Meretrix meretrix)วัยเกล็ด FEEDING RATE AND ARTIFICIAL DIETS SUBSTITUTION RATE OF...

13
READ MORE AT www.fisheries.go.th/cf-chan อัตราการใหอาหารและสัดสวนของอาหารสําเร็จรูปในการอนุบาลลูกหอยตลับ (Meretrix meretrix)วัยเกล็ด FEEDING RATE AND ARTIFICIAL DIETS SUBSTITUTION RATE OF CLAM SPATS Meretrix meretrix มนทกานติ ทามติ้น 1 Montakan Tamtin 1 จินตนา นักระนาด 2 Jintana Nugranad 2 สมพิศ พรรณา 1 Sompis Panna 1 อารี ขุนณะ 3 Aree Khunna 3 1 สถาบันวิจัยอาหารสัตวน้ําชายฝ1 Coastal Feed Research Institue 2 ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงประจวบคีรีขันธ 2 Prachaub Khiri Khan Coastal Fisheries Research and Development Center 3 ศูนยวิจัยและทดสอบพันธุสัตวน้ําจังหวัดเพชรบุรี 3 Petchaburi Fisheries Test and Research Center กรมประมง Department of Fisheries กระทรวงเกษตรและสหกรณ Ministry of Agriculture and Cooperatives บทคัดยอ การศึกษาอาหารสําเร็จรูปในลูกหอยตลับวัยเกล็ด (M. meretrix) ประกอบดวย 2 การศึกษายอย คือ การศึกษาอัตราการใหอาหารและ การศึกษาอัตราสวนระหวางสาหรายและอาหารสําเร็จรูปที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของหอย ดําเนินการทดลอง ศูนยวิจัยและทดสอบพันธุสัตว น้ําจังหวัดเพชรบุรี โดยการศึกษาแรกหอยมีน้ําหนักเริ่มตนเฉลี่ย 0.389±0.044 มิลลิกรัมตอตัว และมีความยาวเปลือก 1.089±0.166 มิลลิเมตร ให หอยกินอาหารระดับตาง กัน 6 ระดับ คือ 0%, 1%, 2%, 4%, 6% และ 8% โดยน้ําหนักหอยตอวัน ระดับละ 3 ซ้ํา มี Chaetoceros calcitrans และ Isocrysis galbana (T-Iso) ผสมกันในอัตราสวน 1:1 โดยน้ําหนักแหงเปนอาหาร และปริมาณอาหารจะปรับใหรายวันตามอัตราการเจริญเติบโต เลี้ยง หอยที่ความหนาแนน 0.75 กรัมตอกระบอกตอน้ํา 5 ลิตร ในระบบน้ําไหลผานกระบอกเลี้ยงและหมุนเวียนภายในตูทดลอง เปนเวลา 3 สัปดาห ปรากฎ วาอัตราการใหอาหารมีผลตอการอัตราการเจริญเติบโตโดยน้ําหนักหอยอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) การคํานวณอัตราการใหอาหารทีเหมาะสมจากวิธีวิเคราะหความถดถอยแบบไมเชิงเสน พบวาอัตราการใหอาหารที่เหมาะสมอยุในชวง 3.3-4.8% โดยมีความสัมพันธระหวางอัตราการ เจริญเติบโต (Y) และอัตราการใหอาหาร (X) ดังสมการ Y = 1.632882+4.196427X-0.440067X^2 (rsq = 0.7178, sig F <0.001) โดยอัตราการให อาหาร 4.8% เปนระดับที่ทําใหหอยตลับมีการเจริญเติบโตสูงสุด เมื่อลดระดับอาหารลงเปน 3.3% มีผลทําใหการเจริญเติบโตลดลง 5% แตยังอยูใน ระดับความเชื่อมั่น 95%. การศึกษาที่สอง หอยมีน้ําหนักเริ่มตนเฉลี่ย 1.165±0.057 มิลลิกรัมตอตัวและมีความยาวเปลือก1.617±0.518 มิลลิเมตร มี 7 ชุดการ ทดลอง ชุดการทดลองละ 3 ซ้ํา คือ ชุดแรกไมใหอาหาร ชุดที2 ใหสาหรายผสม 100% ชุดที3-5 ใหหอยกินอาหารสาหรายผสมแทนที่ดวยอาหาร สําเร็จรูปอัตราสวนตาง กัน 3 ระดับ คือ สาหรายผสม 80% เสริมดวยอาหารสําเร็จรูป 20%, สาหรายผสม 50% เสริมดวยอาหารสําเร็จรูป 50% และ สาหรายผสม 20% เสริมดวยอาหารสําเร็จรูป 80% และชุดทดลองที6-7 ใหหอยกินอาหารสําเร็จรูปอยางเดียวในอัตราสวน 20% และ 100% ตามลําดับ ดําเนินการทดลองโดยใชหอยชุดอดอาหาร (สูตร 1) และหอยซึ่งไดรับอาหารสาหรายผสม 100%(สูตร 2) เปนชุดเปรียบเทียบ ระยะเวลา ทดลอง 4 สัปดาหพบวาอาหารทั้ง 7 สูตรมีผลตออัตราการเจริญเติบโตอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) หอยซึ่งไดรับสาหรายผสม 20% เสริม ดวยอาหารสําเร็จรูป 80% (สูตร 5) มีผลการเจริญเติบโตดีกวาสาหรายผสม 20% (สูตร 6) อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) แสดงวาหอยไดกิน และใชอาหารสําเร็จรูปเพื่อการเจริญเติบโตได อยางไรก็ดีอาหารสําเร็จรูปไมสามารถใชแทนที่สาหรายเซลเดียวไดทั้งหมด โดยการใหอาหารสําเร็จรูป 100%(สูตร 7)

Transcript of Meretrix meretrix)วัยเกล็ด FEEDING RATE AND ARTIFICIAL DIETS SUBSTITUTION RATE OF...

READ MORE AT www.fisheries.go.th/cf-chan

อัตราการใหอาหารและสัดสวนของอาหารสําเร็จรูปในการอนุบาลลูกหอยตลับ (Meretrix meretrix)วัยเกล็ด

FEEDING RATE AND ARTIFICIAL DIETS SUBSTITUTION RATE OF CLAM SPATS Meretrix meretrix

มนทกานติ ทามติ้น1 Montakan Tamtin1

จินตนา นักระนาด2 Jintana Nugranad2

สมพิศ พรรณา1 Sompis Panna1

อารี ขุนณะ3 Aree Khunna3

1สถาบันวิจัยอาหารสัตวนํ้าชายฝง 1Coastal Feed Research Institue 2ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงประจวบคีรีขันธ 2 Prachaub Khiri Khan Coastal Fisheries

Research and Development Center 3ศูนยวิจัยและทดสอบพันธุสัตวนํ้าจงัหวัดเพชรบุร ี3 Petchaburi Fisheries Test and Research Center กรมประมง Department of Fisheries กระทรวงเกษตรและสหกรณ Ministry of Agriculture and Cooperatives

บทคัดยอ การศึกษาอาหารสําเร็จรูปในลูกหอยตลับวัยเกล็ด (M. meretrix) ประกอบดวย 2 การศึกษายอย คือ การศึกษาอัตราการใหอาหารและ

การศึกษาอัตราสวนระหวางสาหรายและอาหารสําเร็จรูปที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของหอย ดําเนินการทดลอง ณ ศูนยวิจัยและทดสอบพันธุสัตวนํ้าจังหวัดเพชรบุรี โดยการศึกษาแรกหอยมีนํ้าหนักเร่ิมตนเฉลี่ย 0.389±0.044 มิลลิกรัมตอตัว และมีความยาวเปลือก 1.089±0.166 มิลลิเมตร ใหหอยกินอาหารระดับตาง ๆ กัน 6 ระดับ คือ 0%, 1%, 2%, 4%, 6% และ 8% โดยนํ้าหนักหอยตอวัน ระดับละ 3 ซํ้า มี Chaetoceros calcitrans และ Isocrysis galbana (T-Iso) ผสมกันในอัตราสวน 1:1 โดยนํ้าหนักแหงเปนอาหาร และปริมาณอาหารจะปรับใหรายวันตามอัตราการเจริญเติบโต เลี้ยงหอยที่ความหนาแนน 0.75 กรัมตอกระบอกตอนํ้า 5 ลิตร ในระบบน้ําไหลผานกระบอกเลี้ยงและหมุนเวียนภายในตูทดลอง เปนเวลา 3 สัปดาห ปรากฎวาอัตราการใหอาหารมีผลตอการอัตราการเจริญเติบโตโดยน้ําหนักหอยอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) การคํานวณอัตราการใหอาหารที่เหมาะสมจากวิธีวิเคราะหความถดถอยแบบไมเชิงเสน พบวาอัตราการใหอาหารที่เหมาะสมอยุในชวง 3.3-4.8% โดยมีความสัมพันธระหวางอัตราการเจริญเติบโต (Y) และอัตราการใหอาหาร (X) ดังสมการ Y = 1.632882+4.196427X-0.440067X^2 (rsq = 0.7178, sig F <0.001) โดยอัตราการใหอาหาร 4.8% เปนระดับที่ทําใหหอยตลับมีการเจริญเติบโตสูงสุด เม่ือลดระดับอาหารลงเปน 3.3% มีผลทําใหการเจริญเติบโตลดลง 5% แตยังอยูในระดับความเชื่อม่ัน 95%.

การศึกษาที่สอง หอยมีนํ้าหนักเริ่มตนเฉลี่ย 1.165±0.057 มิลลิกรัมตอตัวและมีความยาวเปลือก1.617±0.518 มิลลิเมตร มี 7 ชุดการทดลอง ชุดการทดลองละ 3 ซํ้า คือ ชุดแรกไมใหอาหาร ชุดที่ 2 ใหสาหรายผสม 100% ชุดที่ 3-5 ใหหอยกินอาหารสาหรายผสมแทนที่ดวยอาหารสําเร็จรูปอัตราสวนตาง ๆ กัน 3 ระดับ คือ สาหรายผสม 80% เสริมดวยอาหารสําเร็จรูป 20%, สาหรายผสม 50% เสริมดวยอาหารสําเร็จรูป 50% และ สาหรายผสม 20% เสริมดวยอาหารสําเร็จรูป 80% และชุดทดลองที ่ 6-7 ใหหอยกินอาหารสําเร็จรูปอยางเดียวในอัตราสวน 20% และ 100% ตามลําดับ ดําเนินการทดลองโดยใชหอยชุดอดอาหาร (สูตร 1) และหอยซ่ึงไดรับอาหารสาหรายผสม 100%(สูตร 2) เปนชุดเปรียบเทียบ ระยะเวลาทดลอง 4 สัปดาหพบวาอาหารทั้ง 7 สูตรมีผลตออัตราการเจริญเติบโตอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) หอยซ่ึงไดรับสาหรายผสม 20% เสริมดวยอาหารสําเร็จรูป 80% (สูตร 5) มีผลการเจริญเติบโตดีกวาสาหรายผสม 20% (สูตร 6) อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) แสดงวาหอยไดกินและใชอาหารสําเร็จรูปเพื่อการเจริญเติบโตได อยางไรก็ดีอาหารสําเร็จรูปไมสามารถใชแทนที่สาหรายเซลเดยีวไดทั้งหมด โดยการใหอาหารสําเร็จรูป 100%(สูตร 7)

READ MORE AT www.fisheries.go.th/cf-chan

หอยมีอัตราการเจริญเติบโตต่ํากวาทุกสูตรอาหารอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) ยกเวนสูตร 1 ซ่ึงไมแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) เม่ือแทนที่สาหรายดวยอาหารสําเร็จรูป 20%(สูตร 3) และ 50% (สูตร 4) การเจริญเติบโตของหอยไมแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) และใหผลเชนเดียวกับชุดควบคุม (สูตร 2) (p>0.05) แตมีคาของการเจริญเติบโตดีกวาการแทนที่ดวยอาหารสําเร็จรูป 80% (สูตร 5) และ 100% (สูตร 7) อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) การที่อัตราการเจริญเติบโตของหอยเพิ่มข้ึนตามสัดสวนของสาหรายในอาหาร แสดงใหเห็นวาสาหรายมีสารอาหารจําเปนซ่ึงไมมีในอาหารสําเร็จรูปและสารอาหารจําเปนน้ันมีบทบาทในการเพิ่มประสิทธิภาพการยอยอาหารสําเร็จรูปของลูกหอยตลับวัยเกล็ด อยางไรก็ตามจากผลการทดลองนี้ พบวาสามารถใชอาหารสําเร็จรูปทดแทนสาหรายไดถึง 50% ของปริมาณอาหารที่ใหกินตอวัน คําสําคัญ : หอยตลับ, ลูกหอยระยะเกล็ด, อาหารสําเร็จรูป

Abstract

There were two consecutive feeding experiments conducted at Petchaburi Fisheries Test and Research Center to evaluate the application of artificial diet in clam spats (M. meretrix). The first trail was aim to determine the optimum feeding ration and was conducted in clam spats with the average weight of 0.389±0.044 milligrams per individual and shell length of 1.089±0.160 millimeters. Clam spats were reared in down welling system at the stocking density of 0.75 grams per silo per 5 liters of seawater and fed with 6 weight specific feeding rations each with 3 replications as follow 0%, 1%, 2%, 4%, 6% and 8% for 3 weeks. The 1:1 mixture of C. calcitrans and I. galbana (T-Iso) based on dry weight were used as food for clam spats. The rations were adjusted daily according to clam daily growth rate. Feeding rations highly effect clams daily growth rate (p<0.01). On daily growth rate basis, the optimum feeding rations for clam spats calculated by non-linear regression analysis were 3.3-4.8%. The relationship between growth rate and feeding rations was expressed as Y = 1.632882+4.196427X-0.440067X^2 (rsq = 0.7178, sig F <0.001). Based on these results, about 4.8% daily ration provide the maximum growth for clam spats. The growth of spats may be depressed with 5% but within 95% confident level when daily ration was reduced from 4.8% to 3.3%.

In the second trail, clam spats with the average weight of 1.165±0.057 milligrams per individual and shell length of 1.617±0.518 millimeters were fed with 7 treatments each with 3 replications. The first treatment is starved, the second treatment is 100% algal mixed, treatment 3-5 is spat fed algal mixed with artificial diets substitution; 80% algal mixed with 20% artificial diet, 50% algal mixed with 50% artificial diet and 20% algal mixed with 80% artificial diet, respectively. And treatment 6 and 7 is spat fed solely artificial diet at 20% and 100% of daily feeding ration, respectively. The starved (diet1) and 100% algal mixed (diet2) were used as negative and positive control, respectively. Based on 4 weeks results, all diets were highly effect to clams growth rate (p<0.01). Growth of spats fed with 20% algal mixed supplemented with 80% artificial diet (diet 5) was better than that of spats fed only 20% algal mixed (diet 6) with highly significant in statistics (p<0.01). This revealed that clam spats is able to utilize micro-particulated diet for growth. However, this diet can not replace all algal diet since growth of clam spats fed with 100% artificial diet (diet 7) was the poorest (p<0.01) and this was not significant difference from starved (diet 1) (p>0.05). The20% (diet 3) and 50% (diet 4) replacement of artificial diet to algal mixed resulted in similar growth of spats fed both diets (p>0.05) and these were not significant difference from diet 2 as well (p>0.05). However, growth of clam spats fed on these 3 diets were better than that of diet 5 and 7 with highly significant in statistic (p<0.01). This result suggested that micro-algae might provide micro nutrient which were lacking in artificial diet and increase digestion efficiency for artificial diet of clam spats. It can conclude that micro-particulated diet in the present study potentially replaced algal diet up to 50% of daily ration. Keywords : M. meretrix, clam spats, artificial diet, micro-particulated diet

คํานํา ในปจจุบันน้ีความรูดานโภชนาการใน

หอยสองฝายงัคงลาหลังเม่ือเทียบกับสัตวนํ้าชนิดอื่น ๆ เชน กุง หรือปลา (Epifanio, 1975) เน่ืองจากหอยกินอาหารดวยการกรอง ดังน้ันตลอดวงจรชีวิตของหอย จึงกินอาหารแขวนลอยเปนหลัก (De Pawn and Persoone, 1988) อันเปนอุปสรรคในการพัฒนาอาหารสําเร็จรูปที่เหมาะสมและเปนที่ยอมรับของหอย (Langdon, 1982) และยังทําใหการศึกษาความตองการสารอาหารของหอยมีขอจํากัด ไดมีความพยายามที่จะพัฒนาอาหารสําเร็จรูปข้ึนมาทั้งเพื่อศึกษาความตองการสารอาหารของหอย และเพื่อทดแทนอาหารธรรมชาติพวกสาหรายเซลเดียวที่ใชเลี้ยงหอยในปจจุบัน โดยการที่หอยตองกินสาหรายเซลเดียวเปนหลักนั้น ทําใหการขยายตัวของโรงเพาะฟกและอนุบาลหอยเปนไปไดนอย โดยเม่ือลูกหอยพัฒนาถึงวัยเกล็ด จะตองการอาหารเปนปริมาณมาก ทําใหยากตอการผลิตสาหรายเพื่อใหเพียงพอแกความตองการ (Coutteau and Soregeloos, 1993) นอกจากนี้การที่จะนําลูกหอยวยัเกล็ดไปปลอยเลี้ยงน้ัน ตองมีขนาดประมาณ 5 มิลลิเมตรข้ึนไป เพื่อใหมีอัตรารอดที่สูงข้ึน การอนุบาลลูกหอยระยะ 1-2 มิลลิเมตร ใหไดขนาดที่จะไปปลอยน้ันตองใชอาหารปริมาณมาก หากใชอาหารสําเร็จรูปทดแทนได ก็จะเพ่ิมความสะดวกไดยิ่งข้ึน ดังน้ันการศึกษาในครั้งน้ีจึงมีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาความเปนไปไดในการใชอาหารสําเร็จรูปอนุบาลลูกหอยวัยเกล็ด เพื่อเปนพื้นฐานความรูในการพัฒนาอาหารสําเร็จรูป และศึกษาความตองการสารอาหารในหอยสองฝาตอไป วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาระดับอาหารที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของหอยตลับ

2. เพื่อศึกษาอัตราสวนที่เหมาะสมระหวางสาหรายเซลเดียวและอาหารสําเร็จรูปตอการเจริญเติบโตของหอยตลับ อุปกรณและวิธีดําเนินการทดลอง แบบแผนการศึกษา

วางแผนการศึกษาแบบสุมตลอด (CRD, Completely Randomize Design) โดยแบงเปน 2 ข้ันตอนยอย คือ

1.1การศึกษาระดบัอาหารที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกหอย (The optimum feeding ration)

เพื่อหาอัตราการใหอาหารที่เหมาะสมที่สุดตอการเจริญเติบโตของลูกหอย เพื่อประยุกตใชกับการศึกษาอาหารสําเร็จรูป โดยคํานวณอาหารที่ใหเปน % นํ้าหนกัแหงของอาหาร ตอนํ้าหนักหอยตอวัน และมีอาหาร 5 ระดับ คือ 0%, 1%, 2%, 4%, 6% และ8% แกลูกหอย ระดับละ 3 ซํ้า ทําการทดลองเปนเวลา 3 สัปดาห

1.2 การศึกษาการยอมรับอาหารสําเร็จรูปโดยลูกหอยและอัตราสวนที่เหมาะสมระหวางสาหรายและอาหารสําเร็จรูป

เพื่อศึกษาความสามารถในการกรองกินและนําอาหารสําเร็จรูป ไปใชเพื่อการเจริญเติบโตของลูกหอย และศึกษาอัตราสวนที่เหมาะสมของอาหารสําเร็จรูปในการทดแทนอาหารธรรมชาติ หรือสาหรายเซลเดียวผสม (microalgae) โดยมีองคประกอบอาหารดังตารางที่ 1 2. ระบบการทดลอง

นําลูกหอยวยัเกล็ดขนาดประมาณ 755-1175 ไมครอน จํานวน 20 กรัม จากโรงเพาะฟกและอนุบาลของศูนยพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝงประจวบคีรีขันธ มาพักปรับสภาพเปนเวลาประมาณ 1 สัปดาห จากนั้นคัดหอยขนาดประมาณ 1000 ไมครอนมาทดลอง โดยนํามาอนุบาลในกระบอก down welling เสนผาศูนยกลาง 4 น้ิว มีผากรองขนาดตาประมาณ 300 ไมครอนบุที่กนกระบอก กระบอกจะแขวนไวในตูทดลองบรรจุนํ้า

ทะเลสะอาด ความเค็ม 30 สวนในพัน ปริมาตร 5 ลิตร ซ่ึงผานการฆาเชื้อดวยคลอรีนและบําบัดดวยโอโซน กอนใช 1 วันจะใส EDTA 1 มิลลิกรัมตอลิตร (พีพีเอ็ม) เพื่อจับโลหะหนักและกรองผานถุงกรองขนาดตา1 ไมครอนมีระบบอากาศเพื่อใหนํ้าหมุนเวียนและปองกันการตกตะกอนของอาหาร ในระหวางการทดลองจะทาํความสะอาดภาชนะทดลองและเปลีย่นนํ้า 2 คร้ังตอสัปดาห 3. อาหาร

อาหารมีชีวิตที่ใหเปนสาหราย C. calcitrans และ I. galbana (T-Iso) ขนาด 7 และ 5 ไมครอน และมีนํ้าหนักเซล 23.27 และ 21.79 พิโคกรัมตามลําดับ หาน้ําหนักแหงของสาหรายโดยดัดแปลงมาจาก Coutteau et al., 1994 กรองสาหรายที่รูจํานวนเซล ปริมาตรตางๆ กัน 5 ระดับ ผานกระดาษกรองใยแกวซ่ึงผานการเผาที่ 475oC 2 ชั่วโมงและทราบน้ําหนักแลว โดยระหวางการกรองจะชะลางดวยสารละลายแอมโมเนียมฟอรเมตความเขมขน 0.5 โมล และนําไปช่ังหาน้ําหนัก กอนที่จะอบที่ 60oC 24 ชั่วโมงหรือจนกวานํ้าหนักจะคงที่ คาที่ไดจะนํามาหาน้ําหนักแหงตอเซลโดยวิธีวิเคราะหความถดถอย โดยสาหรายทั้งสองชนิด เลี้ยงดวยสูตรอาหารของ Walne โดยมีการเติมซิลิเกตสําหรับไดอะตอม, อุณหภูมิ 30 oC, ความเค็ม 28-30 สวนในพัน และแสง 2000 lux สําหรับอาหารสําเร็จรูปจะใชอาหารกุงวัยออน ซ่ึงพัฒนาและผลิตโดยกองพฒันาและควบคุมอาหารสัตวนํ้าและสถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝงจังหวัดเพชรบุรีเปนอาหารทดลอง โดยการอบแหงดวยลูกกลิง้ทรงกระบอก (Double drum dry) ออกมาเปนอาหารแผน แลวนําเขาอบความชื้นดวยเครื่องอบความชื้นระบบสูญญากาศ กอนการปนเปนผงละเอียดดวยเครื่องปนแรงเหวี่ยงความเร็วสูง (Ultrasonic centrifugal mill) มีอารทีเมีย (Artemia biomass), สาหรายเกลียวทอง, ไข,แปง,สารสี,นํ้ามันปลา,วิตามินผสม และแรธาตุผสม เปนตน เปนสวนประกอบอาหาร และมีองคประกอบทางเคมีอยาง

READ MORE AT www.fisheries.go.th/cf-chan

หยาบ คือ โปรตีน มากกวา 40%, ไขมัน มากกวา 15%, เถา 10% และความชื้น นอยกวา 5% ใหหอยกิน 2 ม้ือตอวัน ในเวลาเชาและบาย โดยทําการบดผานผากรองขนาดตาประมาณ 20 ไมครอน เปนสารละลายอาหารเขมขนเก็บรักษาไวในตูเย็น และนําไปใชภายใน 3 วัน

4. การเก็บและวิเคราะหขอมูล เลี้ยงลูกหอยที่อัตราความหนาแนน

เร่ิมตน 0.75 กรัมโดยน้ําหนักตอกระบอก โดยทุกสัปดาหจะรวบรวมหอยแตละกระบอกมาลางน้ําสะอาด ซับนํ้าดวยผาพอหมาด ชั่งหาน้ําหนักรวม เพื่อนําไปคํานวณหาคาอัตราการเจริญเติบโต จากนั้นจะปรับนํ้าหนักหอยแตละกระบอกใหมีนํ้าหนักเทากับตอนเร่ิมตนทดลอง สวนปริมาณอาหารจะปรับใหในแตละวัน เพื่อใหอัตราการใหอาหารคงที่ โดยสูตรของ Coutteau et al., 1994 DGR (%/day) = {(WWn/WW1) 1/n-1 – 1}

*100 (DW algal diet) day n = (DW algal diet)

day1 * (1+DGR/100)n-1

เม่ือ n = 7, WW1 = นํ้าหนักรวมวันที่ 1, WW7 = นํ้าหนักรวมวันที่ 7

ผลการทดลองที่ได นําไปวิเคราะหทางสถิติ โดยเปรียบเทียบความแตกตางระหวางชุดการทดลองดวย ANOVA และ Tukey (Sokal and Rohlf, 1981) และหาระดับอัตราการใหอาหารที่เหมาะสมดวยวิธี regression analysis (Lovell, 1989) ผลการศึกษา การศึกษาระดับอาหารที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกหอย

ผลการศึกษาเปนเวลา 3 สัปดาห ไดแสดงในตารางที่ 2 และรูปที่ 1 และ 2 ตามลําดับ ผลของการใหสาหรายเซลเดียวชนิด C. calcitrans และ I. galbana (T-Iso) ผสมกัน

โดยมีอัตราการใหอาหารคิดเปนสัดสวนของนํ้าหนักแหงสาหรายตอนํ้าหนักรวมของหอยเปนอัตราตาง ๆ กันคือ 1, 2, 4, 6 และ 8%ตอวัน โดยมีหอยชุดอดอาหารเปนชุดควบคุมทางลบนั้น เม่ือพิจารณาผลของอัตราการเจริญเติบโต (%ตอวัน) พบวาในชวง 2 สัปดาหแรกของการทดลองนั้น อัตราการใหอาหาร 2%, 4% และ 6% มีอัตราการเจริญเติบโตดีและไมแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) ลําดับรองลงมาเปนอัตราการใหอาหาร 1 และ 8% ซ่ึงนอยกวาอัตราการใหอาหาร 4% อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) สวนหอยที่ไมไดรับอาหารมีอัตราการเจริญเติบโตต่ํากวาทุกสูตรอาหารอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) ในสัปดาหสุดทายอัตราการใหอาหาร 4% ยังคงมีคาการเจริญเติบโตสูงสุด แตไม แตกตางทางสถิติจากอัตราการใหอาหาร 1,2,6 และ 8% (p>0.05)

รูปแบบความสัมพันธระหวางอัตราการใหอาหารและอัตราการเจริญเติบโตโดยนํ้าหนักมีลักษณะเปนแบบเชิงเสนโคง จึงใชวิธีวิเคราะหแบบสมการถดถอยเชิงเสนโคงหาคาอัตราการกินอาหารที่เหมาะสมตอหอย โดยใชขอมูลจากทั้ง 3 สัปดาห ซ่ึงสมการคือ Y = 1.632882+4.196427X-0.440067X^2 (rsq = 0.7178, sig F <0.001) โดยอัตราการใหอาหารที่ใหผลการเจริญเติบโตสูงสุดเปน 11.64 %ตอวัน (Ymax) คือ 4.77%ตอนํ้าหนักตอวัน (X max) และอัตราการใหอาหารที่ใหการเจริญเติบโตนอยกวาอัตราการเจริญเติบโตสูงสุด แตไมต่ํากวาชวงระดับความเชื่อม่ันที่ 95% (Xi) คือ 3.3%ตอนํ้าหนักตอวัน โดยใหอัตราการเจริญเติบโตเปน 10.7%ตอวัน (Yi)

2.การศึกษาการยอมรับอาหารสําเร็จรูปโดยลูกหอยและอัตราสวนท่ีเหมาะสมระหวางสาหรายและอาหารสําเร็จรูป

ผลการศึกษาอัตราสวนของอาหารสําเร็จรูปที่เหมาะสมและการยอมรับอาหาร

สําเร็จรูปของลูกหอยตลับ จากการทดลองเลี้ยงลูกหอยตลับดวยอาหารองคประกอบตาง ๆ กัน 7 สูตร เปนเวลา 4 สัปดาห แสดงในรูปที่ 3 และตารางที่ 3 ตามลําดับ

ระหวางการศึกษาเปนเวลา 4 สัปดาหน้ี ไมพบการตายของหอย โดยในสัปดาหแรกของการทดลองใชผลจากการทดลองข้ันตอนแรกมาปรับปริมาณอาหารทีใ่หแตละวัน คืออัตราการเจริญเติบโต 12% ตอวัน และอัตราการใหอาหารสูงสุด 4.8%ตอวัน เปนอัตราการใหอาหารเริ่มตน พบวาหอยตลับที่ไดรับอาหารสูตร 2,3,4,5 และ 6 มีคาอัตราการเจริญเติบโตไมแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) แตดีกวาสูตร 1 และ 7 อยางมีนัยสําคัญยิง่ทางสถิติ (p<0.01) ในสัปดาหที่ 2 ไดลดอัตราการใหอาหารเปน 3.3% ตอวัน และใชอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยของแตละชุดการทดลองในสัปดาหแรกมาปรับปริมาณอาหาร ซ่ึงผลการทดลองใน 3 สัปดาหหลงัน้ีแสดงใหเห็นวาหอยซ่ึงไดรับอาหารสูตร 3 และ 4 มีอัตราการเจริญเติบโตไมแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) จากอาหารชุดควบคุมสูตร 2 และใหผลการเจริญเติบโตดีที่สุด (p<0.01) หอยตลับซ่ึงไดรับอาหารสูตร 5 มีอัตราการเจริญเติบโตดีกวาสูตร 6 อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) แตนอยกวาอาหารสูตร 2 อยางไมมีนัยสําคัญ (p>0.05) ในสัปดาหที่ 2 และมีนัยสําคัญยิ่ง (p<0.01) ในสัปดาหที่ 3 และ 4 สวนหอยสูตร 1 ซ่ึงไมไดรับอาหารและหอยสูตร 7 ซ่ึงไดรับอาหารสําเร็จรูปลวนน้ัน มีคาอัตราการเจริญเติบโตไมแตกตางกันทางสถิติ (p>0.05) และมีคาต่ํากวาทุกชุดการทดลองอยางมีนัยสําคัญยิง่ทางสถิติ (p<0.01) ยกเวนในสัปดาหที่ 3 ของการเลี้ยงซ่ึงหอยที่ไดรับอาหารสูตร 6 มีการเจริญเติบโตลดลง จนไมแตกตางทางสถิติจากหอยทั้ง 2 สูตรน้ี (p>0.05) สรุปและวิจารณผลการทดลอง การศึกษาระดับอาหารที่เหมาะสมในการอนุบาลลูกหอย

READ MORE AT www.fisheries.go.th/cf-chan

สําหรับการศึกษานี้ไดใชสาหรายเซลเดียวคือ C. calcitrans และ I. galbana (T-Iso) ซ่ึงมีขนาด 7 และ 5 ไมครอน และมีนํ้าหนักเซล 23.27 และ 21.79 พิโคกรัม ตามลําดับผสมกันเปนอาหารใหหอยตลับ ซ่ึงสาหรายทั้งสองชนิดน้ีนิยมใชเปนอาหารในโรงเพาะฟกและอนุบาลหอย (Coutteau and Sorgeloos, 1992) นอกจากนี้ยังมีคุณคาทางอาหารสูงเม่ือใหกินผสมกัน (Helm and Lieng, 1987) จากผลการทดลองพบวาอัตราการใหอาหารสูงสุดมีคาประมาณ 4.8%โดยนํ้าหนักตอวนั โดยอัตราการใหอาหารที่นอยกวาอัตราการใหอาหารสูงสุด แตอยูในชวงระดับความเชื่อม่ัน 95% คือ 3.3% และมีอัตราการเจริญเติบโตอยูในชวง 11-12%ตอวัน

หอยสองฝาจะมีระดับอาหารที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโต หากในน้ํามีปริมาณอาหารนอยเกินไป หอยจะเพ่ิมอัตราการกรองอาหารเพื่อใหไดรับอาหารพอเพียงกับความตองการ หรืออาหารมีปริมาณมากเกินระดับที่เหมาะสม หอยจะยอยไดไมทัน ทําใหตองลดอัตราการกรองลงหรือขับถายออกมาเปนส่ิงขับถายเทียม (Foster and Smith, 1975 และ Epifanio and Ewart, 1977) ซ่ึงอาจเปนสาเหตุทําใหหอยมีการเจริญเติบโตที่ลดลงเนื่องจากตองสูญเสียพลังงานไปกับกลไกดังกลาว สําหรับการศึกษานี้เม่ืออัตราการใหอาหารที่เหมาะสมที่สุดอยูในชวง 3.3-4.8% ดังน้ันในนํ้าควรมีอาหารอยูประมาณ 5.0-7.2 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร หรือมีสาหรายดังกลาวผสมกันในอัตราสวน 110,000-150,000 เซล/มิลลิลิตร และ 120,000-160,000 เซล/มิลลิลิตร ตามลําดับ ทั้งน้ีข้ึนกับขนาดของสาหรายที่ใชเปนอาหารดวย ซ่ึงการทดลองในหอย Crassostrea virginica น้ันพบวาหากในน้ํามีปริมาณอาหารมากกวา 10 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร จะมีการขับถายออกมาเปนส่ิงขับถายเทียม (Epifanio and Ewart, 1977) อยางไรก็ดีพบวาในสัปดาหที่ 3 อัตราการใหอาหารโดยนํ้าหนักที่มากกวา 4% ตอวัน ไมมีผล

ทําใหอัตราการเจริญเติบโตของหอยลดลง ซ่ึงอาจเปนไปไดวาสาหรายที่ใชเลีย้งหอยมีขนาดเซลหรือคุณภาพลดลงตามปจจัยแวดลอมระหวางการเลี้ยง ทําใหมีผลตออัตราการกินอาหาร (Enright et al.,1986)

สําหรับการทดลองนี้คาอัตราการใหอาหารที่เหมาะสมใกลเคียงกับ Tapes semidecussata ซ่ึงมีอัตราการใหอาหาร 4%ตอวัน (Albentosa et al., 1989 ) ในขณะที่ Tapes philippinarum มีอัตราการใหอาหารที่เหมาะสมเพียง 1-1.5%ตอวัน (Coutteau et al., 1994) ถึงแมวาขอมูลดานอัตราการใหอาหารที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตในหอยสองฝาแตละชนิดมีคอนขางจํากัด แตคาซึ่งแตกตางกันน้ันนาจะมีสาเหตุมาจากหลายปจจัย ทั้งจากหอยและอาหารทดลอง อันไดแก ชนิด ขนาด หรืออายุของหอย หรือชนิดและคุณภาพของอาหาร ระบบเลี้ยงและปจจัยแวดลอมระหวางการศึกษา รวมทั้งวิธีการประเมินนํ้าหนักแหงสาหราย หรือการปรับอาหารระหวางการศึกษา ดังน้ันการเปรียบเทียบหรือการนําผลการวิจัยมาใชจึงควรมีความระมัดระวัง และประยุกตใชใหเหมาะสมกับความเปนจริง

การศึกษาถึงการยอมรับอาหารสําเร็จรูปโดยลูกหอยและอัตราสวนท่ีเหมาะสมระหวางสาหรายและอาหารสําเร็จรูป

ในสัปดาหแรกของการทดลองไดใชอัตราการใหอาหาร 4.8%ตอวัน และอัตราการเจริญเติบโต 12%ตอวันซ่ึงเปนอัตราสูงสุดมาเปนคาเร่ิมตนในการคํานวณอาหารและปรับปริมาณอาหารของทกุชุดการทดลอง ซ่ึงไมพบความแตกตางระหวางการใหอาหารแบบตาง ๆ แสดงวาปริมาณอาหารที่ใหอาจจะมากเกินไปโดยนาจะเปนผลจากการประเมินคาอัตราการเจริญเติบโตที่สูงกวาความเปนจริง และใหอาหารในอัตราสูงสุด ซ่ึงในสัปดาหที่ 2 น้ีไดปรับการใหอาหารลงมาเปน 3.3%ตอวัน โดยใชอัตราการเจริญเติบโตที่ไดจาก

สัปดาหแรกในการคํานวณอาหาร ผลของอาหารองคประกอบตางๆ ที่มีตอหอยจึงมีความเดนชัดข้ึน

การที่หอยมีการเจริญเติบโตที่ดีข้ึนเม่ือกินอาหารที่มีสาหรายผสม 20% เสริมดวยอาหารสําเร็จรูป 80% เปรียบเทยีบกับอาหารที่มีสาหรายผสมเพียง 20% ของอัตราการใหอาหารตอวันเพียงอยางเดียว แสดงวาหอยสามารถกรองกินอาหารสําเร็จรูปและนําไปใชเพื่อการเจริญเติบโตได อยางไรก็ดีการที่อาหารสําเร็จรูปไมสามารถแทนที่สาหรายผสมไดทั้งหมดและหอยมีอัตราการเจริญเติบโตเพิ่มข้ึนตามสัดสวนของสาหรายเซลเดียวในอาหารนั้น แสดงใหเห็นวาสาหรายเปนแหลงของสารอาหารจําเปนซ่ึงไมมีอยูในอาหารสําเร็จรูป ซ่ึงสอดคลองกับการใชอาหารสําเร็จรูปใน T. semidecussata (Albentosa et al., 1989) และ ใน C. gigas (Langdon,1982)

โดยทั่วไปแลวอาหารสําเร็จรูปในรูปแบบที่มีขนาดจุลภาคนั้นจะมีการแตกตัวไดงาย และมีสารอาหารบางตัวละลายออกไป ในขณะที่สาหรายเซลเดียวยังคงมีสารอาหารจําเปน (micronutrients) เชน วิตามิน แรธาตุ หรือกรดไขมัน ซ่ึงจําเปนตอการเจริญเติบโตของหอย ถึงแมวาหอยสองฝาสามารถกรองกินกรดอะมิโน, นํ้าตาล หรือกรดไขมันได แตไมสามารถกรองเอาวิตามินที่ละลายในน้ําได ทําใหมีผลตอการเจริญเติบโต (Epifanio et al., 1982) นอกจากนี้คุณสมบัติการยอยไดของอาหารสําเร็จรูปอาจดอยกวาสาหรายเซลเดียว ดังน้ันการเสริมสาหรายลงไปในอาหารอาจทําใหการยอยอาหารสําเร็จรูปมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซ่ึงการมีสาหรายผสมกับอาหารสําเร็จรูปอาจเทียบไดกับการใชสาหรายมากกวาหนึ่งชนิดผสมกันเปนอาหารใหหอย ซ่ึงสารอาหารที่บกพรองในสาหรายชนิดหน่ึงอาจทดแทนไดดวยสาหรายอีกชนิดซ่ึงมีสารอาหารดังกลาวครบถวน (Webb and Chu, 1983) นอกจากนี้การเสริมสาหรายซึ่งยอยไดงายลงไปในอาหารซึ่งมีสาหรายที่ยอยยาก จะ

READ MORE AT www.fisheries.go.th/cf-chan

ทําใหการยอยอาหารดังกลาวมีประสิทธิภาพมากขึ้น (Epifanio et al., 1982)

อาหารสําเร็จรูปในรูปแบบ microparticulated diet น้ี ไดมีการนําไปใชในการอนุบาลลูกกุงกุลาดําเพื่อแทนที่สาหรายเซลเดียวไดอยางมีประสิทธิภาพ (สุพิศ ทองรอดและคณะ,2540 และสุพิศและคณะ,2542) สําหรับในการศึกษานี้ อาหารสําเร็จรูปดังกลาวมีศักยภาพทีจ่ะชวยลดปริมาณการใชสาหรายเซลเดยีวในโรงเพาะฟกและอนุบาลหอยตลับไดถึง 50% หรือใชเปนอาหารเสริมในยามที่ขาดแคลนสาหรายได ซ่ึงผลการทดลองนี้สอดคลองกับการศึกษาของ Laing, 1987 และ Albentosa et al., 1989 การศึกษาข้ันตอไป ควรจะศึกษาในระบบที่มีขนาดใหญข้ึน เพื่อจะไดปรับใชตามสภาพการเลี้ยงจริง และศึกษารูปแบบอาหารและการใหอาหารที่คงคณุคาของอาหารไวใหมากที่สุดอีกดวย

READ MORE AT www.fisheries.go.th/cf-chan

เอกสารอางอิง สุพิศ ทองรอด, อนันต ตันสุตะพานิช, ธนัญช สังกรธนกิจและธีรวัฒน จริตงาม. 2540. การเจริญเติบโตและอัตรารอดของกุง

กุลาดําวัยออนที่เลีย้งดวยอาหารสําเร็จรูปโดยใชและไมใชเคร่ืองกวนอาหาร. เอกสารวิชาการฉบับที่ 40/2540, สถานีเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝงจังหวดัเพชรบุรี, ศูนยพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝงสมุทรสาคร,กองเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าชายฝง,กรมประมง.15 หนา.

สุพิศ ทองรอด, ลัดดาวรรณ สุขเจริญ, อนันต ตันสุตะพานิช และธีรวัฒน จริตงาม. 2542. การเลี้ยงกุงกุลาดําวยัออนดวยอาหารสําเร็จรูปในอัตราความหนาแนนที่แตกตางกัน. วารสารการประมง ปที่ 52 ฉบับที่ 4. หนา 325-336.

Albentosa, M., Naessens, E., Leger, P., Coutteau, P., Lavens, P. and Sorgeloos, P.,1989. Promising results in the seed culturing of the Manila clam Tapes semidecussata with a manipulated yeast product as a partial substitue for algae. In:Aquaculture Europe’89. Short communications and abstracts. Special Publication, 10:7-8.

Webb, K.L., and Chu, F.-L.E. 1983. Phytoplankton as afood source for bivalve larvae. In: Pruder, G.D., Langdon,C.,Conklin,D. (eds.), Biochemical and physiology approaches to shellfish nutrition. Proceedings of the second international conference on aquaculture nutrition. Louisiana State University Press, Baton Rouge, pp.272-291.

Coutteau, P. and Sorgeloos, P., 1993. Substitue diets for live algae in the intensive rearing of bivalve mollusks- a state of the art report. World Aquaculture, 24 (2): 45-52.

Coutteau, P., Cure, K. and Sorgeloos, P., 1994. Effect of algal ration on feeding and growth of juvenile manila clam Tapes philippinarum (Adams and Reeve). Journal of Shellfish Research, 13: 47-55.

De Pawn, N. and Persoone, G., 1988. Micro-algae for aquaculture. In: Borowitzka, M. A. and Borowitzka, L. J. (eds.), Micro-algal Biotechnology. Camebridge University Press, Cambridge, pp. 197-221.

Enright, C.T., Newkirk,G.F., Craigie, J.S. and Castell, J.D., 1986. Growth of juvenile Ostrea edulis L. fed Chaetoceros gracilis Schutt of varied chemical composition. Journal of Experimental Marine Biology and Ecology, 96:15-26.

Epifanio, C. and Ewart, J., 1977. Maximum ration of four algal diets for the oyster Crassostrea virginica Gmelin. Aquaculture, 11:13-29.

Epifanio, C. E., 1975. Culture of bivalve mollusks in recirculating systems: Nutrition requirements. None : 173-194. Foster-Smith, R.L., 1975. The effect of concentarion of suspension on the filtration rates and pseudofeacal production

for Mytilus edulis, Cerastoderma edule and Vernerupis pullastra Montagu. J. Exp. Mar. Biol. Ecol., 17:1-22.

Helm, M.M. and Laing, I., 1987. Prelimnary observations on the nutrition value of ‘Tahiti Isochrysis’ to bivalve larvae. Aquaculture, 96:281-288.

Langdon, C. J., 1982. New techniques and their application to studies of bivalve nutrition. In: Pruder, G. D., Langdon, C. J. and Conklin, D. E. (eds.), Proceedings of the second international conference on aquaculture nutrition, Lewes/Rehoboth Beach, Delaware, October 27-29, 1981. Lousiana Stae University Press, Baton Rouge,pp.305-320.

Laing, I., 1987. The use of artificial diets in rearing bivalve spat. Aquaculture,65:243-249. Lovell, T., 1989. Nutrition and Feeding of Fish. Van Nostrand Reinhold, New York, 260 pp. Sokal, R. R. and Rohlf, F.J. 1981. Biometry, 2nd. W.H. Freeman and Company. New York.

READ MORE AT www.fisheries.go.th/cf-chan

ภาคผนวก ก

ขนาดของลูกหอยตลับวัยเกล็ดดานความสูงและความยาว เม่ือไมใหอาหารและใหอาหารในปริมาณตาง ๆ กัน 6 ระดับ เปนระยะเวลานาน 3 สัปดาห (X±SD) Daily feeding ration

Height (mm.)

Length (mm.)

(%DW/WW) Week 1 Week 2 Week 3 Week 1 Week 2 Week 3 0% 1.027±

0. 176 b1.189± 0.215 c

1.022±0.176

d1.142± 0. 182 b

1.319± 0.211 c

1.107±0.190

e

1% 1.236± 0. 257 a

1.559± 0.378 b

1.505±0.335

c1.329±0.205

a1.713± 0.413 b

1.655±0.367

c

2% 1.252± 0. 245 a

1.791± 0.291 a

1.968±0.528

b1.399± 0. 283 a

1.960± 0.328 a

2.801±3.768

a

4% 1.231± 0. 184 a

1.789± 0.226 a

2.307±0.408

a1.370± 0. 194 a

1.961± 0.258 a

2.451±0.406

b

6% 1.127± 0. 220 ab

1.553± 0.327 b

2.072±0.439

ab1.259± 0. 232 ab

1.691± 0.352 b

2.131±0.444

d

8% 1.120± 0. 196 ab

1.395± 0.221 bc

1.163±0.265

d1.248± 0. 180 ab

1.515± 0.234 bc

1.256±0.255

e

ANOVA p 0.0002 <0.0000 <0.0000 0.0001 <0.0000 <0.0000

F 5.1306 20.1998 57.1758 5.7267 19.9835 56.7973 หมายเหตุ * ขนาดความสูง และความยาวชองเปลือกหอยเม่ือเร่ิมตนทดลอง คือ 0.978±0.152 มิลลิเมตร และ 1.089±0.166

มิลลิเมตร ตามลําดับ ** ตัวอักษรที่ตางกันในสดมภเดียวกัน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ที่ระดับ ความเชื่อม่ัน p<0.01

READ MORE AT www.fisheries.go.th/cf-chan

ภาคผนวก ข

ขนาดของลูกหอยตลับวัยเกล็ดดานความสูงและความยาวเมื่อไมไดรับอาหารและไดรับอาหารที่แทนที่และไมแทนที่ดวยอาหารสําเร็จรูปอัตราสวนตาง ๆ กัน 7 ระดับเปนเวลานาน 4 สัปดาห (X±SD) Diets

Height (mm.)

Length (mm.)

Week 1 Week 2 Week 3 Week 4 Week 1 Week 2 Week 3 Week 4 0% 1.431±0.3

60c1.662±0.318 bc

1.485±0.372 b

1.767±0.498 b

1.573±0.374c

1.765±0.334 bc

1.616±0.419 bc

1.917±0.516 b

100%AG 1.791±0.368ab

2.000±0.574 a

2.127±0.724 a

3.091±1.479 a

1.913±0.412ab

2.162±0.613 a

2.276±0.771 a

3.570±1.729 a

80%AG :20%AF

1.748±0.447ab

2.214±0.631 a

2.297±0.684 a

3.644±1.529 a

1.882±0.459ab

2.371±0.680 a

2.443±0.743 a

4.344±1.870 a

50%AG :50%AF

1.770±0.436ab

2.100±0.650 a

1.939±0.663 ab

3.433±1.413 a

1.914±0.466ab

2.293±0.736 a

2.057±0.699 ab

3.918±1.723 a

20%AG :80%AF

1.878±0.417a

1.395±0.559 ab

1.975±0.663 ab

3.061±1.366 a

1.999±0.438a

2.079±0.593 ab

2.107±0.682 ab

3.422±1.562 a

20%AG 1.681±0.482abc

1.940±0.439 ab

1.724±0.484 b

1.916±0.493 b

1.822±0.5326ab

2.088±0.458 ab

1.865±0.503 b

2.076±0.511 b

100%AF 1.565±0.339bc

1.421±0.345 c

1.364±0.365 b

1.654±0.353 b

1.723±0.355bc

1.574±0.378 c

1.484±0.373 c

1.823±0.383 b

ANOVA p <0.0000 <0.0000 <0.0000 <0.0000 0.0001 <0.0000 <0.0000 <0.0000 F 6.1525 9.7425 9.6804 24.950 4.8471 9.4305 9.0915 27.4130 หมายเหตุ * ขนาดความสูง และขนาดความยาวชองเปลือกหอยเม่ือเร่ิมตนทดลอง คือ 1.469±0.478มิลลิเมตร และ

1.617±0.518 มิลลิเมตร ตามลําดับ ** ตัวอักษรที่ตางกันในสดมภเดียวกัน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อม่ัน p<0.01

READ MORE AT www.fisheries.go.th/cf-chan

ภาคผนวก ค

รูปภาพที่ 1 ระบบพักหอยกอนการทดลอง รูปภาพที่ 2 ระบบทดลองหอยแบบ down welling รูปภาพที่ 3 อาหารมีชีวิต (สาหรายเซลเดียว) รูปภาพที่ 4 อาหารสําเร็จรูป

รูปภาพที่ 5 รวบรวมหอยช่ังนํ้าหนัก รูปภาพที่ 6 หอยในกระบอกเลี้ยง

ตารางท่ี 1 องคประกอบอาหาร

Treatment Mixed algal diet (%of daily feeding ration)

Artificial diet (%of daily feeding ration)

1. unfed 0 0 2. 100%AG 100 0 3. 80%AG:20%AF 80 20 4. 50%AG:50%AF 50 50 5. 20%AG:80%AF 20 80 6. 20%AF 0 20 7. 100%AF 0 100

READ MORE AT www.fisheries.go.th/cf-chan

-10123456789

1011121314

W 1 W 2 W 3

Culture Period (W eeks)

Daily

Grow

th Ra

te(%/

day)

unfed

1% D W/W W /d

2% D W/W W /d

4% D W/W W /d

6% D W/W W /d

8% D W/W W /dc

a a ab

b b

c b

ab

a

a a a

b b

ab a ab

ตารางท่ี 2 อัตราการเจริญเติบโตโดยน้ําหนักรวมของของลูกหอยตลับวัยเกล็ดเม่ือไมใหอาหารและใหอาหารในปริมาณตาง ๆ กัน 6 ระดับ (X±SD) เปนระยะเวลานาน 3 สัปดาห

Feeding Rate Daily Growth rate (% /day) (%/day) Week 1 Week 2 Week 3

0% 1.14±0.36c 1.06±0.42 c -0.09±1.14 b

1% 6.21±0.63 b 8.05±0.10 b 3.79±0.53 ab

2% 9.91±0.91 a 10.85±1.57 ab 7.68±2.13 a

4% 11.05±1.05 a 12.93±1.30 a 11.60±2.03 a

6% 7.78±2.47 ab 9.20±2.52 ab 9.78±1.66 a

8% 5.70±1.16 b 7.77±0.36 b 10.51±2.04 a

ANOVA p <0.000 <0.000 <0.000 F 22.555 24.874 21.359

หมายเหตุ : * ลูกหอยตลับมีนํ้าหนักเฉลี่ยเร่ิมตน 0.3891±0.0443 มิลลิกรัมตอตัว และมีความยาวเปลือกเร่ิมตน 1.089±0.166 มิลลิเมตร ตามลําดับ

** ตัวอักษรที่ตางกันภายในสดมภเดียวกัน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01)

READ MORE AT www.fisheries.go.th/cf-chan

รูปท่ี 1 อัตราการเจริญเติบโต (%/วัน) ของลูกหอยตลับวัยเกล็ด (M. meretrix) ที่ไมไดรับอาหารและไดรับอาหารระดับตาง ๆ กัน 5 ระดับ

Feeding rate (%DW/BW)

10

864202

Daily

growth

rate

(%/da

y)16

1412

10

86

42

0-2

Rsq = 0.7178

Ymax

Yi

XmaxXi

รูปท่ี 2 แสดงความสัมพันธระหวางอัตราการเจริญเติบโต (%/วัน) ของลูกหอยตลับวัยเกล็ด (M. meretrix) และอัตราการใหอาหาร (%นํ้าหนักแหง/นํ้าหนักรวมหอย/วัน)

-2-10123456789

101112

W1 W2 W3 W4

Culture Period (Weeks)

Spec

ific G

rowth

Rate

(%/da

y)

unfed

100%AG

80%AG:20%AF

50%AG:50%AF

20%AG:80%AF

20%AG

100%AF

b d

a a a a a

b d d c

ab a a

c

a a ab

b b

c c d

a a a

b

c

รูปท่ี 3 อัตราการเจริญเติบโต (%/วัน) ของลูกหอยตลับวัยเกล็ด (M. meretrix) ที่ไดรับอาหารสาหรายผสม (C. calcitrans และ I.

galbana T-Iso) อัตราสวน 1:1 โดยน้ําหนักแหง ทั้งทีแ่ทนที่และไมแทนที่ดวยอาหารสําเร็จรูปเปนเวลานาน 4 สัปดาห ตารางท่ี 3 อัตราการเจริญเติบโตโดยน้ําหนักรวมของลูกหอยตลับวัยเกล็ดเม่ือไดรับอาหารที่แทนที่และไมแทนที่ดวยอาหารสําเร็จรูป

อัตราสวนตาง ๆ กัน 6 ระดับเปนเวลานาน 4 สัปดาห (X±SD) Diets Characteristics Daily Growth Rate (% /day)

Week 1 Week 2 Week 3 Week 4 1. 0% 0.42±0.25b -0.15±0.03d 0.51±1.32 c -0.92±0.41 d

2. 100%AG 5.21±0.95 a 8.64±1.08ab 10.40±1.09 a 10.33±0.88 a

3. 80%AG:20%AF 6.71±1.40 a 9.73±0.08a 11.12±1.68 a 11.32±0.16 a

4. 50%AG:50%AF 7.07±0.54 a 8.80±0.79a 9.68±0.98 ab 11.25±0.20 a

5. 20%AG:80%AF 6.21±0.71 a 6.68±1.21b 6.37±1.54 b 7.16±1.06 b

6. 20%AG 5.66±1.12 a 3.73±0.09c 1.34±0.91 c 3.47±0.64 c

7. 100%AF 1.23±0.63 b 0.53±0.46d 0.62±0.93 c 0.61±0.09 d

ANOVA p <0.000 <0.000 <0.000 <0.000 F 19.012 100.410 45.355 218.139

หมายเหตุ: * ลูกหอยตลับมีนํ้าหนักเร่ิมตนเฉลี่ย 1.1654±0.0566 มิลลิกรัมตอตัว และความยาวเปลือก 1.62±0.52 มิลลิเมตร

** ตัวอักษรที่ตางกันในสดมภเดียวกัน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01)