Interactions between Purple-naped Sunbird (Hypogramma hypogrammicum) and Macaranga denticulata (Bl.)...

12
ISSN 0858-396X «“√ “√ —µ«åªÉ“‡¡◊Õ߉∑¬ Journal of Wildlife in Thailand ªï∑’Ë 16 ©∫—∫∑’Ë 1 ∏—𫓧¡ 2552 «“√ “√ —µ«åªÉ“‡¡◊Õ߉∑¬ Journal of Wildlife in Thailand ªï∑’Ë 16 ©∫—∫∑’Ë 1 ∏—𫓧¡ 2552 Volume 16 No.1 December 2009 §≥–«π»“ µ√å ¡À“«‘∑¬“≈—¬‡°…µ√»“ µ√å Faculty of Forestry Kasetsart University FRONT COVER-SPINE/15mm. 11/11/09, 8:07 AM 1 เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย

Transcript of Interactions between Purple-naped Sunbird (Hypogramma hypogrammicum) and Macaranga denticulata (Bl.)...

ISSN 0858-396X «“√ “√ —µ«åªÉ“‡¡◊Õ߉∑¬ Journal of W

ildlife in Thailand ªï∑’Ë 16 ©∫—∫∑’Ë 1 ∏—𫓧¡ 2552

«“√ “√ —µ«åªÉ“‡¡◊Õ߉∑¬Journal of Wildlife in Thailand

ªï∑’Ë 16 ©∫—∫∑’Ë 1 ∏—𫓧¡ 2552Volume 16 No.1 December 2009

§≥–«π»“ µ√å ¡À“«‘∑¬“≈—¬‡°…µ√»“ µ√åFaculty of Forestry Kasetsart University

FRONT COVER-SPINE/15mm. 11/11/09, 8:07 AM1

เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย

วารสารสัตวปาเมืองไทย Journal of Wildlife in Thailand

ปที่ 16 ฉบับท่ี 1 ธันวาคม 2552 Volume.16 No.1 December 2009

คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร Faculty of Forestry Kasetsart University

เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 16 ฉบับที่ 1 ธันวาคม 2552

62

ความสัมพันธระหวางนกกินปลีทายทอยนํ้าเงิน (Hypogramma hypogrammicum)

และตองแตบ (Macaranga denticulata (Bl.) M.-A.) INTERACTIONS BETWEEN PURPLE-NAPED SUNBIRD

(HYPOGRAMMA HYPOGRAMMICUM) AND MACARANGA DENTICULATA (BL.) M.-A.

นุชจรีย สิงคราช1/* สมบูรณ คําเตจา1 และ นริทธ์ิ สีตะสุวรรณ1/ Nootjaree Singkaraj1/* Somboon Kamtaeja1/ Narit Sitasuwan1/

ABSTRACT

Frugivorous birds play an important role in the dispersal of seeds. Frugivory by sunbirds seems to be rare, but this study presents evidence that the Purple-naped Sunbird (Hypogramma hypogrammicum) is also frugivorous and a seed disperser of Macaranga denticulata (Bl.) M.-A. (Euphorbiaceae). This study was carried out at Chiang Dao Wildlife Research Station from January to October 2009. Phenology monitoring and point count observation of numbers of Purple-naped Sunbirds at M. denticulata trees were done. The sunbirds began to visit M. denticulata trees from the first fruiting time to the last ripe fruiting period and had the highest frequency in June when the trees were bearing the most ripe fruits. Focal observation of the sunbirds at four trees for 20 hours per individual tree was done during 0600-1800 hrs. The sunbirds visited the trees at 0600-1700 hrs. and the highest number of birds was observed at 0900-1200 hrs. Mostly only one individual per group visited and the mean time in tree was 2.18 minutes where an average of 20 seeds was eaten. Purple-naped Sunbirds were caught by mist nets to collect their faeces which was analysed to find M. denticulate seeds. The seeds were tested for germination by comparison with uneaten seeds under nursery conditions. The seeds collected form the faeces had a germination percentage of 80.56% while the uneaten seeds were 42.44%.

บทคัดยอ

นกที่กินผลไมมีสวนสําคัญในการแพรกระจายเมล็ดพันธุ นกกินปลีที่กินผลไมหาไดยาก แตการศึกษานี้เปนการแสดงวานกกินปลีทายทอยน้ําเงิน (Hypogramma hypogrammicum) เปนนกกินผลไมและเปนตัวกระจายเมล็ดพันธุใหแกตองแตบ (Macaranga denticulata (Bl.) M.-A.) วงศเปลา โดยทําการศึกษาท่ีสถานีวิจัยสัตวปาดอยเชียงดาวต้ังแตเดือนมกราคมถึงตุลาคม 2552 สํารวจชีพลักษณของตองแตบประกอบกับสํารวจจํานวนนกกินปลีทายทอยน้ําเงินที่เขามาที่ตนตองแตบโดยวิธี point count ท่ีตน พบนกกินปลีทายทอยน้ําเงินเร่ิมเขามาท่ีตนต้ังแตตองแตบมีผลดิบ 1/ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม 50200 *E-mail: [email protected]

เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 16 ฉบับที่ 1 ธันวาคม 2552

63

จนกระท่ังผลสุกหมด และพบมากท่ีสุดในเดือนมิถุนายนซ่ึงเปนชวงท่ีมีผลสุกมากท่ีสุด นอกจากนี้เพียง 1 ตัว มีการใชเวลาที่ตนโดยเฉล่ีย 2.18 นาทีตอคร้ัง และกินเมล็ดตองแตบเฉลี่ย 20 เมล็ดตอคร้ัง ทําการดักจับนกโดยใชตาขายดักนกเพ่ือเก็บมูลของนกมาวิเคราะหหาเมล็ดตองแตบ และนํามาเพาะในเรือนเพาะชําเปรียบเทียบกับเมล็ดท่ีไดจากตนแม พบวาเมล็ดท่ีไดจากมูลนกกินปลีทายทอยนํ้าเงินมีรอยละของการงอกเทากับ 80.56% ขณะท่ีเมล็ดท่ีเก็บจากตนมีอัตราการงอก 42.22 เปอรเซนตทําการสํารวจพฤติกรรมการกินเมล็ดตองแตบโดยวิธี focal observation ท่ีตนตองแตบ 4 ตน ตั้งแตเวลา 06:00–18:00 น. ซ่ึงใชเวลาในการสํารวจ 20 ช่ัวโมงตอตน พบนกกินปลีทายทอยนํ้าเงินเขามากินเมล็ดตองแตบตั้งแตเวลา 06:00–17:00 น. และพบจํานวนมากท่ีสุดในชวงเวลา 09:00–12:00 น. ขนาดของฝูงโดยสวนใหญพบเพียง 1 ตัว มีการใชเวลาท่ีตนโดยเฉล่ีย 2.18 นาทีตอคร้ัง และกินเมล็ดตองแตบเฉล่ีย 20 เมล็ดตอคร้ัง ทําการดักจับนกโดยใชตาขายดักนกเพื่อเก็บมูลของนกมาวิเคราะหหาเมล็ดตองแตบ และนํามาเพาะในเรือนเพาะชําเปรียบเทียบกับเมล็ดท่ีไดจากตนแม พบวาเมล็ดท่ีไดจากมูลนกกินปลีทายทอยนํ้าเงินมีรอยละของการงอกเทากับ 80.56% ขณะท่ีเมล็ดท่ีเก็บจากตนมีอัตราการงอก 42.22 เปอรเซนต

คํานํา

การศึกษานกกินปลี (Sunbird) ในดานการกระจายเมล็ดพันธุยังมีนอย แตมักมีการศึกษานกกินปลีในดานการผสมเกสรใหแกดอกไม เนื่องจากนกกินปลีมีปากเรียว เล็ก และยาว ท่ีมีวิวัฒนาการสําหรับสอดเขาไปในทอของกลีบดอกไมเพื่อดูดน้ําหวานและกินแมลงท่ีอยูในดอกไม โดยลักษณะของปากของนกจะมีวิวัฒนาการใหเหมาะสมกับอาหารท่ีกิน (วีรยุทธ, 2526) นอกจากน้ําหวานแลว ยังพบวานกกินปลีกินแมงมุม และยุงเปนอาหารอีกดวย (Smythies, 1981; Wong, 1986) ซ่ึงมีการจัดกลุมตามลักษณะการกินอาหารของนกใหนกกินปลีอยูในกลุมนกท่ีกินแมลงและกินน้ําหวานเปนอาหาร (insectivore/nectarivore) (Round, et al., 2006) แตการศึกษานกกินปลีในดานการกระจายเมล็ดพันธุยังมีนอยในเขตอินโด-มาลายัน นกกินปลีทายทอยนํ้าเงิน (Hypogramma hypogrammicum) เปนนกท่ีอยูในเหลานกกินปลี (Tribe Nectariniini) มีปากยาวและโคง ลําตัวดานลางมีลายขีดสีเขม ตัวผูและตัวเมียมีลักษณะคลายกัน แตตัวผูมีสีมวงแกมน้ําเงินเปนมันบริเวณทายทอย ตะโพก และขนคลุมโคนขนหางดานบน (โอภาส, 2544) เปนนกประจําถ่ินของประเทศไทย (Lekagul and Round, 1991) นกกินปลีทายทอยนํ้าเงินกินแมลงและนํ้าหวานเปนอาหาร จึ งถูกจัดใหอยู ในกลุมนกกินแมลงและกินน้ํ าหวานเปนอาหาร (insectivore/nectarivore) (Johns, 1986; Round, et al., 2006) ในป ค.ศ. 1986 Wong รายงานวานกกินปลีทายทอยนํ้าเงินกินสัตวจําพวกอารโทรพอดและน้ําหวานเปนอาหาร ในขณะท่ี Wells (1988) รายงานวานกกินปลีทายทอยน้ําเงินเปนนกท่ีกินแมลงเปนอาหารบริเวณพ้ืนท่ีราบ (lowlands) ตองแตบ (Macaranga denticulata (Bl.) M.-A.) เปนไมเบิกนําท่ีเขามาเจริญในพื้นท่ีท่ีเคยถูกทําลายกอนไมกลุมอ่ืน ๆ มีการกระจายท่ัวประเทศไทย สามารถข้ึนไดถึงระดับความสูง 1,200 เมตร

เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 16 ฉบับที่ 1 ธันวาคม 2552

64

(กองกานดา, 2548) อีกทั้งยังมีลักษณะเปนพรรณไมโครงสรางท่ีดี (FORRU, 2005) คือ โตเร็ว มีทรงพุมกวาง และสามารถดึงดูดสัตวใหเขามาใชประโยชน จึงถูกนําไปใชในการฟนฟูปา ผลของตองแตบมีลักษณะเปนผลแหงแตก (capsule) เม่ือสุกเปลือกจะแตกออกแสดงใหเห็นเมล็ดท่ีมีเนื้อเยื่อสีดํา (aril) หุมอยูและเปลือกจะหลุดออกไป ผลตองแตบ 1 ผล มี 2-3 พลู แตละพลูมี 1 เมล็ดซ่ึงเมล็ดเหลานี้เปนแหลงอาหารท่ีดีสําหรับนก อีกท้ังยังออกลูกไดนาน 5-6 เดือน (ไซมอน และคณะ, 2543) ทําใหเปนแหลงอาหารท่ีสามารถรองรับนกในพ้ืนท่ีไดยาวนาน ท้ังนี้ขอมูลท่ีเกี่ยวกับสัตวท่ีเขามาใชประโยชนและสัตวท่ีเปนตัวชวยกระจายเมล็ดพันธุใหกับตองแตบยังมีนอย ซ่ึงขอมูลเหลานี้จะเปนประโยชนท้ังในดานการอนุรักษชนิดพันธุ และสามารถนําไปประยุกตใชในการฟนฟูปา การศึกษานี้ไดเลือกพื้นท่ีศึกษาท่ีสถานีวิจัยสัตวปาดอยเชียงดาว ในพื้นท่ีเขตรักษาพันธุสัตวปาดอยเชียงดาว อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม ซ่ึงเปนพื้นท่ีท่ีมีความหลากหลายท้ังของนกและตนไมมาก ท้ังยังสามารถพบนกกินปลีทายทอยน้ําเงินไดงาย ทําใหสะดวกตอการศึกษา โดยทําการศึกษาจํานวนนกกินปลีทายทอยน้ําเงินท่ีเขามาใชประโยชนจากตองแตบ ศึกษาชวงเวลาท่ีมีความสัมพันธตอจํานวนนก และพฤติกรรมของนกกินปลี นอกจากนี้ยังศึกษาการกระจายเมล็ดพันธุตองแตบโดยนกกินปลีทายทอยน้ําเงิน

วัตถุประสงค

1. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางตนตองแตบและนกกนิปลีทายทอยน้ําเงิน 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนกกินปลีทายทอยนํ้าเงินบนตนตองแตบ 3. เปรียบเทียบรอยละการงอกของเมล็ดท่ีผานทางเดินอาหารของนกกินปลีทายทอยนํ้าเงิน

กับเมล็ดจากตนตองแตบ

อุปกรณและวิธีการ

1. เลือกตนตองแตบ 5 ตน ในพื้นท่ีท่ีตางกัน บริเวณสถานีวิจัยสัตวปาดอยเชียงดาว อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม โดยสุมเลือกตนตองแตบท่ีมีเสนรอบวงลําตน 15 เซนติเมตรข้ึนไป ท่ีระดับความสูง 1.30 เมตร จากพ้ืน

2. สํารวจชีพลักษณของตนตองแตบและจํานวนนกเดือนละ 1 คร้ัง ตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือนตุลาคม โดยใชวิธี Point Count (นริทธ์ิ, 2546) สํารวจจํานวนนกตามตนตองแตบท่ีถูกเลือกไว แตละตนใชเวลา 10 นาที โดยแบงชวงเวลาคือ 06:00 - 09:00 น. 09:00 - 12:00 น. 12:00 - 15:00 น. และ 15:00 – 18:00 น. สํารวจ 2 ชวงเวลาตอวัน โดยสลับชวงเวลาในแตละวันเพื่อใหการสํารวจครอบคลุมถึงชวงเวลาท้ังหมด บันทึกขอมูล วันท่ี เวลา ท่ีสํารวจ จํานวนนก และพฤติกรรมของนกท่ีพบ โดยใช

เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 16 ฉบับที่ 1 ธันวาคม 2552

65

กลองสองทางไกลแบบสองตา วินิจฉัยชนิดของนกตามหนังสือ A guide to the Birds of Thailand (Lekagul and Round, 1991) และ A field guide to the birds of Thailand (Robson, 2002)

3. เลือกตนตองแตบ 4 ตน เพื่อทําการสํารวจโดยวิธี Focal observation โดยทําการติดตามจํานวนและพฤติกรรมการกินของนกกินปลีทายทอยน้ําเงินตลอดชวงเวลากลางวัน เร่ิมต้ังแต 06:00 – 18:00 น. แตละตนใชเวลา 20 ช่ัวโมง ซ่ึงจะใชเวลาท้ังหมด 80 ช่ัวโมง ทําการบันทึกขอมูล จํานวนฝูง จํานวนเมล็ดตองแตบที่ถูกกิน และเวลาท่ีนกใชท่ีตนตองแตบ

4. ทําการดักจับนกกินปลีทายทอยนํ้าเงินบริเวณใตตนตองแตบเดือนละ 2 คร้ังต้ังแตเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม โดยใชตาขายดักนก (mist net) เพื่อทําการเก็บมูลของนกกินปลีทายทอยน้ําเงิน โดยนํานกท่ีดักไดมาใสถุงพักนก 20-30 นาที รอใหนกถายมูลลงในถุงพักนก จากนั้นนํามูลนกท่ีไดมาทําการวิเคราะหหาเมล็ดตองแตบ โดยเปรียบเทียบกับเมล็ดตองแตบ จากตนแมในธรรมชาติ ทําการบันทึกจํานวนเมล็ดในมูลนก และทําการวัดขนาดความกวางของปากของนกกินปลีทายทอยนํ้าเงิน

5. นําเมล็ดจากมูลนกกินปลีทายทอยน้ําเงินมาทําการเพาะเมล็ดในเรือนเพาะชํา (FORRU, 2008) เปรียบเทียบกับเมล็ดสุกท่ีมีเนื้อเยื่อ (aril) หุมอยู ท่ีไดจากตนตองแตบบริเวณท่ีทําการดักนก โดยใชเมล็ดจากมูลนกกินปลีทายทอยนํ้าเงิน และเมล็ดท่ีไดจากตนตองแตบมาทําการเพาะเมล็ดในถาดเพาะ ตัวอยางละ 30 เมล็ดตอหนึ่งซํ้า ซ่ึงทําการทดลองทั้งหมด 3 ซํ้า ทําการบันทึกขอมูลการงอกของเมล็ด โดยบันทึกวันท่ีท่ีเมล็ดงอก และจํานวนเมล็ดท่ีงอก ขอมูลท่ีไดจะนํามาหาคากลางของระยะพักตัว (Median length of dormancy; MLD) และรอยละการงอกของเมล็ด

ผลและวิจารณ

ผลการศึกษา 1. ความสัมพนัธระหวางชีพลักษณของตนตองแตบกับจํานวนนกกินปลีทายทอยน้ําเงนิ

จากการสํารวจชีพลักษณของตนตองแตบท้ัง 5 ตน พบวาตองแตบเร่ิมติดดอกในเดือนมกราคม ดอกบานมากท่ีสุดในเดือนมีนาคม และติดผลในเดือนเมษายน ผลจะเร่ิมสุกในเดือนพฤษภาคมโดยผลมีการแตกออกแสดงใหเห็นเมล็ดท่ีมีเนื้อเยื่อสีดําหุมอยู และผลคอย ๆ ทยอยสุกจนถึงเดือนกันยายน ในเดือนมิถุนายนตองแตบมีผลสุกมากท่ีสุดจนถึงเดือนกรกฎาคม (รูปท่ี 1) เมล็ดของตองแตบมีขนาด 3.28 มิลลิเมตร

จากการสํารวจจํานวนนกกินปลีทายทอยน้ําเงินท่ีเขามาใชประโยชนจากตองแตบท้ัง 5 ตน พบวานกกินปลีทายทอยน้ําเงินเร่ิมเขามาท่ีตนตองแตบต้ังแตเดือนเมษายนซ่ึงในขณะนั้นตองแตบ ติดผลดิบโดยพบวานกกินปลีมีพฤติกรรมการเกาะและพฤติกรรมการอาหาร และพบจํานวนเพิ่มข้ึนในเดือนพฤษภาคมซ่ึงตองแตบเร่ิมมีผลสุกโดยนกเร่ิมเขามากินเมล็ดตองแตบท่ีไมมีเปลือกหุม และพบมากท่ีสุดในเดือนมิถุนายนท่ีเปนชวงท่ีตองแตบมีผลสุกมากท่ีสุด ในเดือนกรกฎาคมยังเปนชวงท่ีตองแตบมี

เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 16 ฉบับที่ 1 ธันวาคม 2552

66

ผลสุกมาก แตพบวาจํานวนนกกินปลีทายทอยนํ้าเงินมีจํานวนลดลงจนถึงเดือนสิงหาคม (รูปท่ี 1) ความกวางของปากนกกินปลีทายทอยน้ําเงินมีขนาด 9.21 มิลลิเมตร

5

11

22

3

8

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

3.5

4

4.5

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. เดือน

คะแน

น (ชพีลั

กษณ)

0

5

10

15

20

25

จํานวนนก

จํานวนสัมพทัธของนกดอกตูม

ดอกบาน

ผลดิบ

ผลสุก

รูปท่ี 1 ชีพลักษณของตองแตบและจํานวนสัมพัทธของนกกินปลีทายทอยนํ้าเงิน

2. พฤติกรรมของนกกินปลีทายทอยน้ําเงนิท่ีเขามาท่ีตองแตบ จากการสํารวจพฤติกรรมของนกกินปลีทายทอยน้ําเงินท่ีเขามาท่ีตนตองแตบท้ังหมด พบวา

นกกินปลีทายทอยน้ําเงินมีพฤติกรรมท้ังหมด 4 พฤติกรรม คือ พฤติกรรมการกินเมล็ด พฤติกรรมการเกาะ พฤติกรรมการทําความสะอาดตัว และพฤติกรรมการหาอาหาร โดยพฤติกรรมการกินเมล็ดตองแตบจะพบมากท่ีสุด รองลงมาคือพฤติกรรมการเกาะและพฤติกรรมการหาอาหาร รูปท่ี 2

การกินเมล็ด66%

การเกาะ16%

การทําความสะอาดตัว

2%

การหาอาหาร16%

การกินเมล็ด

การเกาะ

การทําความสะอาดตัว

การหาอาหาร

รูปท่ี 2 พฤติกรรมของนกกนิปลีทายทอยน้ําเงินท่ีพบในตนตองแตบ

เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 16 ฉบับที่ 1 ธันวาคม 2552

67

3. จํานวนสัมพัทธของนกกนิปลีทายทอยน้ําเงินท่ีเขามากินเมล็ดตองแตบในแตละชวงเวลา นกกินปลีทายทอยน้ําเงินเขามากินเมล็ดตองแตบทุกชวงเวลา และมีจํานวนสัมพัทธมากท่ีสุดในชวงเวลา 09:00 – 12:00 น. (32.64%) รองลงมาคือชวงเวลา 06:00 – 09:00 น. (28.50%) 12:00 – 15:00 น. (22.80%) และ 15:00 – 18:00 น. (16.06%) ตามลําดับ (ดังรูปท่ี 3) นกกินปลีทายทอยน้ําเงินเร่ิมเขามากินเมล็ดตองแตบต้ังแต 06:00 น. จนถึงเวลา 17:00 น. ไมพบนกในชวงเวลา 17:00 – 18:00 น. ขนาดของฝูงพบตั้งแต 1-5 ตัว โดยสวนใหญพบขนาดฝูงเพียง 1 ตัว มีการใชเวลาท่ีตนโดยเฉล่ีย 2.18 นาทีตอคร้ังตอตัว (ใชเวลานอยท่ีสุด 10 วินาที และใชเวลามากท่ีสุด 13 นาที) และกินเมล็ดตองแตบเฉล่ีย 20 เมล็ดตอคร้ังตอตัว (กินนอยท่ีสุด 2 เมล็ด และกินมากท่ีสุด 66 เมล็ด)

55

63

44

31

0

10

20

30

40

50

60

70

06:00-09:00 09:00-12:00 12:00-15:00 15:00-18:00

จํานวนสัมพัทธ

รูปท่ี 3 จํานวนสัมพัทธของนกกินปลีทายทอยนํ้าเงินท่ีพบในแตละชวงเวลา 4. รอยละการงอกของเมล็ดตองแตบจากมูลของนกกินปลีทายทอยน้ําเงินเปรียบเทียบกับเมล็ดจากตนตองแตบ

จากการเก็บตัวอยางมูลนกกินปลีทายทอยน้ําเงินโดยใชตาขายดักจับนก (mist net) พบเมล็ดตองแตบในมูลนกกินปลี 11 ตัว จากนกท้ังหมดท่ีดักได 15 ตัว โดยพบเมล็ดในมูลนกนอยท่ีสุด 1 เมล็ด และมากท่ีสุด 33 เมล็ด เม่ือนําเมล็ดจากมูลนกกินปลีไปทําการเพาะเมล็ดในเรือนเพาะชําเปรียบเทียบกับเมล็ดสุกท่ีไดจากตนตองแตบบริเวณเดียวกัน พบวา เมล็ดจากมูลนกเริ่มงอกในสัปดาหท่ี 1 หลังจากการเพาะ มีคา MLD เทากับ 39 วัน และมีรอยละการงอกเทากับ 80.56 สวนเมล็ดท่ีไดจากตนแมเร่ิมงอกในสัปดาหท่ี 4 หลังจากการเพาะ มีคา MLD เทากับ 45 วัน และมีรอยละการงอกเทากับ 42.22 ดังรูปท่ี 4

ชวงเวลา

เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 16 ฉบับที่ 1 ธันวาคม 2552

68

0.0010.0020.0030.0040.0050.0060.0070.0080.0090.00

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

สัปดาห

%การงอก

Purple-naped Sunbird Mother tree

รูปท่ี 4 รอยละการงอกของเมล็ดตองแตบ วิจารณผลการศึกษา จากผลการวิจัยพบวานกกินปลีทายทอยน้ําเงินซ่ึงเปนนกท่ีถูกจัดในกลุมนกกินน้ําหวานและกินแมลงเปนอาหาร (Johns, 1986; Round, et al., 2006) สามารถกินเมล็ดตองแตบท่ีมีขนาดเล็กกวาความกวางของปากนกเองได ซ่ึงขนาดของความกวางของปากนกเปนตัวกําหนดขนาดของอาหาร (Leighton and Leighton, 1983) ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของ Lambert (1991) พบนกกินปลีทายทอยนํ้าเงินสามารถกินผลไมและเปนตัวชวยกระจายเมล็ดพันธุใหกับ Poikilospermurn suuveolens (Ilrticaceae), Callicarpa longifolia (Verbenaceae) และ Dillenia excelsa (Dilleniaceae)

ตองแตบสามารถดึงดูดนกกินปลีทายทอยนํ้าเงินต้ังแตติดผลดิบจนกระทั่งผลสุกหมด โดยนกเลือกกินเมล็ดในชวงท่ีตองแตบมีผลสุก และไมพบนกกินปลีในชวงท่ีตองแตบมีดอกบาน แสดงวานกกินปลีทายทอยน้ําเงินเปนตัวชวยกระจายเมล็ดพันธุ (seed disperser) ใหตองแตบ แตไมไดเปนตัวชวยผสมเกสร (pollinator) อาจเนื่องมาจากดอกของตองแตบมีขนาดเล็กเพียง 2 มิลลิเมตร (กองกานดา, 2548) ซ่ึงอาจมีขนาดเล็กเกินไปจึงไมเปนท่ีดึงดูดของนกกินปลีทายทอยน้ําเงิน นกกินปลีชนิดนี้เร่ิมเขามาท่ีตนตองแตบตั้งแตเดือนเมษายนโดยเขามาเกาะพักและมีพฤติกรรมการหาอาหาร นกกินปลีมีปริมาณเพ่ิมข้ึนในเดือนพฤษภาคมโดยนกเร่ิมเขามากินเมล็ดตองแตบจากผลท่ีสุก และพบมากท่ีสุดในเดือนมิถุนายนซ่ึงเปนชวงที่ตองแตบมีผลสุกมากท่ีสุด ในเดือนนี้เมล็ดตองแตบถูกนกกินปลีทายทอยน้ําเงินเขามากินและถูกกระจายมากท่ีสุด แตในเดือนกรกฎาคมพบนกกินปลีนอยลง ถึงแมวาตองแตบยังอยูในชวงท่ีมีผลสุกมากท่ีสุดก็ตาม จากขอมูลชวงเวลาในการติดผลของพรรณไมท่ีกระจายเมล็ดโดยสัตวในอุทยานแหงชาติดอยสุเทพ-ปุย พบวาพรรณไมท่ีตองอาศัยสัตวในการกระจายเมล็ดพันธุ ติดผลเพิ่มข้ึนในชวงฤดูฝน โดยมีจํานวนสูงสุดในชวงปลายฤดู

เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 16 ฉบับที่ 1 ธันวาคม 2552

69

ฝน (FORRU, 2005) ซ่ึงอาจมีผลใหนกกินปลีมีทางเลือกของอาหารเพ่ิมมากข้ึน ประกอบกับในเดือนสิงหาคมปริมาณผลสุกมีนอยลงทําใหพบนกกินปลีไดนอยลงไปดวย พฤติกรรมของนกกินปลีทายทอยน้ําเงินท่ีพบท่ีตนตองแตบสวนใหญเปนพฤติกรรมการกินเมล็ดตองแตบ จากการสํารวจพบนกกินปลีชนิดนี้ในชวงท่ีตองแตบมีผลเทานั้น แสดงวานกกินปลีทายทอยนํ้าเงินเขามาใชประโยชนจากตนตองแตบในดานอาหารเปนสวนมาก อีกท้ังพบนกกินปลีทายทอยน้ําเงินเขามากินเมล็ดตองแตบไดทุกชวงเวลา แสดงวาเมล็ดตองแตบจะถูกกระจายโดยนกกินปลีทายทอยน้ําเงินไดทุกชวงเวลา ซ่ึงจากรูปท่ี 3 พบวาตองแตบจะถูกกระจายมากในชวงเวลาเชาซ่ึงจะถูกกระจายมากท่ีสุดในชวงเวลา 09:00-12:00 น. จากการทดลองเพาะเมล็ดในเรือนเพาะชําพบวา เมล็ดจากมูลนกกินปลีทายทอยน้ําเงินมี รอยละการงอกสูงกวาเมล็ดจากตนตองแตบ และมีคา MLD นอยกวาเมล็ดจากตนแม โดยปกติเมล็ดตองแตบจะมีเนื้อเยื่อนุม ๆ (aril) หุมอยู ซ่ึงเนื้อเยื่อนี้ เกี่ยวของกับกลไกการพักตัวของเมล็ด (FORRU, 2008) เม่ือเมล็ดผานทางเดินอาหารของนกกินปลีเนื้อเยื่อนี้จะหลุดลอกออกไป ทําใหน้ําและออกซิเจนสามารถแพรเขาไปสูเอ็มบริโอได จึงทําใหเพิ่มอัตราการงอกของเมล็ด ดังนั้นนกกินปลีทายทอยน้ําเงินจึงมีสวนชวยในการกระจายพันธุใหตองแตบไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยพบนกชนิดนี้เขามาท่ีตนตองแตบตลอดระยะเวลาการติดผลสุก และพบทุกชวงเวลา อีกท้ังเมล็ดตองแตบที่ผานทางเดินอาหารของนกกินปลีทายทอยน้ําเงินมีการเพิ่มปริมาณการงอกของเมล็ดไดมาก(80.56%)

สรุป

1. นกกินปลีทายทอยนํ้าเงินเขามาใชประโยชนตนตองแตบมากท่ีสุดในเดือนมิถุนายนท่ีพบวามีผลสุกในชวงแรก

2. พฤติกรรมท่ีพบมากท่ีสุดคือกินเมล็ดตองแตบ 3. เวลาที่พบนกมากท่ีสุดคือชวง 09:00 – 12:00 น. โดยนกใชเวลากินเฉล่ีย 2.18 นาทีตอคร้ัง

และกินเมล็ดตองแตบเฉล่ีย 20 เมล็ด 4. เมล็ดท่ีไดจากมูลนกมีการงอกรอยละ 80.56 ซ่ึงมากกวาเมล็ดตองแตบท่ีเก็บจากตนท่ีมี

การงอกรอยละ 42.22 5. นกกินปลีทายทอยน้ําเงินชวยแพรกระจายเมล็ดตองแตบ และเพิ่มอัตราการงอกของพันธุ

ไมชนิดนี้ในธรรมชาติ

เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 16 ฉบับที่ 1 ธันวาคม 2552

70

คํานิยม

ผลงานวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนจากโครงการพัฒนาองคความรูและศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย ซ่ึงรวมจัดต้ังโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ รหัสโครงการ T352038

ขอขอบคุณ คุณประทีป โรจนดิลก หัวหนาสถานีวิจัยสัตวปาดอยเชียงดาวและเจาหนาท่ีสถานีทุกทาน อาจารย ดร. สวัสดิ์ สนิทจันทร และสมาชิกหองปฏิบัติการปกษีวิทยา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ท่ีใหคําปรึกษา ชวยเหลือและสนับสนุนตลอดระยะเวลาของการทํางานวิจัย

เอกสารอางอิง

กองกานดา ชยามฤต. 2548. พืชมีประโยชนวงศเปลา. จดัพิมพโดยโครงการ BRT. บริษัท ประชาชน จํากัด. กรุงเทพฯ. 282 หนา.

ไซมอน การดเนอร พินดา สิทธิสุนทร และวิไลวรรณ อนุสารสุนทร. 2543. ไมเมืองเหนือ : คูมือศึกษาพรรณไมยืนตนในปาภาคเหนือ ประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพคบไฟ. 545 หนา.

นริทธ์ิ สีตะสุวรรณ. 2546. ปกษีวิทยาภาคสนาม. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 100 หนา.

วีรยุทธ เลาหะจินดา. 2526. ปกษีวิทยา เลม 1. ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

โอภาส ขอบเขตต. 2544. นกในเมืองไทย เลม 5. สารคดี. กรุงเทพฯ. FORRU (Forest Restoration Research Unit). 2005. How to plant a forest: The Principles and

Practice of Restoring Tropical Forests. Biology Department, Faculty of Science, Chiang Mai University, Thailand.

FORRU (Forest Restoration Research Unit). 2008. Research of Restoring Tropical Forest Ecosystems: A Practical Guide. Biology Department, Science Faculty, Chiang Mai University, Thailand.

John, A.D. 1986. Effects of selective logging on the ecological organization of a peninsular Malaysian rainforest avifauna. Forktail 1: 65-79.

Lambert, F.R. 1991. Fruit-eating by Purple-naped Sunbirds Hypogramma hypogrammicum in Borneo. Ibis 133: 425-426.

เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย

วารสารสัตวปาเมืองไทย ปที่ 16 ฉบับที่ 1 ธันวาคม 2552

71

Leighton, M. and Leighton, D.R. 1983. Vertebrate response to fruiting seasonality within a Bornean rain forest. In: Sutton SL, Whitmore TC, Chadwick AC (eds) Tropical rain forest: ecology and management. Blackwell, London, pp 181-196.

Lekagul, B., and Round, P.D. 1991. A guide to the birds of Thailand. Saha Karn Bhaet Co., Ltd. 458 pp.

Robson, C. 2002. A field guide to the birds of Thailand. New Holland Publishers (UK) Ltd. 272 pp. Round, P.D., Gale, G.A. and Brockelman, W.Y. 2006. A comparison of bird communities in

mixed fruit orchards and natural forest at Khao Luang, southern Thailand. Biodiversity and Conservation 15: 2873-2891.

Smythies, B.E. 1981. The Birds of Borneo, 3rd edn. Kuala Lumpur: The Sabah Society and the Malayan Nature Society.

Wells, D.R. 1988. Birds. In Key Environments : Malaysia (ed. Earl of Cranbrook), pp. 167-195. Pergamon, Oxford, UK.

Wong. M. 1986. Trophic organisation of understory birds in a Malaysian dipterocarp forest. Auk 103: 100-1 16.

เอกสารนี้ทําขึ้นเพื่อแจกในวาระครบรอบ 30 ปี การสัมมนาเรื่องสัตว์ป่าเมืองไทย