏิบัติฯ

1. การซอมแซม/บํารุงรักษา ในสายสง Outgoing#1 (สําหรับการจัดบัสท้ัง 3 แบบ)

1.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-03 ไมมีปายหาม

ควบคุมตางๆ 2) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 3) ดําเนินการยายโหลดออกจากสายสง Outgoing#1 โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือ

บํารุงรักษา ขอยอย 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ ใดๆ โดยหลังจากยายโหลดแลวเสร็จ ดําเนินการตรวจสอบดังนี้ a. ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” และมีการ

แขวน Tag หามควบคุมท่ีอุปกรณฯ ดังกลาว b. ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอน ในขอ a)

(ถามี) อยูในสถานะ “ปลด” 4) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 เพ่ือ De-energize สายสงฯ พรอมท้ังตรวจสอบ

ปริมาณโหลดสายสงฯ (MW, MVAR, Current) เปนศูนย 5) ปลด Disconnecting Switch รหัส AAA03YS-03 พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” 6) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 7) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

-100-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบกับทางชุดปฏิบัติงานเพ่ือยืนยันความพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังแจงปลดการตอลง

ดินท่ี ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบ สวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-02, AAA03YS-03 อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบ Disconnecting Switch รหัส AAA03YS-01 อยูในสถานะ “สับ” 5) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 6) ตรวจสอบสถานะ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟ

จากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 7) ตรวจสอบ Ground Switch ครอมหัว-ทาย สายสง (ถามี) อยูในสถานะ “ปลด” 8) Ground Switch ตนทาง รหัส AAA03YG-03, AAA03YG-04 9) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 อยูในสถานะ Off 10) ดําเนินการ Energize สายสงฯ

a. สับ สวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-03 พรอมตรวจสอบสถานะ “สับ” b. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 ออก และสับเบรกเกอรดังกลาว

เพ่ือ Energize สายสงฯ พรอมตรวจสอบสถานะ “สับ” 11) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือ

บํารุงรักษา ขอยอย 3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ ใดๆ 12) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01

2. การดับ/จายไฟหมอแปลง TP1 (สําหรับการจัดบัสท้ัง 3 แบบ)

2.1 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา ท่ี/บริเวณ หมอแปลง TP1 1) ตรวจสอบเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side (รหัส AAA02YB-01) และ

Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน

High Side (รหัส AAA02YS-03) และดาน Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 3) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 4) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก

a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP2 ในสถานีฯเดียวกัน ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

-101-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

5) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side (กรณี เบรกเกอรยังไมถูกปลด เนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

6) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YB-01 เพ่ือ De-energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

7) จากขอ 4) และ 5) หากปริมาณโหลดไมเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเพ่ือตรวจสอบ 8) แขวน Tag หามควบคุมท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side 9) ดําเนินการปลด Disconnecting Switch ดาน High Side รหัส AAA02YS-03 พรอมท้ัง

ตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 10) ดําเนินการปลด Disconnecting Switch/Truck Out Service ของ เบรกเกอรดาน Low

Side พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” หรือ Out Service ตามลําดับ 11) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. แจงสวนเก่ียวของดําเนินการสับ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 (ถา

มี) หรือดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2.2 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากซอมแซม/บํารุงรักษาท่ี/บริเวณ หมอแปลง TP1

1) ตรวจสอบหนวยงานบํารุงรักษายืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังแจงปลดการตอลงดินท่ีหัว – ทายจุดปฏิบัติงานดวย

2) ตรวจสอบอุปกรณดาน High Side ของหมอแปลง TP1 a. เบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” b. สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02, AAA02YS-03 อยูในสถานะ “ปลด” c. สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01 อยูในสถานะ “สับ”

3) ตรวจสอบอุปกรณดาน Low Side ของหมอแปลง TP1 a. เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side อยูในสถานะ “ปลด” b. Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low

Side อยูในสถานะ “ปลด” หรือ Truck Out Service 4) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “ปลด” 5) Ground Switch ดาน High Side รหัส AAA02YG-03,AAA02YG-04 6) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “Manual” 7) ปรับตําแหนง Tap ของ TP1 ใหอยูในตําแหนง Center Tap 8) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

-102-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

a. สับ สวิตซใบมีดของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YS-03 พรอมตั้งแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะ “สับ”

b. นํา Tag ท่ีแขวนไวท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YB-01 ออก

c. สับเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 เพ่ือ Energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับ”

d. รอเวลาประมาณ 15 นาที 9) สับ Disconnecting Switch/Truck In Service ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1

ดาน Low Side พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับ” หรือ In Service ตามลําดับ 10) นํา Tag ท่ีแขวนไว ท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side ออก 11) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1

a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด หมอแปลง

b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร i. สับเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side เพ่ือ Energize Main Bus ระบบ

22/33 kV และตรวจสอบแรงดัน Main Bus ตองอยูในคามาตรฐานแรงดัน 22/33 kV ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเท

โหลดฟดเดอร iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

2.3 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือปลด Cold Standby

1) ตรวจสอบเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side (รหัส AAA02YB-01) และ Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 3) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก

a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP2 ในสถานีฯเดียวกัน ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

4) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side (กรณี เบรกเกอรยังไมถูกปลด เนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

5) ปลด เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YB-01 เพ่ือ De-energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

-103-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6) จากขอ 4) และ 5) หากปริมาณโหลดไมเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเพ่ือตรวจสอบ 7) แขวน Tag หามควบคุมท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side

2.4 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากปลด Cold Standby

1) ตรวจสอบอุปกรณดาน High Side ของหมอแปลง TP1 a. เบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” b. สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02 อยูในสถานะ “ปลด” c. สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01,AAA02YS-03 อยูในสถานะ “สับ”

2) ตรวจสอบอุปกรณดาน Low Side ของหมอแปลง TP1 a. เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side อยูในสถานะ “ปลด” b. Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low

Side อยูในสถานะ “สับ” หรือ Truck In Service 3) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “ปลด”

a. Ground Switch ดาน High Side รหัส AAA02YG-03,AAA02YG-04 4) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “Manual” 5) ปรับตําแหนง Tap ของ TP1 ใหอยูในตําแหนง Center Tap 6) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

a. นํา Tag ท่ีแขวนไวท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA02YB-01 ออก

b. สับ เบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 เพ่ือ Energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับ”

c. รอเวลาประมาณ 15 นาที 7) นํา Tag ท่ีแขวนไว ท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side ออก 8) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1

a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด หมอแปลง

b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร i. สับเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side เพ่ือ Energize Main Bus ระบบ

22/33 kV และตรวจสอบแรงดัน Main Bus ตองอยูในคามาตรฐานแรงดัน 22/33 kV ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเท

โหลดฟดเดอร iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

-104-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3. การซอมแซม/บํารุงรักษาเบรกเกอรปองกันสายสง Incoming รหัส AAA01YB-01 (สําหรับการจัด Bus แบบท่ี 1 และ 2) กรณีสามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ไดท้ังหมด 3.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-03 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 3) ดําเนินการยายโหลดสถานีฯ AAA รับไฟจากสถานีฯ ขางเคียง โดยปฏิบัติตามหลักการขนาน

และถายเทโหลดสายสงระบบ 115 kV (ปลดขนานโหลดท่ีเบรกเกอรรหัส AAA1YB-01) 4) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 5) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-03 (หัว – ทายเบรกเกอร) และแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบสถานะสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” 6) แขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01,AAA01YS-02,AAA01YS-03 7) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปน ศูนย ณ จุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน โดยการสับ Ground Switch ครอมหัว-ทายเบรกเกอรรหัส

AAA01YB-01

3.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลวเสร็จ ยืนยันพรอมใหจายไฟ 2) ดําเนินการปลด Ground Switch ครอมหัว-ทายเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 3) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ Off 4) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 5) ตรวจสอบสถานะสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01,AAA01YS-02,AAA01YS-03 (หัว – ทาย

เบรกเกอร) อยูในสถานะ “ปลด” 6) นํา Tag หามควบคุมท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01,AAA01YS-02, AAA01YS-03 ออก 7) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01,AAA01YS-03 8) นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ออก 9) ดําเนินการยายโหลดสถานีฯ AAA กลับมารับไฟตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตามหลักการ

ขนานและถายเทโหลดสายสงระบบ 115 kV (สับขนานท่ีเบรกเกอร AAA01YB-01) 10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว)

-105-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4. การซอมแซม/บํารุงรักษาเบรกเกอรปองกันสายสง Incoming#1 รหัส AAA01YB-01 (สําหรับการจัด Bus แบบท่ี 3) กรณียายโหลดรับไฟจาก Incoming#2 4.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01,AAA01YS-03 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 และ สวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

3) ตรวจสอบปริมาณโหลดรวมของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (Incoming#1) และ เบรกเกอรรหัส AAA04YB-01 (Incoming#2) ตองไมเกินคาพิกัดของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01 (Incoming#2) และสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟให Incoming#2 ดังกลาว

4) ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (Incoming#1) 5) ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหสายสง

Incoming#1 และ Incoming#2 6) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02 (ครอมหัว-ทายเบรกเกอร AAA0BYB-01)

และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “สับ” 7) สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือขนานโหลดชั่วคราวระหวาง Incoming#1 และ

Incoming#2 8) ตรวจสอบปริมาณโหลด (MW, MVAR, Current) ของเบรกเกอร รหัส AAA01YB-01,

AAA04YB-01 และ AAA0BYB-01 มีการเปลี่ยนแปลง 9) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือปลดขนานโหลด 10) ตรวจสอบปริมาณโหลดของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (MW, MVAR, Current) เปนศูนย 11) แขวน Tag หามควบคุม ท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 12) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-03 (ครอมหัว-ทายเบรกเกอร AAA01YB-01)

และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” 13) แขวน Tag หามควบคุม ท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01,AAA01YS-02,AAA01YS-03 14) ดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหสายสง

Incoming#1 และ Incoming#2 15) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน โดยการสับ Ground Switch ครอมหัว-ทายเบรกเกอรรหัส

AAA01YB-01 หรือดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-106-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลวเสร็จ ยืนยันพรอมใหจายไฟ 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-

02, AAA01YS-03 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ดําเนินการปลด Ground Switch ครอมหัว-ทาย เบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 4) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ “Off” 5) ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหสายสง

Incoming#1 และ Incoming#2 6) นํา Tag หามควบคุมท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02,AAA01YS-03 ออก 7) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-03 (ครอมหัว-ทายเบรกเกอร AAA01YB-01)

และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “สับ” 8) นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ออก 9) สับเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือขนานโหลดชั่วคราวระหวาง Incoming#1 และ

Incoming#2 10) ตรวจสอบปริมาณโหลด (MW, MVAR, Current) ของเบรกเกอร รหัส AAA01YB-01,

AAA04YB-01 และ AAA0BYB-01 มีการเปลี่ยนแปลง 11) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือปลดขนานโหลด 12) ตรวจสอบปริมาณโหลด (MW, MVAR, Current) ของเบรกเกอร รหัส AAA01YB-01,

AAA04YB-01 มีการเปลี่ยนแปลง และปริมาณโหลดของเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เปนศูนย

13) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02 (ครอมหัว-ทายเบรกเกอร AAA0BYB-01) และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “ปลด”

14) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหสายสง Incoming#1 และ Incoming#2

15) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกันสายสง Incoming#1 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว)

5. การบํารุงรักษาเบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1 (AAA03YB-01) (สําหรับการจัด Bus ท้ัง 3 แบบ) 5.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01, AAA03YS-03 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 3) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจากเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 ไปรับไฟจากสถานีฯ

ขางเคียง

-107-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

a. กรณีตรวจสอบแลว สามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ไดท้ังหมด ปฏิบัติตามหลักการขนานและเทโหลดสายสงระบบ 115 kV (ปลดขนานท่ีเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01)

b. กรณีตรวจสอบแลว สามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ไดบางสวน ดําเนินการยายโหลดสวนท่ีไมสามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ได ผานระบบจําหนาย 22/33 kV โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายโหลด Feeder

c. กรณีมีโหลดบางสวน เชน ผูใชไฟระบบ 115 kV หรือ SPP ซ่ึงตรวจสอบและพิจารณาแลวไมสามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV และ 22/33 kV ดําเนินการแจงผูใชไฟงดรับไฟฯ หรือแจง SPP งดการขนานฯ ในชวงเวลาท่ีปฏิบัติงานดังกลาว

d. หลังจากดําเนินการยายโหลดตามขอ a ถึง c แลวเสร็จ ดําเนินการตรวจสอบเบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1 รหัส AAA03YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” และแขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรดังกลาว

4) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA03YS-01, AAA03YS-03 (ครอมหัว-ทายเบรกเกอร) และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส

5) แขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA03YS-01,AAA03YS-02,AAA03YS-03 6) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปน ศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน โดยการสับ Ground Switch ครอมหัว-ทายเบรกเกอรรหัส

AAA03YB-01 หรือดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

5.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA3YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01,AAA03YS-

02,AAA03YS-03 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 อยูในสถานะ Off 4) ปลด Ground Switch ครอมหัว-ทายเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 5) นํา Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01,AAA03YS-02,AAA03YS-03 ออก 6) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA03YS-01, AAA03YS-03 พรอมตรวจสอบสวิตซใบมีดสถานะ

“สับ” 7) นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 ออก 8) ดําเนินการยายโหลดสายสง Outgoing#1 กลับมารับไฟตามสภาพปกติ

a. ดําเนินการสับเบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1 i. กรณีการสับเบรกเกอรดังกลาว เปนการสับขนานโหลดสายสงฯ ใหปฏิบัติตาม

หลักการขนานและเทโหลดสายสงระบบ 115 kV

-108-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

ii. กรณีการสับเบรกเกอรดังกลาว เปนการ Energize สายสงฯ ตรวจสอบสถานะ Ground Switch ท่ีสถานีฯปลายทาง และอุปกรณตัดตอนท่ีเชื่อมตอกับสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” หลังจากนั้นจึงดําเนินการสับเบรกเกอรฯ เพ่ือ Energize สายสงฯ ดังกลาว

b. กรณีท่ีมีการยายโหลดผานระบบจําหนาย 22/33 kV หลังจากดําเนินการตามขอ a แลว ดําเนินการยายโหลดระบบ 22/33 kV กลับคืน โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและเทโหลด Feeder

c. กรณีมีการปลดโหลดออกบางสวน เชน ผูใชไฟระบบ 115 kV หรือ SPP หลังจากดําเนินการตามขอ a แลว ดําเนินการแจง ผูใชไฟรับไฟจาก PEA หรือ แจง SPP ขนานเขาระบบ ตามสภาพปกติ

9) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 6. การซอมแซม/บํารุงรักษา Main Bus#1 (สําหรับการจัด Bus แบบท่ี 1) กรณีท่ีสามารถยายโหลดรับไฟ

จาก Main Bus#2 ไดท้ังหมด 6.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวิตซใบมีดติด Main Bus#1 ทุกตัว รหัส AAA01YS-01,AAA02YS-01,AAA03YS-01, AAA04YS-01,AAA05YS-01,AAA06YS-01 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ตรวจสอบสวิตซใบมีดติด Main Bus#2 ทุกตัว รหัส AAA01YS-02,AAA02YS-02,AAA03YS-02, AAA04YS-02,AAA05YS-02,AAA06YS-02 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

3) ทําการยายโหลดของ Main Bus#1 ไปรับไฟจาก Main Bus#2 a. ตรวจสอบแรงดันท่ี Main Bus#2 ตองใกลเคียงกับคามาตรฐาน 115 kV ท้ัง 3 เฟส b. Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีตนทางท่ีจายไฟใหสถานีฯ AAA และ

ของ Bay สายสงท้ังหมด (AAA01YB-01, AAA03YB-01, AAA04YB-01, AAA06YB-01) c. ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1, TP2 d. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-02 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01 ตามลําดับ e. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01 ตามลําดับ f. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-02 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01 ตามลําดับ g. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-02 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-01 ตามลําดับ h. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA05YS-02 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA05YS-01 ตามลําดับ i. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA06YS-02 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA06YS-01 ตามลําดับ หมายเหตุ จากขอ d ถึง i ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดทุกครั้ง หลังจากปลด-สับ j. แขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA02YS-01, AAA03YS-01,

AAA04YS-01, AAA06YS-01 4) ทําการ De-energize Main Bus#1

-109-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

a. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ De-energize Main Bus#1 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะเบรกเกอรอยูในสถานะ “ปลด”

b. ตรวจสอบคาแรงดันท่ี Main Bus#1 ตองเปนศูนยท้ัง 3 เฟส c. แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอร AAA0BYB-01 d. ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01 (ติดกับ Main Bus#1) และแจงสวนเก่ียวของ

ตรวจสอบสถานะสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” 5) On Auto Reclosing Relay ของ Bay สายสงฯ ท่ีสถานีฯ AAA ไดแก AAA01YB-01 (กรณี

ท่ีถูกตั้งคาให On ไว), AAA03YB-01, AAA04YB-01, AAA06YB-01 6) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีตนทางท่ีจายไฟใหสถานีฯ AAA 7) ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1, TP2 8) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังนี้

a. ใช Voltage Detector ตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. สับ Ground Switch ของ Main Bus#1 กอนเขาปฏิบัติงานบํารุงรักษาบริเวณ Main

Bus#1 หรือดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

6.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงานดําเนินการแลวเสร็จ พรอมใหจายไฟ 2) ปลด Ground Switch ของ Main Bus#1 พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดติด Main Bus#1 ทุกตัว รหัส AAA01YS-01,AAA02YS-

01,AAA03YS-01,AAA04YS-01,AAA05YS-01,AAA06YS-01 อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบสวิตซใบมีดติด Main Bus#2 ทุกตัว รหัส AAA01YS-02,AAA02YS-

02,AAA03YS-02,AAA04YS-02,AAA05YS-02,AAA06YS-02 อยูในสถานะ “สับ” 5) ตรวจสอบสอบเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01 อยูใน

สถานะ “ปลด” 6) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีตนทางท่ีจายไฟใหสถานีฯ AAA และของ

Bay สายสงท้ังหมด (AAA01YB-01, AAA03YB-01, AAA04YB-01, AAA06YB-01) 7) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1, TP2 8) ทําการ Energize Main Bus#1

a. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01 (ดาน Main Bus#1 ) และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะสวิตชใบมีดอยูในสถานะ “สับ”

b. นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 ออก c. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Main Bus#1 และแจงสวนเก่ียวของ

ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ” d. ตรวจสอบคาแรงดันท่ี Main Bus#1 ตองอยูในเกณฑมาตรฐาน 115 kV

-110-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

9) ทําการยายโหลดมารับไฟจาก Main Bus#1 a. นํา Tag ท่ีแขวนท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA02YS-01, AAA03YS-01,

AAA04YS-01, AAA05YS-01, AAA06YS-01 ออก b. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-02 ตามลําดับ c. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02 ตามลําดับ d. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-02 ตามลําดับ e. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-01 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA04YS-02 ตามลําดับ f. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA05YS-01 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA05YS-02 ตามลําดับ g. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA06YS-01 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA06YS-02 ตามลําดับ หมายเหตุ จากขอ a. ถึง g. ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดทุกครั้ง หลังจากปลด-สับ

10) On Auto Reclosing Relay ของ Bay สายสงฯ ท่ีสถานีฯ AAA ไดแก AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว), AAA03YB-01, AAA04YB-01, AAA06YB-01

11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟสถานีฯ AAA 12) ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1 และ TP2

7. การบํารุงรักษา Main Bus#1 (สําหรับการจัด Bus แบบท่ี 3) กรณีท่ีสามารถยายโหลดรับไฟจากเบรก

เกอร AAA04YB-01 (Incoming#2) ไดท้ังหมด 7.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบปริมาณโหลดรวมของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (Incoming#1) และ เบรกเกอรรหัส AAA04YB-01 (Incoming#2) ตองไมเกินคาพิกัดของเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01 (Incoming#2) และสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟใหแก Icoming#2

2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01,AAA0BYS-02 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

3) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01,AAA01YS-02 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

4) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส,AAA02YS-01,AAA03YS-01 (ติด Main Bus#1) ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

5) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AA02YS-02,AAA03YS-02 (ติด Main Bus#2) ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

6) ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ดังนี้ a. เบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (incoming#1) b. เบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหสายสง Incoming#1 และ Incoming#2

7) ยายโหลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (Incoming#1) รับไฟจากเบรกเกอรรหัส AAA04YB-01 (Incoming#2)

-111-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

a. สับสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02 (ครอมหัว-ทายเบรกเกอร AAABYB-01) และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับ”

b. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือขนานโหลดชั่วคราวระหวาง Incoming#1 และ Incoming#2 และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบสถานะเบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ”

c. ตรวจสอบปริมาณโหลด (MW, MVAR, Current) ของเบรกเกอร รหัส AAA01YB-01, AAA04YB-01 และ AAA0BYB-01 มีการเปลี่ยนแปลง

d. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือปลดขนานโหลด และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบสถานะเบรกเกอรอยูในสถานะ “ปลด”

e. ตรวจสอบปริมาณโหลดของเบรกเกอร รหัส AAA01YB-01 เปนศูนย และโหลดของ AAA04YB-01 และ AAA0BYB-01 มีการเปลี่ยนแปลง (MW, MVAR, Current)

f. แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 g. ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01 (ติด Main Bus#1 ) และแจงสวนท่ีเก่ียวของ

ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 8) ยายโหลด Main Bus#1 รับไฟจาก Main Bus #2

a. ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 b. Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 c. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01 ตามลําดับ d. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-02 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01 ตามลําดับ

หมายเหตุ จากขอ c. ถึง d. หลังจากปลด-สับสวิตซใบมีด ตองตรวจสอบสถานะทุกครั้ง e. แขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01, AAA03YS-01

9) ทําการ De-energize Main Bus#1 a. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ De-energize Main Bus#1 และแจงสวนท่ี

เก่ียวของตรวจสอบสถานะเบรกเกอรอยูในสถานะ “ปลด” b. ตรวจสอบคาแรงดันท่ี Main Bus#1 ตองเปนศูนยท้ัง 3 เฟส c. แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอร AAABYB-01 d. ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01 (ติดกับ Main Bus#1 ) และแจงสวนท่ีเก่ียวของ

ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” 10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหแกสายสง Incoming#1,

Incoming#2 12) ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1 13) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังนี้

a. ใช Voltage Detector ตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. สับ Ground Switch ของ Main Bus#1 กอนเขาปฏิบัติงานบํารุงรักษาบริเวณ Main

Bus#1 หรือดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-112-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

7.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลวเสร็จ และยืนยันพรอมใหจายไฟ 2) ตรวจสอบ Ground Switch ของ Main Bus#1 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01,

อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-

01,AAA01YS-02 อยูในสถานะ “ปลด” 5) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02,AAA03YS-02 อยูในสถานะ “สับ” 6) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01,AAA03YS-01 อยูในสถานะ “ปลด” 7) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันดังนี้

a. เบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหสายสง Incoming#1, Incoming#2 b. เบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (Incoming#1)

8) ทําการ Energize Main Bus#1 a. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01 (ติดMain Bus#1 ) และแจงสวนท่ีเก่ียวของ

ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับ” b. นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 ออก c. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Main Bus#1 และแจงสวนท่ีเก่ียวของ

ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ” d. ตรวจสอบคาแรงดันไฟฟาท่ี Main Bus#1 ตองใกลเคียงกับคามาตรฐาน 115 kV ท้ัง 3

เฟส 9) ยายโหลดของหมอแปลง TP1 และสายสง Outgoing#1 กลับมารับไฟจาก Main Bus#1

ตามสภาพปกติ a. ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 b. Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 c. นํา Tag ท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01, AAA03YS-01 ออก d. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02 ตามลําดับ e. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01 และปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-02 ตามลําดับ

หมายเหตุ จากขอ d. ถึง e. หลังจากปลด-สับสวิตซใบมีดแลว ตองตรวจสอบสถานะ ทุกครั้ง

f. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1 g. On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01

10) ยายโหลดกลับมารับไฟจากเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (Incoming#1) ตามสภาพปกติ โดยขนานโหลดชั่วคราวระหวาง Incoming#1 และ Incoming#2 a. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01 (ติด Main Bus#1) และแจงสวนท่ีเก่ียวของ

ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับ” ท้ัง 3 เฟส

-113-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

b. นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ออก c. ตรวจสอบปริมาณโหลด (MW, MVAR, Current) ของ AAA0BYB-01, AAA04YB-01 d. สับเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ขนานโหลดชั่วคราวระหวาง Incoming#1 และ

Incoming#2 และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบสถานะเบรกเกอรอยูในสถานะ “สับ” e. ตรวจสอบปริมาณโหลด (MW, MVAR, Current) ของ AAA01YB-01, AAA04YB-01

และ AAA0BYB-01 มีการเปลี่ยนแปลง f. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือปลดขนานโหลด และแจงสวนท่ีเก่ียวของ

ตรวจสอบเบรกเกอรอยูในสถานะ “ปลด” g. ตรวจสอบปริมาณโหลด (MW, MVAR, Current) ของ AAA01YB-01, AAA04YB-01 มี

การเปลี่ยนแปลง และปริมาณโหลดของ AAA0BYB-01 เปนศูนย 11) On Auto Reclosing Relay

a. เบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหสายสง Incoming#1, Incoming#2 b. เบรกเกอรปองกันสายสง Incoming#1 รหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว)

-114-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4. สถานีไฟฟาจัด Bus แบบ H-Scheme (GIS SubstatiOn) แบบท่ี 1 รับไฟ 2 Incoming แยกจากกัน, จายไฟ 2 TP

รูปท่ี 4.1 Single Line Diagram สถานีไฟฟาจัด Bus แบบ H-Scheme (แบบท่ี 1)

-115-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

แบบท่ี 2 รับไฟ 1 Incoming, จายไฟ 2 TP และ 1 Outgoing

รูปท่ี 4.2 Single Line Diagram สถานีไฟฟาจัด Bus แบบ H-Scheme (แบบท่ี 2)

หมายเหตุ กําหนดใหใชสถานะของอุปกรณตามรูปท่ี 4.1 และ 4.2 เปนสถานะเริ่มตนในการจัดทําข้ันตอนวิธีปฏิบัติฯ

1. การดับ/จายไฟหมอแปลง TP1 (สําหรับการจัด Bus ท้ัง 2 แบบ)

1.1 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา บริเวณ/ท่ีหมอแปลง TP1 1) ตรวจสอบสถานะ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side (รหัส AAA01YB-02)

และดาน Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน

High Side (รหัส AAA01YS-03) และดาน Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 3) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 4) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก

-116-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP2 ในสถานีฯเดียวกัน ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

5) ปลด เบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side (กรณี เบรกเกอรยังไมถูกปลด เนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

6) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA01YB-02 เพ่ือ De-energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

7) จากขอ 4) และ 5) หากปริมาณโหลดไมเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเพ่ือตรวจสอบ 8) แขวน Tag หามควบคุมท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side 9) ดําเนินการปลด สวิตซใบมีดดาน High Side รหัส AAA01YS-03 พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ

“ปลด” ท้ัง 3 เฟส 10) ดําเนินการปลด Disconnecting Switch/Truck Out Service ของเบรกเกอรดาน Low Side 11) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. แจงสวนเก่ียวของดําเนินการสับ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 (Ground Switch ดาน High Side รหัส AAA1YG-06)

1.2 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากซอมแซม/บํารุงรักษา บริเวณ/ท่ีหมอแปลง TP1

1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลวเสร็จ พรอมใหจายไฟ 2) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “ปลด”

(Ground Switch ดาน High Side รหัส AAA01YG-05, AAA01YG-06) 3) ตรวจสอบ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ท้ังดาน High Side (รหัส AAA01YB-02) และ

Low Side อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1

a. สวิตซใบมีดดาน High Side รหัส AAA01YS-03 อยูในสถานะ “ปลด” b. Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low

Side อยูในสถานะ “ปลด” หรือ Truck Out Service 5) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “Manual” 6) ปรับตําแหนง Tap ของ TP1 ใหอยูในตําแหนง Center Tap 7) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

-117-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

a. สับ สวิตซใบมีดของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA01YS-03 พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับ”

b. นํา Tag หามควบคุมท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side ออก c. สับ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA01YB-02 เพ่ือ

Energize หมอแปลง d. รอเวลาประมาณ 15 นาที

8) ดําเนินการสับ สวิตซใบมีดหรือ Truck In service ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side

9) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1 a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด

หมอแปลง b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร

i. สับเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side เพ่ือ Energize Main Busระบบ 22/33 kV และตรวจสอบแรงดันMain Bus ตองอยูในคามาตรฐานแรงดัน 22/33 kV

ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

1.3 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือปลด Cold Standby

1) ตรวจสอบสถานะ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side (รหัส AAA01YB-02) และดาน Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 3) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก

a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP2 ในสถานีฯเดียวกัน ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

4) ปลด เบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side (กรณี เบรกเกอรยังไมถูกปลด เนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

5) ปลด เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA01YB-02 เพ่ือ De-energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

6) จากขอ 4) และ 5) หากปริมาณโหลดไมเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเพ่ือตรวจสอบ

-118-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

7) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side

1.4 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากปลด Cold Standby

1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลวเสร็จ พรอมใหจายไฟ 2) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “ปลด”

(Ground Switch ดาน High Side รหัส AAA01YG-05, AAA01YG-06) 3) ตรวจสอบ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ท้ังดาน High Side (รหัส AAA01YB-02)

และ Low Side อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1

a. สวิตซใบมีดดาน High Side รหัส AAA01YS-03 อยูในสถานะ “สับ” b. Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low

Side อยูในสถานะ “สับ” หรือ Truck In Service 5) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “Manual” 6) ปรับตําแหนง Tap ของ TP1 ใหอยูในตําแหนง Center Tap 7) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

a. นํา Tag หามควบคุมท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side ออก b. สับเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA01YB-02 เพ่ือ

Energize หมอแปลง c. รอเวลาประมาณ 15 นาที

8) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1 a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด

หมอแปลง b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร

i. สับเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side เพ่ือ Energize Main Busระบบ 22/33 kV และตรวจสอบแรงดันMain Bus ตองอยูในคามาตรฐานแรงดัน 22/33 kV

ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

-119-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2. การซอมแซม/บํารุงรักษาเบรกเกอร Incoming#1 (การจัด Bus แบบท่ี 1) กรณีสามารถยายโหลดรับไฟจาก Incoming#2 ไดท้ังหมด 2.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบปริมาณโหลดรวมเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (Incoming#1) และเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 (Incoming#2) ตองไมเกินคาพิกัดของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 (Incoming#2) และสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟใหสายสง Incoming#2

2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01,AAA01YS-02 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

3) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

4) ตรวจสอบ Ground Switch รหัส AAA0BYG-01, AAA0BYG-02 อยูในสถานะ “ปลด” 5) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 6) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟใหสายสง

Incoming#1 และสายสง Incoming#2 7) ดําเนินการยายโหลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01(Incoming#1) รับไฟจากเบรกเกอรรหัส

AAA02YB-01 (Incoming#2) โดยการขนานโหลดข่ัวคราวระหวางสายสง Incomig#1 และ Incoming#2 a. ตรวจสอบปริมาณโหลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และ AAA02YB-01 b. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือขนานโหลด c. ตรวจสอบปริมาณโหลดท่ี AAA01YB-01, AAA02YB-01 และ AAA0BYB-01 มีการ

เปลี่ยนแปลง d. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือปลดขนานโหลด พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณ

โหลดเปนศูนย e. ตรวจสอบปริมาณโหลดท่ี AAA02YB-01 และ AAA0BYB-01 มีการเปลี่ยนแปลง

8) ปลดสวิตซใบมีดครอมหัวทายเบรกเกอร AAA01YB-01 (รหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02) และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “ปลด”

9) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02

10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟใหสายสง Incoming#1 และ Incoming#2

11) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้ a. ใช Volage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน โดยดําเนินการสับ Ground Switch ครอมหัว-ทายเบรกเกอรรหัส

AAA01YB-01 (รหัส AAA01YG-02, AAA01YG-03) หรือดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-120-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน(ยายโหลดกลับคืนสภาพปกติ) 1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลวเสร็จ พรอมใหจายไฟ 2) ปลด Ground Switch รหัส AAA01YG-02, AAA01YG-03 พรอมตรวจสอบอยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02

อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01,AAA0BYS-02 อยู

ในสถานะ “สับ” 5) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ “Off” 6) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟให Incoming#1 และ

Incoming#2 7) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02

ออก 8) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 (ครอมหัว – ทายเบรกเกอร) และแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบสถานะ “สับ” 9) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจากเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01(Incoming#1) ตามสภาพ

ปกต ิโดยการขนานโหลดข่ัวคราวระหวางสายสง Incomig#1 และ Incoming#2 a. ตรวจสอบปริมาณโหลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 และ AAA02YB-01 b. สับเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือขนานโหลด c. ตรวจสอบปริมาณโหลดท่ี AAA01YB-01, AAA02YB-01 และ AAA0BYB-01 มีการ

เปลี่ยนแปลง d. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือปลดขนานโหลด พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณ

โหลดเปนศูนย e. ตรวจสอบปริมาณโหลดท่ี AAA01YB-01 และ AAA02YB-01 มีการเปลี่ยนแปลง

10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว) 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟใหสายสง Incoming#1

และ Incoming#2 3. การซอมแซม/บํารุงรักษาเบรกเกอร Incoming#1 (การจัด Bus แบบท่ี 2) กรณีสามารถยายโหลดผาน

ระบบ 115 kV ไดท้ังหมด 3.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01

-121-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3) ดําเนินการยายโหลดท้ังสถานีฯ AAA รับไฟจากสถานีฯ ขางเคียง ผานสายสงระบบ 115 kV โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดสายสงระบบ 115 kV (ปลดขนานโหลดท่ีเบรกเกอร รหัส AAA01YB-01)

4) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” และแขวน Tag หามควบคุมท่ี เบรกเกอรดังกลาว

5) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทาง ท่ีจายไฟใหเบรกเกอร AAA01YB-01 ท้ังสองดานอยูในสถานะ “Off”

6) ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 และแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “ปลด”

7) แขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 8) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ท้ัง

สองดาน 9) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปน ศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน โดยการสับ Ground Switch ครอมหัว-ทายเบรกเกอรหรัส

AAA01YB-01 (รหัส AAA01YG-02, AAA01YG-03) หรือดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

3.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) แจงสวนเก่ียวของปลด Ground Switch รหัส AAA01YG-02, AAA01YG-03 และตรวจสอบ

Ground Switch อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 อยู

ในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ “Off” 5) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ท้ัง

สองดาน 6) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีสวิตซใบมีด รหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 (ครอมหัว – ทายเบรกเกอร)

ออก 7) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 (ครอมหัว – ทายเบรกเกอร) พรอมท้ังแจง

สวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะ “สับ” 8) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ออก 9) ดําเนินการยายโหลดสถานีฯ AAA กลับมารับไฟจากเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ตามสภาพ

ปกติ โดยวิธีการขนานและถายเทโหลดสายสงระบบ 115 kV (โดยสับขนานท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01)

-122-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

10) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ “สับ” 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตนทาง ในขอ 5) 12) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01(กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว)

4. การซอมแซม/บํารุงรักษาในสายสง Outgoing#1 (การจัด Bus แบบท่ี 2)

4.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01,AAA02YS-02 ตอง

ไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 3) ดําเนินการยายโหลดออกจากสายสง Outgoing#1 โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือ

บํารุงรักษาขอยอย 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ ใดๆ โดยหลังจากยายโหลดแลวเสร็จ ดําเนินการตรวจสอบดังนี้ a. ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” และมีการ

แขวน Tag หามควบคุมท่ีอุปกรณฯ ดังกลาว b. ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอน ในขอ a)

(ถามี) อยูในสถานะ “ปลด” 4) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 เพ่ือ De-energize สายสงฯ พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณ

โหลดสายสงฯ (MW, MVAR, Current) เปนศูนย 5) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 6) ปลด สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01 พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” 7) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

4.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01 อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02 อยูในสถานะ “สับ” 5) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 6) ตรวจสอบสถานะ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก

สายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 7) ตรวจสอบ Ground Switch ครอมหัว-ทาย สายสง (ถามี) อยูในสถานะ “ปลด”

a. Ground Switch ตนทาง รหัส AAA02YG-01, AAA02YG-02

-123-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

8) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 อยูในสถานะ Off 9) ดําเนินการ Energize สายสงฯ

a. สับ สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01 พรอมตรวจสอบสถานะ “สับ” b. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 ออก และสับเบรกเกอรดังกลาว

เพ่ือ Energize สายสงฯ 10) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา

ขอยอย 3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ ใดๆ 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01

5. การซอมแซม/บํารุงรักษา Main Bus#1 (การจัด Bus แบบท่ี 2)

5.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02, AAA0BYB-01 (ติด Main Bus#1) ตอง

ไมมีปายหามควบคุมตางๆ 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-02,AAA01YS-03,AAA0BYS-01 (ติด Main Bus#1)

ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 4) ดําเนินการยายโหลด Bay หมอแปลง TP1 รับไฟจากสถานีฯ ขางเคียง โดยปฏิบัติขอ 1.3 การ

ดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือปลด Cold Standby 5) ดําเนินการยายโหลด Main Bus#2 (Bay สายสง Outgoing#1 และ Bay หมอแปลง TP2) รับ

ไฟจากสถานีฯ ขางเคียง a. กรณีท่ีสามารถยายโหลด Main Bus#2 ผานระบบ 115 kV ไดท้ังหมด ดําเนินการยาย

โหลด โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดสายสงระบบ 115 kV (ปลดขนานท่ีเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01)

b. กรณีท่ียายโหลด Main Bus#2 ออกทีละ Bay ดําเนินการดังนี้ i. Bay หมอแปลง TP2 ปฏิบัติตามขอ 1.3 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือปลด Cold

Standby ii. Bay สายสง Outgoing#1 ตรวจสอบการเชื่อมตอสายสงฯ ดังกลาว กับแหลงจาย

ขางเคียง และเง่ือนไขของหลักการขนานและถายเทโหลดตางๆ 1. กรณีตรวจสอบแลว สามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ไดท้ังหมด ปฏิบัติ

ตามหลักการขนานและเทโหลดสายสงระบบ 115 kV (ปลดขนานท่ีเบรกเกอร รหัส AAA02YB-01)

2. กรณีตรวจสอบแลว สามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ไดบางสวน ดําเนินการยายโหลด สวนท่ีเหลือ(ท่ีไมสามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ได) ผานระบบจําหนาย 22/33 kV โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายโหลด Feeder

-124-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3. กรณีมีโหลดบางสวน เชน ผูใชไฟระบบ 115 kV หรือ SPP ซ่ึงตรวจสอบและพิจารณาแลวไมสามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV และ 22/33 kV ดําเนินการแจงผูใชไฟงดรับไฟฯ หรือแจง SPP งดการขนานฯ ในชวงเวลาท่ีปฏิบัติงานดังกลาว

4. หลังจากดําเนินการยายโหลดตามขอ 1 ถึง 3 แลวเสร็จ ดําเนินการตรวจสอบ เบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1 รหัส AAA02YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” และแขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรดังกลาว

6) หลังจากยายโหลดสถานีฯ AAA ท้ังหมดแลว ดําเนินการปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือ De-energize Main Bus#1

7) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 (กรณีท่ียังไมถูกปลด ในข้ันตอนการยายโหลด) พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” และแขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรดังกลาว

8) ตรวจสอบแรงดันท่ี Main Bus#1 เปนศูนยท้ัง 3 เฟส 9) ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-02, AAA01YS-03, AAA0BYS-01 (ครอม Main Bus#1 ) และ

แจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “ปลด” 10) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02, AAA0BYB-01 11) กอนเขาปฏิบัติงานท่ี Main Bus#1 แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน โดยดําเนินสับ Ground Switch Main Bus 1 (รหัส AAA01YG-04)

หรือดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

5.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) แจงสวนเก่ียวของปลด Ground Switch รหัส AAA01YG-04 พรอมท้ังตรวจสอบอยูในสถานะ

“ปลด” 3) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02, AAA0BYB-01 (ติด Main

Bus#1) อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-02, AAA01YS-03, AAA0BYS-01 (ติด Main Bus#1) อยู

ในสถานะ “ปลด” 5) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ “Off” 6) สับสวิตชใบมีด รหัส AAA01YS-02, AAA01YS-03, AAA0BYS-01 (ครอมหัว – ทาย Main

Bus#1 ) และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับ” 7) ดําเนินการ Energize Main Bus#1

a. Off Auto Reclosing Relay ของสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟใหเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (Incoming#1)

b. นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ออก

-125-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

c. สับเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือ Energize Main Bus#1 d. ตรวจสอบแรงดันท่ี Main Bus#1 ตองใกลเคียงกับคามาตรฐาน 115 kV ท้ัง 3 เฟส

8) ดําเนินการยายโหลด Bay หมอแปลง TP1 กลับมารับไฟจาก Main Bus#1 ตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตามขอ 1.4 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากปลด Cold Standby

9) ดําเนินการยายโหลด Main Bus#2 (Bay หมอแปลง TP2 และ Bay สายสง Outgoing#1) กลับมารับไฟจาก Main Bus#1 ตามสภาพปกติ a. กรณีท่ียายโหลด Main Bus#2 รับไฟจากสถานีฯ ขางเคียง ผานสายสงระบบ 115 kV

ท้ังหมด ดําเนินการยายโหลดกลับ โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดสายสง (สับขนานท่ีเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01)

b. กรณียายโหลด Main Bus#2 รับไฟจากสถานีฯขางเคียง ทีละ Bay ดําเนินการดังนี้ i. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Main Bus#2 ตรวจสอบพรอมท้ัง

แรงดันท่ี Main Bus#2 ตองใกลเคียงกับคามาตรฐาน 115 kV ท้ัง 3 เฟส ii. ยายโหลด Bay หมอแปลง TP2 กลับมารับไฟจาก Main Bus#2 โดยปฏิบัติตามขอ

1.4 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากปลด Cold Standby iii. ยายโหลด Bay สายสง Outgoing#1 กลับมารับไฟจาก Main Bus#2

1. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1 ออก 2. ดําเนินการสับเบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1

- กรณีการสับเบรกเกอรดังกลาว เปนการสับขนานโหลดสายสงฯ ใหปฏิบัติตามหลักการขนานและเทโหลดสายสงระบบ 115 kV

- กรณีการสับเบรกเกอรดังกลาว เปนการ Energize สายสงฯ ตรวจสอบสถานะ Ground Switch ครอมหัว-ทาย สายสงฯ และอุปกรณตัดตอนท่ีเชื่อมตอกับสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” หลังจากนั้นจึงดําเนินการสับเบรกเกอรฯ เพ่ือ Energize สายสงฯ ดังกลาว

3. กรณีท่ีมีการยายโหลดผานระบบจําหนาย 22/33 kV หลังจากดําเนินการตามขอ 1 และ 2 แลว ดําเนินการยายโหลดระบบ 22/33 kV กลับคืน โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและเทโหลด Feeder

4. กรณีมีการปลดโหลดออกบางสวน เชน ผูใชไฟระบบ 115 kV หรือ SPP หลังจากดําเนินการตามขอ 1 และ 2 แลว ดําเนินการแจง ผูใชไฟรับไฟจาก PEA หรือ แจง SPP ขนานเขาระบบ ตามสภาพปกติ

10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว) 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01

-126-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

5. สถานีจัด Bus แบบ Double Bus Double Breaker (DBDB)

รูปท่ี 5 Single Line Diagram สถานีไฟฟาจัด Bus แบบ DBDB

หมายเหตุ กําหนดใหใชสถานะของอุปกรณตามรูปท่ี 5 เปนสถานะเริ่มตน ในการจัดทําข้ันตอนวิธีปฏิบัติฯ

1. การซอมแซม/บํารุงรักษาเบรกเกอรติด Main Bus#1 ปองกัน TP1 (รหัส AAA01YB-01)

1.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02

ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และแจงสวนเก่ียวของ ตรวจสอบสถานะเบรกเกอร

AAA01YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) พรอมแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 4) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01,

AAA01YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) 5) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

-127-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลวเสร็จ ยืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังปลดการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงานแลว

2) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01,AAA01YS-02 อยูในสถานะ “ปลด” 4) นํา Tag หามควบคุมท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร)

ออก 5) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) พรอมแจงสวน

เก่ียวของ ตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 6) นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ออก 7) สับ เบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 พรอมแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะของเบรกเกอรรหัส

AAA01YB-01 อยูในสถานะ “สับ”

2. การซอมแซม/บํารุงรักษาเบรกเกอรติด Main Bus#1 ปองกันสายสง Outgoing#1 (รหัส AAA02YB-01) 2.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01, AAA02YS-02 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอร AAA02YB-01 และ AAA02YB-02 3) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 และแจงสวนเก่ียวของ ตรวจสอบสถานะเบรกเกอร

AAA02YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 4) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-01, AAA02YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) พรอมแจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 5) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 และสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-01,

AAA02YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) 6) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอร AAA02YB-02 7) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บรืเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01, AAA02YS-02 อยูในสถานะ “ปลด”

-128-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอร AAA02YB-01 อยูในสถานะ Off 5) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอร AAA02YB-02 6) นํา Tag หามควบคุมท่ีสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-01, AAA02YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร)

ออก 7) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-01, AAA02YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) พรอมแจงสวน

เก่ียวของ ตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 8) นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 ออก 9) สับ เบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 พรอมแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะของเบรกเกอรรหัส

AAA02YB-01 อยูในสถานะ “สับ” 10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอร AAA02YB-01 หรือ AAA02YB-02

3. การซอมแซม/บํารุงรักษา ในสายสง Outgoing#1 3.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01, AAA02YB-02 และสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02, AAA02YS-03 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 และ AAA02YB-02 3) ดําเนินการยายโหลดออกจากสายสง Outgoing#1 โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือ

บํารุงรักษา ขอยอย 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ ใดๆ หลังจากยายโหลดแลวเสร็จ ดําเนินการตรวจสอบดังนี้ a. ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” และมีการ

แขวน Tag หามควบคุมท่ีอุปกรณฯ ดังกลาว b. ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอน ในขอ a.

(ถามี) อยูในสถานะ “ปลด” 4) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01,AAA02YB-02 เพ่ือ De-energize สายสงฯ พรอมท้ัง

ตรวจสอบปริมาณโหลดสายสงฯ (MW, MVAR, Current) เปนศูนย 5) ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02,AAA02YS-03 พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3

เฟส 6) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01, AAA02YB-02 7) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-129-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลวเสร็จ ยืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังปลดการตอลงดิน

หัว-ทาย จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01,AAA02YB-02 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบ สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02,AAA02YS-03 อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบ สวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01,AAA02YS-04 อยูในสถานะ “สับ” 5) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 6) ตรวจสอบสถานะ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก

สายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 7) ตรวจสอบ Ground Switch ครอมหัว-ทาย สายสง (ถามี) อยูในสถานะ “ปลด”

a. Ground Switch ตนทาง รหัส AAA02YG-01 8) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 และ AAA02YB-02

อยูในสถานะ Off 9) ดําเนินการ Energize สายสงฯ

a. สับสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02, AAA02YS-03 พรอมตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

b. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01, AAA02YB-02 ออก และสับ เบรกเกอรดังกลาว เพ่ือ Energize สายสงฯ

10) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ โดยปฏิบัติตามขอ 1.3 หลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา ขอยอย 3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ ใดๆ

11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 หรือ AAA02YB-02 4. การดับ/จายไฟหมอแปลง TP1

4.1 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา บริเวณ/ท่ี หมอแปลง TP1 1) ตรวจสอบสถานะ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side (รหัส AAA01YB-01,

AAA01YB-02) และ Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High

Side (รหัส AAA01YS-02,AAA01YS-03) และดาน Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 3) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 4) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก

a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP2 ในสถานีฯเดียวกัน ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

-130-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

5) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side (กรณี เบรกเกอรยังไมถูกปลด เนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

6) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02 เพ่ือ De-energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

7) จากขอ 4) และ 5) หากปริมาณโหลดไมเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเพ่ือตรวจสอบ 8) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side 9) ดําเนินการปลดสวิตซใบมีดดาน High Side รหัส AAA01YS-02, AAA01YS-03 พรอมท้ัง

ตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 10) ดําเนินการปลด Disconnecting Switch/Truck Out Service ของ เบรกเกอรดาน Low Side 11) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย ณ จุดปฏิบัติงาน b. แจงสวนเก่ียวของดําเนินการสับ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 (ถา

มี) หรือดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

4.2 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากซอมแซม/บํารุงรักษา บริเวณ/ท่ีหมอแปลง TP1

1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลวเสร็จ ยืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังปลดการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงานแลว

2) ตรวจสอบเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ท้ังดาน High Side (รหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02) และ Low Side อยูในสถานะ “ปลด”

3) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 a. ตรวจสอบ สวิตซใบมีดดาน High Side รหัส AAA01YS-02,AAA01YS-03 อยูในสถานะ

“ปลด” และรหัส AAA01YS-01,AAA01YS-04 อยูในสถานะ “สับ” b. ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1

ดาน Low Side อยูในสถานะ “ปลด” หรือ Truck Out Service 4) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “ปลด”(ถามี) 5) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “Manual” 6) ปรับตําแหนง Tap ของ TP1 ใหอยูในตําแหนง Center Tap 7) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

a. ดําเนินการสับ สวิตซใบมีดของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA01YS-02,AAA01YS-03 พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ทัง 3 เฟส

b. นํา Tag หามควบคุมท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side ออก

-131-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

c. สับ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA01YB-01,AAA01YB-02 เพ่ือ Energize หมอแปลง

d. รอเวลาประมาณ 15 นาที 8) ดําเนินการสับ สวิตซใบมีดหรือ Truck In service ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน

Low Side 9) นํา Tag หามควบคุมท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side ออก 10) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1

a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด หมอแปลง

b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร i. สับ เบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side เพ่ือ Energize Main Busระบบ

22/33 kV และตรวจสอบแรงดัน Main Bus ตองอยูในคามาตรฐานแรงดัน 22/33 kV ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเท

โหลดฟดเดอร iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

4.3 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือปลด Cold Standby 1) ตรวจสอบสถานะ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side (รหัส AAA01YB-01,

AAA01YB-02) และ Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 3) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก

a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP2 ในสถานีฯเดียวกัน ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

4) ปลด เบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side (กรณี เบรกเกอรยังไมถูกปลด เนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

5) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02 เพ่ือ De-energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

6) จากขอ 4) และ 5) หากปริมาณโหลดไมเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเพ่ือตรวจสอบ 7) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side

-132-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4.4 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากปลด Cold Standby

1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลวเสร็จ ยืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังปลดการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงานแลว

2) ตรวจสอบเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ท้ังดาน High Side (รหัส AAA01YB-01, AAA01YB-02) และ Low Side อยูในสถานะ “ปลด”

3) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 a. ตรวจสอบ สวิตซใบมีดดาน High Side รหัส AAA01YS-01,AAA01YS-02, AAA01YS-

03,AAA01YS-04 อยูในสถานะ “สับ” b. ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1

ดาน Low Side อยูในสถานะ “สับ” หรือ Truck In Service 4) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “ปลด”(ถามี) 5) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “Manual” 6) ปรับตําแหนง Tap ของ TP1 ใหอยูในตําแหนง Center Tap 7) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

a. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side ออก b. สับ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA01YB-01,AAA01YB-

02 เพ่ือ Energize หมอแปลง c. รอเวลาประมาณ 15 นาที

8) นํา Tag หามควบคุมท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side ออก 9) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1

a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด หมอแปลง

b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร i. สับ เบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side เพ่ือ Energize Main Busระบบ

22/33 kV และตรวจสอบแรงดัน Main Bus ตองอยูในคามาตรฐานแรงดัน 22/33 kV ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเท

โหลดฟดเดอร iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

5. การซอมแซม/บํารุงรักษา Main Bus#1

5.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบปริมาณโหลดของสถานีฯ AAA ตองไมเกินพิกัดของอุปกรณท่ียังจายไฟอยู หลังจาก

ปลด Main Bus#1 ไปแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรติด Main Bus#1 ทุกตัว (รหัส AAA01YB-01, AAA02YB-01, AAA03YB-

01, AAA04YB-01, AAA05YB-01, AAA06YB-01) ไมมีปายหามควบคุมตางๆ

-133-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดติด Main Bus#1 ทุกตัว (รหัส AAA01YS-01, AAA02YS-01, AAA03YS-01, AAA04YS-01, AAA05YS-01, AAA06YS-01) ไมมีปายหามควบคุมตางๆ

4) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกันสายสงฯ สถานีฯ AAA ท้ังหมด 5) แจง ศูนยฯ กฟผ. ท่ีเก่ียวของ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟให

Main Bus#1 (ถามี) 6) ปลด เบรกเกอรท่ีติด Main Bus#1 ทุกตัว (ปลดทีละตัว) และแขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรก

เกอรดังกลาว 7) ปลดสวิตซใบมีดติด Main Bus#1 ทุกตัว (ปลดทีละตัว) 8) แจง ศูนยฯ กฟผ.ท่ีเก่ียวของ เพ่ือขอปลดเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟให Main Bus#1 พรอมท้ัง

ปลดสวิตซใบมีดออกไลนดวย 9) ตรวจสอบแรงดันท่ี Main Bus#1 ตองเปนศูนยท้ัง 3 เฟส 10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกันสายสงฯ ติด Main Bus#2 (AAA02YB-01,

AAA04YB-01,AAA05YB-01,AAA06YB-01) 11) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

5.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรติด Main Bus#1 ทุกตัว (รหัส AAA01YB-01, AAA02YB-01, AAA03YB-01,

AAA04YB-01, AAA05YB-01, AAA06YB-01) อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดติด Main Bus#1 ทุกตัว (รหัส AAA01YS-01, AAA02YS-01, AAA03YS-01,

AAA04YS-01, AAA05YS-01, AAA06YS-01) อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของ เบรกเกอรติด Main Bus#1 ทุกตัว อยูในสถานะ Off 5) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกันสายสงฯ รหัส AAA02YB-01,

AAA04YB-01, AAA05YB-01, AAA06YB-01 6) สับสวิตซใบมีดติด Main Bus#1 ทุกตัว (สับทีละตัว) พรอมตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 7) แจง ศูนยฯ กฟผ. ท่ีเก่ียวของ เพ่ือสับเบรกเกอรตนทางและสวิตซใบมีดออกไลน เพ่ือ Energize

Main Bus#1 8) ตรวจสอบแรงดันท่ี Main Bus#1 ตองใกลเคียงกับคามาตรฐาน 115 kV ท้ัง 3 เฟส 9) นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรติด Main Bus#1 ทุกตัว ออก 10) สับเบรกเกอรติด Main Bus#1 ทุกตัว (สับทีละตัว) พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับ” 11) แจง ศูนยฯ กฟผ. ท่ีเก่ียวของ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรท่ีจายไฟให

Main Bus#1 (ถามี)

-134-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

12) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรระบบ 115 kV รหัส AAA02YB-01/AAA02YB-02, AAA04YB-01/AAA04YB-02,AAA05YB-01/AAA05YB-02,AAA06YB-01/AAA06YB-02 (เฉพาะ Bay สายสง, เลือก CB เพียงตัวเดียวใน Bay นั้นๆ)

-135-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6. สถานีไฟฟาจัด Bus แบบ Doubles Main and Transfer Bus

รูปท่ี 6 Single Line Diagram สถานีไฟฟาจัด Bus แบบ Double Main Transfer Bus

หมายเหตุ กําหนดใหใชสถานะของอุปกรณตามรูปท่ี 6 เปนสถานะเริ่มตนในการจัดทําข้ันตอนวิธีปฏิบัติฯ

1. การซอมแซม/บํารุงรักษา ในสายสง Outgoing#1

1.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA05YS-02 ตองไมมีปายหาม

ควบคุมตางๆ 2) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 3) ดําเนินการยายโหลดออกจากสายสง Outgoing#1 โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือ

บํารุงรักษา ขอยอย 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ ใดๆ โดยหลังจากยายโหลดแลวเสร็จ ดําเนินการตรวจสอบดังนี้ a. ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” และมีการ

แขวน Tag หามควบคุมท่ีอุปกรณฯ ดังกลาว b. ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอน ในขอ a)

(ถามี) อยูในสถานะ “ปลด” 4) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 เพ่ือ De-energize สายสงฯ พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณ

โหลดสายสงฯ (MW, MVAR, Current) เปนศูนย 5) ปลด สวิตซใบมีดรหัส AAA05YS-02 พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส

-136-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 7) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบ สวิตซใบมีดรหัส AAA05YS-01 อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 4) ตรวจสอบ สวิตซใบมีดรหัส AAA05YS-02 อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 5) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 6) ตรวจสอบสถานะ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก

สายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 7) ตรวจสอบ Ground Switch ครอมหัว-ทาย สายสง (ถามี) อยูในสถานะ “ปลด”

a. Ground Switch ตนทาง รหัส AAA05YG-01 8) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 อยูในสถานะ Off 9) ดําเนินการ Energize สายสงฯ

a. สับ สวิตซใบมีดรหัส AAA05YS-02 พรอมตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส b. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 ออก และสับเบรกเกอรดังกลาว

เพ่ือ Energize สายสงฯ 10) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา

ขอยอย 3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ ใดๆ 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01

2. การดับ/จายไฟหมอแปลง TP1

2.1 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา ท่ี/บริเวณ หมอแปลง TP1 1) ตรวจสอบสถานะ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side (รหัส AAA03YB-01) และ

Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High

Side (รหัส AAA03YS-02) และดาน Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 3) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 4) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก

a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP2 ในสถานีฯเดียวกัน ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

-137-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

5) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side (กรณี เบรกเกอรยังไมถูกปลด เนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

6) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA03YB-01 เพ่ือ De-energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

7) จากขอ 4) และ 5) หากปริมาณโหลดไมเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเพ่ือตรวจสอบ 8) แขวน Tag หามควบคุมท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side 9) ดําเนินการปลด สวิตซใบมีดดาน High Side รหัส AAA03YS-02 พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ

“ปลด” ท้ัง 3 เฟส 10) ดําเนินการปลด Disconnecting Switch/Truck Out Service ของ เบรกเกอรดาน Low Side

พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” หรือ Out Service ตามลําดับ 11) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. แจงสวนเก่ียวของดําเนินการสับ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 (ถา

มี) หรือดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2.2 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากซอมแซม/บํารุงรักษาท่ี/บริเวณ หมอแปลง TP1

1) ตรวจสอบหนวยงานบํารุงรักษายืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังแจงปลดการตอลงดินท่ีหัว – ทายจุดปฏิบัติงานดวย

2) ตรวจสอบอุปกรณดาน High Side ของหมอแปลง TP1 a. เบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” b. สวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01 อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส c. สวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-02 อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส

3) ตรวจสอบอุปกรณดาน Low Side ของหมอแปลง TP1 a. เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side อยูในสถานะ “ปลด” b. Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low

Side อยูในสถานะ “ปลด” หรือ Truck Out Service 4) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “ปลด”(ถามี) 5) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “Manual” 6) ปรับตําแหนง Tap ของ TP1 ใหอยูในตําแหนง Center Tap 7) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

-138-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

a. สับ สวิตซใบมีดของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA03YS-02 พรอมตั้งแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

b. นํา Tag ท่ีแขวนไวท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA03YB-01 ออก

c. สับเบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 เพ่ือ Energize หมอแปลง และรอเวลาประมาณ 15 นาที 8) สับ Disconnecting Switch/Truck In Service ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน

Low Side พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับ” หรือ In Service ตามลําดับ 9) นํา Tag ท่ีแขวนไว ท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side ออก 10) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1

a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด หมอแปลง

b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร i. สับ เบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side เพ่ือ Energize Main Bus ระบบ

22/33 kV และตรวจสอบแรงดัน Main Bus ตองอยูในคามาตรฐานแรงดัน 22/33 kV ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเท

โหลดฟดเดอร iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

2.3 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือปลด Cold Standby

1) ตรวจสอบสถานะ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side (รหัส AAA03YB-01) และ Low Side ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 3) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก

a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP2 ในสถานีฯเดียวกัน ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

4) ปลด เบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side (กรณี เบรกเกอรยังไมถูกปลด เนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

5) ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA03YB-01 เพ่ือ De-energize หมอแปลง พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

6) จากขอ 4) และ 5) หากปริมาณโหลดไมเปนศูนย ใหแจงสวนเก่ียวของเพ่ือตรวจสอบ 7) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side

-139-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2.4 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากปลด Cold Standby 1) ตรวจสอบหนวยงานบํารุงรักษายืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังแจงปลดการตอลงดินท่ีหัว –

ทายจุดปฏิบัติงานดวย 2) ตรวจสอบอุปกรณดาน High Side ของหมอแปลง TP1

a. เบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 อยูในสถานะ “ปลด” b. สวิตซใบมีดรหัส AAA03YS-01,AAA03YS-02 อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

3) ตรวจสอบอุปกรณดาน Low Side ของหมอแปลง TP1 a. เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side อยูในสถานะ “ปลด” b. Disconnecting Switch/Truck ของ เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low

Side อยูในสถานะ “สับ” หรือ Truck In Service 4) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “ปลด”(ถามี) 5) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ “Manual” 6) ปรับตําแหนง Tap ของ TP1 ใหอยูในตําแหนง Center Tap 7) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

a. นํา Tag ท่ีแขวนไวท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side รหัส AAA03YB-01 ออก

b. สับ เบรกเกอรรหัส AAA03YB-01 เพ่ือ Energize หมอแปลง และรอเวลาประมาณ 15 นาที

8) นํา Tag ท่ีแขวนไว ท่ี เบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน Low Side ออก 9) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1

a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด หมอแปลง

b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร i. สับ เบรกเกอรปองกันหมอแปลงดาน Low Side เพ่ือ Energize Main Bus ระบบ

22/33 kV และตรวจสอบแรงดัน Main Bus ตองอยูในคามาตรฐานแรงดัน 22/33 kV ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเท

โหลดฟดเดอร iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

3. การซอมแซม/บํารุงรักษาเบรกเกอร (Incoming#1) รหัส AAA01YB-01 (กรณียายโหลดรับไฟจาก

เบรกเกอร AAA0BYB-01) 3.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบเบรกเกอร Spare รหัส AAA0BYB-01 และสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02, AAA0BYS-03, AAA0BYS-04 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

-140-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02, AAA01YS-03 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

3) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว) 4) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง

ท่ีจายไฟให Bay Incoming#1 5) ทดสอบ Transfer Bus

a. แจงพนักงานสถานีไฟฟา AAA ตรวจสอบ Transfer Bus ดวยสายตา b. สับสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-03 (หัว – ทายเบรกเกอร) พรอมแจง

สวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะ “สับสนิท 3 เฟส” c. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบสถานะ d. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบ

สถานะ e. ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-03

6) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-03 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบสถานะ 7) สับสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-03 8) สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือขนาน Bus 9) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus 10) ปลดสวิตชใบมีดครอมหัว – ทายเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (สวิตซใบมีดรหัส

AAA01YS-01, AAA01YS-02) 11) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และท่ีสวิตซใบมีดรหัสAAA01YS-

01, AAA01YS-02 12) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง

ท่ีจายไฟให Bay Incoming#1 13) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. แจงชุดปฏิบัติงานดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย เบรกเกอร กอนปฏิบัติงาน หรือ

ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

3.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน(ยายโหลดกลับคืนสภาพปกติ) 1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลวเสร็จ ยืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังปลดการตอลง

ดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงานแลว 2) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01,

AAA01YS-02 ออก 3) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ Off

-141-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟให Bay Incoming#1

5) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA01YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) พรอมตรวจสอบสภาพ “สับสนิท 3 เฟส”

6) สับเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือขนาน Bus 7) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus 8) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-03 เพ่ือ De-energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบ

สถานะ 9) ปลดสวิตชใบมีดครอมหัว-ทายเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 (สวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01,

AAA0BYS-03) 10) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง

ท่ีจายไฟให Bay Incoming#1 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งให On ไว)

4. การซอมแซม/บํารุงรักษาเบรกเกอร (Incoming#2) รหัส AAA02YB-01 (กรณียายโหลดฝาก

เบรกเกอร AAA0BYB-01) 4.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอร Spare รหัส AAA0BYB-01 และสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02, AAA0BYS-03, AAA0BYS-04 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 และสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-01, AAA02YS-02, AAA02YS-03 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

3) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 อยูในสถานะ Off 4) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง

ท่ีจายไฟให Bay Incoming#2 5) ทดสอบ Transfer Bus

a. แจงพนักงานสถานีไฟฟา AAA ตรวจสอบ Transfer Bus ดวยสายตา b. สับสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-02, AAA0BYS-03 (หัว – ทายเบรกเกอร) พรอมแจง

สวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะ “สับสนิท 3 เฟส” c. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบสถานะ d. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบ

สถานะ e. ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-03

6) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-03 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบสถานะ 7) สับใบมีดรหัส AAA0BYS-03

-142-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

8) สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือขนาน Bus 9) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus 10) ปลดสวิตชใบมีดครอมหัว – ทายเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 (สวิตซใบมีดรหัส

AAA02YS-01, AAA02YS-02) 11) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 และท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-

01, AAA02YS-02 12) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง

ท่ีจายไฟให Bay Incoming#2 13) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการด ังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

4.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน(ยายโหลดกลับคืนสภาพปกติ)

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 และท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-01,

AAA02YS-02 ออก 3) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง

ท่ีจายไฟให Bay Incoming#2 4) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 อยูในสถานะ Off 5) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-01, AAA02YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) พรอมตรวจสอบ

สภาพ “สับสนิท 3 เฟส” 6) สับเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 เพ่ือขนาน Bus 7) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus 8) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-03 เพ่ือ De-energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบ

สถานะ 9) ปลดสวิตชใบมีดครอมหัว-ทายเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 (สวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-

02, AAA0BYS-03) 10) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง

ท่ีจายไฟให Bay Incoming#2 11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งให On ไว)

-143-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

5. การซอมแซม/บํารุงรักษาเบรกเกอร (Outgoing#1) รหัส AAA05YB-01 (กรณียายโหลดฝากเบรกเกอร AAA0BYB-01) 5.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอร Spare รหัส AAA0BYB-01 และสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02, AAA0BYS-03, AAA0BYS-04 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 และสวิตชใบมีดรหัส AAA05YS-01, AAA05YS-02, AAA05YS-03 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

3) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 4) แจงศูนย กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ Off Auto Reclosing Relay ของสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟให

Bay Incoming#1 5) ทดสอบ Transfer Bus

a. แจงพนักงานสถานีไฟฟา AAA ตรวจสอบ Transfer Bus ดวยสายตา b. สับสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-03 (หัว – ทายเบรกเกอร) พรอมแจง

สวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะ “สับสนิท 3 เฟส” c. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบ

สถานะการจายไฟปกติ d. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 e. ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-03

6) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA05YS-03 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบสถานะ 7) สับสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-03 8) สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือขนาน Bus 9) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus 10) ปลดสวิตชใบมีดครอมหัว – ทายเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 (สวิตซใบมีดรหัส

AAA05YS-01, AAA05YS-02) 11) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 และท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA05YS-

01, AAA05YS-02 12) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 13) แจงศูนย กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ On Auto Reclosing Relay ของสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟให

Bay Incoming#1 14) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. แจงดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-144-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

5.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน(ยายโหลดกลับคืนสภาพปกติ) 1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA05YS-01,

AAA05YS-02 ออก 3) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA05YS-01, AAA05YS-02 (หัว – ทายเบรกเกอร) พรอมตรวจสอบ

สภาพ “สับสนิท 3 เฟส” 4) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 5) แจงศูนย กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ Off Auto Reclosing Relay ของสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟให

Bay Incoming#1 6) สับเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 เพ่ือขนาน Bus 7) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus 8) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA05YS-03 เพ่ือ De-energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบ

สถานะ 9) ปลดสวิตชใบมีดครอมหัว-ทายเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 (สวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01,

AAA0BYS-03) 10) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA05YB-01 11) แจงศูนย กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ On Auto Reclosing Relay ของสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟให

Bay Incoming#1 6. การซอมแซม/บํารุงรักษา Main Bus#1

6.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01,AAA03YB-01,AAA05YB-01 ตองไมมีปามหาม

ควบคุมตางๆ 2) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01,AAA03YS-01,AAA05YS-01 ตองไมมีปามหาม

ควบคุมตางๆ 3) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01, AAA05YB-01 (เบรกเกอร

ปองกันสายสงฯ ติด Main Bus#1 ) 4) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง

ท่ีจายไฟให Bay Incoming#1 5) ดําเนินการยายโหลด Main Bus#1 รับไฟจากแหลงจายขางเคียง

a. Bay หมอแปลง TP1 ปฏิบัติตามขอ 2.3 การดับไฟหมอแปลง TP1 เพ่ือปลด Cold Standby

b. Bay สายสง Outgoing#1 ตรวจสอบการเชื่อมตอสายสงฯ ดังกลาว กับแหลงจายขางเคียง และเง่ือนไขของหลักการขนานและถายเทโหลดตางๆ

-145-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

i. กรณีตรวจสอบแลว สามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ไดท้ังหมด ปฏิบัติตามหลักการขนานและเทโหลดสายสงระบบ 115 kV (ปลดขนานท่ีเบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1)

ii. กรณีตรวจสอบแลว สามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ไดบางสวน ดําเนินการยายโหลด สวนท่ีเหลือ(ท่ีไมสามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ได) ผานระบบจําหนาย 22/33 kV โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายโหลด Feeder

iii. กรณีมีโหลดบางสวน เชน ผูใชไฟระบบ 115 kV หรือ SPP ซ่ึงตรวจสอบและพิจารณาแลวไมสามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV และ 22/33 kV ดําเนินการแจงผูใชไฟงดรับไฟฯ หรือแจง SPP งดการขนานฯ ในชวงเวลาท่ีปฏิบัติงานดังกลาว

iv. หลังจากดําเนินการยายโหลดตามขอ i ถึง iii แลวเสร็จ ดําเนินการตรวจสอบ เบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1 อยูในสถานะ “ปลด” และแขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรดังกลาว

6) ดําเนินการปลด Bay Incoming#1 a. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือ De-energize Main Bus b. ตรวจสอบแรงดันท่ี Main Bus#1 ตองเปนศูนยท้ัง 3 เฟส หากไมเปนศูนย แจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบ c. แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01

7) ปลดสวิตซใบมีดติด Main Bus#1 ท้ังหมด (สวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-01, AAA03YS-01, AAA05YS-01, AAA0BYS-01) พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดดังกลาว

8) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้ a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

6.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรติด Main Bus#1 ทุกตัว อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดติด Main Bus#1 ทุกตัว อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกันสายสงติด Main Bus#1 ทุกตัว

(AAA01YB-01, AAA05YB-01) อยูในสถานะ Off 5) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง

ท่ีจายไฟให Bay Incoming#1 6) นํา Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดติด Main Bus#1 ออก (รหัส AAA01YS-01, AAA03YS-01,

AAA05YS-01)

-146-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

7) สับสวิตซใบมีดติด Main Bus#1 (รหัส AAA01YS-01, AAA03YS-01, AAA05YS-01) พรอมท้ังแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

8) ดําเนินการ Energize Main Bus a. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ออก b. สับ เบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือ Energize Main Bus และตรวจสอบระดับ

แรงดันไฟฟาท่ี Main Bus#1 ท้ัง 3 เฟส ตองใกลเคียงกับคามาตรฐาน 115 kV 9) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟตามสภาพปกติ ทีละ Bay

a. Bay หมอแปลง TP1 ปฏิบัติตามขอ 2.4 การจายไฟหมอแปลง TP1 หลังจากปลด Cold Standby

b. Bay สายสง Outgoing#1 i. นํา Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1 ออก ii. ดําเนินการสับเบรกเกอรปองกันสายสง Outgoing#1

1. กรณีการสับเบรกเกอรดังกลาว เปนการสับขนานโหลดสายสงฯ ใหปฏิบัติตามหลักการขนานและเทโหลดสายสงระบบ 115 kV

2. กรณีการสับเบรกเกอรดังกลาว เปนการ Energize สายสงฯ ตรวจสอบสถานะ Ground Switch ครอมหัว-ทาย สายสงฯ และอุปกรณตัดตอนท่ีเชื่อมตอกับสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” หลังจากนั้นจึงดําเนินการสับเบรกเกอรฯ เพ่ือ Energize สายสงฯ ดังกลาว

iii. กรณีท่ีมีการยายโหลดผานระบบจําหนาย 22/33 kV หลังจากดําเนินการตามขอ i และ ii แลว ดําเนินการยายโหลดระบบ 22/33 kV กลับคืน โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและเทโหลด Feeder

iv. กรณีมีการปลดโหลดออกบางสวน เชน ผูใชไฟระบบ 115 kV หรือ SPP หลังจากดําเนินการตามขอ i และ ii แลว ดําเนินการแจง ผูใชไฟรับไฟจาก PEA หรือ แจง SPP ขนานเขาระบบ ตามสภาพปกติ

10) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟให Bay Incoming#1

11) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกันสายสงติด Main Bus#1 ทุกตัว รหัส AAA01YB-01 (กรณีถูกตั้งคาให On ไว) และ AAA05YB-01

-147-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

7. การบํารุงรักษาอุปกรณในสายสง Incoming#1 (กรณียายโหลด Main Bus#1 ฝากMain Bus#2) 7.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบเบรกเกอร Spare รหัส AAA0BYB-01 และสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-02, AAA0BYS-03, AAA0BYS-04 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-02 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ

3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-03 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 4) ตรวจสอบพิกัดอุปกรณท่ียังจายไฟอยูหลังจากยายโหลดแลวเสร็จ ตองสามารถรับโหลดได 5) ทดสอบ Transfer Bus

a. แจงพนักงานสถานีไฟฟา AAA ตรวจสอบ Transfer Bus ดวยสายตา b. แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอร

สถานีฯ ตนทางท้ังสองวงจร c. Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 d. สับสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01, AAA0BYS-03 (หัว – ทายเบรกเกอร) พรอมแจง

สวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะ “สับสนิท 3 เฟส” e. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบสถานะ f. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 g. ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-03

6) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ Off Line Differential Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง (กฟผ.-PEA)

7) Off Line Differential Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (PEA-กฟผ.) 8) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-03 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบสถานะ 9) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-04 10) สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือขนาน Bus 11) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus 12) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ ปลดเบรกเกอร สถานีฯ ตนทาง เพ่ือ De-energize สายสง

Incoming#1 พรอมปลดสวิตชใบมีดดานออกไลนดวย 13) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-02 (ติดสายสง Incoming#1) 14) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 15) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ

ตนทางท่ีจายไฟใหสายสง Incoming#2 16) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-148-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

7.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน(ยายโหลดกลับคืนสภาพปกติ) 1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบ Ground Switch ครอมหัว-ทาย สายสง Incoming#1 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 อยูในสถานะ Off 4) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทางท่ี

จายไฟให Bay Incoming#2 5) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-02 (ติดสายสง Incoming#1) พรอมแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบ

สถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 6) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบสับเบรกเกอร สถานีฯ ตนทาง เพ่ือ Energize สายสง

Incoming#1 7) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 ออก 8) สับเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 เพ่ือขนาน Bus 9) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus 10) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-03 เพ่ือ De-energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบสถานะ 11) ปลดสวิตชใบมีดครอมหัว-ทายเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 (สวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-01,

AAA0BYS-04) 12) On Line Differential Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (PEA-กฟผ.) 13) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ On Line Differential Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ

ตนทาง (กฟผ.-PEA) 14) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง

ท้ังสองวงจร 15) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว)

8. การบํารุงรักษาอุปกรณในสายสง Incoming#2 (กรณียายโหลด Main Bus#2 ฝาก Main Bus#1 )

8.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอร Spare รหัส AAA0BYB-01 และสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-01,

AAA0BYS-02, AAA0BYS-03, AAA0BYS-04 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 และสวิตซใบมีดรหัส AAA02YS-02 ตองไมมีปายหาม

ควบคุมตางๆ 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA01YS-03 ตองไมมีปายหามควบคุมตางๆ 4) ตรวจสอบพิกัดอุปกรณท่ียังจายไฟอยูหลังจากยายโหลดแลวเสร็จ ตองสามารถรับโหลดได 5) ทดสอบ Transfer Bus

a. แจงพนักงานสถานีไฟฟา AAA ตรวจสอบ Transfer Bus ดวยสายตา b. แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ

ตนทางท้ังสองวงจร

-149-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

c. สับสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-02, AAA0BYS-03 (หัว – ทายเบรกเกอร) พรอมแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะ “สับสนิท 3 เฟส”

d. สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบสถานะ e. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 f. ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-03

6) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ Off Line Differential Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทาง (กฟผ.-PEA)

7) Off Line Differential Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 (PEA-กฟผ.) 8) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-03 เพ่ือ Energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบสถานะ 9) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA0BYS-04 10) สับเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือขนาน Bus 11) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus 12) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ ปลดเบรกเกอร สถานีฯ ตนทาง เพ่ือ De-energize สายสง

Incoming#2 พรอมปลดสวิตชใบมีดดานออกไลนดวย 13) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-02 (ติดสายสง Incoming#2) 14) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 15) แจง กฟผ. (ศูนยนนทบุรี) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทางท่ีจายไฟ

ใหสายสง Incoming#1 16) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

8.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน(ยายโหลดกลับคืนสภาพปกติ)

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบ Ground Switch ครอมหัว-ทาย สายสง Incoming#2 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 อยูในสถานะ Off 4) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทางท่ี

จายไฟให Bay Incoming#1 5) สับสวิตชใบมีดรหัส AAA02YS-02 (ติดสายสง Incoming#2) พรอมแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบ

สถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 6) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบสับเบรกเกอร สถานีฯ ตนทาง เพ่ือ Energize สายสง

Incoming#2 7) นํา Tag ท่ีแขวนท่ีเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 ออก 8) สับเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 เพ่ือขนาน Bus

-150-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

9) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 เพ่ือปลดขนาน Bus 10) ปลดสวิตชใบมีดรหัส AAA01YS-03 เพ่ือ De-energize Transfer Bus พรอมตรวจสอบสถานะ 11) ปลดสวิตชใบมีดครอมหัว-ทายเบรกเกอรรหัส AAA0BYB-01 (สวิตซใบมีดรหัส AAA0BYS-02,

AAA0BYS-04) 12) On Line Differential Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 (PEA-กฟผ.) 13) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ On Line Differential Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ

ตนทาง (กฟผ.-PEA) 14) แจงศูนยฯ กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรสถานีฯ ตนทางท้ัง

สองวงจร 15) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA02YB-01 (กรณีท่ีถูกตั้งคาให On ไว)

-151-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4.2 วิธีปฏิบัติการสั่งการกับอุปกรณภายนอกสถานีไฟฟา แบงตามชนิดของอุปกรณ ดังนี้ 1. วิธีปฏิบัติการสั่งการกับ Air Break Switch ระบบ 115 kV

รูปท่ี 7 Air Break Switch 115 kV

1. การปลด/สับ Air Break Switch เพ่ือดับไฟปฏิบัติงาน/บํารุงรักษาในสายสงฯ

1.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) แจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะของ Air Break Switch อยูในสถานะ “สับ” 2) ตรวจสอบ Air Break Switch ตองไมมี Tag/Note หามควบคุม/หามปลด 3) ตรวจสอบคุณสมบัติของ Air Break Switch (ผลิตภัณฑ, Charging Current, ระยะทางสายสงฯ)

(หมายเหตุ ขอท่ี 1) 4) แจงสวนเก่ียวของ ตรวจสอบสภาพอากาศบริเวณ Air Break Switch (หมายเหตุ ขอท่ี 2) 5) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหแก Air Break Switch 6) ดําเนินการยายโหลด ท่ีรับไฟจาก Air Break Switch ไปรับไฟจากแหลงจายขางเคียง โดยปฏิบัติ

ตามหลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา ขอยอย 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ โดยหลังจากดําเนินการแลวเสร็จ ตรวจสอบสถานะดังนี้ a. ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก Air Break Switch ทุกตัว อยูในสถานะ “ปลด” และ

มีการแขวน Tag หามควบคุมท่ีอุปกรณตัดตอนฯ ดังกลาว

b. ตรวจสอบ Disconnecting/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนในขอ a) (ถามี) อยูใน

สถานะ “ปลด”

7) แจงสวนเก่ียวของ ปลด Air Break Switch และตรวจสอบ Air Break Switch อยูในสถานะ “ปลด”ท้ัง 3 เฟส

-152-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

8) แขวน Tag หามควบคุมท่ี Air Break Switch 9) แจงสวนเก่ียวของ ดําเนินการ Lock กลไกทางกลของ Air Break Switch 10) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหแก Air Break Switch 11) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปน ศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) แจงสวนเก่ียวของ ตรวจสอบสถานะของ Air Break Switch อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก Air Break Switch ทุกตัว อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจากสายสงฯ

ทุกตัว อยูในสถานะ “ปลด” 5) ตรวจสอบกราวดสวิตซท่ีสถานีฯ ปลายทาง (ถามี) ท่ีรับไฟจาก Air Break Switch อยูในสถานะ

“ปลด” 6) แจงสวนเก่ียวของ ตรวจสอบสภาพอากาศบริเวณ Air Break Switch (หมายเหตุ ขอท่ี 2) 7) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหแก Air Break Switch 8) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 9) แจงสวนเก่ียวของ ดําเนินการสับ Air Break Switch พรอมท้ังตรวจสอบ Air Break Switch อยู

ในสถานะ “สับสนิท”ท้ัง 3 เฟส 10) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ โดยปฏิบัติตามปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือ

บํารุงรักษา ขอยอย 3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ 11) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหแก Air Break Switch

2. การซอมแซม/บํารุงรักษา Air Break Switch (กรณีปฏิบัติงานรวมกับชุด Hotline)

2.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) แจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะของ Air Break Switch อยูในสถานะ “สับ” 2) ตรวจสอบ Air Break Switch ตองไมมีปายหามควบคุม/หามปลด 3) ตรวจสอบคุณสมบัติของ Air Break Switch (ผลิตภัณฑ, Charging Current, ระยะทางสายสงฯ)

(หมายเหตุ ขอท่ี 1) 4) แจงสวนเก่ียวของ ตรวจสอบสภาพอากาศบริเวณ Air Break Switch (หมายเหตุ ขอท่ี 2) 5) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหแก Air Break Switch 6) ดําเนินการยายโหลด ท่ีรับไฟจาก Air Break Switch ไปรับไฟจากแหลงจายขางเคียง โดย

ปฏิบตัิตามหลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา ขอยอย 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ 7) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก Air Break Switch ทุกตัว อยูในสถานะ “ปลด”

-153-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

8) แจงสวนเก่ียวของ ปลด Air Break Switch และตรวจสอบ Air Break Switch อยูในสถานะ “ปลด”ท้ัง 3 เฟส

9) แจงสวนเก่ียวของ ดําเนินการ Lock กลไกทางกล ของ Air Break Switch 10) แขวน Tag เพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานท่ี Air Break Switch 11) แจงชุดปฏิบัติงาน Hotline ปลดจุดเชื่อมตอสายเขา-ออก Air Break Switch ท้ังสองดาน 12) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหแก Air Break Switch 13) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปน ศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน 2.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) แจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะของ Air Break Switch อยูในสถานะ “ปลด” 3) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหแก Air Break Switch 4) กรณีดาน Load ของ Air Break Switch มีการจายไฟมาสิ้นสุด ณ จุดท่ีปลดสายไว ดําเนินการ

ดังนี้ a. กรณีไมดับไฟ เชื่อมสายดาน Load ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณ

ปองกันดาน Load

b. กรณีดับไฟ เชื่อมสายดาน Load ดําเนินการดับไฟสายสงฯ ดาน Load ดังกลาว

5) แจงชุดปฏิบัติงาน Hotline เชื่อมตอสายเขา-ออก Air Break Switch ท้ังสองดาน 6) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟ Air Break Switch ทุกตัว อยูในสถานะ “ปลด” (แรงดันดาน

Load เปนศูนย) 7) แจงสวนเก่ียวของ ตรวจสอบสภาพอากาศ** บริเวณ Air Break Switch 8) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 9) แจงสวนเก่ียวของสับ Air Break Switch เพ่ือดําเนินการ Energize สายสงฯ และตรวจสอบ Air

Break Switch อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 10) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจาก Air Break Switch โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือ

บํารุงรักษา ขอยอย 3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ 11) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหแก Air Break Switch

หมายเหตุ

1.) กรณีตรวจสอบแลวพบวาคา Charging Current ของสายสงฯ ท่ีตองการดับไฟ มีคามากกวา

Interrupting Capacity ของ Air Break Switch พิจารณาดําเนินการวิธีใดวิธีหนึ่ง ดังนี้

a. พิจารณาปลด Air Break Switch แบบไมมีไฟ ดําเนินการปลดอุปกรณตนทาง เพ่ือดับไฟ Air Break

Switch รวมท้ังสายสงฯ และดําเนินการปลด Air Break Switch แบบไมมีไฟ

-154-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

b. พิจารณาปลด Air Break Switch แบบมีไฟ ดําเนินการลดคา Charging Current ของสายสงฯ ใหไม

เกิน Interrupting Capacity ของ Air Break Switch โดยการปลดอุปกรณตัดตอน ปลายสายสงฯ

เพ่ือลดความยาวสายสงฯ (คา Charging Current ของสายสงฯ แปรผันตรงกับความยาวสายสงฯ)

2.) กรณีตรวจสอบสภาพอากาศบริเวณ Air Break Switch กอนปลด-สับ พบวามีความชื้นสูง พิจารณางด

เวนการปลด-สับ อุปกรณดังกลาว เพ่ือความปลอดภัยของผูปฏิบัติงานและอุปกรณฯ

2. วิธีปฏิบัติการส่ังการกับ Load break Switch ระบบ 115 kV

รูปท่ี 8 Load Break Switch ระบบ 115 kV

1. การปลด/สับ Load Break Switch เพ่ือดับไฟปฏิบัติงาน/บํารุงรักษาในสายสงฯ

1.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบ Tag, Note ของ Load break Switch ตองไมมีปายหามควบคุม/หามปลด 2) ตรวจสอบสถานะของ Load break Switch อยูในสถานะ “สับ” 3) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Load Break Switch

-155-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4) ดําเนินการยายโหลดออกจากสายสงฯ โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา ขอยอย 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ โดยหลังจากดําเนินการแลวเสร็จ ตรวจสอบสถานะดังนี้ a. ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก Load Break Switch ทุกตัว อยูในสถานะ “ปลด”

และมีการแขวน Tag หามควบคุมท่ีอุปกรณตัดตอนฯ ดังกลาว

b. ตรวจสอบ Disconnecting/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนในขอ a) (ถามี) อยูใน

สถานะ “ปลด”

5) ดําเนินการปลด Load Break Switch 6) ตรวจสอบสถานะ Load Break Switch และ Disconnecting Switch ติด Load Break

Switch อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 7) แขวน Tag หามควบคุมท่ี Load Break Switch 8) แจงสวนเก่ียวของตั้งคา Local/Remote Control ของ Load Break Switch ใหอยูในสถานะ

“Local” 9) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Load Break Switch 10) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปน ศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบกับทางชุดปฏิบัติงานเพ่ือยืนยันความพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังแจงปลดการตอลงดินท่ี ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2) ตรวจสอบ Load Break Switch และ Disconnecting Switch ของ Load Break Switch ดังกลาว อยูในสถานะ “ปลด”

3) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบสถานะ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก

สายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 5) ตรวจสอบกราวดสวิตซสถานีฯ ปลายทาง (ถามี) ท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 6) ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทาง ท่ีจายไฟให Load Break

Switch ดังกลาว 7) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 8) แจงสวนเก่ียวของ ตั้งคา Local/Remote Control ของ Load Break Switch ใหอยูในสถานะ

“Remote” 9) สับ Load Break Switch เพ่ือดําเนินการ Energize สายสงฯ

-156-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

10) ตรวจสอบ Load Break Switch และ Disconnecting Switch ของ Load Break Switch ดังกลาว อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

11) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ โดยปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา ขอยอย 3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ

12) ดําเนินการ ON Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทาง ท่ีจายไฟให Load Break Switch ดังกลาว

2. การสั่งการเพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา Load Break Switch (กรณีดับไฟสายสงฯ ท่ีรับไฟจาก Load

Break Switch)

2.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบ Tag, Note ของ Load break Switch ตองไมมีปายหามควบคุม/หามปลด 2) แจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะของ Load break Switch อยูในสถานะ “สับ” 3) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Load Break Switch 4) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก Load Break Switch ไปรับไฟจากแหลงจายขางเคียง โดย

ปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา ขอ 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ 5) ปลด Load Break Switch พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ Load Break Switch และ

Disconnecting Switch ติด Load Break Switch อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 6) แขวน Tag เพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานท่ี Load Break Switch 7) แจงชุดปฏิบัติงาน ตั้งคา Local/Remote Control ท่ี Load Break Switch ใหอยูในสถานะ

“Local” 8) แยก Load Break Switch ออกจากระบบสวนท่ีมีไฟ

a. กรณีดานท่ีไมมี Disconnecting Switch อยูดาน Source (มีไฟ) แจงชุดปฏิบัติงาน

HOTLINE ปลดจุดเชื่อมตอสายเขา Load Break Switch ดาน Source ดังกลาว

b. กรณีดานท่ีไมมี Disconnecting Switch อยูดาน Load (ไมมีไฟ)

i. ตรวจสอบสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจาก Load Break Switch อยูใน

สถานะ “ปลด” และแขวนปายหามสับ/หามควบคุม ท่ีอุปกรณตัดตอนดังกลาว

ii. ปลด Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอน ท่ีรับไฟจาก

Load Break Switch เพ่ือเพ่ิมความปลอดภัย อีกชั้นหนึ่ง

หมายเหตุ ท้ังใน กรณี a. และ b. สามารถใหชุดปฏิบัติงาน HOTLINE ปลดสายเขา-ออก

Load Break Switch ออกท้ังสองดาน เพ่ือเพ่ิมความปลอดภัย

9) ON Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Load Break Switch 10) กอนเขาปฏิบัติงานท่ี Load Break Switch ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

-157-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Load Break Switch 3) ตรวจสอบสถานะ Load Break Switch และ Disconnecting Switch ติด Load Break

Switch อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 4) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจาก Load Break Switch อยูในสถานะ “ปลด” 5) กรณีปลดสายเขา/ออก Load Break Switch ดําเนินการเชื่อมตอสายเขา/ออก Load Break

Switch ตามสภาพปกติ โดยชุดปฏิบัติงาน HOTLINE 6) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 7) แจงชุดปฏิบัติงาน ตั้งคา Local/Remote Control ของ Load Break Switch ใหอยูในสถานะ

“Remote” 8) สับ Load Break Switch เพ่ือ Energize สายสงฯ พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับ” 9) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจาก Load Break Switch ตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตาม

หลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา ขอยอย 3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ 10) ON Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Load Break Switch

3. การสั่งการเพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา Load Break Switch (กรณียายโหลดผานระบบ 115 kV และปลด

ขนานโหลดท่ี Load Break Switch)

3.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบ Tag, Note ของ Load break Switch ตองไมมีปายหามควบคุม/หามปลด 2) แจงสวนเก่ียวของตรวจสอบสถานะของ Load break Switch อยูในสถานะ “สับ” 3) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก Load Break Switch ไปรับไฟจากแหลงจายขางเคียง โดย

ปฏิบัติตามหลักการสั่งการเพ่ือขนานและถายเทโหลดสายสงระบบ 115 kV (ปลดขนานท่ี Load Break Switch)

4) ตรวจสอบสถานะ Load Break Switch และ Disconnecting Switch ติด Load Break Switch อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส

5) แขวน Tag เพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานท่ี Load Break Switch 6) แจงชุดปฏิบัติงาน ตั้งคา Local/Remote Control ท่ี Load Break Switch ใหอยูในสถานะ

“Local” 7) ตรวจสอบสถานะ Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทาง ท้ังสองดานของ Load Break

Switch อยูในสถานะ “Off”

-158-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

8) แยก Load Break Switch ออกจากระบบสวนท่ีมีไฟ โดยแจงชุดปฏิบัติงาน HOTLINE ปลดจุดเชื่อมตอสายเขา Load Break Switch ดานท่ีไมมี Disconnecting Switch หมายเหตุ สามารถใหชุดปฏิบัติงาน HOTLINE ปลดสายเขา-ออก Load Break Switch ออก

ท้ังสองดาน เพ่ือเพ่ิมความปลอดภัย

9) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Load Break Switch ท้ังสองดาน

10) กอนเขาปฏิบัติงานท่ี Load Break Switch ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้ a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปน ศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

3.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) แจงชุดปฏิบัติงานตรวจสอบสถานะของ Load break Switch และ Disconnecting ของ Load

Break Switch ดังกลาว อยูในสถานะ “ปลด” 3) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Load Break Switch ท้ัง

สองดาน 4) ตรวจสอบสถานะ Local/Remote Control ของ Load Break Switch อยูในสถานะ “Local” 5) เชื่อมตอ Load Break Switch เขากับระบบสวนท่ีมีไฟ โดยแจงชุดปฏิบัติงาน HOTLINE

เชื่อมตอสายเขา Load Break Switch ดานท่ีถูกปลดออก 6) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 7) แจงชุดปฏิบัติงาน ตั้งคา Local/Remote Control ของ Load Break Switch อยูในสถานะ

“Remote” 8) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจาก Load Break Switch ตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตาม

หลักการสั่งการขนานและถายเทโหลดสายสงระบบ 115 kV

-159-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3.วิธีปฏิบัติการส่ังการกับ Circuit Switcher ระบบ 115 kV

รูปท่ี 9 Circuit Switcher ระบบ 115 kV

1. การปลด/สับ Circuit Switcher เพ่ือดับไฟปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ในสายสงฯ

1.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบ Tag, Note ของ Circuit Switcher ตองไมมีปายหามควบคุม/หามปลด 2) Off Auto Reclosing Relay ของ Circuit Switcher 3) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก Circuit Switcher ไปรับไฟจากแหลงจายขางเคียง โดยปฏิบัติ

ตามหลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา ขอ 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ โดยหลังจากยายโหลดแลวเสร็จ ดําเนินการตรวจสอบดังนี้ a. ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก Circuit Switcher ทุกตัว อยูในสถานะ “ปลด” และมี

การแขวน Tag หามควบคุมท่ีอุปกรณตัดตอนฯ ดังกลาว

b. ตรวจสอบ Disconnecting/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนในขอ a) (ถามี) อยูในสถานะ “ปลด”

4) ปลด Circuit Switcher พรอมตรวจสอบสถานะ Circuit Switcher อยูในสถานะ “ปลด” 5) ตรวจสอบ Disconnecting Switch ของ Circuit Switcher อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 6) แขวน Tag หามควบคุมท่ี Circuit Switcher 7) แจงชุดปฏิบัติงานตั้งคา Local/Remote Control ของ Circuit Switcher ใหอยูในสถานะ

“Local” 8) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปน ศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-160-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

1.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบ Circuit Switcher และ Disconnecting Switch ของ Circuit Switcher ดังกลาว

อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบสถานะ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก

สายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 5) ตรวจสอบกราวดสวิตซสถานีฯปลายทาง(ถามี) ท่ีรับไฟจากสายสง อยูในสถานะ “ปลด” 6) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของ Circuit Switcher อยูในสถานะ “Off” 7) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 8) แจงสวนเก่ียวของ ดําเนินการตั้งคา Local/Remote Control ของ Circuit Switcher ใหอยูใน

สถานะ “Remote” 9) สับ Circuit Switcher เพ่ือ Energize สายสงฯ 10) ตรวจสอบ Circuit Switcher และ Disconnecting Switch ของ Circuit Switcher ดังกลาว

อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 11) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ โดยปฏิบัติตามหลักการบํารุงรักษา ขอยอย 3.2

ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ 12) On Auto Reclosing Relay ของ Circuit Switcher

2. การสั่งการเพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา Circuit Switcher (กรณีดับไฟสายสงฯ ท่ีรับไฟจาก Circuit Switcher)

2.1 กอนการปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบ Tag, Note ของ Circuit Switcher ตองไมมีปายหามควบคุม/หามปลด 2) Off Auto Reclosing Relay ของ Circuit Switcher 3) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก Circuit Switcher ไปรับไฟจากแหลงจายขางเคียง โดยปฏิบัติ

ตามหลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา ขอ 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ 4) ปลด Circuit Switcher พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ Circuit Switcher และ Disconnecting

Switch ของ Circuit Switcher อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 5) แขวน Tag เพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานท่ี Circuit Switcher 6) แจงชุดปฏิบัติงาน ตั้งคา Local/Remote Control ท่ี Circuit Switcher ใหอยูในสถานะ

“Local” 7) ตรวจสอบ Circuit Switcher ตองถูกแยกออกจากระบบสวนท่ีมีไฟ

a. ตรวจสอบสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจาก Circuit Switcher อยูในสถานะ

“ปลด” และแขวนปายหามสับ/หามควบคุม ท่ีอุปกรณตัดตอนดังกลาว

-161-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

b. ปลด Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอน ในขอ a. เพ่ือเพ่ิม

ความปลอดภัย อีกชั้นหนึ่ง

หมายเหตุ สามารถใหชุดปฏิบัติงาน HOTLINE ปลดสายเขา-ออก Circuit Switcher ออกท้ัง

สองดาน เพ่ือเพ่ิมความปลอดภัย

8) กอนเขาปฏิบัติงานท่ี Circuit Switcher ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้ a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปน ศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน 2.2 หลังการปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงานดําเนินการแลวเสร็จ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบสถานะ Circuit Switcher และ Disconnecting Switch ของ Circuit Switcher อยู

ในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 3) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของ Circuit Switcher อยูในสถานะ “Off” 4) ตรวจสอบสถานะ Local/Remote Control ของ Circuit Switcher อยูในสถานะ “Local” 5) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจาก Circuit Switcher อยูในสถานะ “ปลด” 6) กรณีมีการปลดสายเขา/ออก Load Break Switch

a. Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให Circuit Switcher

b. ดําเนินการเชื่อมตอสายเขา/ออก Load Break Switch ตามสภาพปกติ โดยชุดปฏิบัติงาน

Hotline

c. On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให Circuit Switcher

7) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 8) แจงชุดปฏิบัติงาน ตั้งคา Local/Remote Control ของ Circuit Switcher อยูในสถานะ

“Remote” 9) สับ Circuit Switcher เพ่ือ Energize สายสงฯ 10) ตรวจสอบ Circuit Switcher และ Disconnecting Switch ของ Circuit Switcher อยูสถานะ

“สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 11) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจาก Circuit Switcher ตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตาม

หลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา ขอยอย 3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ 12) On Auto Reclosing Relay ของ Circuit Switcher

3. การสั่งการเพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา Circuit Switcher (กรณีจายไฟผาน Air Break Switch (By Pass))

3.1 กอนการปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบ Tag, Note ของ Circuit Switcher ตองไมมีปายหามควบคุม/หามปลด 2) ตรวจสอบ Tag, Note ของ Air Break Switch (By Pass) ไมมีปายหามควบคุม/หามสับ

-162-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Circuit Switcher 4) แจงชุดปฏิบัติงาน สับ Air Break Switch (By Pass) พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง

3 เฟส” 5) ปลด Circuit Switcher พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ Circuit Switcher และ Disconnecting

Switch ของ Circuit Switcher อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 6) แขวน Tag เพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานท่ี Circuit Switcher 7) แจงชุดปฏิบัติงาน ตั้งคา Local/Remote Control ท่ี Circuit Switcher ใหอยูในสถานะ

“Local” 8) ดําเนินการแยก Circuit Switcher ออกจากระบบสวนท่ีมีไฟ โดยแจงชุดปฏิบัติงาน HOTLINE

ปลดสายสงท่ีออกจาก Circuit Switcher ดาน Load (สามารถปลดไดท้ังสองดาน เพ่ือเพ่ิมความปลอดภัยอีกชั้นหนึ่ง)

9) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Circuit Switcher 10) กอนเขาปฏิบัติงานท่ี Circuit Switcher ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปน ศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน 3.2 หลังการปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงานดําเนินการแลวเสร็จ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบสถานะ Circuit Switcher และ Disconnecting Switch ของ Circuit Switcher อยู

ในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 3) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให Circuit Switcher 4) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของ Circuit Switcher อยูในสถานะ “Off” 5) ตรวจสอบสถานะ Local/Remote Control ของ Circuit Switcher อยูในสถานะ “Local” 6) เชื่อมตอ Circuit Switcher เขากับระบบสวนท่ีมีไฟ โดยดําเนินการเชื่อมสายสงเขา/ออก

Circuit Switcher ตามสภาพปกติ โดยชุดปฏิบัติงาน Hotline 7) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 8) แจงชุดปฏิบัติงาน ตั้งคา Local/Remote Control ของ Circuit Switcher อยูในสถานะ

“Remote” 9) สับ Circuit Switcher พรอมท้ังตรวจสอบ Circuit Switcher และ Disconnecting Switch

ของ Circuit Switcher อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 10) แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการปลด Air Break Switch (By Pass) พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ

“ปลด” ท้ัง 3 เฟส 11) ตรวจสอบสภาพการจายไฟสายสงระบบ 115 kV ชวงดังกลาว อยูในสภาวะปกติ 12) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให Circuit Switcher และของ

Circuit Switcher

-163-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

5. วิธีปฏิบัติการสั่งการพ้ืนฐานกับอุปกรณในระบบ 22/33 kV (Basic Operation) 5.1 วิธีปฏิบัติการสั่งการกับอุปกรณภายในสถานีไฟฟา แบงตามชนิดของอุปกรณ ดังนี้

สถานีไฟฟาจัดบัสแบบ Single Bus Single Breaker A. สถานีแบบ Vacuum Insulated Switchgear (VIS)

รูปท่ี 1 Wiring Diagram ของสถานีฯ ระบบ 22/33 kV แบบ VIS

B. สถานีแบบ Gas Insulated Switchgear (GIS)

รูปท่ี 2 Wiring Diagram ของสถานีฯ ระบบ 22/33 kV แบบ GIS หมายเหตุ กําหนดใหใชสถานะอุปกรณตามรูปท่ี 1 และ 2 เปนสถานะเริ่มตนในการจัดทําข้ันตอนวิธีปฏิบัติฯ

-164-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

1. เบรกเกอร Outgoing # 1 กรณีการซอมแซม/บํารุงรักษา 1.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกัน Outgoing # 1 (AAA01VB-01) และเบรกเกอรปองกันระบบจําหนายฟดเดอรขางเคียงท่ีจะดําเนินการยายโหลดไปรับไฟ

2) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจากระบบจําหนาย Outgoing # 1 ไปรับไฟจากฟดเดอรขางเคียง โดยปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

3) ตรวจสอบเบรกเกอรปองกัน Outgoing # 1 (AAA01VB-01) อยูในสถานะ “ปลด” 4) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA01VB-01 5) ตรวจสอบปริมาณโหลด Outgoing # 1 (MW, MVAR, Current) เปน “0” ถาโหลดไมเปน“0”

ใหแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบ 6) ดําเนินการแยกเบรกเกอรปองกัน Outgoing # 1 (AAA01VB-01) ออกจากสวนท่ีมีไฟ

a. แจงสวนเก่ียวของ ดําเนินการปลดสวิตซใบมีดตน Riser Pole ของไลน Outgoing # 1 และตรวจสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดตน Riser Pole ดังกลาว

b. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเก่ียวของ เลื่อน Truck ของเบรกเกอร AAA01VB-01 ใหอยูไนตําแหนง Out Service

c. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA01VS-01 พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA01VS-01

7) แจงสวนเก่ียวของ ดําเนินการสับกราวดสวิตซรหัส AAA1VG-01 8) แจงชุดปฏิบัติงาน ใหดําเนินการข้ันตอนดังนี้ กอนเขาปฏิบัติงานท่ีเบรกเกอร

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบ กราวดสวิตซรหัส AAA1VG-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกัน Outgoing # 1 (AAA01VB-01) และ

เบรกเกอรปองกันระบบจําหนายฟดเดอรขางเคียงท่ียายโหลดไปรับไฟ อยูในสถานะ “Off” 4) ดําเนินการสับอุปกรณตัดตอนตําแหนงครอมหัว-ทาย เบรกเกอร เพ่ือนําเบรกเกอรเขาใชงานใน

ระบบ a. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ VIS เลื่อน Truck อยูไนตําแหนง In Service b. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลด Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA01VS-01

พรอมกับสับสวิตซใบมีดรหัส AAA01VS-01 c. ปลด Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดตน Riser Pole ของไลน Outgoing#1พรอมท้ังสับสวิตซ

ใบมีดตน Riser Pole และตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

-165-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

5) ดําเนินการยายโหลด Outgoing # 1 (AAA01VB-01) กลับมารับไฟตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

6) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกัน Outgoing # 1 (AAA01VB-01) และเบรกเกอรปองกันระบบจําหนายฟดเดอรขางเคียงท่ีจะดําเนินการยายโหลดไปรับไฟ

2. เบรกเกอร Incoming # 1 กรณีการซอมแซม/บํารุงรักษา 2.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ออก a. กรณียายโหลดTP1 ฝาก TP2 ปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง b. กรณียายโหลด TP1 ฝากสถานีฯ ขางเคียง ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการ

ขนานและถายเทโหลดฟดเดอร c. ปลดเบรกเกอรรหัส AAA1BVB-01 พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ี เบรกเกอรรหัส

AAA1BVB-01 (กรณีเบรกเกอรยังไมถูกปลดเนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) 2) ดําเนินการ De-energize หมอแปลง TP1

a. ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side เพ่ือ De-energize TP1 b. แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side c. ตรวจสอบปริมาณโหลดหมอแปลง TP1 (MW, MVAR, Current) เปน “0” ถาโหลดไมเปน

“0” ใหแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบ d. ปลดสวิตซใบมีดติดดาน High Side ของหมอแปลง พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซ

ใบมีดดังกลาว 3) ดําเนินการแยกเบรกเกอรปองกัน Incoming # 1 (AAA1BVB-01) ออกจากสวนท่ีมีไฟ

a. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเก่ียวของ เลื่อน Truck ของเบรกเกอร AAA1BVB-01 ใหอยูไนตําแหนง Out Service

b. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA1BVS-01 พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA01VS-01

4) แจงสวนเก่ียวของ ดําเนินการสับกราวดสวิตซรหัส AAA1BVG-01 5) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบ กราวดสวิตซรหัส AAA1BVG-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) สับสวิตซใบมีดดาน High Side ของหมอแปลง TP1

a. ปลด Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดดาน High Side ของหมอแปลง TP1

-166-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

b. ดําเนินการสับสวิตซใบมีดดังกลาว และแจงสวนท่ีเก่ียวของตรวจสอบสวิตซใบมีดอยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

4) สับสวิตซดาน Low Side ของหมอแปลง TP1 a. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ VIS ดําเนินการเลื่อน Truck ของเบรกเกอรรหัส AAA1BVB-01

อยูไนตําแหนง In Service b. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ GIS ดําเนินการปลด Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดรหัส

AAA1BVS-01 พรอมท้ังสับสวิตซใบมีดดังกลาว 5) ดําเนินการ Energize ของหมอแปลง TP1

a. ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP1 อยูในสถานะ Off b. ปลด Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side c. ดําเนินการสับเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side เพ่ือ Energize หมอแปลง

TP1 6) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP1

a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง TP1 และ TP2 ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร i. สับเบรกเกอรรหัส AAA1BVB-01 เพ่ือ Energize เมนบัสระบบ 22/33 kV และ

ตรวจสอบแรงดันไฟฟาท่ีเมนบัสระบบ 22/33 kV อยูในเกณฑปกติ ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP1 โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด

ฟดเดอร iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1

3. เบรกเกอร Tie รหัส AAA0BVB-01กรณีการซอมแซม/บํารุงรักษา

3.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบเบรกเกอร Tie รหัส AAA0BVB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 2) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA0BVB-01 3) ดําเนินการแยกเบรกเกอร Tie รหัส AAA0BVB-01 ออกจากสวนท่ีมีไฟ

a. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเก่ียวของ เลื่อน Truck ของเบรกเกอร AAA0BVB-01 ใหอยูไนตําแหนง Out Service

b. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA0BVS-01 และ AAA0BVS-02 (ครอมหัว-ทายเบรกเกอร) พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดดังกลาว

4) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้ a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-167-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

หมายเหตุ* กรณีสถานีไฟฟาแบบ GIS ซ่ึงมีการติดตั้งกราวดสวิตซครอมเบรกเกอร Tie ไวอยูแลว แจงชุดปฏิบัติงานดําเนินการสับกราวดสวิตซครอมหัว-ทายเบรกเกอร Tie

3.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบ กราวดสวิตซครอมหัว-ทายเบรกเกอร Tie อยูในสถานะ “ปลด” (กรณีสถานีไฟฟา

แบบ GIS) 3) ดําเนินการอุปกรณตัดตอนตําแหนงครอมหัว-ทาย เบรกเกอร Tie เพ่ือนําเบรกเกอรเขาใชงานใน

ระบบ a. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ VIS เลื่อน Truck อยูไนตําแหนง In Service b. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลด Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA0BVS-01

และ AAA0BVS-02 (ครอมเบรกเกอร Tie) พรอมกับสับสวิตซใบมีดดังกลาว 4. Main Bus # 1 กรณีการซอมแซม/บํารุงรักษา

4.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบหมอแปลง Service รับไฟจาก BUS#2 2) ปลดเบรกเกอรท่ีรับไฟจาก BUS#1 ออกท้ังหมด

a. สวนของไลน Outgoing ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP1 ฝากฟดเดอรขางเคียง ปฏิบัติตาม หลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

b. สวนของ Cap. Bank ดําเนินการปลด Cap. Bank โดยปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติการซอมแซม/บํารุงรักษา Cap. Bank ขอ 7

c. สวนของหมอแปลง Service ดําเนินการปลดหมอแปลง Service โดยปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติการซอมแซม/บํารุงรักษาหมอแปลง Service ขอ 8

d. ดําเนินการแขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันอุปกรณในขอ a, b และ c ดังกลาว 3) ดําเนินการ De-energize BUS#1

a. ปลดเบรกเกอรปองกัน Incoming # 1 รหัส AAA1BVB-01 b. แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA1BVB-01 c. ตรวจสอบแรงดันไฟฟา BUS#1 เปน “0” ท้ัง 3 เฟส หากไมเปน “0” ท้ัง 3 เฟส แจงสวน

เก่ียวของตรวจสอบ 4) ปลดสวิตซใบมีด/Truck ติด BUS # 1 ดังนี้

a. กรณีสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเ ก่ียวของ ดําเนินการ เลื่อน Truck ของ เบรกเกอรติด BUS#1 ทุกตัว อยูในตําแหนง Out Service

b. กรณีสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลดสวิตซใบมีดติด BUS#1 ทุกตัว (รหัส AAA1BVS-01, AAA01VS-01, AAA02VS-01, AAA03VS-01, AAA04VS-01, AAA05VS-01, AAA1CVS-01 และ AAA1TVS-01) พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดดังกลาว

-168-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

5) ดําเนินการ De-energize หมอแปลง TP1 a. ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ี

เบรกเกอรดังกลาว b. ตรวจสอบสถานะปริมาณโหลด TP1 (MW, MVAR, Current) เปน “0” ถาโหลดไมเปน“0”

ใหแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบ c. ปลดสวิตซใบมีดติดหมอแปลง TP1 ดาน High Side พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง

3 เฟส พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดดังกลาว 6) กรณีสถานีแบบ GIS ดําเนินการตอลงดินท่ี BUS#1 โดยมีข้ันตอนดังนี้

a. ดําเนินการสับสวิตซใบมีดรหัส 0BVS-01 b. ดําเนินการสับกราวดสวิตซรหัส 0BVG-02 c. ดําเนินการสับเบรกเกอร Tie รหัส 0BVB-01

7) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้ a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

4.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) กรณีสถานีแบบ GIS ดําเนินการปลดการตอลงดินท่ี BUS#1 โดยมีข้ันตอนดังนี้

a. ดําเนินการปลดเบรกเกอร Tie รหัส AAA0BVB-01 b. ดําเนินการปลดกราวดสวิตซรหัส AAA0BVG-02 c. ดําเนินการปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA0BVS-01

3) ตรวจสอบสวิตซใบมีด/Truck ติด BUS#1

a. กรณีสถานี ไฟฟ าแบบ VIS แจ งส วน เ ก่ี ยวข อ ง ตรวจสอบ Truck ของ เบรกเกอรติด BUS#1 ทุกตัว อยูในตําแหนง Out Service

b. กรณีสถานีไฟฟาแบบ GIS ตรวจสอบสวิตซใบมีดติด BUS#1 ทุกตัว(รหัส AAA1BVS-01, AAA01VS-01, AAA02VS-01, AAA03VS-01, AAA04VS-01, AAA05VS-01, AAA1CVS-01 อยูในสถานะ “ปลด”

4) ตรวจสอบเบรกเกอรปองกันติด BUS#1 ทุกตัว อยูในสถานะ “ปลด” 5) ตรวจสอบกราวดสวิตซของทุกตัวท่ีรับไฟจาก BUS#1 อยูในสถานะ “ปลด” 6) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1

a. ปลด Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดติดหมอแปลง TP1 ดาน High Side และดําเนินการสับสวิตซใบมีดดังกลาว พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

b. ปลด Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันแปลง TP1 ดาน High Side และดําเนินการสับเบรกเกอรดังกลาว เพ่ือ Energize หมอแปลง TP1

-169-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

7) ดําเนินการทดลอง Energize BUS#1 a. ดําเนินการสับสวิตซใบมีด/Truck ของไลน Incoming#1

i. กรณีสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเก่ียวของ ดําเนินการ เลื่อน Truck ของ ไลน Incoming#1 อยูในตําแหนง In Service

ii. กรณีสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลด Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดติด BUS#1ของไลน Incoming#1 (รหัส AAA1BVS-01) และดําเนินการสับสวิตซใบมีดดังกลาว

b. ปลด Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA1BVB-01 และสับเบรกเกอรปองกัน Incoming#1 รหัส AAA1BVB-01 เพ่ือ Energize BUS#1

c. ตรวจสอบแรงดันไฟฟา BUS#1 ตองใกลเคียงกับแรงดันไฟฟามาตรฐาน 22/33 kV ท้ัง 3 เฟส

d. ปลดเบรกเกอรปองกัน Incoming#1 รหัส AAA1BVB-01 เพ่ือ De-energize BUS#1 8) สับสวิตซใบมีด/Truck ติด BUS#1 ท้ังหมด ดังนี้

a. กรณีสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเ ก่ียวของ ดําเนินการ เลื่อน Truck ของ เบรกเกอรติด BUS#1 ทุกตัว อยูในตําแหนง In Service

b. กรณีสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลด Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดติด BUS#1 ทุกตัว (รหัส AAAA01VS-01, AAA02VS-01, AAA03VS-01, AAA04VS-01, AAA05VS-01, AAA1CVS-01 และ AAA1TVS-01) และดําเนินการสับสวิตซใบมีดดังกลาว

9) ดําเนินการ Energize BUS#1 a. สับเบรกเกอรปองกัน Incoming#1 รหัส AAA1BVB-01 เพ่ือ Energize BUS#1 b. ตรวจสอบแรงดันไฟฟา BUS#1 ตองใกลเคียงกับแรงดันไฟฟามาตรฐาน 22/33 kV ท้ัง 3

เฟส 10) ดําเนินการยายโหลดของ BUS#1 กลับมารับไฟตามสภาพปกติ

a. สวนของ Cap. Bank ดําเนินการจายไฟ Cap. Bank โดยปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติการซอมแซม/บํารุงรักษา Cap. Bank ขอ 1.7 (ข.)

b. สวนของหมอแปลง Service ดําเนินการจายไฟหมอแปลง Service โดยปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติการซอมแซม/บํารุงรักษาหมอแปลง Service ขอ 1.8 (ข.)

c. สวนของไลน Outgoing ดําเนินการยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก BUS#1 โดยปฏิบัติตาม หลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

5. Underground Cable ของไลน Incoming กรณีการซอมแซม/บํารุงรักษา

5.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ดําเนินการยายโหลด Incoming#1 (TP1) รับไฟจากแหลงจายขางเคียง

a. กรณีหมอแปลง TP2 สามารถรับภาระโหลดของหมอแปลง TP1 ไดท้ังหมด ดําเนินการยายโหลดรับไฟจาก TP2 โดยปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลด หมอแปลง

-170-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

b. กรณีหมอแปลง TP2 ไมสามารถรับภาระโหลดของหมอแปลง TP1 ได ดําเนินการยายโหลดรับไฟจากฟดเดอรขางเคียง โดยปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

2) ปลดเบรกเกอรปองกัน Incoming#1 รหัส AAA1BVB-01 3) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA1BVB-01 4) กรณียายโหลด Incoming#1 รับไฟจากฟดเดอรขางผานระบบจําหนายท้ังหมด ตรวจสอบ

แรงดันไฟฟา BUS#1 เปน “0” ท้ัง 3 เฟส หากไมเปน “0” ท้ัง 3 เฟส แจงสวนเก่ียวของตรวจสอบ

5) ปลดสวิตซใบมีด/Truck ของ Incoming#1 ดังนี้ a. กรณีสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเ ก่ียวของ ดําเนินการ เลื่อน Truck ของ

เบรกเกอรปองกัน Incoming#1 อยูในตําแหนง Out Service b. กรณีสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลดสวิตซใบมีดของ Incoming#1 (รหัส AAA1BVS-01) พรอม

ท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดดังกลาว 6) ดําเนินการ De-energize หมอแปลง TP1

a. ปลดเบรกเกอรปองกันหมอแปลง TP1 ดาน High Side พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรดังกลาว

b. ตรวจสอบสถานะปริมาณโหลด TP1 (MW, MVAR, Current) เปน “0” ถาโหลดไมเปน“0” ใหแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบ

c. ปลดสวิตซใบมีดติดหมอแปลง TP1 ดาน High Side พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ปลด”ท้ัง 3 เฟส พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดดังกลาว

7) แจงสวนเก่ียวของดําเนินการสับกราวดสวิตซของไลน Incoming#1 (กรณีสถานีฯ แบบ VIS) 8) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

5.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรปองกัน Incoming#1 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบกราวดสวิตซของไลน Incoming#1 อยูในสถานะ “ปลด” 4) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP1 และ Underground Cable ของไลน Incoming#1

a. ปลด Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดติดหมอแปลง TP1 ดาน High Side และดําเนินการสับสวิตซใบมีดดังกลาว พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

b. ปลด Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันแปลง TP1 ดาน High Side และดําเนินการสับเบรกเกอรดังกลาว เพ่ือ Energize หมอแปลง TP1

-171-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

5) ดําเนินการสับสวิตซใบมีด/Truck ของไลน Incoming#1 a. กรณีสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเก่ียวของเลื่อน Truck ของ เบรกเกอรปองกันไลน

Incoming#1 อยูในตําแหนง In Service b. กรณีสถานีไฟฟาแบบ GIS สับสวิตซใบมีดของไลน Incoming#1 (รหัส AAA1BVS-01)

6) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจากไลน Incoming#1 (TP1) ตามสภาพปกติ a. กรณีกอนปฏิบัติงาน ยายโหลดรับไฟจากหมอแปลง TP2 ดําเนินการยายโหลดกลับคืน โดย

ปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง b. กรณีกอนปฏิบัติงาน ยายโหลดรับไฟจากฟดเดอรขางเคียง

i. ดําเนินการ Energize BUS#1 โดยปลด Tag “DO NOT CLOSE ” ท่ีเบรกเกอรปองกันไลน Incoming#1 รหัส AAAA1BVB-01 และสับเบรกเกอรปองกันไลน Incoming#1 ดังกลาว

ii. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาท่ี BUS#1 ตองใกลเคียงกับแรงดันมาตรฐานระบบ 22/33 kV

iii. ดําเนินการยายโหลดมารับไฟจาก BUS#1 โดยปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

6. Underground Cable ของไลน Outgoing#1 กรณีการซอมแซม/บํารุงรักษา 6.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ดําเนินการยายโหลด Outgoing#1 รับไฟจากฟดเดอรขางเคียง โดยปฏิบัติหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

2) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันไลน Outgoing#1 รหัส AAA1VB-01 3) ปลดสวิตซใบมีด/Truck ของไลน Outgoing#1 ดังนี้

a. กรณีสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเ ก่ียวของ ดําเนินการ เลื่อน Truck ของ เบรกเกอรปองกัน Outgoing#1 อยูในตําแหนง Out Service

b. กรณีสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลดสวิตซใบมีดของไลน Outgoing#1 (รหัส AAA1VS-01) พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดดังกลาว

4) แจงสวนเก่ียวของดําเนินการปลดสวิตซใบมีดตน Riser Pole ของไลน Outgoing#1 และตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส และแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดดังกลาว

5) แจงสวนเก่ียวของดําเนินการสับกราวดสวิตซของไลน Outgoing#1 (กรณีสถานีฯ แบบ VIS) 6) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-172-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

6.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบเบรกเกอรปองกันไลน Outgoing#1 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดตน Riser Pole ของไลน Outgoing#1 อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบกราวดสวิตซของไลน Outgoing#1 อยูในสถานะ “ปลด” 5) สับสวิตซใบมีด/Truck ของไลน Outgoing#1

a. กรณีสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเก่ียวของเลื่อน Truck ของ เบรกเกอรปองกันไลน Outgoing#1 อยูในตําแหนง In Service

b. กรณีสถานีไฟฟาแบบ GIS สับสวิตซใบมีดของไลน Outgoing#1 (รหัส AAA1VS-01) 6) ดําเนินการทดลอง Energize Underground Cable ของไลน Outgoing#1

a. ปลด Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรปองกันไลน Outgoing#1 รหัส AAA1VB-01 b. ดําเนินการสับเบรกเกอรปองกันไลน Outgoing#1 เพ่ือ Energize Underground Cable c. ปลดเบรกเกอรปองกันไลน Outgoing#1 เพ่ือ De-energize Underground Cable

7) Off Auto Reclosing Relay ของฟดเดอรท่ียายโหลด Outgoing#1 ไปรับไฟ 8) แจงสวนเก่ียวของดําเนินการปลด Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดตน Riser Pole และสับสวิตซ

ใบมีดดังกลาว เพ่ือ Energize Underground Cable ของไลน Outgoing#1 พรอมตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

9) ดําเนินการยายโหลดของไลน Outgoing#1 กลับมารับไฟจากเบรกเกอรรหัส AAA1VB-01 ตามปกติ โดยปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการขนานและเทโหลดฟดเดอร

7. Capacitor ในสถานีไฟฟา (C1A) กรณีการซอมแซม/บํารุงรักษา 7.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบแรงดันท่ีสถานีไฟฟา และ ตรวจสอบคา PF อยูในเกณฑมาตรฐาน 2) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรรหัส AAA1CVB-01 อยูในตําแหนง “Close” และตรวจสอบสถานะ

เบรกเกอร Step Capacitor อยูในตําแหนง “Close” 3) ตั้งคา Capacitor ใหอยูในตําแหนง Manual 4) ปลดเบรกเกอร Step Capacitor ออกท้ัง 3 Step พรอมตรวจสอบสถานะอยูในตําแหนง

“ปลด”ท้ัง 3 Step 5) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA1CVB-01 พรอมตรวจสอบสถานะ อยูในตําแหนง “ปลด” 6) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรรหัส AAA1CVB-01 7) ดําเนินการแยก Capacitor ในสถานีไฟฟา ออกจากสวนท่ีมีไฟ

a. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเก่ียวของเลื่อน Truck ของเบรกเกอรรหัส AAA1CVB-01อยูในตําแหนง Out Service

b. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ GIS ดําเนินการปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA1CVS-01 พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA1CVS-01

-173-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

8) แจงสวนเก่ียวของดําเนินการสับกราวดสวิตซรหัส AAA1CVG-01 (กรณีสถานีฯ แบบ VIS) 9) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

7.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนท่ีเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังแจงปลดการตอลงดิน 2) แจงสวนเก่ียวของตรวจสอบกราวดสวิตซรหัส AAA1CVG-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ดําเนินการนํา Capacitor ในสถานีไฟฟา กลับมารับไฟตามสภาพปกติ

a. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเก่ียวของเลื่อน Truck ของเบรกเกอรรหัส AAA1CVB-01 อยูในตําแหนง In Service

b. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลด Tag หามควบคุม ท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA1CVS-01 พรอมกับสับสวิตซใบมีดรหัส AAA1CVS-01

4) ปลด Tag หามควบคุม ท่ีเบรกเกอรรหัส AAA1CVB-01 5) ตรวจสอบสถานะเบรกเกอรรหัส AAA1CVB-01 อยูในตําแหนง “ปลด” 6) สับเบรกเกอรรหัส AAA1CVB-01 พรอมตรวจสอบสถานะ อยูในตําแหนง “สับ” 7) ตั้งคา Capacitor ใหอยูในตําแหนง Auto

8. หมอแปลง Service (TS1) กรณีการซอมแซม/บํารุงรักษา

8.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน 1) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจากหมอแปลง Service ฝากหมอแปลง Service อีกลูก

a. กรณีสถานีไฟฟาท่ีมี ATS ระบบแรงต่ํา จะทําการยาย Source ไปรับไฟจาก เบรกเกอร Transfer ดานแรงต่ํา โดยอัตโนมัติ (ยายโหลดไปรับไฟจากหมอแปลง Service อีกเครื่อง)

b. กรณีท่ี ATS ชํารุด ใหทําการ Manual ATS และ Off เบรกเกอร Main ดานแรงต่ํา กอน On เบรกเกอร Transfer ดานแรงต่ํา (ยายโหลดไปรับไฟจากหมอแปลง Service อีกเครื่อง)

c. กรณีสถานีไฟฟาท่ีไมมี ATS ใหทําการ Off เบรกเกอร Main ดานแรงต่ําของหมอแปลง Service ท่ีจะทําการบํารุงรักษา กอน On เบรกเกอร Transfer ดานแรงต่ํา (ยายโหลดไปรับไฟจากหมอแปลง Service อีกเครื่อง)

2) ปลดเบรกเกอรแรงสูงหรือฟวสดานแรงสูง (Load Break Switch With Fuse) 3) แขวน Tag หามควบคุมท่ีเบรกเกอรแรงสูงหรือฟวสดานแรงสูง 4) ดําเนินการแยกหมอแปลง Service ออกจากสวนท่ีมีไฟ

a. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเก่ียวของ เลื่อน Truck ของเบรกเกอรดาน แรงสูงอยูในตําแหนง Out Service

-174-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

b. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA1TVS-01 พรอมท้ังแขวน Tag หามควบคุมท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA1TVS-01

5) แจงสวนเก่ียวของดําเนินการสับกราวดสวิตซรหัส AAA1TVG-01 (กรณีสถานีฯ แบบ VIS 6) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

8.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) แจงสวนเก่ียวของตรวจสอบกราวดสวิตซรหัส AAA1TVG-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ดําเนินการสับอุปกรณตัดตอนดานแรงสูงของหมอแปลง Service เพ่ือนําหมอแปลง Service

เขาใชงานตามสภาพปกติ a. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ VIS แจงสวนเก่ียวของ เลื่อน Truck ของเบรกเกอรดานแรงสูง

อยูในตําแหนง In Service b. กรณีท่ีเปนสถานีไฟฟาแบบ GIS ปลด Tag หามควบคุม ท่ีสวิตซใบมีดรหัส AAA1TVS-01

พรอมกับสับสวิตซใบมีดรหัส AAA1TVS-01 4) ปลด Tag หามควบคุม ท่ีเบรกเกอรแรงสูงหรือฟวสดานแรงสูง 5) สับเบรกเกอรดานแรงสูงหรือฟวสดานแรงสูง (Load Break Switch With Fuse) 6) ดําเนินการยายโหลดของหมอแปลง Service กลับมารับไฟตามสภาพปกติ

a. กรณีสถานีไฟฟาท่ีมี ATS ระบบแรงต่ํา จะทําการยาย Source มารับไฟจาก เบรกเกอร Main ดานแรงต่ํา โดยอัตโนมัติ (ยายโหลดกลับมารับไฟจากหมอแปลง Service ท่ีบํารุงรักษาแลวเสร็จ)

b. กรณีท่ี ATS ชํารุด ใหทําการ Manual ATS และ Off เบรกเกอร Transfer ดานแรงต่ํา แลว On เบรกเกอร Main ดานแรงต่ํา (ยายโหลดกลับมารับไฟจากหมอแปลง Service ท่ีบํารุงรักษาแลวเสร็จ)

c. กรณีสถานีไฟฟาท่ีไมมี ATS ใหทําการ Off เบรกเกอร Transfer ดานแรงต่ํา กอน On เบรกเกอร Main ดานแรงต่ําจากหมอแปลง Service ท่ีบํารุงรักษาแลวเสร็จ

9. ระบบจําหนาย Outgoing # 1กรณีการดับไฟเพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา 9.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส AAA01VB-01 อยูในสถานะ “สับ” และไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01VB-01 3) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก Feeder Section ท่ีไมเก่ียวของไปรับไฟจาก Feeder ขางเคียง

โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด Feeder (ปลดขนานท่ีอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟ

-175-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

จาก Feeder Section ท่ีปฏิบัติงาน พรอมท้ัง Lock คานปลด-สับ โดยในกรณีท่ีอุปกรณตัดตอนท่ีปลดขนาน คือ Recloser ดําเนินการปลด Disconnecting Switch ของ Recloser)

4) ปลดเบรกเกอรรหัส AAA01VB-01 เพ่ือดับไฟ Feeder Section ท่ีปฏิบัติงาน 5) ดําเนินการ Truck Out service ของเบรกเกอรรหัส AAA01VB-01 (กรณีสถานีฯ แบบ VIS)

หรือปลดสวิตซใบมีดรหัส AAA01VS-01 (กรณีสถานีฯ แบบ GIS) 6) ปลด Disconnecting Switch ตน Riser Pole Feeder AAA01 7) แขวน Tag หามสับ/หามควบคุม ท่ีอุปกรณครอมหัว-ทาย Feeder Section ท่ีปฏิบัติงาน

ดังกลาว

8) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้ a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

9.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบ Circuit Breaker รหัส AAA01VB-01 อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก Feeder Section ท่ีปฏิบัติงาน อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบของ Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker รหัส AAA01VB-01 อยูใน

สถานะ “Off” 5) ตรวจสอบ Truck ของเบรกเกอรรหัส AAA01VB-01 อยูในสถานะ Out Service (สถานีไฟฟา

แบบ VIS ) หรือตรวจสอบสวิตซใบมีดรหัส AAA1VS-01 (สถานีไฟฟาแบบ GIS) อยูในสถานะ “ปลด”

6) ตรวจสอบกราวดสวิตซรหัส AAA01VG-01 อยูในสถานะ “ปลด” 7) ตรวจสอบ Disconnecting Switch ตน Riser Pole Feeder AAA01 อยูในสถานะ “ปลด” ท้ัง

3 เฟส 8) ดําเนินการสับ Disconnecting Switch ตน Riser Pole และตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง

3 เฟส 9) ดําเนินการ Truck In service ของเบรกเกอรรหัส AAA01VB-01 (สถานีไฟฟาแบบ VIS ) หรือ

สับสวิตซใบมีดรหัส AAA1VS-01 (สถานีไฟฟาแบบ GIS) 10) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 11) สับเบรกเกอรรหัส AAA01VB-01 Energize Feeder Section 12) ดําเนินการยายโหลด กลับมารับไฟตามสภาพปกติ ตามหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลด

Feeder 13) On Auto Reclosing Relay ของเบรกเกอรรหัส AAA01VB-01

-176-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

5.2 วิธีปฏิบัติการสั่งการกับอุปกรณในระบบจําหนาย แบงตามชนิดของอุปกรณ ดังนี้ 1. วิธีปฏิบัติการสั่งการกับ Recloser ในกรณีตางๆ

รูปท่ี 3 Recloser

1. การสั่งการปลด-สับ Recloser

1.1 ข้ันตอนการปลด Recloser เพ่ือดับไฟปฏิบัติงานในระบบจําหนาย 22/33 kV 1) ตรวจสอบ Recloser อยูในสถานะ “สับ” และไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) Off ฟงกชั่น Auto Reclose ของ Recloser 3) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก Recloser ไปรับไฟจาก Feeder ขางเคียง โดยปฏิบัติตาม

หลักการขนานและถายเทโหลด Feeder 4) ปลด Recloser พรอมท้ังตรวจสอบอยูในสถานะ “ปลด” 5) ดําเนินการปลด Disconnecting Switch ของ Recloser พรอมท้ังตรวจสอบอยูในสถานะ

“ปลด”ท้ัง 3 เฟส 6) ดําเนินการตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก Feeder Section อยูในสถานะ “ปลด”

พรอมท้ัง Lock คานปลด-สับ (ถามี) 7) แขวน Tag เพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานใน Feeder Section

-177-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

8) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้ c. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน d. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนการสับ Recloser เพ่ือจายไฟหลังจากปฏิบัติงานระบบจําหนาย 22/33 kV

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบ Recloser และอุปกรณตัดตอนท่ีอยูหัว-ทาย Feeder Section ท่ีปฏิบัติงานอยูใน

สถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบ Disconnecting Switch ของ Recloser อยูในสถานะ “ปลด” 4) Off ฟงกชั่น Auto Reclose ของ Recloser 5) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 6) สับ Disconnecting Switch ของ Recloser พรอมตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 7) สับ Recloser เพ่ือจายไฟ Feeder Section และตรวจสอบ Recloser อยูในสถานะ “สับ” 8) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจาก Recloser ตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตามหลักการขนาน

และถายเทโหลด Feeder 9) On ฟงกชั่น Auto Reclose ของ Recloser

2. การสั่งการ Bypass เพ่ือปฏิบัติงานซอมแซม/บํารุงรักษา Recloser หรือเพ่ือจายไฟกลับทิศทางปกติ

ของ Recloser 2.1 ข้ันตอนกอนดําเนินการ

1) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Recloser 2) แจงสวนเก่ียวของดําเนินการ By Pass Recloser ตามหลักการ By Pass อุปกรณตางๆ ในระบบ

ไฟฟา ขอ 2.1 ข้ันตอนการ By Pass Recloser 3) กรณีซอมแซม/บํารุงรักษา Recloser ปลดสวิตซใบมีดดาน Load และดาน Source ของ

Recloser พรอมท้ังตรวจสอบอยูในตําแหนง “ปลด” ท้ัง 3 เฟส และแขวน Tag เพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานท่ี Recloser

4) กรณีการจายไฟกลับทิศทางปกติ แขวน Tag เพ่ือใหทราบสถานะการจายไฟ 5) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทาง ตามขอ 1) 6) กรณีซอมแซม/บํารุงรักษา Recloser กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงานดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector ตรวจสอบแรงดันไฟฟาเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-178-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

2.2 ข้ันตอนการนํา Recloser เขาระบบ เพ่ือจายไฟตามสภาพปกติ 1) กรณีหลังจากซอมแซม/บํารุงรักษา Recloser ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ

และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Recloser 3) ตรวจสอบสถานะ Recloser อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบ Auto Reclose ของ Recloser อยูในสถานะ Off 5) ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีด ของ Recloser

a. กรณีซอมแซม/บํารุงรักษา Recloser ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดดาน Load และดาน Source ของ AVR อยูในตําแหนง “ปลด” ท้ัง 3 เฟส และนํา Tag ท่ีแขวนไวออก

b. กรณีจายไฟกลับทิศทางของ Recloser ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดดาน Load และดาน Source ของ AVR อยูในตําแหนง “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส และนํา Tag ท่ีแขวนไวออก

6) กรณีซอมแซม/บํารุงรักษา Recloser แจงชุดปฏิบัติงานดําเนินการสับสวิตซใบมีดดาน Load และดาน Source ของ AVR อยูในตําแหนง “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

7) แจงสวนเก่ียวของนํา Recloser เขาใชงาน ตามหลักการ By Pass อุปกรณตางๆ ในระบบไฟฟา ขอ 2.2 ข้ันตอนการนํา Recloser เขาใชงาน

8) On ฟงกชั่น Auto Reclose ของ Recloser 9) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทางตามขอ 2)

3. การซอมแซม/บํารุงรักษา อุปกรณหลัง Recloser (ปฏิบัติงานโดยชุด Hotline)

3.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงานอุปกรณหลัง Recloser 1) Off ฟงกชั่น Auto Reclose ของ Recloser 2) แจงชุดปฏิบัติงานใหปฏิบัติงานได

3.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงานอุปกรณหลัง Recloser 1) ชุดปฏิบัติงานแจงปฏิบัติงานแลวเสร็จ 2) On ฟงกชั่น Auto Reclose ของ Recloser

-179-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

2. วิธีปฏิบัติการสั่งการกับ Load Break Switch / Remote Control Switch ในกรณีตางๆ

รูปท่ี 4 Load Break Switch

1. การสั่งการปลด-สับ Load Break Switch (LBS)/Remote Control Switch (RCS) เพ่ือดับไฟ/จายไฟระบบจําหนาย 22/33 kV

1.1 ข้ันตอนการปลด LBS/RCS เพ่ือดับไฟปฏิบัติงานระบบจําหนาย 22/33 kV 1) ตรวจสอบ LBS/RCS อยูในสถานะ “สับ” และไมมีปายหามควบคุม/หามปลด 2) Off ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให LBS/RCS 3) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก LBS/RCS ไปรับไฟจาก Feeder ขางเคียง โดยปฏิบัติตาม

หลักการขนานและถายเทโหลด Feeder (ปลดขนานท่ีอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก Feeder Section ท่ีตองการดับไฟ และดําเนินการ Lock คาน ปลด-สับ ท่ีอุปกรณตัดตอนท่ีปลดขนานดังกลาว โดยกรณีอุปกรณตัดตอนดังกลาวคือ Recloser ดําเนินการปลดสวิตซใบมีดของ Recloser)

4) ปลด LBS/RCS และตรวจสอบอยูในสถานะ “ปลด” เพ่ือดับไฟ Feeder Section 5) หลังจากปลด LBS/RCS ตองดําเนินการ Lock คาน ปลด-สับ 6) แขวน Tag หามควบคุมเพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานใน Feeder Section 7) On ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให LBS/RCS 8) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-180-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

1.2 ข้ันตอนการสับ LBS/RCS เพ่ือจายไฟหลังจากปฏิบัติงานในระบบจําหนาย 22/33 kV 1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบ LBS/RCS และอุปกรณตัดตอน ท่ีเชื่อมตอกับ Feeder Section ท่ีปฏิบัติงานงานอยู

ในสถานะ “ปลด” 3) Off ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให LBS/RCS 4) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 5) สับ LBS/RCS เพ่ือจายไฟ Feeder Section ดังกลาว และตรวจสอบ LBS/RCS อยูในสถานะ

“สับ” 6) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจาก LBS/RCS ตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตามหลักการขนาน

และถายเทโหลด Feeder 7) On ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให LBS/RCS

2. การดับไฟซอมแซม/บํารุงรักษา Load Break Switch (LBS)/Remote Control Switch(RCS) กรณียาย

โหลดผานระบบจําหนาย และปลดขนานโหลดท่ี LBS/RCS 2.1 ข้ันตอนกอนการปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบ LBS/RCS อยูในสถานะ “สับ” และไมมีปายหามควบคุม/หามปลด 2) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก LBS/RCS ฝาก Feeder ขางเคียง โดยปฏิบัติตามหลักการ

ขนานและถายเทโหลด Feeder (ปลดขนานโหลดท่ี LBS/RCS) 3) ตรวจสอบ LBS/RCS อยูในสถานะ “ปลด” และดําเนินการ Lock คานปลด-สับ 4) แขวน Tag หามควบคุมเพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานท่ี LBS/RCS 5) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันท่ีใกล LBS/RCS ท่ีสุด ท้ังสองดานอยูใน

สถานะ “Off” 6) ดําเนินการแยก LBS/RCS ออกจากระบบสวนท่ีมีไฟ โดยดําเนินการปลดอุปกรณตัดตอนครอม

หัว-ทาย LBS/RCS (กรณีปฏิบัติงานโดยชุด HOT LINE แจงชุดปฏิบัติงานฯ ปลดสายจําหนายท่ีเชื่อมตอกับ LBS/RCS ท้ังสองดาน)

7) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตามขอ 5) 8) แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้ กอนเขาปฏิบัติงานท่ีอุปกรณ

a. ใช Voltage Detector ตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2.2 ข้ันตอนหลังการปฏิบัติงานบํารุงรักษา 1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันท่ีใกลกับ LBS/RCS ท่ีสุด ท้ังสองดาน 3) ตรวจสอบสถานะของ LBS/RCS อยูในตําแหนง “ปลด” พรอมท้ังตรวจสอบสถานะ “ Lock

คานปลด-สับ”

-181-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

4) ดําเนินการเชื่อมตอ LBS/RCS เขากับระบบสวนท่ีมีไฟ โดยการสับอุปกรณตัดตอนครอมหัว-ทาย LBS/RCS (กรณีปฏิบัติงานโดยชุด HOT LINE แจงชุดปฏิบัติงานฯ เชื่อมสายจําหนายท่ีเชื่อมตอกับ LBS/RCS ท้ังสองดาน)

5) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก และปลด Lock คานปลด-สับ ของ LBS/RCS 6) ดําเนินการยายโหลด กลับมารับไฟจาก LBS/RCS ตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตามหลักการ

ขนานและถายเทโหลด Feeder 7) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตามขอ 2)

-182-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

3. วิธีปฏิบัติการสั่งการกับ Disconnecting Switch ในกรณีตางๆ

รูปท่ี 5 Disconnecting Switch

ลําดับการปลด-สับ สวิตซใบมีด - ลําดับการสับสวิตซใบมีด ใหดําเนินการสับเฟสกลางกอน(เฟส B) และจึงคอยสับเฟสท่ีเหลือ

(เฟส A, C) โดยสับทีละเฟส และหลังจากสับสวิตซใบมีดแตละเฟส ตรวจสอบสภาพ “สับสนิท”

ทุกครั้ง

- ลําดับการปลดสวิตซใบมีด ใหดําเนินการปลดเฟสริมกอน (เฟส A, C) โดยปลดทีละเฟส และจึง

คอยปลดเฟสกลาง (เฟส B)

1. การสัง่การปลด-สับ Disconnecting Switch เพ่ือดับไฟ/จายไฟระบบจําหนาย 22/33 kV

1.1 ข้ันตอนการปลด Disconnecting Switch เพ่ือดับไฟระบบจําหนาย 22/33 kV 1) ตรวจสอบ Disconnecting Switch อยูในสถานะ “สับ” และไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) Off ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให Disconnecting Switch 3) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก Disconnecting Switch ไปรับไฟจาก Feeder ขางเคียง โดย

ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด Feeder 4) ตรวจสอบอุปกรณท่ีใชในการปลด Disconnecting Switch

a. กรณีไมไดใช Load Buster ตรวจปริมาณโหลดท่ีรับไฟจาก Disconnecting Switch ตองเปนศูนย โดยหากไมเปนศูนย ดําเนินการลดโหลดท่ียังคงรับไฟจากสวิตซใบมีดดังกลาว

b. กรณีใช Load Buster ตรวจสอบปริมาณโหลดท่ีรับไฟจาก Disconnecting Switch ตองไมเกินคาพิกัดกระแสของ Load Buster

-183-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

5) แจงชุดปฏิบัติงานปลด Disconnecting Switch และตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 6) ดําเนินการตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก Feeder Section ดังกลาว อยูในสถานะ

“ปลด”รวมท้ัง Lock คาน ปลด-สับ (กรณีอุปกรณดังกลาวคือ Recloser ดําเนินการปลดสวิตซใบมีดของ Recloser ดังกลาว)

7) แขวน Tag เพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานใน Feeder Section 8) On ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให Disconnecting Switch 9) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนการสับ Disconnecting Switch เพ่ือจายไฟระบบจําหนาย 22/33 kV 1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบ Disconnecting Switch และอุปกรณตัดตอน ท่ีอยูหัว-ทาย Feeder Section ท่ี

ปฏิบัติงาน อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบปริมาณโหลดขณะสับ Disconnecting Switch ตองเปนศูนย โดยหากประเมินแลววา

เกิน ดําเนินการลดโหลดขณะสับฯ ดังกลาว 4) Off ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให Disconnecting Switch 5) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 6) สับ Disconnecting Switch เพ่ือจายไฟ Feeder Section ดังกลาว 7) ตรวจสอบ Disconnecting Switch อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 8) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจาก Disconnecting Switch ตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตาม

หลักการขนานและถายเทโหลด Feeder 9) On ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให Disconnecting Switch

2. การดับไฟซอมแซม/บํารุงรักษา Disconnecting Switch (ปลด Disconnecting Switch แบบมีไฟ) 2.1 ข้ันตอนกอนการปฏิบัติงานบํารุงรักษา

1) ตรวจสอบ Disconnecting Switch อยูในสถานะ “สับ” และไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) Off ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟให Disconnecting Switch 3) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก Disconnecting Switch ไปรับไฟจาก Feeder ขางเคียง โดย

ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด Feeder (ปลดขนานท่ีอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟ/จายไฟให Disconnecting Switch พรอมท้ัง Lock คานหามปลด-สับ โดยกรณีอุปกรณท่ีปลดขนานคือ Recloser ดําเนินการปลด Disconnecting Switch ของ Recloser)

4) ตรวจสอบอุปกรณท่ีใชในการปลด Disconnecting Switch a. กรณีไมไดใช Load Buster ตรวจปริมาณโหลดท่ีรับไฟจาก Disconnecting Switch ตอง

เปนศูนย โดยหากไมเปนศูนย ดําเนินการลดโหลดท่ียังคงรับไฟจากสวิตซใบมีดดังกลาว

-184-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

b. กรณีใช Load Buster ตรวจสอบปริมาณโหลดท่ีรับไฟจาก Disconnecting Switch ตองไมเกินคาพิกัดกระแสของ Load Buster

5) แจงชุดปฏิบัติงานปลด Disconnecting Switch และตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 6) แขวน Tag หามควบคุมเพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานท่ี Disconnecting Switch 7) ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันท่ีใกล Disconnecting Switch ท้ังสอง

ดานอยูในสถานะ “Off” 8) ดําเนินการสับอุปกรณตัดตอนท่ีถูกปลดขนานไปในขอ 3) 9) แจงชุดปฏิบัติงาน Hotline เพ่ือปลดระบบจําหนายท่ีเชื่อมตอกับ Disconnecting Switch ท้ัง

สองดาน 10) On ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันท่ีใกล Disconnecting Switch ท้ัง

สองดาน 11) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2.2 ข้ันตอนหลังการปฏิบตัิงานบํารุงรักษา 1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบ Disconnecting Switch อยูในสถานะ “ปลด” 3) Off ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันท่ีใกลกับ Disconnecting Switch ท้ัง

สองดาน 4) แจงชุดปฏิบัติงานดําเนินการเชื่อมสายระบบจําหนายเพ่ือเชื่อมตอ Disconnecting Switch ท้ัง

สองดาน 5) ปลดอุปกรณตัดตอนท่ีจายไฟ/รับไฟจาก Disconnecting Switch (ปลดดานใดดานหนึ่ง) พรอม

ตรวจสอบสถานะ “ปลด” 6) ตรวจสอบปริมาณโหลดขณะสับ Disconnecting Switch ตองเปนศูนย โดยหากประเมินแลววา

ไมเปนศูนย ดําเนินการลดโหลดขณะสับฯ ดังกลาว 7) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 8) แจงชุดปฏิบัติงานสับ Disconnecting Switch เพ่ือจายไฟ Feeder Section และตรวจสอบ

Disconnecting Switch อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 9) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจาก Disconnecting Switch ตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตาม

หลักการขนานและถายเทโหลด Feeder 10) On ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันในขอ 3)

-185-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

3. การดับไฟซอมแซม/บํารุงรักษา Disconnecting Switch (ปลด Disconnecting Switch แบบไมมีไฟ) 3.1 ข้ันตอนกอนการปฏิบัติงานบํารุงรักษา

1) ตรวจสอบ Disconnecting Switch อยูในสถานะ “สับ” และไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันท่ีใกลกับ Disconnecting Switch ท้ังสองดาน 3) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก Disconnecting Switch ไปรับไฟจาก Feeder ขางเคียง โดย

ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด Feeder (ปลดขนานท่ีอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟ/จายไฟให Disconnecting Switch พรอมท้ัง Lock คานหามปลด-สับ โดยกรณีอุปกรณท่ีปลดขนานคือ Recloser ดําเนินการปลด Disconnecting Switch ของ Recloser)

4) ปลดอุปกรณตัดตอนท่ีใกลกับ Disconnecting Switch อีกดานหนึ่ง พรอมตรวจสอบสถานะ “ปลด”

5) แจงชุดปฏิบัติงานใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย ท้ังสองดานของ Disconnecting Switch

6) แจงชุดปฏิบัติงานปลด Disconnecting Switch และตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 7) แขวน Tag หามควบคุมเพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานท่ี Disconnecting Switch 8) ดําเนินการแยก Disconnecting Switch ออกจากระบบจําหนาย (กรณีปฏิบัติงานรวมกับชุด

ปฏิบัติงาน Hotline) a. ดําเนินการสับอุปกรณตัดตอนครอมหัว-ทาย Feeder Section ท่ี Disconnecting Switch

ติดตั้งอยู (ซ่ึงถูกปลดไปในขอ 3) และ 4)) เพ่ือจายไฟมาสิ้นสุด ณ ท้ังสองดานของ Disconnecting Switch

b. แจงชุดปฏิบัติงาน Hotline เพ่ือปลดสายระบบจําหนายท่ีเชื่อมตอกับ Disconnecting Switch ท้ังสองดาน

9) ดําเนินการแยก Disconnecting Switch ออกจากระบบจําหนาย (กรณีมิไดปฏิบัติงานรวมกับชุดปฏิบัติงาน Hotline) a. แจงชุดปฏิบัติงาน เพ่ือปลดสายระบบจําหนายท่ีเชื่อมตอกับ Disconnecting Switch ท้ัง

สองดาน b. ดําเนินการสับอุปกรณตัดตอนครอมหัว-ทาย Feeder Section ท่ี Disconnecting Switch

ติดตั้งอยู (ซ่ึงถูกปลดไปในขอ 3) และ 4)) เพ่ือจายไฟมาสิ้นสุด ณ จุดท่ีปลดสายระบบจําหนายไว ท้ังสองดานของ Disconnecting Switch

10) On ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันใกลกับ Disconnecting Switch ท้ังสองดาน

11) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้ a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-186-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

3.2 ข้ันตอนหลังการปฏิบตัิงานบํารุงรักษา 1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) แจงชุดปฏิบัติงานตรวจสอบ Disconnecting Switch อยูในสถานะ “ปลด” 3) Off ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันท่ีใกลกับ Disconnecting Switch ท้ัง

สองดาน 4) เชื่อมตอ Disconnecting Switch เขากับระบบจําหนาย (กรณีปฏิบัติงานรวมกับชุดปฏิบัติงาน

Hotline) a. แจงชุดปฏิบัติงาน Hotline ดําเนินการเชื่อมสายระบบจําหนายเพ่ือเชื่อมตอ Disconnecting

Switch ท้ังสองดาน เขากับระบบ b. ปลดอุปกรณตัดตอนครอมหัว-ทาย Feeder Section ท่ี Disconnecting Switch ติดตั้งอยู

พรอมตรวจสอบสถานะ “ปลด” c. นํา Tag ท่ีแขวนไวออก d. แจงชุดปฏิบัติงานสับ Disconnecting Switch และตรวจสอบ Disconnecting Switch อยู

ในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 5) เชื่อมตอ Disconnecting Switch เขากับระบบจําหนาย (กรณีมิไดปฏิบัติงานรวมกับชุด

ปฏิบัติงาน Hotline) a. ปลดอุปกรณตัดตอนครอมหัว-ทาย Feeder Section ท่ี Disconnecting Switch ติดตั้งอยู

พรอมตรวจสอบสถานะ “ปลด” b. แจงชุดปฏิบัติงานใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย ท้ังสองดานของ

Disconnecting Switch c. แจงชุดปฏิบัติงานดําเนินการเชื่อมสายระบบจําหนายเพ่ือเชื่อมตอ Disconnecting Switch

ท้ังสองดาน เขากับระบบ d. นํา Tag ท่ีแขวนไวออก e. แจงชุดปฏิบัติงานสับ Disconnecting Switch และตรวจสอบ Disconnecting Switch อยู

ในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 6) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด

Feeder 7) On ฟงกชั่น Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันท่ีใกลกับ Disconnecting Switch ท้ัง

สองดาน

-187-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

4. วิธีปฏิบัติการสั่งการกับ Switching Capacitor ในกรณีตางๆ

รูปท่ี 6 Switching Capacitor

1. ข้ันตอนการปลด Switching Capacitor ออกจากระบบ (กรณีสถานะ Capacitor “สับ”)

1) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีอยูใกลกับ Switching Capacitor 2) ตรวจสอบสถานะ Load Break Switch ของ Switching Capacitor อยูในสถานะ “สับ” 3) ตั้งManual ชุด Control ของ Switching Capacitor 4) ปลด Load Break Switch ของ Switching Capacitor พรอมตรวจสอบอยูในสถานะ “ปลด” 5) กรณีปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ท่ี Switching Capacitor ดําเนินการปลด Drop Out Fuse ปองกัน

Switching Capacitor ออกท้ัง 3 เฟส 6) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตามขอ 1) 7) กรณีปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ท่ี Switching Capacitor แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้ กอน

เขาปฏิบัติงานท่ีอุปกรณ a. รอ Switching Capacitor Discharge ประมาณ 15 นาที b. ใช Voltage Detector ตรวจสอบแรงดันไฟฟาเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน c. ดําเนินการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงาน

-188-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

2. ข้ันตอนการปลด Switching Capacitor ออกจากระบบ (กรณีสถานะ Capacitor “ปลด”)

1) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีอยูใกลกับ Switching Capacitor 2) ตรวจสอบสถานะ Load Break Switch ของ Switching Capacitor อยูในตําแหนง “ปลด” 3) ตั้ง Manual ชุด Control ของ Switching Capacitor 4) แจงชุดปฏิบัติงานดําเนินการปลด Drop Out Fuse ปองกัน Switching Capacitor ออกท้ัง 3 เฟส 5) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตามขอ 1) 6) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

3. ข้ันตอนนํา Switching Capacitor เขาใชงานในระบบ

1) กรณีหลังจากปฏิบัติงาน/บํารุงรักษาท่ี Switching Capacitor ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว

2) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีอยูใกลกับ Switching Capacitor 3) ตรวจสอบชุด Control ของ Switching Capacitor อยูในสถานะ Manual 4) ตรวจสอบสถานะ Load Break Switch ของ Switching Capacitor อยูในตําแหนง “ปลด” 5) กรณีหลังจากปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ตรวจสอบ Dropout Fuse ปองกัน Switching Capacitor อยู

ในสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส (กรณีมิไดปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ตรวจสอบ Dropout Fuse ปองกัน Switching Capacitor อยูในสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส)

6) กรณีหลังจากปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา แจงชุดปฏิบัติงานดําเนินการสับ Dropout Fuse ปองกัน Switching Capacitor

7) ตั้งคา Auto ชุด Control ของ Switching Capacitor 8) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตามขอ 2)

ขอควรทราบ Switching Capacitor ท่ีใชงานในระบบ 22/33 kV ของ PEA จะมีอยู 2 แบบ ดังนี้

- VAR Control การปลด-สับ กระทําโดยอัตโนมัติ โดยชุด VAR Control - Time Control การปลด-สบั กระทําโดยอัตโนมัติ โดยชุด Time Control

-189-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

5. วิธีปฏิบัติการสั่งการกับ Fix Capacitor ในกรณีตางๆ

รูปท่ี 7 Fixed Capacitor

1. การสั่งการกับอุปกรณ Fix Capacitor ขนาด 300 และ 600 KVAR 1.1 ข้ันตอนปลด Fix Capacitor ออกจากการใชงานในระบบ

1) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทางท่ีอยูใกลกับ Fix Capacitor 2) แจงชุดปฏิบัติงานใช Load Buster ปลด Dropout Fuse ปองกัน Fix Capacitor ออกท้ัง 3 เฟส 3) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตามขอ 1) 4) กรณีปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ท่ี Fix Capacitor กอนเขาปฏิบัติงานท่ีอุปกรณ แจงชุดปฏิบัติงาน

ดําเนินการดังตอไปนี้ a. รอ Fix Capacitor Discharge ประมาณ 15 นาที b. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน c. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนนํา Fix Capacitor เขาใชงานในระบบ

1) กรณีหลังจากปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ท่ี Fix Capacitor ตรวจสอบยืนยันชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลว และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว

2) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทางท่ีอยูใกลกับ Fix Capacitor 3) แจงชุดปฏิบัติงาน สับ Dropout Fuse ปองกัน Fix Capacitor พรอมตรวจสอบสถานะ “สับ

สนิท” ท้ัง 3 เฟส (ใหสับเรียงลําดับเฟสตามวิธีปฏิบัติการปลด-สับ Dropout Fuse)

-190-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

4) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตามขอ 1)

2. การสั่งการกับอุปกรณ Fix Capacitor ขนาด 300 และ 600 KVAR กรณีดับไฟปฏิบัติงาน 2.1 ข้ันตอนปลด Fix Capacitor ออกจากการใชงานในระบบ

1) พิจารณายายโหลดหลัง Fix Capacitor รับไฟจากฟดเดอรขางเคียง ใหมากท่ีสุด 2) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟให Fix Capacitor 3) ปลดอุปกรณตัดตอน ตําแหนงหัว-ทาย Fix Capacitor 4) ตรวจสอบแรงดันไฟฟา ท่ี Fix Capacitor เปนศูนยท้ัง 3 เฟส 5) แจงชุดปฏิบัติงาน ปลด Dropout Fuse ปองกัน Fix Capacitor ออกท้ัง 3 เฟส 6) ดําเนินการยายโหลด กลับมารับไฟตามสภาพปกติ 7) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตามขอ 2) 8) กรณีปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ท่ี Fix Capacitor กอนเขาปฏิบัติงานท่ีอุปกรณ แจงชุดปฏิบัติงาน

ดําเนินการดังตอไปนี้ a. รอ Fix Capacitor Discharge ประมาณ 15 นาที b. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน c. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2.2 ข้ันตอนนํา Fix Capacitor เขาใชงานในระบบ

1) กรณีหลังจากปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ท่ี Fix Capacitor ตรวจสอบยืนยันชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการแลว และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว

2) พิจารณายายโหลดหลัง Fix Capacitor รับไฟจากฟดเดอรขางเคียง ใหมากท่ีสุด 3) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทางท่ีอยูใกลกับ Fix Capacitor 4) ปลดอุปกรณตัดตอน ตําแหนงหัว-ทาย Fix Capacitor 5) ตรวจสอบแรงดันไฟฟาท่ี Fix Capacitor เปนศูนยท้ัง 3 เฟส 6) แจงชุดปฏิบัติงาน สับ Dropout Fuse ปองกัน Fix Capacitor พรอมตรวจสอบสถานะ “สับ

สนิท” ท้ัง 3 เฟส 7) ดําเนินการยายโหลด กลับมารับไฟตามสภาพปกติ 8) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตามขอ 1) 9)

ขอควรปฏิบัติเพ่ิมเติม

- กรณีตรวจพบ Dropout Fuse ปองกัน Fix Capacitor ขนาด 300 และ 600 kVAR ขาดตกเปนบางเฟสใหแจงสวนท่ีเก่ียวของ ดําเนินการปลดเฟสท่ีเหลือออก เพ่ือดําเนินการแกไขตอไป

-191-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

6. วิธีปฏิบัติการสั่งการกับ Automatic Voltage Regulator (AVR) ในกรณีตางๆ

รูปท่ี 8 Automatic Voltage Regulator (AVR)

รูปท่ี 9 Single Line Diagram ของ AVR แบบมาตรฐาน (จายไฟไดทิศทางเดียว)

1. การสั่งการ By Pass AVR เพ่ือบํารุงรักษา หรือ เพ่ือจายไฟกลับทิศทาง

1.1 ข้ันตอนกอนดําเนินการ 1) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทางท่ีจายไฟใหแก Recloser และ AVR 2) แจงสวนเก่ียวของดําเนินการ By Pass AVR ตามหลักการ By Pass อุปกรณตางๆ ในระบบ

ไฟฟา ขอ 1.1 ข้ันตอนการ By Pass AVR

-192-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

3) ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีด ของ AVR a. กรณีซอมแซม/บํารุงรักษา AVR ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดดาน Load และดาน

Source ของ AVR อยูในตําแหนง “ปลด” ท้ัง 3 เฟส และแขวน Tag เพ่ือใหทราบวามี

การปฏิบัติงานท่ี AVR

b. กรณีจายไฟกลับทิศทางของ AVR ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดดาน Load ของ AVR อยู

ในตําแหนง “ปลด” ท้ัง 3 เฟส และแขวน Tag เพ่ือใหทราบสถานะการจายไฟ

4) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทาง ตามขอ 1) 5) กรณีบํารุงรักษา AVR กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนหลังดําเนินการ เพ่ือจายไฟ AVR ตามสภาพปกติ

1) กรณีหลังจากซอมแซม/บํารุงรักษา AVR ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว

2) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทางท่ีจายไฟใหแก Recloser และ AVR 3) ตรวจสอบสถานะ Recloser อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีด ของ AVR

a. กรณีซอมแซม/บํารุงรักษา AVR ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดดาน Load และดาน

Source ของ AVR อยูในตําแหนง “ปลด” ท้ัง 3 เฟส และนํา Tag ท่ีแขวนไวออก

b. กรณีจายไฟกลับทิศทางของ AVR ตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดดาน Load ของ AVR อยู

ในตําแหนง “ปลด” ท้ัง 3 เฟส และนํา Tag ท่ีแขวนไวออก

5) แจงสวนเก่ียวของนํา AVR เขาใชงาน ตามหลักการ By Pass อุปกรณตางๆ ในระบบไฟฟา ขอ 1.2 ข้ันตอนการนํา AVR เขาใชงานในระบบ

6) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทางตามขอ 1)

2. การสั่งการดับไฟ/จายไฟ ระบบจําหนาย 22/33 kV ท่ีรับไฟจาก AVR

2.1 ข้ันตอนการดับไฟปฏิบัติงานในระบบจําหนาย 22/33 kV ท่ีรับไฟจาก AVR 1) ตรวจสอบ Recloser ปองกัน AVR อยูในสถานะ “สับ” และไมมีปายหามควบคุมตางๆ 2) Off ฟงกชั่น Auto Reclose ของ Recloser 3) ปรับสวิตชท่ีตูควบคุม AVR (Relay ปรับแรงดัน) จากตําแหนง Auto มาอยูในตําแหนง

“Manual” 4) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก AVR ไปรับไฟจาก Feeder ขางเคียง โดยปฏิบัติตามหลักการ

ขนานและถายเทโหลด Feeder

-193-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

5) ปลด Recloser ปองกัน AVR พรอมท้ังตรวจสอบอยูในสถานะ “ปลด” 6) ดําเนินการปลด Disconnecting Switch (ดาน Load) ของ AVR พรอมท้ังตรวจสอบอยูใน

สถานะ “ปลด”ท้ัง 3 เฟส 7) ดําเนินการตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก Feeder Section อยูในสถานะ “ปลด”

พรอมท้ัง Lock คานปลด-สับ (ถามี) 8) แขวน Tag เพ่ือใหทราบวามีการปฏิบัติงานใน Feeder Section 9) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2.2 ข้ันตอนการจายไฟระบบจําหนาย 22/33 kV ท่ีรับไฟจาก AVR

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบ Recloser ปองกัน AVR และอุปกรณตัดตอน ท่ีอยูหัว-ทาย Feeder Section ท่ี

ปฏิบัติงาน อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบ Disconnecting Switch ของ AVR (ดาน Load) อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบฟงกชั่น Auto Reclose ของ Recloser อยูในสถานะ Off 5) นํา Tag ท่ีแขวนไวออก 6) สับ Disconnecting Switch (ดาน Load) ของ AVR พรอมตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3

เฟส 7) ตรวจสอบตําแหนงสวิตชท่ีตูควบคุม AVR (Relay ปรับแรงดัน) อยูในตําแหนง “Manual” 8) ตรวจสอบ Tap ของ AVR อยูในตําแหนง “Tap 1” 9) สับ Recloser ปองกัน AVR เพ่ือจายไฟ AVR และ Feeder Section รวมท้ังตรวจสอบ

Recloser อยูในสถานะ “สับ” 10) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจาก AVR ตามสภาพปกติ โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและ

ถายเทโหลด Feeder 11) ปรับสวิตชท่ีตูควบคุม AVR (Relay ปรับแรงดัน) จากตําแหนง Manual มาอยูในตําแหนง

“Auto” 12) On ฟงกชั่น Auto Reclose ของ Recloser

-194-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

7. วิธีปฏิบัติการสั่งการกับ SINGLE-PHASE STEP VOLTAGE REGULATOR (SVR) ในกรณีตางๆ

รูปท่ี 10 Single phase Voltage Regulator (SVR)

1. การสั่งการซอมแซม/บาํรุงรักษาอุปกรณ SINGLE-PHASE STEP VOLTAGE REGULATOR (SVR) แบบที่ติดตั้ง Disconnecting Switch ดาน Source และดาน Load เพ่ิมเติม 1.1 ข้ันตอนกอนการปฏิบัติงานบํารุงรักษา

1) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟใหแก SVR 2) แจงชุดปฏิบัติงานปรับสวิตชของชุดควบคุม SVR โดยปรับสวิตช Power (Internal

/External/Off) ไปตํ าแหน ง “Internal” และปรับสวิตช เลือกวิธี ควบคุม Tap (Auto/Off/Manual) จากตําแหนง Auto มาอยูในตําแหนง “Manual”

3) แจงชุดปฏิบัติงานปรับ Tap ของ SVR ใหอยูในตําแหนง “Neutral” 4) แจงชุดปฏิบัติงานปรับสวิตชของชุดควบคุม SVR โดยปรับสวิตช Power (Internal

/External/Off) จากตําแหนง Internal มาอยูในตําแหนง “Off” และปรับสวิตชเลือกวิธีควบคุม Tap (Auto/Off/Manual) จากตําแหนง Manual มาอยูในตําแหนง “Off”

5) แจงชุดปฏิบัติงานปรับสวิตชของชุดควบคุมการปรับ Tap โดยปรับสวิตชของชุดวัดแรงดัน (On/Off) ไปตําแหนง “Off” และปรับสวิตชของชุดวัดกระแส (On/Off) ไปตําแหนง “On”

6) แจงชุดปฏิบัติงานสับสวิตซ BY-PASS พรอมท้ังตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง“สับสนิท”ท้ัง 3 เฟส

-195-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

7) แจงชุดปฏิบัติงานปลด Disconnecting Switch ดาน Source และ Load พรอมตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส พรอมแขวน Tag หามควบคุม

8) แจงชุดปฏิบัติงานปลด Disconnecting Switch ตําแหนง Source - Load พรอมตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส พรอมแขวน Tag หามควบคุม (กรณี SVR ตอแบบ Delta)

9) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทาง ตามขอ 1) 10) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

1.2 ข้ันตอนหลังการปฏิบตัิงานบํารุงรักษา 1) ยืนยันชุดปฏิบัติงานดําเนินการแลวเสร็จ พรอมท้ังปลดการตอลงดินท่ี SVR 2) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีจายไฟใหแก SVR 3) แจงชุดปฏิบัติงานตรวจสอบสถานะของ SVR ดังตอไปนี้

a. ตรวจสอบ Tap ของ SVR อยูในตําแหนง “Neutral”

b. ตรวจสอบสวิตช Power (Internal /External/Off) อยูในตําแหนง “Off”

c. ตรวจสอบสวิตชเลือกวิธีควบคุม Tap (Auto/Off/Manual) อยูในตําแหนง “Off”

d. ตรวจสอบสวิตชของชุดควบคุมการปรับ Tap โดยสวิตชของชุดวัดแรงดัน (On/Off) อยูใน

ตําแหนง “Off” และสวิตชของชุดวัดกระแส (On/Off) อยูในตําแหนง “On”

4) ปลด Tag หามควบคุม ท่ี Disconnecting Switch ตําแหนง Source - Load พรอมสับ Disconnecting Switch ตําแหนง Source - Load และตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส (กรณี SVR ตอแบบ Delta)

5) ปลด Tag หามควบคุม ท่ี Disconnecting Switch ดาน Source พรอมสับ Disconnecting Switch ดาน Source และตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

6) ปลด Tag หามควบคุม ท่ี Disconnecting Switch ดาน Load พรอมสับ Disconnecting Switch ดาน Load และตรวจสอบสถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

7) แจงชุดปฏิบัติงานปลดสวิตซ BY-PASS พรอมตรวจสอบสถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส 8) แจงชุดปฏิบัติงานปรับตั้งคา SVR ดังนี้

a. ปรับสวิตชของชุดควบคุมการปรับ Tap โดยปรับสวิตชของชุดวัดแรงดัน (On/Off) ไปตําแหนง “On” และปรับสวิตชของชุดวัดกระแส (On/Off) ไปตําแหนง “Off”

b. ปรับสวิตชของชุดควบคุม SVR โดยปรับสวิตช Power (Internal /External/Off) จากตําแหนง Off มาอยูในตําแหนง “Internal” และปรับสวิตชเลือกวิธีควบคุม Tap

-196-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

(Auto/Off/Manual) จากตําแหนง Off มาอยูในตําแหนง “Auto” ตามปกติ และรอเวลาให Tap เลื่อนไปอยูในตําแหนงปกติ

9) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทางตามขอ 2)

2. การสั่งการซอมแซม/บํารุงรักษา SINGLE-PHASE STEP VOLTAGE REGULATOR (SVR)

2.1 ข้ันตอนกอนการปฏิบัติงานบํารุงรักษา 1) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีใกลกับ SVR ท้ังสองดาน 2) พิจารณายายโหลดหลัง SVR ไปรับไฟจากฟดเดอรขางเคียง ใหมากท่ีสุด 3) แจงชุดปฏิบัติงานปรับสวิตชของชุดควบคุม SVR โดยปรับสวิตช Power (Internal

/External/Off) ไปตํ าแหน ง “Internal” และปรับสวิตช เลือกวิธี ควบคุม Tap (Auto/Off/Manual) จากตําแหนง Auto มาอยูในตําแหนง “Manual”

4) แจงชุดปฏิบัติงานปรับ Tap ของ SVR ใหอยูในตําแหนง “Neutral” 5) แจงชุดปฏิบัติงานปรับสวิตชของชุดควบคุม SVR โดยปรับสวิตช Power (Internal

/External/Off) จากตําแหนง Internal มาอยูในตําแหนง “Off” และปรับสวิตชเลือกวิธีควบคุม Tap (Auto/Off/Manual) จากตําแหนง Manual มาอยูในตําแหนง “Off”

6) แจงชุดปฏิบัติงานปรับสวิตชของชุดควบคุมการปรับ Tap โดยปรับสวิตชของชุดวัดแรงดัน (On/Off) ไปตําแหนง “Off” และปรับสวิตชของชุดวัดกระแส (On/Off) ไปตําแหนง “On”

7) ปลดอุปกรณตัดตอนท่ีมีกลไกการดับอารค ตําแหนงใกลกับ SVR ดาน Source 8) ตรวจสอบแรงดันไฟฟา ดาน Source และ Load ของ SVR เปนศูนยท้ัง 3 เฟส 9) แจงชุดปฏิบัติงานสับสวิตซ BY-PASS พรอมท้ังตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง

“สับสนิท”ท้ัง 3 เฟส 10) แจงชุดปฏิบัติงานปลด Disconnecting Switch ตําแหนง Source - Load พรอมตรวจสอบ

สถานะ “ปลด” ท้ัง 3 เฟส พรอมแขวน Tag หามควบคุม ท่ี Disconnecting Switch ดังกลาว (กรณี SVR ตอแบบ Delta)

11) แจงชุดปฏิบัติงานปลดสายแรงสูงเขาดาน Source และ Load ของ SVR ท้ัง 3 เฟส 12) แจงชุดปฏิบัติงานสับอุปกรณตัดตอน ตามขอ 7) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลด (MW, MVAR,

kV, Current) มีการเปลี่ยนแปลง 13) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทาง ตามขอ 1) 14) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-197-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคมุระบบไฟฟา

2.2 ข้ันตอนหลังการปฏิบตัิงานบํารุงรักษา 1) ยืนยันชุดปฏิบัติงานดําเนินการแลวเสร็จ พรอมท้ังปลดการตอลงดินท่ี SVR 2) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีใกลกับ SVR ท้ังสองดาน 3) แจงชุดปฏิบัติงานตรวจสอบสถานะของ SVR ดังตอไปนี้

a. ตรวจสอบ Tap ของ SVR อยูในตําแหนง “Neutral”

b. ตรวจสอบสวิตช Power (Internal /External/Off) อยูในตําแหนง “Off”

c. ตรวจสอบสวิตชเลือกวิธีควบคุม Tap (Auto/Off/Manual) อยูในตําแหนง “Off”

d. ตรวจสอบสวิตชของชุดควบคุมการปรับ Tap โดยสวิตชของชุดวัดแรงดัน (On/Off) อยูใน

ตําแหนง “Off” และสวิตชของชุดวัดกระแส (On/Off) อยูในตําแหนง “On”

4) ปลดอุปกรณตัดตอนท่ีมีกลไกการดับอารค ตําแหนงใกลกับ SVR ดาน Source 5) ตรวจสอบแรงดันไฟฟา ดาน Source และ Load ของ SVR เปนศูนยท้ัง 3 เฟส 6) แจงชุดปฏิบัติงานปลดสวิตซ BY-PASS พรอมท้ังตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูใน

ตําแหนง“ปลด”ท้ัง 3 เฟส 7) แจงชุดปฏิบัติงานเชื่อมสายดาน Source และ Load ของ SVR ท้ัง 3 เฟส 8) แจงชุดปฏิบัติงานสับ Disconnecting Switch ตําแหนง Source - Load พรอมตรวจสอบ

สถานะ “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส (กรณี SVR ตอแบบ Delta) 9) แจงชุดปฏิบัติงานสับอุปกรณตัดตอน ตามขอ 4) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลด (MW,MVAR,

kV, Current) มีการเปลี่ยนแปลง 10) แจงชุดปฏิบัติงานปรับสวิตชของชุดควบคุมการปรับ Tap โดยปรับสวิตชของชุดวัดแรงดัน

(On/Off) ไปตําแหนง “On” และปรับสวิตชของชุดวัดกระแส (On/Off) ไปตําแหนง “Off” 11) แจงชุดปฏิบัติงานปรับสวิตชของชุดควบคุม SVR โดยปรับสวิตช Power (Internal

/External/Off) จากตําแหนง Off มาอยูในตําแหนง “Internal” และปรับสวิตชเลือกวิธีควบคุม Tap (Auto/Off/Manual) จากตําแหนง Off มาอยูในตําแหนง “Auto” ตามปกติ และรอเวลาให Tap เลื่อนไปอยูในตําแหนงปกติ

12) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตนทางตามขอ 2)

-198-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6. หลักปฏิบัตติางๆ สําหรับงานสั่งการ 6.1 หลักการสั่งการเพ่ือบํารุงรักษา อุปกรณใดๆ ในระบบไฟฟา 1. หลักการสั่งการเพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา อุปกรณใดๆ

1) ตรวจสอบชนิดอุปกรณ ท่ีตองการซอมแซม/บํารุงรักษา

2) ตรวจสอบลักษณะการปฏิบัติงาน วาเปนการปฏิบัติงานแบบดับไฟ หรอื ไมดับไฟ ปฏิบัติงาน

3) กรณีปฏิบัติงานแบบไมดับไฟ (ดําเนินการโดยชุดปฏิบัติงาน Hotline) ดําเนินการ Off Auto

Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันท่ีจายไฟให อุปกรณ/Section ท่ีปฏิบัติงาน เพ่ือใหระบบ

ปองกันทํางานครั้งเดียวแลว Lockout

4) กรณีปฏิบัติงานแบบดับไฟ ดําเนินการตามขอ 5) – 8)

5) ตรวจสอบการดับไฟอุปกรณ/section ท่ีจะปฏิบัติงาน สงผลใหระบบไฟฟาไดรับผลกระทบหรือไม

a. ทําใหเกิดไฟฟาดับ

b. แรงดันไฟฟาตกต่ํากวามาตรฐาน

c. กระแสไฟฟาเกินพิกัดอุปกรณท่ีจายไฟอยู

d. คา PF ต่ํากวามาตรฐาน

6) จากขอ 5) หากการดับไฟอุปกรณ/Section ท่ีจะปฏิบัติงาน ทําใหระบบไฟฟาไดรับผลกระทบ

a. ทําสวิตชิ่ง ปลดสับอุปกรณตางๆ เพ่ือมิใหเกิดปญหาดังกลาว เชน ดําเนินการถายเทโหลดรับไฟ

จากแหลงจายขางเคียง ดําเนินการปรับปรุงคุณภาพกําลังไฟฟา เชน เพ่ิม/ลด Tap หมอแปลง

TP, สับ Capacitor Bank ฯลฯ ตามความเหมาะสม

b. ปลดอุปกรณตัดตอนครอมหัว-ทาย Section/อุปกรณท่ีจะดับไฟปฏิบัติงาน รวมท้ังแขวน Tag

หามควบคุม ท่ีอุปกรณดังกลาว

c. ปลด Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนในขอ b (ถามี) เพ่ือเปน

การปองกัน อีกชั้นหนึ่ง

7) จากขอ 5) หากการดับไฟอุปกรณ/Section ท่ีจะปฏิบัติงาน ไมทําใหระบบไฟฟาไดรับผลกระทบ

a. ปลดอุปกรณตัดตอนครอมหัว-ทาย Section/อุปกรณท่ีจะดับไฟปฏิบัติงาน รวมท้ังแขวน Tag

หามควบคุม ท่ีอุปกรณดังกลาว

b. ปลด Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนในขอ a (ถามี) เพ่ือเปน

การปองกัน อีกชั้นหนึ่ง

-199-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

8) กอนปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้

a. ใช Voltage Detector ตรวจสอบแรงดัน เปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน

b. ดําเนินการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2. หลักการสั่งการเพ่ือดับไฟปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ในสายสงฯ 2.1 ข้ันตอนกอนปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสายสงฯ อยูในสถานะ “สับ” 2) ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay

a. กรณีอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสายสงฯ คือฺ Circuit Breaker/Circuit Switcher ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker/Circuit Switcher ดังกลาว

b. กรณีอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสายสง คือ Load Break Switch/Air Break Switch ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker/Circuit Switcher ท่ีจายไฟให Load Break Switch ดังกลาว

3) ดําเนินการยายโหลดออกจากสายสงฯ โดยปฏิบัติตาม ขอ 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯโดยหลังจากยายโหลดแลวเสร็จ ดําเนินการตรวจสอบดังนี้ a. ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” และมีการ

แขวน Tag หามควบคุมท่ีอุปกรณฯ ดังกลาว b. ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอน ในขอ a)

(ถามี) อยูในสถานะ “ปลด” 4) ปลดอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสายสงฯ ตามขอ 1) เพ่ือ De-energize สายสงฯ พรอมท้ัง

ตรวจสอบปริมาณโหลดสายสงฯ (MW, MVAR, Current) เปนศูนย 5) แขวน Tag หามควบคุมท่ีอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสายสงฯ 6) ปลด Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสายสงฯ

(ถามี) 7) กรณีอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสายสงฯ ตามขอ 1) คือ Load Break Switch/ Air Break

Switch ดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker / Circuit Switcher ท่ีจายไฟให Load Break Switch/Air Break Switch ดังกลาว

8) กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้ a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

-200-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2.2 ข้ันตอนหลังปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบสวนเก่ียวของยืนยันพรอมใหจายไฟ และปลดการตอลงดิน ณ จุดปฏิบัติงานแลว 2) ตรวจสอบอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 3) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสาย

สงฯ อยูในสถานะ “ปลด” (ถามี) 4) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนทุกตัว ท่ีรับไฟจากสายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” 5) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตัดตอนท่ีรับไฟจาก

สายสงฯ อยูในสถานะ “ปลด” (ถามี) 6) ตรวจสอบกราวดสวิตซครอมหัว-ทาย สายสง (ถามี) อยูในสถานะ “ปลด” 7) ดําเนินการ Off/ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay

a. กรณีอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสายสงฯ คือฺ Circuit Breaker/Circuit Switcher ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay อยูในสถานะ Off

b. กรณีอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสายสง คือ Load Break Switch/Air Break Switch ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker/Circuit Switcher ท่ีจายไฟให Load Break Switch ดังกลาว

8) ดําเนินการ Energize สายสงฯ a. สับ Disconnecting Switch/Air Break Switch ของอุปกรณตนทาง ท่ีจายไฟใหสายสง

ฯ(ถามี) b. นํา Tag ท่ีแขวนไวออก c. สับอุปกรณตนทาง เพ่ือ Energize สายสงฯ

9) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ โดยปฏิบัติตามขอ 3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ

10) ดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ดังนี้ a. กรณีอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสายสงฯ คือฺ Circuit Breaker/Circuit Switcher

ดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณดังกลาว b. กรณีอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหสายสงฯ คือ Load Break Switch/Air Break Switch

ดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker/Circuit Switcher ท่ีจายไฟให Load Break Switch/Air Break Switch ดังกลาว

-201-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3. หลักการถายเทโหลด ท่ีรับไฟจากสายสงระบบ 115 kV 3.1 ข้ันตอนการยายโหลดออกจากสายสงฯ ใดๆ

1) กรณีมีผูใชไฟระบบ 115 kV รับไฟจากสายสงฯ a. แจงผูใชไฟระบบ 115 kV ดําเนินการปลด Circuit Breaker ตัวแรกท่ีรับไฟจาก PEA b. กรณีปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ในสายสงฯ แจงสวนเก่ียวของ ปลด Air Break Switch ท่ี

จายไฟใหผูใชไฟดังกลาว อีกชั้นหนึ่ง 2) กรณีมี SPP ขนานเขาระบบ PEA ผานสายสงฯ

a. กรณี SPP เชื่อมตอแบบ Tap Line ประสานงาน SPP ใหงดการขนานจากระบบ PEA b. กรณี SPP เชื่อมตอแบบ In-Out ประสานงานเพ่ือยายการขนาน SPP ไปยังแหลงจาย

ขางเคียงโดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดสายสงฯ c. กรณีปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ในสายสงฯ หลังจากดําเนินการตามข้ันตอน a หรือ b แลว

แจง SPP ปลด Disconnecting Switch ตัวแรกท่ีรับไฟจาก PEA อีกชั้นหนึ่ง 3) ดําเนินการยายโหลดสถานีฯปลายทาง ไปรับไฟจากแหลงจาย ขางเคียง

a. กรณีท่ีสามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ได ดําเนินการยายโหลดผานระบบ 115 kV โดยปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดสายสงฯ

b. กรณีท่ีไมสามารถยายโหลดผานระบบ 115 kV ได ดําเนินการยายโหลดผานจําหนาย 22/33 kV โดยปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

c. หลังจากดําเนินการตามขอ a หรือ b ตรวจสอบ Circuit Breaker ปองกัน Incoming สถานีฯ ปลายทาง อยูในสถานะ “ปลด”

d. กรณีปฏิบัติงาน/บํารุงรักษาในสายสงฯ หลังจากดําเนินการตามขอ a ถึง c แลว ดําเนินการแขวน Tag หามควบคุมท่ี Circuit Breaker ปองกัน Incoming สถานีฯ ปลายทาง รวมท้ังปลด Disconnecting Switch ของ Circuit Breaker ดังกลาวอีกชั้นหนึ่ง

หมายเหตุ กรณีมี SPP แบบ In-out ขนานเขาระบบผานสายสงฯ พิจารณา SPP แทนสถานีฯ ปลายทาง ดังนั้น ใหยกเวนข้ันตอนในขอ 3)

3.2 ข้ันตอนการยายโหลดกลับมารับไฟจากสายสงฯ ใดๆ

1) กรณีมีผูใชไฟระบบ 115 kV รับไฟจากสายสงฯ a. กรณีหลังจากปฏิบัติงาน/บํารุงรักษาในสายสงฯ แจงสวนเก่ียวของ สับ Air Break

Switch ท่ีจายไฟใหแกผูใชไฟดังกลาว b. แจงผูใชไฟระบบ 115 kV ดําเนินการสับ Circuit Breaker ตัวแรกเพ่ือรับไฟจาก PEA

-202-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2) กรณีมี SPP ขนานเขาระบบผานสายสงฯ a. กรณี SPP เชื่อมตอแบบ Tap Line ประสานงาน SPP ใหดําเนินการขนานเขาระบบ

PEA ตามปกติ b. กรณี SPP เชื่อมตอแบบ In-Out ประสานงานเพ่ือยายการขนาน SPP กลับมาขนานระบบ

ผานสายสงฯ ตามปกติ โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดสายสงฯ 3) ดําเนินการยายโหลดสถานีฯปลายทาง กลับมารับไฟตามสภาพปกติ

a. กรณีหลังจากปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ในสายสงฯ ดําเนินการสับ Disconnecting Switch ของ Circuit Breaker ปองกัน Incoming สถานีฯ ปลายทาง และนํา Tag ท่ีแขวนไวออก

b. กรณีท่ียายโหลดผานระบบ 115 kV ดําเนินการยายโหลดกลับ โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดสายสงฯ

c. กรณีท่ียายโหลดผานจําหนาย 22/33 kV ดําเนินการยายโหลดกลับ โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

หมายเหตุ กรณีมี SPP แบบ In-out ขนานเขาระบบผานสายสงฯ พิจารณา SPP แทนสถานีฯ ปลายทาง ดังนั้น ใหยกเวนข้ันตอนในขอ 3)

4. การสั่งการเพ่ือดับไฟ/จายไฟ หมอแปลง TP

4.1 การดับไฟหมอแปลง TP เพ่ือปลด Cold Standby หรือ เพ่ือซอมแซม/บํารุงรักษา 1) ตรวจสอบสถานะ Circuit Breaker ปองกันหมอแปลงดาน High Side และ Low Side อยู

ในสถานะ “สับ” และไมมีปายหามควบคุม 2) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP 3) ดําเนินการยายโหลดหมอแปลง TP ออก

a. กรณียายโหลดฝากหมอแปลง TP อีกเครื่องหนึ่ง ในสถานีฯเดียวกัน ปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดหมอแปลง

b. กรณียายโหลดหมอแปลง TP ผานระบบจําหนาย ปฏิบัติตามหลักปฏิบัติการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

4) ปลด Circuit Breaker ปองกันหมอแปลงTP ดาน Low Side (กรณี Circuit Breaker ยังไมถูกปลด เนื่องจากยายโหลดผานระบบจําหนาย) พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current, kV)

5) ปลด Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง TP ดาน High Side เพ่ือ De-energize หมอแปลง TP พรอมท้ังตรวจสอบปริมาณโหลดเปนศูนย (MW, MVAR, Current)

-203-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6) แขวน Tag หามควบคุมท่ี Circuit Breaker ปองกันหมอแปลงท้ังดาน High Side และ Low Side

7) กรณีมีการปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา บริเวณ/ท่ีหมอแปลง a. ดําเนินการปลด Disconnecting Switch หรือ Truck Out Service ของ Circuit

Breaker ปองกันหมอแปลง TP ท้ังดาน High Side และ Low Side อีกชั้นหนึ่ง b. กอนเขาปฏิบัติงาน ตองแจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการตอไปนี้

i. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน ii. แจงสวนเก่ียวของดําเนินการสับกราวดสวิตซท้ังสองดานของหมอแปลง TP1 (ถามี)

หรือดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

4.2 การจายไฟหมอแปลง TP ใดๆ หลังจากปลด Cold Standby หรือ หลังจากซอมแซม/บํารุงรักษา 1) กรณีหลังจากการปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา บริเวณ/ท่ีหมอแปลง ตองตรวจสอบหนวยงาน

บํารุงรักษายืนยันพรอมใหจายไฟ พรอมท้ังแจงปลดการตอลงดินท่ีหัว – ทายจุดปฏิบัติงานดวย 2) ตรวจสอบ Disconnecting Switch/Truck ของ Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง TP

ท้ังดาน High Side และ Low Side a. กรณีปฏิบัติงาน/บํารุ งรักษา ท่ีหมอแปลง TP ตรวจสอบ Disconnecting

Switch/Truck อยูในสถานะ “ปลด” หรือ Truck Out Service b. กรณีมิไดปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ท่ีหมอแปลง TP ตรวจสอบ Disconnecting

Switch/Truck อยูในสถานะ “สับ” หรือ Truck In Service 3) ตรวจสอบ Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง TP ท้ังดาน High Side และ Low Side

อยูในสถานะ “ปลด” 4) ตรวจสอบ Ground Switch ท้ังสองดานของหมอแปลง TP อยูในสถานะ “ปลด”(ถามี) 5) ตรวจสอบ OLTC ของหมอแปลง TP อยูในสถานะ “Manual” 6) ปรับตําแหนง Tap ของ TP ใหอยูในตําแหนง Center Tap 7) ดําเนินการ Energize หมอแปลง TP

a. กรณีหลังจากการปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ดําเนินการสับ Disconnecting Switch ของ Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง TP ดาน High Side

b. นํา Tag หามควบคุมท่ี Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง TP ดาน High Side ออก c. สับ Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง TP ดาน High Side เพ่ือ Energize หมอแปลง

8) กรณีหลังจากการปฏิบัติงาน/บํารุงรักษา ดําเนินการสับ Disconnecting Switch/Truck ของ Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง TP ดาน Low Side

9) นํา Tag หามควบคุมท่ี Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง TP ดาน Low Side ออก

-204-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

10) ทําการยายโหลดกลับมารับไฟจาก TP a. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดหมอแปลง ปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลด

หมอแปลง b. กรณียายโหลดโดยวิธีขนานโหลดฟดเดอร

i. สับ Circuit Breaker ปองกันหมอแปลง TP ดาน Low Side เพ่ือ Energize เมนบัสระบบ 22/33 เควี และตรวจสอบแรงดันเมนบัส ตองอยูในเกณฑมาตรฐาน

ii. ยายโหลดฟดเดอรกลับมารับไฟจาก TP โดยปฏิบัติตามหลักการขนานและถายเทโหลดฟดเดอร

iii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP 5. การสั่งการเพ่ือดับไฟปฏิบัติงานในระบบจําหนาย 22/33 kV ใดๆ

5.1 กอนการปฏิบัติงาน 1) ตรวจสอบอุปกรณท่ีจายไฟให Feeder Section ท่ีตองการดับไฟ อยูในสถานะ “สับ” และ

ไมมีปายหามควบคุม 2) ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay

a. กรณีอุปกรณท่ีจายไฟให Feeder Section คือฺ Circuit Breaker/Line Recloser ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker/Line Recloser ดังกลาว

b. กรณีอุปกรณท่ีจายไฟให Feeder Section คือ Load Break Switch/Disconnecting Switch ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker/ Line Recloser ท่ีจายไฟให Load Break Switch/Disconnecting Switch ดังกลาว

3) ดําเนินการยายโหลดท่ีรับไฟจาก Feeder Section ท่ีตองการดับไฟ ไปรับไฟจาก Feeder ขางเคียง ตามหลักการขนานและถายเทโหลด Feeder

4) ปลดอุปกรณตัดตอนครอมหัว-ทาย Feeder Section ท่ีตองการดับไฟ เพ่ือแยก Feeder Section ดังกลาว ออกจากสวนท่ีมีไฟ หมายเหตุ กรณีอุปกรณตัดตอนครอมหัว-ทาย Feeder Section คือ Disconnecting Switch กอนปลดอุปกรณ ตองดําเนินการลดโหลดท่ีไหลผาน Disconnecting Switch ใหเปนศูนยกอน

5) ปลด Disconnecting Switch/Truck (ถามี) ของอุปกรณตัดตอนในขอ 4) อีกชั้นหนึ่ง a. กรณีอุปกรณตัดตอนท่ีจายไฟให Feeder Section คือ Circuit Breaker

i. ดําเนินการ Truck Out Service (กรณีสถานีฯ แบบ VIS) หรือปลด Disconnecting Switch ของ Circuit Breaker ดังกลาว (กรณีสถานีฯ แบบ GIS)

-205-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

ii. ดําเนินการปลด Disconnecting Switch ตน Riser Pole b. กรณีอุปกรณตัดตอนท่ีจายไฟ/รับไฟ Feeder Section คือ Recloser ดําเนินการปลด

Disconnecting Switch ของ Recloser 6) แขวน Tag หามควบคุม ท่ีอุปกรณตัดตอนในขอ 4) รวมท้ัง Lock คาน ปลด-สับ (ถามี) 7) กรณีอุปกรณตัดตอนท่ีจายไฟให Feeder Section คือ Load Break Switch/

Disconnecting Switch ดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker / Line Recloser ท่ีจายไฟให Load Break Switch/ Disconnecting Switch ดังกลาว

8) กอนเขาปฏิบัติงาน แจงชุดปฏิบัติงาน ดําเนินการดังตอไปนี้ a. ใช Voltage Detector เพ่ือตรวจสอบแรงดันเปนศูนย บริเวณจุดปฏิบัติงาน b. ดําเนินการตอลงดิน หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

5.2 หลังการปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบชุดปฏิบัติงาน ดําเนินแลวเสร็จและพรอมจายไฟ รวมท้ังแจงใหปลดการตอลงดิน ณ หัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน

2) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนครอมหัว-ทาย Feeder Section ท่ีดับไฟ อยูในสถานะ “ปลด” 3) ดําเนินการตรวจสอบ/Off Auto Reclosing Relay

a. กรณีอุปกรณท่ีจายไฟให Feeder Section คือฺ Circuit Breaker/Line Recloser ตรวจสอบ Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker/Line Recloser อยูในสถานะ “Off”

b. กรณีอุปกรณท่ีจายไฟให Feeder Section คือ Load Break Switch/Disconnecting Switch ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker/ Line Recloser ท่ีจายไฟให Load Break Switch/Disconnecting Switch ดังกลาว

4) สับ Disconnecting Switch/Truck (ถามี) ของอุปกรณตัดตอนท่ีจายไฟให Feeder Section a. กรณีอุปกรณตัดตอนท่ีจายให Feeder Section คือ Circuit Breaker

i. ดําเนินการสับ Disconnecting Switch ตน Riser Pole ii. ดําเนินการ Truck In Service (กรณีสถานีฯ แบบ VIS) หรือสับ Disconnecting

Switch ของ Circuit Breaker ดังกลาว (กรณีสถานีฯ แบบ GIS) b. กรณีอุปกรณตัดตอนท่ีจายให Feeder Section ท่ีดับไฟ คือ Recloser ดําเนินการสับ

Disconnecting Switch ของ Recloser 5) นํา Tag หามควบคุม ท่ีอุปกรณตัดตอนท่ีจายไฟให Feeder Section ออก และสับอุปกรณ

ดังกลาว เพ่ือจายไฟ Feeder Section

-206-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

หมายเหตุ กรณีอุปกรณตัดตอนท่ีจายไฟ Feeder Section คือ Disconnecting Switch ตองดําเนินการลดโหลดขณะสับ Disconnecting Switch ดังกลาว ใหเปนศูนยกอน

6) ดําเนินการยายโหลดกลับมารับไฟจาก Feeder Section ตามสภาพปกติ ตามหลักการขนานและถายเทโหลด Feeder

7) ดําเนินการ On Auto Reclosing Relay a. กรณีอุปกรณท่ีจายไฟให Feeder Section คือฺ Circuit Breaker/Line Recloser

ดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker/Line Recloser ดังกลาว

b. กรณีอุปกรณท่ีจายไฟให Feeder Section คือ Load Break Switch/Disconnecting Switch ดําเนินการ On Auto Reclosing Relay ของ Circuit Breaker/Line Recloser ท่ีจายไฟให Load Break Switch/Disconnecting Switch ดังกลาว

-207-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6.2 หลักการสั่งการเพ่ือขนานและถายเทโหลด

1. นิยามของการขนานโหลด

การขนานโหลด หมายถึง ข้ันตอนการสวิตชิ่ง เพ่ือทําใหจุด (node) สองจุด หรืออุปกรณไฟฟา

สองอุปกรณ หรือวงจรไฟฟาสองวงจร (ซ่ึงอาจมีศักยไฟฟาแตกตางกัน) รวมเปนจุดเดียวกันทางไฟฟา โดย

จะสงผลทําใหศักยไฟฟาท้ังสองจุด/อุปกรณ/วงจร เทากันในทางอุดมคติ เชน การขนานระหวางบัส/สาย

สง/ฟดเดอร/หมอแปลง เปนตน

2. ประเภทของการขนานโหลด แบงตามระยะเวลาในการขนานโหลด ไดเปน 2 แบบ ดังนี้ 2.1 การขนานโหลดแบบชั่วคราว ชวงระยะเวลาการขนานโหลด ใชระยะเวลาสั้น จุดประสงคของการ

ขนานโหลดลักษณะนี้ เพ่ือใชในการถายเทโหลด โดยมิใหเกิดไฟฟาดับ เชน การขนานโหลดชั่วคราวระหวางหมอแปลงสองเครื่อง เพ่ือถายเทโหลดของเครื่องหนึ่งไปรับไฟจากอีกเครื่องหนึ่ง

2.2 การขนานโหลดแบบถาวร ชวงระยะเวลาการขนานโหลด ใชระยะเวลานาน หรืออาจจะคงสถานะตลอดไป ซ่ึงเรียกไดวาเปนการจายไฟแบบวงรอบปด (Loop) จุดประสงคของการจายไฟลักษณะนี้ เพ่ือใชสําหรับการเพ่ิมความม่ันคงและความเชื่อถือไดใหกับระบบไฟฟา

3. หลักการสั่งการเพ่ือขนานโหลดแบบชั่วคราว

ในงานดานการสั่งการควบคุมการจายไฟของ PEA การขนานโหลดแบบชั่วคราว สามารถแบงตาม

โหลดของอุปกรณ ออกไดเปน 3 ประเภท คือการขนานโหลดฯ สายสงระบบ 115 kV ชั่วคราว,

การขนานโหลดฯ หมอแปลง ชั่วคราว และการขนานโหลดฯ ฟดเดอรชั่วคราว โดยจุดประสงคเพ่ือใชใน

การถายเทโหลดสายสงระบบ 115 kV โหลดหมอแปลง และโหลดฟดเดอรระบบจําหนาย ตามลําดับ โดย

มิใหเกิดไฟฟาดับแกผูใชไฟ ซ่ึงเปนท่ีมาของการจัดทําหลักการขนานโหลดชั่วคราวและถายเทโหลด

ดังตอไปนี้

-208-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

รูปท่ี 1 ระบบสายสงฯ เพ่ือใชประกอบหลักการสั่งการเพ่ือขนานและถายเทโหลดสายสงฯ

สมมติใหมีการยายโหลดท่ีรับไฟจาก สฟ. A ของ กฟผ. ไปรับไฟจาก สฟ. B ของ กฟผ. โดยวิธีการขนานโหลดสายสงชั่วคราว

3.1 หลักการขนานโหลดสายสงระบบ 115 kV ชั่วคราว เพ่ือถายเทโหลดผานระบบ 115 kV 1) ตรวจสอบปริมาณโหลดรวมท่ี สฟ. B หลังจากยายโหลดของ สฟ. A ไปแลว ตองไมเกิน

พิกัดอุปกรณของ สฟ. B 2) ตรวจสอบปริมาณกระแสท่ีไหลระหวาง สฟ. A และ สฟ. B ขณะขนานโหลดชั่วคราว (Loop

Current) ตองไมเกินพิกัดกระแสตอเนื่อง (Rated Current Capacity) ของอุปกรณท่ี Loop Current ไหลผาน

3) ตรวจสอบ SPP ท่ีขนานอยูในระบบ วากรณีท่ียายโหลด สฟ.A ไปรับไฟจาก สฟ.B สงผลให SPP ยายการขนานไปดวยหรือไม หากสงผลให SPP ยายการขนานไปดวย ตองตรวจสอบขอมูลในสวนเก่ียวของ วาระบบกําลังไฟฟาของ สฟ.B และของ SPP รองรับการยายการขนานระบบดังกลาวหรือไม a. หากไมรองรับ แจง SPP งดการขนานออกระบบ ในชวงเวลาท่ีมีการยายโหลดไปรับไฟ

จาก สฟ.B

b. หากรองรับ ดําเนินการตรวจสอบระบบ Inter-trip ของ SPP โดยหากตรวจสอบแลว

พบวาข้ันตอนการขนานโหลดฯ สงผลใหระบบ Inter-trip ทํางาน Trip SPP ออกจาก

ระบบ ดําเนินการแจง SPP เพ่ือปรับตั้งคาการทํางานของระบบ Inter-trip เพ่ือปองกัน

ไมให SPP Trip ออกจากระบบ

4) ตรวจอุปกรณตัดตอนท่ีจะดําเนินการสับขนาน a. อุปกรณตัดตอนท่ีจะทําการสับขนานโหลด ตองไมมีปายหามควบคุม/หามสับ

-209-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

b. กรณีอุปกรณท่ีสับขนานคือเบรกเกอร ตรวจสอบ Sync Check Relay ของเบรกเกอร

ดังกลาว ตองอยูในสถานะ Auto

c. กรณีอุปกรณท่ีสับขนานคือ Load Break Switch ตรวจสอบขนาดแรงดันไฟฟา มุมของ

แรงดันไฟฟา และความถ่ีของแรงดันไฟฟา ท้ังสองดานของ Load Break Switch ตอง

เปนไปตามเง่ือนไข Theory of Synchronizing

5) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีจะทําการปลดขนานโหลด ตองไมมีปายหามควบคุม/หามปลด 6) แจง ศูนย กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ เพ่ือขอขนานโหลดชั่วคราวระหวาง สฟ. A และ สฟ. B 7) ดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay

a. กรณีอุปกรณท่ีสับขนานคือเบรกเกอร ใหดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของ

เบรกเกอรท่ีสับขนานดังกลาว รวมท้ังเบรกเกอรตนทางท่ีจายไฟใหเบรกเกอรท่ีสับขนาน

b. กรณีอุปกรณท่ีปลดขนานคือเบรกเกอร ใหดําเนินการ Off Auto Reclosing Relay ของ

เบรกเกอรท่ีปลดขนานดังกลาว

c. กรณีอุปกรณท่ีปลด/สับขนาน คือ Load Break Switch ใหดําเนินการ Off Auto

Reclosing Relay ของเบรกเกอรปองกันสายสงฯ ท้ังสองดาน ของ Load Break

Switch

8) สับอุปกรณตัดตอนตามขอ 4) เพ่ือขนานโหลด พรอมท้ังตรวจสอบอุปกรณอยูในสถานะ “สับ” 9) ตรวจสอบโหลดของอุปกรณท่ีมี Loop Current ไหลผาน มีการเปลี่ยนแปลง 10) ปลดอุปกรณตัดตอน ตามขอ 5) เพ่ือปลดขนานโหลด พรอมท้ังตรวจสอบอุปกรณอยูในสถานะ

“ปลด” 11) ตรวจสอบโหลดของอุปกรณท่ีมี Loop Current ไหลผาน มีการเปลี่ยนแปลง และ

ตรวจสอบปริมาณโหลดท่ี สฟ. A และ สฟ. B มีการเปลี่ยนแปลง โดยปริมาณโหลดรวมของ สฟ.A และ สฟ. B หลังการขนานโหลด ตองเทากับปริมาณโหลดรวมของ สฟ.A และ สฟ. B กอนการขนานโหลด

12) ดําเนินการ On Auto Reclosing Relay อุปกรณปองกัน ตามขอ 7) (ยกเวนมีการปลดขนานท่ีอุปกรณปองกันดังกลาว)

หมายเหตุ กรณีเบรกเกอรท่ีสับขนาน ไมสามารถสับขนาน โดยผานฟงกชั่น Sync Check Relay (Auto Mode) ได หากมีความจําเปน ตองดําเนินการ Close By Pass ใหแจงสวนเก่ียวของตรวจสอบ เพ่ือพิจารณาดําเนินการตอไป

-210-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3.2 หลักการขนานโหลดหมอแปลงชั่วคราว (เพ่ือถายเทโหลดหมอแปลงในสถานี)

รูปท่ี 2 Single Line Diagram เพ่ือใชประกอบหลักการสั่งการเพ่ือขนานและถายเทโหลดหมอแปลง 3.2.1 กรณียายโหลดหมอแปลง TP1 รับไฟจาก TP2

1) ตรวจสอบปริมาณโหลดรวมของ TP1 และ TP2 ไมควรเกิน 80% ของพิกัด MVA ของหมอแปลง TP2

2) ตรวจสอบพิกัด MVA ของหมอแปลงท้ังสองเครื่อง ตองเทากันหรือใกลเคียงกัน 3) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส 0BVB-01 ตองไมมีปายหามสับ/หามควบคุม 4) ตรวจสอบตําแหนง Truck ของ 0BVB-01 (กรณีเปนสถานีแบบ Vacuum Indoor

Type) อยูในตําแหนง In service หรือ ตรวจสอบสวิตซใบมีดครอมหัวทาย เบรกเกอร 0BVB-01 อยูในสถานะ “สับ” (กรณีท่ีเปนสถานีแบบ GIS Indoor Type)

5) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 และ TP2 6) ดําเนินการปรับตั้งฟงกชั่นการขนานหมอแปลง (ถามี)

a. กรณีหมอแปลงมีฟงกชั่น Circulating Current Relay

(Individual/Parallel)

i. ปรับแรงดันไฟฟาดาน 22/33 kV ของหมอแปลงท้ังสองเครื่อง ใหใกลเคียงกัน

ii. ตั้งคาการทํางานของหมอแปลง TP1, TP2 ใหอยูใน Parallel Mode

b. กรณีหมอแปลงมีชุด Tap Differential Relay

(Individual/Parallel/Master/Follower)

115 kV Bus

22/33 kV Bus

-211-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

i. ปรับ Tap ของหมอแปลง TP1 และ TP2 ใหระดับ Tap เทากัน

ii. ตั้งคาการทํางานของหมอแปลง TP1, TP2 ใหอยูใน Parallel Mode

iii. ตั้งคาให TP1 และ TP2 เปน Master และ Follower (สามารถสลับกันได)

7) สับเบรกเกอรรหัส 0BVB-01 เพ่ือขนานหมอแปลง 8) ตรวจสอบปริมาณโหลดท่ีหมอแปลง TP1 และ TP2 และเบรกเกอรรหัส 0BVB-01

มีการเปลี่ยนแปลง 9) ปลดเบรกเกอรรหัส 1BVB-01 เพ่ือปลดขนานหมอแปลง 10) ตรวจสอบโหลดหมอแปลง TP1 เปนศูนย และหมอแปลง TP2 มีการเปลี่ยนแปลง 11) ตั้งการทํางานของหมอแปลง TP1 และ TP2 ใหอยูใน Individual Mode 12) ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP2

3.2.2 ดําเนินยายโหลดหมอแปลง TP1 กลับมารับไฟตามปกติ 1) ตรวจสอบเบรกเกอรรหัส 1BVB-01 ตองไมมีปายหามสับ/หามควบคุม 2) ตรวจสอบตําแหนง Truck ของ 1BVB-01 (กรณีเปนสถานีแบบ Vacuum Indoor

Type) อยูในตําแหนง Inservice หรือ ตรวจสอบสวิตซใบมีดของเบรกเกอรรหัส 1BVB-01 อยูในสถานะ “สับ” (กรณีท่ีเปนสถานีแบบ GIS Indoor Type)

3) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP1 และ TP2 4) ดําเนินการปรับตั้งฟงกชั่นการขนานหมอแปลง (ถามี)

a. กรณีหมอแปลงมีฟงกชั่น Circulating Current Relay

(Individual/Parallel)

i. ปรับแรงดันหมอแปลง TP1 และ TP2 ใหใกลเคียงกัน

ii. ตั้งการทํางานของหมอแปลง TP1, TP2 ใหอยูใน Parallel Mode

b. กรณีหมอแปลงมีชุด Tap Differential Control Circuit

(Individual/Parallel/Master/Follower)

i. ปรับ Tap ของหมอแปลง TP1 และ TP2 ใหระดับ Tap เทากัน

ii. ตั้งการทํางานของหมอแปลง TP1, TP2 ใหอยูใน Parallel Mode

iii. ตั้งคาให TP1 และ TP2 เปน Master และ Follower (สามารถสลับกันได)

5) สับเบรกเกอรรหัส 1BVB-01 เพ่ือขนานหมอแปลง 6) ตรวจสอบปริมาณโหลดท่ีหมอแปลง TP1 และ TP2 และเบรกเกอรรหัส 0BVB-01

มีการเปลี่ยนแปลง 7) ปลดเบรกเกอร 0BVB-01 เพ่ือปลดขนานหมอแปลง

-212-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

8) ตรวจสอบปริมาณโหลดเบรกเกอรรหัส 0BVB-01 เปนศูนย, ปริมาณโหลดรวมของ หมอแปลง TP1 และ TP2 ใกลเคียงกับโหลดของหมอแปลง TP2 กอนยายโหลด

9) ตั้งการทํางานของหมอแปลง TP1 และ TP2 ใหอยูใน Individual Mode 10) ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP1 และ TP2

3.3 หลักการขนานโหลดฟดเดอรชั่วคราว (เพ่ือถายเทโหลดผานระบบจําหนาย) 3.3.1 กรณียายโหลดไปรับไฟจากฟดเดอรสถานีฯ ขางเคียง

1) ตรวจสอบกระแสขณะขนานโหลดฟดเดอร (Loop Current) ตองไมเกินคาพิกัดของอุปกรณท่ี Loop Current ไหลผาน

2) ตรวจสอบโหลดของฟดเดอรสวนท่ีจะยายไปรับไฟจากฟดเดอรตนทาง หลังจากยายไปแลว ตองไมเกินพิกัดโหลดของฟดเดอรตนทาง และพิกัดโหลดหมอแปลงท่ีจายไฟใหฟดเดอรตนทาง

3) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีจะทําการสับและปลดขนานโหลด 4) ตองมีกลไกการดับอารค และสามารถปลด-สับไดพรอมกันท้ัง 3 เฟส 5) อุปกรณตัดตอนท่ีจะทําการสับขนาน ตองไมอยูในสถานะหามควบคุม 6) อุปกรณตัดตอนท่ีจะทําการปลดขนาน ตองไมอยูในสถานะหามควบคุม 7) ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลงตนทางท่ีจายไฟใหแกฟดเดอรท่ีจะขนานโหลดกัน

(กรณีฟดเดอรท่ีจะขนานกันรับไฟจากตางหมอแปลง) 8) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันท่ีอยูใกลอุปกรณตัดตอนท่ีจะสับ

ขนานโหลด มากท่ีสุด ท้ังสองฝงของอุปกรณตัดตอน (ไมพิจารณารีโคลสเซอรท่ีถูก By Pass ไปแลว ตามขอ 4)

9) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตัดตอนท่ีจะสับขนานโหลด (กรณีเบรกเกอร /รีโคลสเซอร)

10) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตัดตอนท่ีจะปลดขนานโหลด (กรณีเบรกเกอร /รีโคลสเซอร)

11) สับอุปกรณตัดตอน เพ่ือขนานโหลดฟดเดอร 12) ตรวจสอบปริมาณโหลด 13) โหลดอุปกรณตัดตอนท่ีสับขนาน มีการเปลี่ยนแปลง (กรณีท่ีสามารถตรวจสอบได) 14) โหลดอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหฟดเดอรท่ีสับขนาน มีการเปลี่ยนแปลง 15) ปลดอุปกรณตัดตอน เพ่ือปลดขนานโหลดฟดเดอร 16) ตรวจสอบปริมาณโหลด 17) โหลดอุปกรณตัดตอนท่ีปลดขนาน ลดลงเปนศูนย (กรณีท่ีสามารถตรวจสอบได)

-213-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

18) โหลดอุปกรณตัดตอนท่ีสับขนาน มีการเปลี่ยนแปลง (กรณีท่ีสามารถตรวจสอบได) 19) โหลดอุปกรณตนทางท่ีจายไฟใหฟดเดอรท่ีสับขนาน มีการเปลี่ยนแปลง 20) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตามขอ 5 (ยกเวนมีการปลดขนาน

ท่ีอุปกรณดังกลาว) 21) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณตัดตอนท่ีใชสับขนานโหลด (กรณีเบรกเกอร

/รีโคลสเซอร) 22) ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลงตนทางท่ีจายไฟใหแกฟดเดอรท่ีขนานกัน (กรณีท่ีฟด

เดอรรับไฟจากตางหมอแปลง 3.4 Neutral Grounding Resistor (NGR) กับการถายเทโหลดระบบจําหนาย

ในระบบกราวดของหมอแปลงกําลัง (หมอแปลง TP หรือ KT) บางสถานีฯ โดยเฉพาะในเขตพ้ืนท่ีอุตสาหกรรม จะมีการติดตั้งอุปกรณ Neutral Grounding Resistor (NGR) ท่ีระบบกราวด หมอแปลง เพ่ือจุดประสงคในการลด Voltage Dip เพ่ือมิใหเกิดอันตราย สงผลเสียหายตอผูใชไฟฟาในภาคอุตสาหกรรม โดย NGR ถูกนํามาใชงานเพ่ือทําหนาท่ียกระดับแรงดันไฟฟา แกไขปญหา Voltage Dip กรณีเกิดการลัดวงจรแบบลงกราวด ในระบบ แตทวาการติดตั้ง NGR ก็สงผลกระทบในอีกทางหนึ่ง คือทําใหระดับแรงดันขณะเกิดลัดวงจร บริเวณฟดเดอรขางเคียงสูงกวาปกติ สถานีฯ ใดๆ ท่ีหมอแปลงมีการติดตั้ง NGR จะมีการเปลี่ยนขนาดพิกัดของอุปกรณลอฟาในระบบจําหนายท่ีรับไฟจากสถานีฯ ดังกลาว เพ่ือใหสามารถทนตอขนาดแรงดันเกิน ท่ีข้ึนได

ในบางกร ณี ท่ี มีการถ าย เทโหลดฟ ด เดอร ของสถานี ฯ ท่ี ไม ได ติ ดตั้ ง NGR มารั บ ไฟ จากฟดเดอรของสถานีฯ ท่ีมีการติดตั้ง NGR เม่ือเกิดการลัดวงจรแบบลงกราวด ในระบบดังกลาว อาจจะสงผลให อุปกรณลอฟาในฟดเดอรของสถานีฯ ท่ีไมมีการติดตั้ง NGR ระเบิดชํารุด เนื่องจากพิกัดของ ลอฟา ไมสามารถทนระดับแรงดันท่ีสูงข้ึนขณะเกิดลัดวงจร เนื่องจากผลของการติดตั้ง NGR ท่ีสถานีฯ ตนทางได โดยลอฟาท่ีติดตั้งในระบบ 22 kV ท่ัวไป พิกัดอยูท่ีประมาณ 20-21 kV แตหากระบบท่ีมี NGR พิกัดลอฟาจะอยูท่ีประมาณ 24-26 kV

ดังนั้น สิ่งท่ีพนักงานศูนยฯ พึงกระทํา ในการถายเทโหลด คือพิจารณาหลีกเลี่ยงกรณียายโหลดสถานีฯ ท่ีไมมีการติดตั้ง NGR ไปรับไฟจากสถานีฯ ท่ีมีการติดตั้ง NGR เพ่ือลดความเสี่ยงท่ีจะเกิดความเสียหายตออุปกรณลอฟาของสถานีฯ ท่ีไมมีการติดตั้ง NGR กรณีท่ีเกิดการลัดวงจรแบบลงกราวด โดยหากตรวจสอบแลวพบวาในการถายเทโหลดในระบบจําหนาย มีโอกาสท่ีจะถายเทโหลดระหวาง สถานีฯ ท่ีมีการติดตั้ง NGR กับสถานีฯ ท่ีไมมีการติดตั้ง NGR ใหดําเนินการแจงสวนเก่ียวของ เพ่ือพิจารณาวางแผนสภาพการจายไฟ หรือเปลี่ยนพิกัดอุปกรณลอฟา เพ่ือแกไขปญหาดังกลาวตอไป

-214-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6.3 หลักการสั่งการเพ่ือแกไขกระแสไฟฟาขัดของ หลักการสั่งการเพ่ือแกไขกระแสไฟฟาขัดของ คือ หลักการทํางาน ของศูนยควบคุมการจายไฟฟา

เม่ือเกิดเหตุการณกระแสไฟฟาขัดของในระบบไฟฟาของ PEA โดยหลักการนี้จะกลาวถึงข้ันตอนสําคัญตางๆ ท่ีศูนยควบคุมการจายไฟฟา พึงกระทํา ตั้งแตเหตุการณกระแสไฟฟาขัดของไดเริ่มข้ึน จนกระท่ังสามารถกูคืนระบบ จายไฟไดตามปกติ โดยมีรายละเอียดข้ันตอนสําคัญดังนี้ 1) เม่ือ Fault ในระบบไดเริ่มข้ึน พนักงานศูนยฯ ไดรับการแจงเตือนวามีอุปกรณปองกันทํางานเปด

วงจร โดยตรวจสอบ/ไดรับขอมูลจาก

a. จาก SCADA ALARM

b. จาก พนักงานสถานีฯ

c. จาก หนวยงานอ่ืนๆท่ีเก่ียวของ

2) ตรวจสอบรายละเอียดรีเลย และอุปกรณตัดตอนท่ีทํางาน และวิเคราะหหาบริเวณท่ีเกิด Fault โดย

บริเวณท่ีเกิด Fault ท่ีเปนไปไดท้ังหมด มีดังนี้

a. กรณี Fault ในสวนของ PEA

i. Fault ในสายสง 115 kV รีเลยปองกันหลัก คือ Distance Relay (21/21N) หรือ Line

Differential Relay (87L) (กรณีสายสงระยะทางสั้น) และรีเลยปองกันสํารองคือ

Directional Overcurrent Relay (67/67N)

ii. Fault ในโซนเมนบัส 115 kV รีเลยปองกันหลักคือ Bus Differential Relay (87B) ในสวน

รีเลยปองกันสํารอง โดยท่ัวไป คือ Distance Relay และ Directional Overcurrent Relay

ของสถานีฯ ตนทาง

iii. Fault ในโซนหมอแปลง TP รีเลยปองกันหลักคือ Transformer Differential Relay (87T)

และ Transformer Internal Protection ตางๆ เชน Pressure Relief Relay, Oil

Temperature Relay, Buchholz Relay เปนตน ในสวนของรีเลยปองกันสํารอง โดยท่ัวไป

คือ Overcurrent Relay (50/51N)

iv. Fault ในโซนเมนบัส 22/33 kV รีเลยปองกันหลัก คือ Overcurrent Relay (50/50N,

51/51N) ของเบรกเกอรดาน Low Side ของหมอแปลง TP/KT และ Arc Detection Relay

ในสวนรีเลยปองกันสํารอง โดยท่ัวไป คือ Overcurrent Relay (51/51N) ของเบรกเกอรดาน

High Side ของหมอแปลง TP/KT

-215-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

v. Fault ในระบบจําหนาย 22/33 kV รีเลยปองกันหลัก คือ Overcurrent Relay (50/50N,

51/51N) และระบบปองกันสํารองคือ Overcurrent Relay ของเบรกเกอรดาน Low Side

ของหมอแปลง TP/KT

b. กรณี Fault ในสวนของ กฟผ.

i. Fault ท่ีแหลงจายไฟระบบ 115 kV ไดรับการแจงเตือนจากแหลงขอมูล ตามขอ 1 วา

กระแส และแรงดันไฟฟา ท่ีสถานีฯ ตนทาง ซ่ึงรับไฟระบบ 115 kV จาก กฟผ. มีคาเปนศูนย

หรือ ไดรับการแจงเตือนจาก กฟผ. วามีอุปกรณปองกันทํางาน Trip Lockout

ii. Fault ท่ีแหลงจายไฟระบบ 22/33 kV ไดรับการแจงเตือนจากแหลงขอมูล ตามขอ 1) วา

กระแส และแรงดันไฟฟา ท่ีสถานีฯ ซ่ึงรับไฟระบบ 22/33 kV จาก กฟผ. เปนศูนย หรือ

ไดรับการแจงเตือนจาก กฟผ. วามีอุปกรณปองกันทํางาน Trip Lockout

(กรณีเกิด Fault ในสวนของ กฟผ. ดําเนินการประสานงานกับศูนย กฟผ. ท่ีรับผิดชอบ เพ่ือตรวจสอบและยืนยันการทํางานของอุปกรณปองกัน)

3) ดําเนินการแยก Section ท่ีเกิด Fault ออกจากระบบ

a. กรณี Fault ในสวนของ PEA ดําเนินการปลดอุปกรณตัดตอน หัว-ทาย Section ท่ีเกิด Fault

ออก

i. กรณี Section/อุปกรณ ท่ีเกิด Fault ไมสามารถใชการตรวจสอบสาเหตุการเกิด Fault

เบื้องตน ดวยสายตาได เชน Fault ในตัวอุปกรณหมอแปลง Fault ในสถานีไฟฟาแบบ

Indoor Type หรือ Fault ใน Underground Cable เปนตน การตรวจสอบสาเหตุนั้น มี

ความจําเปนตองเขาถึง Section/ตัวอุปกรณ ดังนั้น นอกจากการปลดเบรกเกอรครอมหัว-

ทาย Section/อุปกรณท่ี Fault แลว ตองดําเนินการปลดสวิตซใบมีด/Truck ครอมหัว-ทาย

Section/อุปกรณท่ีเกิด Fault ดวย เพ่ิมอีกชั้นหนึ่ง (ถามี) เพ่ือความปลอดภัยของหนวยงานท่ี

เขาตรวจสอบ

ii. กรณี Section/อุปกรณ ท่ีเกิด Fault สามารถใชการตรวจสอบสาเหตุการเกิด Fault

เบื้องตน ดวยสายตาได เชน Fault ในสายสงและ Feeder 22/33 kV หรือ Fault ในสถานี

แบบ Outdoor เปนตน เบื้องตนอนุญาตใหปลดอุปกรณตัดตอนครอม Section ท่ีเกิด Fault

เพียงหนึ่งชั้นได เพ่ือในกรณีท่ีตรวจสอบแลวไมพบสาเหตุ จะสามารถจายไฟคืนไดอยาง

รวดเร็ว โดยท้ังนี้ หากมีการตรวจสอบแลวพบสาเหตุภายหลัง ซ่ึงจําเปนตองมีการเขา

-216-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

ซอมแซม/แกไขท่ี Section/อุปกรณท่ีเกิด Fault ใหดําเนินการปลดสวิตซใบมีด/Truck

ครอมหัว-ทาย จุดเกิดเหตุ เพ่ิมอีกชั้นหนึ่ง เพ่ือความปลอดภัยของผูปฏิบัติงานซอมแซมแกไข

b. กรณี Fault ในสวนของ กฟผ. ดําเนินการปลดอุปกรณตัดตอนตัวแรกท่ีรับไฟจาก กฟผ. ออก

4) แขวนปายหามสับ/หามควบคุม ท่ีอุปกรณตัดตอนครอมหัว-ทาย สวนท่ีเกิด Fault

5) ดําเนินการยายโหลดบริเวณท่ีเกิดไฟดับท่ีไมเก่ียวของกับบริเวณท่ีเกิด Fault รับไฟสถานีฯ/แหลงจาย

ขางเคียง โดยดําเนินการตาม “หลักการกูคืนโหลด หลังจากเกิดกระแสไฟฟาขัดของในระบบไฟฟา”

ขอ 6) ถึง 10) สําหรับกรณี Fault ในสวนของ PEA

6) แจงสวนเก่ียวของเขาตรวจสอบบริเวณท่ีเกิด Fault ดังนี้

a. Fault ในสายสง 115 kV แจงสวนท่ีเก่ียวของ ใน พท. รับผิดชอบ เพ่ือตรวจสอบหาสาเหตุ ในสาย

สง 115 kV ชวงดังกลาว

b. Fault ในโซนหมอแปลง TP แจงพนักงานสถานีฯ/สวนเก่ียวของ

c. Fault ในโซนเมนบัส 115 kV หรือ 22/33 kV แจงพนักงานสถานีฯ/สวนเก่ียวของ

d. Fault ใน Feeder 22/33 kV แจงสวนท่ีเก่ียวของ ใน พท. รับผิดชอบ เพ่ือตรวจสอบหาสาเหตุ ใน

ระบบจําหนายชวงดังกลาว

7) จากขอ 6) กรณีไดรับแจงวาตรวจพบสาเหตุ และจําเปนตองดําเนินการซอมแซม/แกไข ระบบไฟฟา

a. ปลดสวิตซใบมีด/Truck ครอมหัว-ทาย Section/อุปกรณ ท่ีเกิด Fault เพ่ิมอีกชั้นหนึ่ง

กรณีอุปกรณดังกลาวยังไมถูกปลด (ดูขอ 3) ขอยอย a)

b. แจงสวนเก่ียวของดําเนินการดังนี้

i. ตรวจสอบแรงดัน ณ จุดเกิด Fault เปนศูนยท้ัง 3 เฟส

ii. ทําการตอลงดินครอมหัว-ทาย จุดเกิด Fault

iii. เขาปฏิบัติงานซอมแซม/แกไข จุดเกิด Fault ดังกลาว

c. กรณี Fault ในสายสง / Feeder 22/33 kV หากหนวยงานซอมแซม/บํารุงรักษา ประเมินแลว

ตองใชเวลาในการซอมแซม/แกไขคอนขางนาน ดําเนินการประสานงานสวนเก่ียวของ เพ่ือตัด

จายไฟใหแกผูใชไฟ โดยใหเหลือ Section ท่ีเกิด Fault นอยท่ีสุด (เทาท่ีสามารถทําไดโดยอยูบน

พ้ืนฐานความปลอดภัย)

d. กรณีไดรับแจงจากหนวยงานซอมแซม/บํารุงรักษา วาดําเนินการแลวเสร็จ ดําเนินการจายไฟ โดย

ปฏิบัติตามขอ 10)

-217-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

8) จากขอ 6) กรณีไดรับแจงวาตรวจพบสาเหตุ แตสาเหตุนั้นไดปรากฏวาถูกแยกสวนจากระบบไฟฟาไป

แลว (เคลียร Fault แลว) โดยไมมีการเชื่อมตอทางไฟฟากับระบบ ดําเนินการตรวจสอบอุปกรณ

ไฟฟาตางๆ บริเวณขางเคียง วาอยูในสภาพปกติ พรอมจายไฟหรือไม หากไดรับคํายืนยันวาสภาพปกติ

ไมมีการชํารุด ใหดําเนินการจายไฟได โดยปฏิบัติตามขอ 10)

9) จากขอ 6) กรณีไดรับแจงวาไมพบสาเหตุ ใหดําเนินการจายไฟได โดยปฏิบัติตามขอ 10

10) ดําเนินการจายไฟใหแกระบบสวนท่ีเกิด Fault หลังจากแกไขสาเหตุเรียบรอยแลว ดังตอไปนี้

a. Fault ในสายสง 115 kV ดําเนินการจายไฟ ตามวิธีปฏิบัติการสั่งการฯ การซอมแซม/บํารุงรักษาใน

สายสง (ข้ันตอนการจายไฟหลังการบํารุงรักษา) ตามแตลักษณะการจัดบัสระบบ 115 kV (กรณี

อุปกรณตนทางคือเบรกเกอรสถานีฯ) หรือ ตามแตชนิดของอุปกรณตนทาง

b. Fault ในโซนหมอแปลง TP

i. ตรวจสอบ Lockout Relay ของหมอแปลง TP อยูในสถานะ “Normal” (หากยังอยูในสถานะ

Lockout แจงสวนเก่ียวของ ดําเนินการ Reset Lockout Relay ของหมอแปลง TP)

ii. ดําเนินการจายไฟ ตามวิธีปฏิบัติการสั่งการฯ การซอมแซม/บํารุงรักษาหมอแปลง TP (ข้ันตอน

การจายไฟหลังการบํารุงรักษา) ตามแตลักษณะการจัดบัสระบบ 115 kV

c. Fault ในโซนเมนบัส 115 kV

i. ตรวจสอบ Lockout Relay ของเมนบัส 115 kV อยูในสถานะ “Normal” (หากยังอยูใน

สถานะ Lockout แจงสวนเก่ียวของ ดําเนินการ Reset Lockout Relay ของเมนบัส)

ii. ดําเนินการจายไฟ ตามวิธีปฏิบัติการสั่งการฯ การซอมแซม/บํารุงรักษาเมนบัส 115 kV

(ข้ันตอนการจายไฟหลังการบํารุงรักษา) ตามแตลักษณะการจัดบัสระบบ 115 kV

d. Fault ในโซนเมนบัส 22/33 kV

i. กรณีระบบปองกัน Arc Detection ทํางาน ตรวจสอบ Lockout Relay ของเมนบัส 22/33 kV

อยูในสถานะ “Normal” (หากยังอยูในสถานะ Lockout แจงสวนเก่ียวของ ดําเนินการ Reset

Lockout Relay ของเมนบัส)

ii. ดําเนินการจายไฟ ตามวิธีปฏิบัติการสั่งการฯ การซอมแซม/บํารุงรักษาเมนบัส 22/33 kV

(ข้ันตอนการจายไฟหลังการบํารุงรักษา)

e. Fault ใน Feeder 22/33 kV ดําเนินการจายไฟ ตามวิธีปฏิบัติการสั่งการฯ การซอมแซม/

บํารุงรักษาใน Feeder 22/33 kV (ข้ันตอนการจายไฟหลังการบํารุงรักษา) ตามแตชนิดของ

อุปกรณตนทางท่ีจายไฟให Feeder 22/33 kV

-218-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

11)จากขอ 5) กรณี Fault ในสวนของ กฟผ.

a. ตรวจสอบสาเหตุและระยะเวลาการแกไขจาก ศูนย กฟผ. ท่ีเก่ียวของ

b. กรณีท่ี กฟผ. ตรวจพบสาเหตุและคาดวาตองใชระยะเวลาแกไขเปนเวลานาน ดําเนินการวางแผน

สภาพการจายไฟ และดําเนินการถายเทโหลด เพ่ือใหเกิดความม่ันคงแกระบบของ PEA บริเวณ

ดังกลาว

c. กรณีท่ี กฟผ. พรอมทดลองจายไฟ ประสานงานกับ กฟผ. เพ่ือดําเนินการทดลองจายไฟ และ

ดําเนินยายโหลดกลับมารับไฟตามสภาพปกติ

-219-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6.4 หลักการสั่งการเพ่ือกูคืนโหลด หลังจากเกิดกระแสไฟฟาขัดของในระบบไฟฟา นิยาม (ใชเฉพาะบทนี้)

- โหลดท่ีเกิดไฟดับ หมายถึง สถานีไฟฟา(โหลดหมอแปลง TP/KT) ผูใชไฟฟาระบบ 115/22/33 kV ผูผลิตไฟฟาเอกชนรายเล็ก/รายเล็กมาก (SPP/VSPP) ท่ีไดรับผลกระทบเกิดไฟฟาดับ เนื่องจากเกิด Fault ในระบบ และอุปกรณปองกัน Trip Lockout

- สถานีฯ ตนทาง คือ สถานีไฟฟา ท่ีจะดําเนินการยายโหลดท่ีเกิดไฟดับ ไปรับไฟ - อุปกรณ ฯ ตนทาง คือ อุปกรณไฟฟา ท่ีจะยายโหลดท่ีเกิดไฟดับ ไปรับไฟ เชน หมอแปลง CT

สายสง สายจําหนาย อุปกรณตัดตอน เปนตน จากหลักการแกไขกระแสไฟฟาขัดของ ขอ 5) หลังจากตรวจสอบพบ Section/อุปกรณท่ีเกิด

Fault แลว ตองดําเนินการจายโหลด หรือ ยายโหลดท่ีไมเก่ียวของไปรับไฟจากสถานีฯ ขางเคียง โดยมีข้ันตอนดังตอไปนี้ 1) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอนท่ีเชื่อมตอกับ Section/อุปกรณท่ีเกิด Fault อยูในสถานะ “ปลด” พรอม

ท้ังมีการแขวน Tag หามควบคุม

2) ประเมินวิธีการยายโหลด ท่ีมีข้ันตอนนอยท่ีสุดและอยูในมาตรฐานความปลอดภัย โดยเม่ือยายโหลด

ไปแลว คาพารามิเตอรตางๆ ตองอยูบนเง่ือนไข ดังนี้

a. ระดับแรงดันไฟฟา ตองอยูในเกณฑมาตรฐาน

b. ปริมาณโหลด ปริมาณกระแสไฟฟา ตองไมเกินพิกัดอุปกรณ ในระบบ

3) วิธีการยายโหลดท่ีเปนไปไดท้ังหมด

a. ยายโหลดผานระบบ 115 kV

b. ยายโหลดผานระบบ 22/33 kV (ฟดเดอรระบบจําหนาย)

c. ยายโหลดโดยรับไฟจากหมอแปลงอีกเครื่องหนึ่ง ในสถานีฯ เดียวกัน (กรณี Fault บริเวณ

หมอแปลง)

ท้ังนี้ ในเหตุการณ Fault 1 เหตุการณ สามารถพิจารณายายโหลดไดมากกวา 1 วิธี โดยพิจารณาตามความเหมาะสม และเปนไปตามเง่ือนไขในขอ 2) โดยสามารถจําแนกวิธีการในการยายโหลด ตาม Section/อุปกรณ ท่ีเกิด Fault ไดดังนี้

-220-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3.1 การยายโหลด เม่ือเกิด Fault ในระบบ 115 kV เชน Fault ในสายสง, Fault บริเวณบัส 115 kV หรือ Fault ท่ีแหลงจาย 115 kV ของ กฟผ. 3.1.1 กรณียายโหลดผานระบบ 115 kV

1) ตรวจสอบพิกัดอุปกรณฯ ตนทาง ตองสามารถรับภาระโหลด หลังจากการยายโหลด

ระบบ 115 kV ไปรับได (หากอุปกรณฯ ตนทาง ไมสามารถรับภาระโหลดดาน 115 kV ได

ท้ังหมด พิจารณาลดโหลด โดยการยายโหลดบางสวน ผานระบบจําหนาย 22/33 kV)

2) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอน ตนทาง (Tie Switch) ท่ีสามารถสับจายไฟใหโหลดท่ีเกิด

ไฟดับ ตองไมอยูในสถานะหามควบคุม/หามสับ

a. กรณีอุปกรณตัดตอน คือ Air break Switch ตองควบคุมมิใหกระแส Charging Current ขณะสับ เกินพิกัด Air Break Switch ดังกลาว โดยดําเนินการดังนี้ i. ตรวจสอบชนิด คุณสมบัติ Air break Switch และความยาวสายสงท่ีสามารถ

สับจายไฟได ii. ปลดเบรกเกอร Incoming ของโหลดท่ีเกิดไฟดับออก เชน เบรกเกอร

Incoming ของสถานีไฟฟา, เบรกเกอรตัวแรกของผูใชไฟระบบ 115 kV เปนตน เพ่ือเปนการลดโหลดขณะสับ Air Break Switch ใหใกลเคียงศูนย

3) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทางท่ีใกลกับโหลดท่ีเกิดไฟดับ

มากท่ีสุด

4) *ดําเนินการลดโหลดขณะสับจายไฟ ของหมอแปลง TP (ท่ีเกิดไฟดับ) ใหเปนศูนย เพ่ือ

ลดความเสี่ยง ท่ีจะทําใหหมอแปลง TP Trip Lockout ขณะสับจายโหลด เนื่องจากผล

ของ Inrush Current โดยดําเนินการดังนี้

i. ปลดอุปกรณปองกัน Incoming/Outgoing 22/33 kV ii. ตั้ง Manual OLTC ของหมอแปลง TP ดังกลาว

5) สับอุปกรณตัดตอน ตนทาง ในขอ 2 เพ่ือจายไฟใหแกโหลดท่ีเกิดไฟดับ

6) กรณีอุปกรณตัดตอน คือ Air break Switch หลังจากสับ Air Break Switch Charge

Line แลว ดําเนินการสับเบรกเกอร Incoming ของสถานีไฟฟา, แจงผูใชไฟ 115 kV

เพ่ือรับไฟตามปกติ

7) ดําเนินการสับจายโหลดหมอแปลง TP ในขอ 4) ตามสภาพปกติ โดยดําเนินการดังนี้

-221-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

i. สับอุปกรณปองกัน Incoming/Outgoing 22/33 kV เพ่ือจายโหลด (**ควรควบคุมปริมาณกระแสขณะสับจายโหลด ใหไมเกิน 80% ของกระแสพิกัด หมอแปลง TP เพ่ือเปนการรักษาอายุการใชงานของหมอแปลง)

ii. ตั้ง Auto OLTC ของหมอแปลง TP ดังกลาว 8) ตรวจสอบปริมาณโหลดสถานีฯ ตนทาง มีการเปลี่ยนแปลง

9) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกันตนทาง ในขอ 3)

หมายเหตุ *,** ศูนยควบคุมการจายไฟฟา พิจารณาดําเนินการตามความเหมาะสม สภาพการจายไฟ ฯลฯ

3.1.2 กรณียายโหลดสถานีไฟฟา ผานระบบจําหนาย 22/33 kV 1) ปลดเบรกเกอร Incoming ระบบ 22/33 kV และแขวนปายหามควบคุม/หามสับ

2) ปลด Capacitor Bank ระบบ 22/33 kV ท่ีสถานีไฟฟา และดําเนินการตั้ง Manual

Capacitor Bank ดังกลาว

3) ตรวจสอบพิกัดอุปกรณของฟดเดอร ตนทาง และหมอแปลงสถานีฯ ตนทาง ตอง

สามารถรับภาระโหลดฟดเดอรท่ีเกิดไฟดับ หลังจากยายโหลดไปแลวได

4) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอน หรือ Tie Switch ทีใชสับจายไฟใหฟดเดอรท่ีเกิดไฟดับ ตอง

ไมอยูในสถานะหามควบคุม/หามสับ

5) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ฟดเดอรตนทาง ท่ีตําแหนงอยูใกลท่ีสุด

6) สับอุปกรณตัดตอน ในขอ 3) เพ่ือจายโหลดใหฟดเดอรท่ีเกิดไฟดับ และตรวจสอบ

ปริมาณโหลดฟดเดอร ตนทางมีการเปลี่ยนแปลง

7) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ในขอ 3)

3.2 การยายโหลด เม่ือเกิด Fault บริเวณหมอแปลงกําลัง

3.2.1 Fault บริเวณหมอแปลง TP (กรณีเกิด Fault ท่ีหมอแปลง TP1 และยายโหลดรับไฟจาก TP2) 1) ตรวจสอบปริมาณโหลดรวมของ TP1 และ TP2 ไมควรเกิน 80% ของพิกัด MVA ของ

หมอแปลง TP2 (หากเกิน 80% ของพิกัด MVA หมอแปลง TP2 พิจารณาลดโหลด

โดยการยายโหลดบาง Feeder ผานระบบจําหนาย 22/33 kV)

-222-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2) ตรวจสอบ Capacitor Bank ระบบ 22/33 kV ท่ีรับไฟจาก TP1 อยูในสถานะ “ปลด”

และดําเนินการตั้ง Manual Capacitor Bank ดังกลาว

3) ตรวจสอบ Circuit Breaker Tie Bus ตองไมมีปายหามสับ/หามควบคุม

4) ตรวจสอบตําแหนง Truck ของ Circuit Breaker Tie Bus (กรณีเปนสถานีแบบ

Vacuum Indoor Type) อยูในตําแหนง In service หรือ ตรวจสอบสวิตซใบมีดครอม

หัวทาย Circuit Breaker Tie Bus อยูในสถานะ “สับ” (กรณีท่ีเปนสถานีแบบ GIS

Indoor Type / Outdoor Type)

5) สับ Circuit Breaker Tie Bus จายไฟใหโหลด TP1 ท่ีเกิดไฟดับ

6) ตรวจสอบปริมาณโหลดท่ีหมอแปลง TP2 และ ท่ีเบรกเกอรรหัส 0BVB-01 มีการ

เปลี่ยนแปลง

3.2.2 Fault ท่ีหมอแปลง KT ของ กฟผ. 1) ประสานงาน กฟผ. เพ่ือขอยายโหลดรับไฟจากหมอแปลง KT อีกเครื่องหนึ่ง

2) กรณี กฟผ. พิจารณาแลวสามารถยายโหลดรับไฟจากหมอแปลง KT อีกเครื่องหนึ่งได *

a. ตรวจสอบ Capacitor Bank ระบบ 22/33 kV ท่ีรับไฟจาก KT เครื่องท่ีเกิดไฟดับ

อยูในสถานะ “ปลด” และดําเนินการตั้ง Manual Capacitor Bank ดังกลาว

b. ตรวจสอบ Circuit Breaker Tie Bus ตองไมมีปายหามควบคุม

c. ตรวจสอบตําแหนง Truck ของ Circuit Breaker Tie Bus (กรณีเปนสถานีแบบ

Vacuum Indoor Type) อยูในตําแหนง In service หรือ ตรวจสอบสวิตซใบมีด

ครอมหัวทาย ของ Circuit Breaker Tie Bus (กรณีท่ีเปนสถานีแบบ GIS Indoor

Type / Outdoor Type) อยูในสถานะ “สับ”

d. สับ Circuit Breaker Tie Bus เพ่ือจายไฟใหโหลดท่ีเกิดไฟดับ

e. ตรวจสอบปริมาณโหลดมีการเปลี่ยนแปลง

*หมายเหตุ กรณีท่ี กฟผ. แจงวาหมอแปลง KT ท่ีจะยายโหลดไปรับไฟ สามารถรับโหลดไดบางสวน ตองดําเนินการลดโหลด โดยการยายโหลดบาง Feeder ไปรับไฟจากสถานีฯ ขางเคียง ผานระบบจําหนาย 22/33 kV

-223-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3.3 การยายโหลดเม่ือเกิด Fault บริเวณ บัสระบบ 22/33 kV 1) ตรวจสอบเบรกเกอรท่ีติดบัสระบบ 22/33 kV ดังกลาวอยูในสถานะ “ปลด” และแขวนปาย

หามควบคุม

2) ดําเนินการยายโหลดแตละฟดเดอรท่ีเกิดไฟดับ รับไฟจากฟดเดอรขางเคียงผานระบบจําหนาย

a. ตรวจสอบพิกัดอุปกรณของฟดเดอร ตนทาง และหมอแปลงสถานีฯ ตนทาง ตองสามารถ

รับภาระโหลด หลังจากยายโหลดไปแลวได

b. ตรวจสอบอุปกรณตัดตอน หรือ Tie Switch ทีใชสับจายไฟใหฟดเดอรท่ีเกิดไฟดับ ตองไม

อยูในสถานะหามควบคุม/หามสับ

c. Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ฟดเดอรตนทาง ท่ีตําแหนงอยูใกลท่ีสุด

d. สับอุปกรณตัดตอน ในขอ b. เพ่ือจายโหลดใหฟดเดอร และตรวจสอบปริมาณโหลดฟด

เดอร ตนทางมีการเปลี่ยนแปลง

e. On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ในขอ c.

3.4 การยายโหลดเม่ือเกิด Fault ภายในระบบจําหนาย 22/33 kV

3.4.1 กรณี Feeder Section ท่ีเกิดไฟดับ อยูดาน Load ของ Section/อุปกรณท่ีเกิด Fault 1) ตรวจสอบพิกัดอุปกรณของฟดเดอร ตนทาง และหมอแปลงสถานีฯ ตนทาง ตอง

สามารถรับภาระโหลด หลังจากยายโหลดไปแลวได

2) ตรวจสอบอุปกรณตัดตอน หรือ Tie Switch ทีใชสับจายไฟให Feeder Section ท่ี

เกิดไฟดับ ตองไมอยูในสถานะหามควบคุม

3) Off Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ฟดเดอรตนทาง ท่ีตําแหนงอยูใกลท่ีสุด

4) สับอุปกรณตัดตอน ในขอ 3 เพ่ือจายโหลดให Feeder Section และตรวจสอบ

ปริมาณโหลดฟดเดอร ตนทางมีการเปลี่ยนแปลง

5) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ในขอ 3)

3.4.2 กรณี Feeder Section ท่ีเกิดไฟดับ อยูดาน Source ของ Section/อุปกรณท่ีเกิด Fault 1) Off Auto Reclosing Relay อุปกรณปองกันตนทางของ Feeder Section ท่ีเกิดไฟดับ

2) สับเบรกเกอร Outgoing จายไฟใหแก Feeder Section ท่ีเกิดไฟดับ

3) On Auto Reclosing Relay ของอุปกรณปองกัน ตามขอ 1)

-224-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6.5 หลักการตอลงดินเพ่ือปฏิบัติงานในระบบไฟฟา การตอลงดิน (Grounding) คือ การตออุปกรณไฟฟาเขากับจุดท่ีมีศักยไฟฟาเปนศูนย หรือดิน

(Ground) เพ่ือทําใหศักยไฟฟาของอุปกรณไฟฟานั้นๆ เทากับดิน หรือศักยไฟฟาเปนศูนย โดยการตอลงดินถูกนํามาใชในการปฏิบัติงานซอมแซม/บํารุงรักษาอุปกรณในระบบไฟฟา หรือการปฏิบัติงานใดๆ ก็ตาม ท่ีมีการดับไฟปฏิบัติงานท่ีตัวอุปกรณไฟฟา เชน เบรกเกอร, เมนบัส, หมอแปลง, ในสายสงหรือฟดเดอร ฯลฯ เพ่ือความปลอดภัยตอผูปฏิบัติงาน ปองกันอันตรายจากการเกิดแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําจากวงจรหรืออุปกรณไฟฟาขางเคียง การเกิดลัดวงจรในระบบไฟฟาขางเคียง ปรากฏการณฟาผา เปนตน

ลักษณะของการตอลงดิน แบงเปน 3 ลักษณะ คือ ก. การตอลงดินในสถานีไฟฟา

- การสับกราวดสวิตซท่ีติดตั้งไวอยูแลว

- การตอ Ground Clamp (หรือสายลีดทองแดง) ระหวางอุปกรณกับ Ground Grid ของ

สถานีไฟฟา

ข. การตอลงดินนอกสถานีไฟฟา(ในสายสง/ระบบจําหนาย)

- การตอกแทง Ground Rod

การปฏิบัติงานในระบบกําลังไฟฟาของ PEA มีหลักการตอลงดิน ดังตอนี้ 1. ศูนยควบคุมการจายไฟฟา ดําเนินการสั่งการเพ่ือดับไฟอุปกรณไฟฟาท่ีจะมีการปฏิบัติงานซอมแซม/

บํารุงรักษา

2. หนวยงานแกไข/ซอมแซม/บํารุงรักษา ประสานงานกับศูนยควบคุมการจายไฟ วาดําเนินการดับไฟแลว

เสร็จ และใช Voltage Detector ตรวจสอบแรงดันไฟฟาท่ีจุดปฏิบัติงานเปนตองศูนยท้ัง 3 เฟส

3. หนวยงานแกไข/ซอมแซม/บํารุงรักษา ทําการตอลงดิน ท่ีหัว-ทาย ใกลกับจุดปฏิบัติงาน ไมวาจุด

ปฏิบัติงานอยูภายนอกสถานีไฟฟา (เชน สายสง, ฟดเดอร) หรือภายในสถานีไฟฟา(เชน เบรกเกอร,

หมอแปลง, เมนบัส ฯลฯ) โดยจุดท่ีทําการตอลงดินนั้นตองตรวจสอบแลวไมมีไฟ และลักษณะการตอ

ลงดิน จะใชวิธีตามขอ ก. หรือ ข. ตามความเหมาะสม และสภาพหนางาน โดยมีรายละเอียดเพ่ิมเติม

ดังนี้

3.1 กรณีท่ีมีการปฏิบัติงานกับอุปกรณภายในสถานีไฟฟาระบบ 115 kV แบบ GIS Indoor Type

เชน H Scheme, Double Bus Single Breaker การตอลงดินใชวิธีการสับกราวดสวิตซซ่ึงถูก

ติดตั้งไวหลายตําแหนงในสถานีไฟฟา

-225-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3.2 กรณีท่ีมีการปฏิบัติงานกับอุปกรณภายในสถานีไฟฟาระบบ 115/22/33 kV แบบ Outdoor

Type (ลานไก) เชน Main & Transfer การตอลงดินใชวิธีการตอ Ground Clamp (หรือสายลีด

ทองแดง) ระหวางอุปกรณท่ีจะปฏิบัติงานกับ Ground Grid ของสถานี หรือใชรวมกับวิธีสับ

กราวดสวิตซท่ีติดตั้งไวอยูแลว ตามความเหมาะสม

3.3 กรณีท่ีมีการปฏิบัติงานกับอุปกรณภายในสถานีไฟฟาระบบ 22/33 kV แบบ Indoor Type การ

ตอลงดินใชวิธีการสับกราวดสวิตซของไลน Incoming และ Outgoing ซ่ึงติดตั้งไวท่ีสถานีฯ ท้ังนี้

กอนสับกราวดสวิตซดังกลาว ตองตรวจสอบยืนยันวาไมมีไฟ ณ บริเวณท่ีสับกราวดสวิตซ เชน

การสับกราวดสวิตซไลน Outgoing 22/33 kV กอนการสับกราวดสวิตซฯ ตองปลดเบรกเกอรท่ี

จายไฟใหไลน Outgoing ดังกลาว และปลดสวิตซใบมีดตน Riser Pole ดวย

3.4 กรณีท่ีมีการปฏิบัติงานภายในฟดเดอรระบบจําหนาย 22/33 kV ใน Section ท่ีใกลสถานีไฟฟา

นอกเหนือจากการตอลงดินโดยตอกแทง Ground Rod ท่ีหัว-ทายจุดปฏิบัติงานแลว ตอง

ดําเนินการปลดสวิตซใบมีดตน Riser Pole ของระบบจําหนายฟดเดอรนั้นๆ ออกดวย

3.5 กรณีท่ีมีการปฏิบัติงานภายในสายสงระบบ 115 kV นอกเหนือจากการตอลงดินโดยตอกแทง

Ground Rod ท่ีหัว-ทาย จุดปฏิบัติงาน หากหนวยงานแกไข/ซอมแซม/บํารุงรักษา รองขอใหมี

การสับกราวดสวิตซของสายสงระบบ 115 kV ท่ีสถานีไฟฟา เพ่ือเพ่ิมความปลอดภัยของ

ผูปฏิบัติงานอีกชั้นหนึ่ง พนักงานศูนยฯ สามารถแจงสวนเก่ียวของเพ่ือสับกราวดสวิตซของสายสง

ท่ีสถานีฯ ใหได แตมีขอควรระวัง คือสถานีฯ ระบบ 115 kV ท่ีตําแหนงของกราวดสวิตซอยู

ครอม CT ของ Bus Differential Relay อยางเชน สถานีฯ ท่ีจัดบัสแบบ Main and Transfer

(บางสถานีฯ) หรือ Double main & Transfer (บางสถานีฯ) ซ่ึงแสดงดังรูปท่ี 1 และรูปท่ี 2

กอนดําเนินการสับกราวดสวิตซตองดําเนินการ Block วงจร CT ของ Bus Differential Relay

ใน Bay สายสงท่ีมีการปฏิบัติงานกอน เพ่ือปองกันการทํางานผิดพลาดของระบบปองกัน Bus

Differential Relay ตามรายละเอียดขอ 3.5.1 และ 3.5.2

-226-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

รูปท่ี 1 แสดง Wiring Diagram ของ Bus Differential Relay สถานีฯ จัดบัสแบบ Main and

Transfer Bus (บางสถานีฯ)

รูปท่ี 2 แสดง Wiring Diagram ของ Bus Differential Relay สถานีฯ จัดบัสแบบ Double Mains and Transfer Bus (บางสถานีฯ)

-227-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

การสับกราวดสวิตซท่ีสถานีไฟฟาท่ีมี Wiring วงจร CT แบบดังกลาว เพ่ือดับไฟปฏิบัติงานในไลนสายสง โดยท่ีมิได Block วงจร CT อาจกอใหเกิดการทํางานผิดพลาดของระบบปองกัน Bus Differential Relay ในกรณีดังตอไปนี้

3.5.1 กรณีสับกราวดสวิตซดานเดียวของสายสงท่ีตองการบํารุงรักษา

รูปท่ี 3 ผลของกระแสเหนี่ยวนําหรือแรงดันฟาผากรณีสับกราวดสวิตซดานเดียว

จากรูปท่ี 3 หากเกิดกระแสแปลกปลอมในไลนสายสง เชน เกิดการลัดวงจรในระบบ 22/33 kV ใตไลนสายสงหรือเกิดการลัดวงจรในไลนสายสง 115 kV ท่ีวงจรซอนกับสายสงท่ีตองการบํารุงรักษา หรือเกิดฟาผาลงสายสงท่ีตองการบํารุงรักษาโดยตรง กระแสท่ีเกิดข้ึนดังกลาวอาจทําให CT ของ Bus Differential Relay ตรวจจับได และเบรกเกอรท่ีสถานีฯ Trip Lockout ดวย Bus Differential Relay

3.5.2 กรณีสับกราวดสวิตซสองดานของสายสงท่ีตองการบํารุงรักษา a. ผลของกระแสกราวดฟอลทจากจุดท่ีเกิดฟอลทภายนอกสายสง

รูปท่ี 4 ผลของกระแสกราวดฟอลทจากจุดท่ีเกิดฟอลทภายนอกกรณีสับกราวดสวิตซสองดาน

-228-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

จากรูปท่ี 4 กระแสกราวดฟอลทจากจุดท่ีเกิดฟอลทภายนอกสายสง อาจทําให CT ของ Bus Differential Relay ตรวจจับได และ เบรกเกอรท่ีสถานีฯ AAA และสถานีฯ BBB Trip Lockout ดวย Bus Differential Relay

b. ผลของกระแสเหนี่ยวนําหรือแรงดันฟาผา

รูปท่ี 5 ผลของกระแสเหนี่ยวนําหรือแรงดันฟาผากรณีสับกราวดสวิตซสองดาน

จากรูปท่ี 5 หากเกิดการลัดวงจรในระบบ 22/33 kV ใตไลนสายสง หรือเกิดลัดวงจรในไลน

สายสง 115 kV ท่ีวงจรซอนกับสายสงท่ีตองการบํารุงรักษา ซ่ึงทําใหเกิดกระแสเหนี่ยวนําในสายสง หรือการเกิดฟาผาลงสายสงท่ีตองการบํารุงรักษาโดยตรง กระแสท่ีเกิดข้ึนดังกลาวอาจทําให CT ของ Bus Differential Relay ตรวจจับได และเบรกเกอรท่ีสถานีฯ AAA และสถานีฯ BBB Trip Lockout ดวย Bus Differential Relay

-229-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6.6 หลักการ By Pass อุปกรณตางๆ ในระบบไฟฟา 1. การ By Pass AVR

1.1 ข้ันตอนการ By Pass AVR 1) ตรวจสอบ Recloser ปองกัน AVR อยูในสถานะ “สับ” และไมมีปายหามควบคุม/หามปลด 2) ปรับสวิตชท่ีตูควบคุม AVR (Relay ปรับแรงดัน) จากตําแหนง Auto มาอยูในตําแหนง

“Manual” 3) ปรับ Tap ของ AVR ลงมาอยูในตําแหนง “Tap 1” 4) สับสวิตซ BY-PASS

a. กรณีสวิตซ BY-PASS เปน Load Break Switch แจงชุดปฏิบัติงานสับสวิตซ BY-

PASS พรอมท้ังตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง“สับ”

b. กรณีสวิตซ BY-PASS เปน Air Break Switch แจงชุดปฏิบัติงานสับสวิตซ BY-PASS

พรอมท้ังตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง“สับสนิท”ท้ัง 3 เฟส

c. กรณี สวิตซ BY-PASS เปนสวติซใบมีด

i. Off Ground Relay ของ Recloser (Ground Trip Block)

ii. สับสวิตซ BY-PASS พรอมท้ังตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง

“สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

iii. On Ground Relay ของ Recloser (Ground Trip Block)

5) ปลด Recloser ปองกัน AVR พรอมตรวจสอบอยูในสถานะ “ปลด” 6) ปลดสวิตซใบมีดดาน Load ของ AVR พรอมท้ังตรวจสอบอยูในสถานะ “ปลด” 3 เฟส

1.2 ข้ันตอนการนํา AVR เขาใชงานในระบบ

1) ตรวจสอบ Tap ของ AVR อยูในตําแหนง “Tap 1” 2) ตรวจสอบสวิตชของชุดรีเลยปรับแรงดันท่ีตูควบคุม AVR อยูในตําแหนง Manual 3) ตรวจสอบสถานะของ Recloser อยูในตําแหนง “ปลด” 4) ตรวจสอบฟงกชั่น Auto Reclose ของ Recloser อยูในสถานะ Off 5) สับสวิตซใบมีดดาน Source และ Load ของ AVR พรอมตรวจสอบสถานะสวิตซใบมีดอยู

ในตําแหนง “สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส 6) สับ Recloser ปองกัน AVR พรอมตรวจสอบสถานะ Recloser อยูในสถานะ “สับ” 7) ปลดสวิตซ BY-PASS

-230-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

a. กรณีสวิตซ BY-PASS เปน Load Break Switch แจงชุดปฏิบัติงานปลดสวิตซ BY-

PASS พรอมท้ังตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง“ปลด”

b. กรณีสวิตซ BY-PASS เปน Air Break Switch ปลดสวิตซ BY-PASS พรอมตรวจสอบ

สถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง “ปลด” ท้ัง 3 เฟส

c. กรณีสวิตซ BY-PASS เปนสวติซใบมีด

i. ตรวจสอบ Ground Relay ของ Recloser อยูในสถานะ Off (Ground Trip

Block )

ii. ปลดสวิตซ BY-PASS พรอมตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง

“ปลด” ท้ัง 3 เฟส

iii. On Ground Relay ของ Recloser

8) ปรับสวิตชของชุดรีเลยปรับแรงดันท่ีตูควบคุม AVR จากตําแหนง Manual มาอยูในตําแหนง “Auto” ตามปกติ และรอเวลาให Tap เลื่อนไปอยูในตําแหนงปกติ

2. การ By Pass Recloser

2.1 ข้ันตอนการ By Pass Recloser 1) ตรวจสอบ Recloser อยูในสถานะ “สับ” และไมมีปายหามควบคุม/หามปลด 2) สับสวิตซ BY-PASS

a. กรณีสวิตซ BY-PASS เปน Load Break Switch แจงชุดปฏิบัติงานสับสวิตซ BY-

PASS พรอมท้ังตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง“สับ”

b. กรณีสวิตซ BY-PASS เปน Air Break Switch แจงชุดปฏิบัติงานสับสวิตซ BY-PASS

พรอมท้ังตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง“สับสนิท”ท้ัง 3 เฟส

c. กรณี สวิตซ BY-PASS เปนสวติซใบมีด

i. Off Ground Relay ของ Recloser (Ground Trip Block)

ii. สับสวิตซ BY-PASS พรอมท้ังตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง

“สับสนิท” ท้ัง 3 เฟส

iii. On Ground Relay ของ Recloser (Ground Trip Block)

3) ปลด Recloser ปองกัน AVR พรอมตรวจสอบอยูในสถานะ “ปลด”

-231-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2.2 ข้ันตอนการนํา Recloser เขาใชงานในระบบ 1) ตรวจสอบสถานะของ Recloser อยูในตําแหนง “ปลด” 2) ตรวจสอบฟงกชั่น Auto Reclose ของ Recloser อยูในสถานะ Off 3) ตรวจสอบสวิตซใบมีดดาน Source และ Load ของ Recloser อยูในสถานะ “สับสนิท”

ท้ัง 3 เฟส 4) สับ Recloser พรอมตรวจสอบสถานะ Recloser อยูในสถานะ “สับ” 5) ปลดสวิตซ BY-PASS

a. กรณีสวิตซ BY-PASS เปน Load Break Switch แจงชุดปฏิบัติงานปลดสวิตซ BY-

PASS พรอมท้ังตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง“ปลด”

b. กรณีสวิตซ BY-PASS เปน Air Break Switch ปลดสวิตซ BY-PASS พรอมตรวจสอบ

สถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง “ปลด” ท้ัง 3 เฟส

c. กรณีสวิตซ BY-PASS เปนสวติซใบมีด

i. ตรวจสอบ Ground Relay ของ Recloser อยูในสถานะ Off (Ground Trip

Block )

ii. ปลดสวิตซ BY-PASS พรอมตรวจสอบสถานะสวิตซ BY-PASS อยูในตําแหนง

“ปลด” ท้ัง 3 เฟส

iii. On Ground Relay ของ Recloser

-232-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

ภาคผนวก

-233-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

1. รายช่ือผูจัดทําวิธีปฏิบัติการสั่งการควบคุมการจายไฟ

สําหรับอุปกรณระบบ 115 เควี และหลักปฏิบตัิตางๆ ที่เกี่ยวของ

ลําดับ ชื่อ สกุล ตําแหนงและสังกัด

1 นายชัยวุฒ ิ ศรีชะฎา ชผ.คฟ. กคร.(ต1)

2 นายรุงโรจน ชวยอุระชน ชผ.วภ. กวบ.(ต1)

3 นายน้ําเหือง จันทรมณี ชผ.จฟ. กคร.(ต1)

4 นายบุญรัตน ไมแกว หผ.ปร. กคร.(ต1)

5 นายพิชิต บุญหลอ วศก.7 ผคฟ. กคร.(ก1)

6 นายนวพันธุ คมขํา วศก.6 ผคฟ. กคร.(ก1)

7 นายมาโนช ปะวารี วศก.7 ผจฟ. กคร.(ก1)

8 นายฐนกร ปฐมรัตนหิรัญ พชง.7 ผปร. กคร.(ก1)

9 นางดวงใจ สรณสุขสวัสดิ์ วศก.7 ผคก.3(ก) กคก.

10 นายสุกิจ ทองใบ วศก.5 ผคฟ. กคร.(ก2)

11 นายฤชุชัย คชวัฒน วศก.7 ผปร. กคร.(ก2)

12 นายเลอพงศ แกนจันทร ชผ.คฟ. กคร.(ก.3)

13 นายวิรุจน โสวิภา พชง.7 ผคฟ. กคร.(ก3)

14 นายกฤษณะศักดิ์ รักเนตรสาคร วศก.4 ผคฟ. กคร.(ก3)

15 นายณัฐกาญจน รมโพธิ์ทอง พชง.4 ผคฟ. กคร.(ก3)

16 นายธีรธร แสนศักดิ์ วศก.7 ผคฟ. กคร.(น3)

17 นายสิทธิชัย นุชสวาท พชง.5 ผคฟ. กคร.(น3)

18 นายอนุวัฒน เรียบเจริญ พชง.5 ผปร. กคร.(น3)

19 นายชนินทร จันโทคํา พชง.5 ผปร. กคร.(น3)

20 นายอามิน สะนู วศก.7 ผปฟ. ศสฟ.

21 นายนุวัติ แซลิ่ง วศก.6 ผปฟ. ศสฟ.

22 นายวัฒณิฐ ออนหยับ หผ.ปฟ. ศสฟ.

-234-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2. ตัวอยางขอมูลดานเทคนิคของอุปกรณตางๆ ในระบบ 115 kV 1. Circuit Breaker Data

รูปท่ี 1 Circuit Breaker

Data 1. Nominal voltage (kV) 115 2. Maximum voltage rating (kV) 123 3. Power frequency (Hz) 50 4. Number of phases 3 5. Rated normal current (A)

- Line bays - Coupler bays - Transformer bays

2000 2000 2000

6. Rated short circuit breaking current in 1second at 115 kV: (kA r.m.s.)

- Switching station - Substation

Not less than 40 Not less than 31.5

7. Rated total time (closing or breaking) Not more than 60 ms 8. Operating mechanism for closing and opening Spring 9. Type of tripping Three-pole

-235-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2. Disconnecting Switch Data

รูปท่ี 2 Disconnecting Switch

Data 1. Nominal voltage (kV) 115 2. Maximum voltage rating (kV) 123 3. Power frequency (Hz) 50 4. Number of phases 3 5. Rated current (A) - Line - Coupler and transfer bays - Transformer bays

2000 2000 2000

6. Rated short time withstand current in 1 second (kA r.m.s.) - Switching station - Substation

40

31.5 7. Operating mechanism - Main blade - Earthing blades

Three-pole/motor Three-pole/manual

-236-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3. 115 kV Transmission Line Data

(ก) Single Circuit Single Conductor (SS)

(ข) Single Circuit Double Conductor (SD)

รูปท่ี 3 แสดงสายสงระบบ 115 kV ของ PEA

-237-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

SS Data 1. Nominal voltage (kV) 115 2. Maximum voltage rating (kV) 123 3. Power frequency (Hz) 50 4. Number of phases 3 5. Rated current (kA) 0.855 6. Positive and Negative Sequence Impedance (Ohm/km) - R1 and R2 - X1 and X2

0.085811 0.36204

7. Zero Sequence Impedance (Ohm/km) - R0 - X0

0.25485 1.4223

8. Positive and Negative Sequence Susceptance (uS/km) - B1 and B2

3.216 9. Zero Sequence Susceptance (uS/km) - B0

1.549

SD Data 1. Nominal voltage (kV) 115 2. Maximum voltage rating (kV) 123 3. Power frequency (Hz) 50 4. Number of phases 3 5. Rated current (kA) 1.71 6. Positive and Negative Sequence Impedance (Ohm/km) - R1 and R2 - X1 and X2

0.042936 0.2677

7. Zero Sequence Impedance (Ohm/km) - R0 - X0

0.21347 1.3294

8. Positive and Negative Sequence Susceptance (uS/km) - B1 and B2

4.316 9. Zero Sequence Susceptance (uS/km) - B0

1.765

-238-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4. Current Transformer Data

รูปท่ี 4 หมอแปลงกระแส

CT Data 1. Nominal voltage (kV) 115 2. Maximum voltage rating (kV) 123 3. Power frequency (Hz) 50 4. Number of phases 3 5. Primary short circuit current IPSC (kA r.m.s.) - Switching station - Substation

40

31.5 6. Rated primary current (A)

400-200/1 A 1200-800/1 A 1800-1200/1 A 2000-1600/1 A

-239-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

5. Voltage Transformer Data

รูปท่ี 5 หมอแปลงแรงดัน

VT Data 1. Nominal voltage (kV) 115 2. Maximum voltage rating (kV) 123 3. Power frequency (Hz) 50 4. Number of phases 3 5. Primary short circuit current IPSC (kA r.m.s.) - Switching station - Substation

40

31.5 6. Rated Secondary Voltage (V) 115/115/ √3 // 115/115/ √3

7. Number of VT’s - Bus - Feeder

1 3

-240-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6. Power Transformer Data

รูปท่ี 6 หมอแปลงไฟฟากําลัง

Transformer Data 1. Nominal voltage (kV) 115 2. Maximum voltage rating (kV) 123 3. Rated Voltage (kV) - HV - LV

115

22 or 33 3. Power frequency (Hz) 50 4. Number of phases 3 5. Rated capacity (MVA) 15/20/25/30/40/50 6. Class ONAN/ONAF1/ONAF2

7. Vector group Dyn1 for 115-22 kV

or YNyn0(d1) for 115-33 kV

8. Load tap changer (rated voltage base) +10% to –10% on HV side 1.25% in each step

-241-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา

สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

7. Air Break Switch Data

รูปท่ี 7 Air Break Switch 115 kV

Air Break Switch Data 1. Nominal voltage (kV) 115 2. Maximum voltage rating (kV) 123 3. Rated continuous current (A) 1,200 4. Rated line-charging breaking current (A) 5 5. Rated no-load transformer breaking current (A) 5

6. Operating mechanism Three-pole operate Horizontal-opening

Group operated

-242-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

8. Surge Arrester Data

รูปท่ี 8 Surge ArresterSurge Arrester Data

1. Voltage Rating (Ur) (kVrms/Phase) 96 2. Maximum continous operating voltage (Uc) MCOV/COV (kVrms/Phase) 76

3. Maximum residual voltage with current wave 8/20 us, (kVpeak) 231

4. Classifying current (kApeak) 10 5. Discharge current withstand strength, High current 4/10 us (kApeak) 100

-243-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3. ตัวอยางขอมูลทางดานเทคนิคของอุปกรณตางๆ ในระบบ 22-33 kV

1. Circuit Breaker

รูปท่ี 1 Circuit Breaker

Description 22 kV 33 kV Rated voltage 24 kV 36 kV Rated short time breaking current 25 kA rms 25 kA rms Rated short circuit making current 63 kA peak 63 kA peak Rated duration of short circuit 1 sec 1 sec Rated total time break Not more than 70 ms

-244-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

2. Disconnecting Switch

รูปท่ี 2 Disconnecting Switch

Description 22 kV 33 kV Rated maximum (design) voltage 25.8 kV 38 kV Rated continuous current 600/630/1,200/

1,250/2,000 A 600/630/1,200/

1,250/2,000 A

Rated short-time withstand current 1 second 25 kA rms 25 kA rms Basic impulse insulation level (BIL) 150 kV peak 200 kV peak Rated 1 - min power-frequency withstand

voltage, dry

70 kV rms 95 kV rms

Rated 10-sec power-frequency withstand

voltage, wet

60 kV rms 80 kV rms

-245-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

3. Aluminum stranded conductor (AL)

รูปท่ี 3 Aluminum stranded conductor (AL)

-246-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4. Spaced Aerial Cable (SAC)

รูปท่ี 4 Spaced Aerial Cable (SAC)

-247-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

Description Unit Data

System voltage kV 22

Type of conductor - Aluminum

Nominal cross-sectional area mm

2

50 95 120 185

Current Rating A 180 270 315 410

Stranding - Compact stranded

Conductor Outside diameter + 1% mm 8.33 11.45 12.95 15.98

Calculated breaking strength Min. N 7,890 14,380 19,110 29,600

Volume resistivity of aluminium

wire at 20o

C Max. Ω-mm

2

/m 0.028264

DC resistance at 20

o

C Max. Ω/km 0.592 0.313 0.245 0.161

Conductor

Thickness, not less than Min. Average mm mm

0.0635 0.3

shield DC volume resistivity at 90

o

C Max. Ω-cm 50,000

Insulation Thickness mm 3.175

Jacket Thickness mm 3.175

Cable Overall outside diameter, approx. mm 22.0 25.2 26.7 29.7

Electrical AC test voltage for 5 minutes kV 38

test voltage DC test voltage for 5 minutes kV 100

-248-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

Description Unit Data

System voltage kV 33

Type of conductor - Aluminium

Nominal cross-sectional area mm

2

50 95 120 185

Current Rating A 180 270 315 410

Stranding - Compact stranded

Conductor Outside diameter + 1% mm 8.33 11.45 12.95 15.98

Calculated breaking strength Min. N 7,890 14,380 19,110 29,600

Volume resistivity of aluminium

wire at 20o

C Max. Ω-mm

2

/m 0.028264

DC resistance at 20

o

C Max. Ω /km 0.592 0.313 0.245 0.161

Conductor

Thickness, not less than Min. Average

mm mm

0.0635 0.3

shield DC volume resistivity at 90

o

C Max. Ω-cm 50,000

Insulation Thickness mm 4.445

Jacket Thickness mm 3.175

Cable Overall outside diameter, approx. mm 24.6 27.7 29.2 32.2

Electrical AC test voltage for 5 minutes kV 49

test voltage DC test voltage for 5 minutes kV 125

-249-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

5. UnderGround Cable (UG)

รูปท่ี 5 UnderGround Cable (UG)

Description Unit Required data

System voltage kV 22 33

Conductor

Type of conductor - Annealed copper

Nominal cross-

sectional area

mm2 50 240 400 50 240 400

Min. number of

wires - 6 34 53 6 34 53

Stranding - Compact round stranded

Outside diameter

+1% mm 8.33 18.47 23.39 8.33 18.47 23.39

DC resistance at

20oC Max. Ω/km 0.387 0.0754 0.0470 0.387 0.0754 0.0470

Conductor

screen

Material - Semi-conductive XLPE

Thickness, approx. mm 0.5

Overall diameter, approx. mm 30 42 48 35 47 55

-250-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

จํานวน กระแสท่ีกําหนดตอวงจร (แอมป) วงจร

ท้ังหมด ความลึกจากระดับดินถึงเคเบิล (เมตร)

ขนาดสาย 240 ต.มม. ขนาดสาย 400 ต.มม. 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5

1 402 384 374 367 362 510 485 470 462 456 2 342 320 310 302 296 430 402 387 378 370 3 302 280 270 262 257 378 350 336 327 320 4 281 258 246 240 234 350 320 307 297 290 5 260 237 226 220 214 323 295 280 272 265 6 245 223 212 205 200 305 277 263 254 248 7 233 210 200 193 188 290 262 248 240 233 8 221 200 190 183 178 275 248 235 227 220 9 212 190 180 175 170 263 237 224 216 210 10 204 184 174 168 163 253 228 215 207 201

-251-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

6. Current Transformer

รูปท่ี 6 หมอแปลงกระแส

Description 22 kV 33 kV Rated voltage 24 kV 36 kV Rated primary current (In) and secondary current

5/5, 10/5, 20/5, 30/5, 50/5, 75/5, 100/5, 150/5,

50-100/5, 75-150/5, 200/5, 300/5, 400/5,

500/5, 600/5 A

5/5, 10/5, 20/5, 30/5, 50/5, 75/5, 100/5,

150/5, 200/5, 300/5, 400/5 A

Polarity Subtractive Subtractive Rated output, not less than 20 VA or 30 VA 15 VA or 30 VA Accuracy class 0.5 - 1 or better 0.5 - 1 or better Instrument security factor (FS) < 5 < 5 Impulse withstand voltage, not less than

125 kV peak 170 kV peak

Rated short time thermal current (Ith), 1 sec, not less than

0.1 x In kA or 2.5 kA or 25 kA

0.1 x In kA or 2.5 kA or 25 kA

Rated dynamic current (Idyn), not less than

2.5 x Ith kA or 6.25 kA 2.5 x Ith kA or 6.25 kA

Insulation class of winding Class A Class A

-252-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

7. Voltage Transformer

รูปท่ี 7 หมอแปลงแรงดัน

Description 22 kV 33 kV Rated voltage 24 kV 36 kV Rated primary and secondary voltage

22,000/110 V 33,000/110 V

Rated frequency 50 Hz 50 Hz Polarity Subtractive Subtractive Rated output, not less than 30 VA 50 VA Accuracy class 0.5 or better 0.5 or better Voltage factor 1.2 continuous, 1.5 at

30 sec 1.2 continuous, 1.5 at

30 sec Impulse withstand voltage, not less than

125 kV peak 170 kV peak

Insulation class of winding Class A Class A

-253-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

8. Transformer

รูปท่ี 8 หมอแปลงไฟฟา

Description 22 kV 33 kV Primary voltage 22 kV 33 kV Secondary voltage 400/230 V Winding connection Dyn11 Basic impulse insulation

level (BIL), full wave 125 kV peak 170 kV peak

Power frequency withstand voltage

50 kV rms 70 kV rms

Tapping +/- 2 x 2.5% Rated capacity

1 Phase 3 Wire

10/20/30/50/100 kVA

3 Phase 4 Wire

30/50/100/160/250/315/400/500/1000/1250/1500/2500 kVA

-254-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

9. Air Break Switch

รูปท่ี 9 Air Break Switch

Description 22 kV 33 kV Rated continuous current 600 A 600 A Rated line-charging breaking current 10 A 10 A

-255-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

10. Load Break Switch SF6

รูปท่ี 10 Load Break Switch SF6

Description 22 kV 33 kV Rated maximum (design) voltage 24 kV 36 kV Continuous current, not less than 600 A 400 A Rated impulse withstand voltage, not less than 150 kV 170 kV Rated short time withstand current (1 sec) , not

less than 12.5 kA rms 10 kA rms

Rated short circuit making current, not less than 31.25 kV peak 25 kV peak

-256-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

11. Drop Cutout Fuse

รูปท่ี 11 Drop Cutout Fuse

Description 22 kV 33 kV Rated maximum (design) voltage 27 kV 27/34.5/38 kV Rated continuous current 100 or 200 A 100 or 200 A Rated asymmetrical interrupting current, not less than

10 kA rms 8 kA rms

Basic impulse insulation level (BIL), not less than

125 kV peak 150 kV peak

Min. normal-frequency dry test voltage,

terminal to ground

42 kV rms 70 kV rms

Min. creepage distance of porcelain insulator,

From live part to ground

610 mm 940 mm

Preferred sizes 6/10/15/25/40/65/100/140/200 A Non-Preferred sizes 8/12/20/30/50/80 A

-257-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

12. Recloser

รูปท่ี 12 Recloser

Description 22 kV 33 kV Rated voltage 24 kV 36 kV Rated continuous current, not less than 560 A 560 A Rated symmetrical interrupting current 12 kA rms 10 kA rms Rated impulse withstand voltage (BIL), not less than

125 kV peak 150 kV peak

1-minute low frequency withstand voltage, dry 60 kV rms 70 kV rms 10-seconds low frequency withstand voltage, wet

50 kV rms 60 kV rms

Creepage distance live part to ground, not less than

600 mm 900 mm

-258-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

13. Ring Main Unit (RMU)

รูปท่ี 13 Ring Main Unit (RMU)

Description 22 kV 33 kV Rated voltage 24 kV 36 kV Rated lightning impulse withstand voltage 125 kV peak 170 kV peak

Rated one-minute power frequency withstand voltage

50 kV rms 70 kV rms

Rated normal current

- cable feeder

- transformer feeder

600 A

200 A

400 A

200 A

Rated short-time current (1 sec), at rated voltage

16 kA 16 kA

Rated short-circuit making current, at rated voltage

40 kA peak 40 kA peak

-259-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

14. Surge Arrester

รูปท่ี 14 Surge Arrester

Description 22 kV 33 kV System grounding Solidly NGR Solidly Rated voltage, (Ur) 21 kV

rms/Phase 24 kV

rms/Phase 30 kV

rms/Phase Nominal discharge current (In) 5 or 10 kA peak 5 or 10 kA peak 5 or 10 kA peak Rated short-circuit current (Is) 10 or 20 kV rms 10 or 20 kV rms 10 or 20 kV rms Max. residual voltage, at nominal discharge current (Ures)

60 or 70 kV peak

68.5 or 80 kV peak

85.5 or 100 kV peak

High-current impulse withstand

65 or 100 kA peak

65 or 100 kA peak

65 or 100 kA peak

Line discharge Class 2 or Class 3 Virtual duration of peak 1,000/2,000/2,400 Creepage distance 600 mm 900 mm

-260-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

15. Gas Insulated Switchgear

รูปท่ี 15 Gas Insulated Switchgear

Description 22 kV 33 kV Rated voltage 24 kV 36 kV Rated short time withstand current in 1 second 25 kA rms Rated peak withstand current 63 kA rms Rated duration of short circuit 1 sec Power frequency withstand voltage - Phase to earth and between phases - Across isolate distance

50 kV 60 kV

70 kV 80 kV

Lightning impulse withstand voltage - Phase to earth and between phases - Across open switching devices and isolated distance

125 kV 145 kV

170 kV 195 kV

-261-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

16. Switching Capacitor

รูปท่ี 16 Switching Capacitor

Description 22 kV 33 kV Rated capacity 900 - 1,500 kVAR 900 - 1,500 kVAR Rated capacitive continuous and switching current, not less than

200 A 135 A

BIL, not less than 150 kV 200 kV

-262-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

17. Fixed Capacitor

รูปท่ี 17 Fixed Capacitor

Description 22 kV 33 kV

Rated capacity 100 kVAR Type Single-phase Number of bushing 2 1 Rated voltage 12.7 kV 19 kV Connection Star connection with floating neutral Basic impulse insulation level (BIL), full wave

95 kV peak 125 kV peak

Creepage distance, live part to ground

450 mm 660 mm

-263-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

18. Automatic Voltage Regulator (AVR )

รูปท่ี 18 Automatic Voltage Regulator (AVR )

Description 22 kV 33 kV Rated power/Rated current

5.7/150, 8/200, 12/300, 16/400 A 12/200, 18/300 A

Rated tertiary voltage 6.6 kV Vector group YNa0dl1 Full wave impulse withstand voltage of HV terminal bushings

125 kV peak 170 kV peak

Rated primary voltage Variation between + 4 x 1.25% and - 16 x 1.25% of the nominal system voltage

-264-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

19. Single phase Voltage Regulator (SVR)

รูปท่ี 19 Single phase Voltage Regulator (SVR)

Description 22 kV Rated power 220 kVA Rated Current 100 A BIL 150 kV Range of regulation Variation between + 16 x 5/8 % to - 16 x 5/8 %

-265-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

20. Capacitor Bank

รูปท่ี 20 Capacitor Bank

Description 22 kV 33 kV Highest system voltage 24 kV 36 kV Rated capacity 7.2 MVAR (3 steps x 2.4 MVAR) Rated capacitive continuous

and switching current, not less than

200 A 135 A

BIL, not less than 125 kV peak 150 kV peak Bank connection Double star underground Rated control circuit voltage 125 VDC Rated auxiliary voltage 400/230 VAC

-266-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

21. Voltage Detector

รูปท่ี 21 Voltage Detector

Description 22 kV 33 kV Application Outdoor For conductor type Bare conductor and insulate conductor (PIC and

SAC) Measuring range Not less than 4 ranges

(not more than 1 kV, 15 kV, 25 kV, 35 kV) Operating voltage

Rang not more than 1 kV

Rang 15 kV

Rang 25 kV

Rang 35 kV

480 V to 900 V, or better

12 kV to 17 kV, or better

21 kV to 29 kV, or better

35 kV to 50 kV, or better Indication signal Visible (flashing LED’s) and audible Operating temperature Up to 40° C, or more

Power supply Battery operated

-267-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

4. สัญลักษณและความหมาย

General Device

-268-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

Substation Device

-269-

วิธีปฏิบัติการส่ังการควบคุมการจายไฟฟา สําหรับศูนยควบคุมการจายไฟฟา

ศูนยสั่งการระบบไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา

Transmission/Distribution Device

-270-