A Study of Chronological History of The Migration of Koreans...

11
1 A Study of Chronological History of The Migration of Koreans Punchida Saenphithak 1 Korean migration to the other countries began 100 years ago. Since the 20th century, the migration of Koreans could be divided into four eras as following; the first colonization of Japan, then from 1910 until Korea became independent from Japan, next the era of immigration policy, and finally from 1962 until present. This article aims to analyze the migration of Koreans from the 20 th century to the present which including the study of migrated backgrounds, the purposes of settlement, occupations and their lifestyles. Currently, the number of Koreans who migrated to the other countries have been increasing rapidly. Keywords: Korean, Migration, Japanese Colonization, 20 th century, 1 Lecturer, Faculty of International Studies, Price of Songkla University, Phuket Campus

Transcript of A Study of Chronological History of The Migration of Koreans...

1

A Study of Chronological History of The Migration of Koreans

Punchida Saenphithak1

Korean migration to the other countries began 100 years ago. Since the 20th century,

the migration of Koreans could be divided into four eras as following; the first colonization of

Japan, then from 1910 until Korea became independent from Japan, next the era of

immigration policy, and finally from 1962 until present.

This article aims to analyze the migration of Koreans from the 20th century to the

present which including the study of migrated backgrounds, the purposes of settlement,

occupations and their lifestyles. Currently, the number of Koreans who migrated to the other

countries have been increasing rapidly.

Keywords: Korean, Migration, Japanese Colonization, 20th century,

1Lecturer, Faculty of International Studies, Price of Songkla University, Phuket Campus

2

การศึกษาการย้ายถิ'นของชาวเกาหลีตามประวติัศาสตรล์าํดบัการ

ปญุชิดา แสนพิทกัษ์2

บทคดัย่อ

ชาวเกาหลยีา้ยถิ5นฐานไปอาศยัอยู่ในต่างประเทศมาเป็นเวลาหลายรอ้ยปี ในช่วงศตวรรษที5

20 การยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลสีามารถแบ่งออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะแรก ช่วงการล่าอาณา

นิคมของประญี5ปุน่ ระยะที5สอง ตั Rงแต่ปี ค.ศ. 1910 จนถงึสมยัที5เกาหลเีป็นอสิระจากการเป็นอาณานิคม

ของญี5ปุ่น ระยะที5สาม ในช่วงของรฐับาลในการจดันโยบายการอพยพยา้ยถิ5นฐาน ระยะที5สี5 ตั Rงแต่ปี

ค.ศ. 1962 จนถงึสมยัปจัจุบนั

บทความนีRจะวเิคราะหถ์งึการยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลตีั Rงแต่ในศตวรรษที5 20 จนถงึปจัจุบนั

ลกัษณะพืRนเพของผูย้า้ยถิ5น รปูแบบและวตัถุประสงค์ในการตั Rงถิ5นฐาน ตลอดจนการ ประกอบอาชพี

และวถิชีวีติของชาวเกาหล ีโดยจาํนวนชาวเกาหลทีี5ยา้ยถิ5นฐานเขา้มาในประเทศต่างๆ ไดเ้พิ5มขึRนอย่าง

รวดเรว็จนถงึในโลกปจัจุบนั

คาํสาํคญั : คนเกาหล,ี การยา้ยถิ5น, ยคุอาณานิคมญี5ปุน่, ศตวรรษที5 20 ,

2 อาจารย์ประจําคณะวิเทศศกึษา มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภเูก็ต

[email protected]

3

บทนํา

การยา้ยถิ5นฐานเป็นสว่นหนึ5งของประวตัศิาสตรข์องมนุษยชาต ิอาณาจกัรที5ยิ5งใหญ่ต่างๆ ของ

โลก ต่างตอ้ง อาศยัแรงงานจาํนวนมากเพื5อทาํ การกอ่สรา้งโครงการขนาดใหญ่ ดงันั Rนการยา้ยถิ5นฐาน

ของประชากรจงึเป็นเรื5อง ปกต ิยิ5งในชว่งที5มสีงคราม โรคระบาดหรอืภาวะทพุภกิขภยั การยา้ยถิ5นฐาน

ของประชากรยิ5งเพิ5มจํานวนมากขึRน บางครั Rงถงึข ั Rนยา้ยเมอืงเพื5อสรา้งอารยธรรมใหม่ แมใ้นโลกยุค

ปจัจุบนัการยา้ยถิ5นฐานของประชากรกย็งัดําเนินต่อไป แต่การยา้ยถิ5นฐานแบบสมคัรใจ หรอืการยา้ย

ถิ5นฐานดว้ยเหตุผลทางเศรษฐกจิและการจา้งงานไดเ้พิ5มมากขึRน จนกลายเป็นการยา้ยถิ5นฐานหลกัของ

ประชากรโลกในปจัจุบนั โดยโลกยุคโลกาภวิตัน์ทาํใหก้ารขนส่งสื5อสารและระบบโทรคมนาคมมคีวาม

สะดวกและประหยดัมากขึRน ทําใหป้ระชากรในพืRนที5ห่างไกลสามารถเดนิทางขา้มประเทศได้ง่ายขึRน

ขณะเดยีวกนั ระเบยีบกฎเกณฑด์า้นการเขา้เมอืงของประเทศต่างๆกม็คีวามเป็นสากลและยดืหยุน่มาก

ขึRน ทาํใหก้ารยา้ยถิ5นระหว่างประเทศโดยเฉพาะการเคลื5อนยา้ยแรงงานขา้มชาตกิลายเป็นธุรกจิขนาด

ใหญ่และกาํลงัเป็นประเดน็ดา้นการเมอืงและเศรษฐกจิระหว่างประเทศที5สาํคญัในโลกยุคปจัจุบนั (สกั

กรนิทร,์ 2554)

การศกึษานีRมวีตัถุประสงคเ์พื5อศกึษาถงึการยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลตีามประวตัศิาสตรโ์ดย

ผูศ้กึษาศกึษาจากเอกสารวจิยั (Documentary Research) ใชว้ธิกีารทางประวตัศิาสตร ์(Historical

Methods) และเกบ็ขอ้มลูจากแหล่งขอ้มลูต่างๆ ไดแ้ก ่เอกสารทางวชิาการเกาหล ีสื5อออนไลน์

จากประวตัิศาสตร์การยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลี เริ5มตั Rงแต่สมยัสามกุก (อาณาจกัรซลิลา

แพกเจ และโคกรุยอ) ในสมยัอาณาจกัรซลิลา ชาวอาณาจกัรซลิลาไดย้า้ยถิ5นฐานไปยงัเมอืงซนัดงซอง

(산동성) และเมอืงมุนดงึฮยอน (문등현) ปจัจุบนัคอืเมอืงหนึ5งในประเทศจนีมพีรมแดนตดิกบั

เทือกเขาแพกทูซันของเกาหลีเหนือและก่อตั Rงเป็นชุมชนเล็กๆของชาวเกาหลี แต่ทว่าปจัจุบันไม่

สามารถยนืยนัหลกัฐานไดอ้ยา่งชดัเจนว่ายงัมบีรรพบุรุษของชาวเกาหลใีนอาณาจกัรซลิลาอาศยัอยู่ใน

พืRนที5นีR การย้ายถิ5นฐานของชาวอาณาจกัรแพกเจได้ยา้ยถิ5นฐานเขา้สู่ประเทศญี5ปุ่นเป็นจํานวนมาก

รวมไปถงึในสมยัโครยอ, สมยัโชซอน, สมยัสงครามกบัจนี (병자호란) ในปี ค.ศ 1636 และสมยั

สงครามกบัญี5ปุ่น (임진왜란)ในปี ค.ศ 1952 ชาวเกาหลจีํานวนมากยา้ยถิ5นฐานไปยงัต่างประเทศ

เชน่เดยีวกนั ซึ5งการยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลทีี5ผ่านมา ปรากฏใหเ้หน็ชดัเจนอย่างยิ5งในสมยัโชซอน

และในสมยัที5เกาหลเีป็นสว่นหนึ5งของอาณานิคมญี5ปุน่3

ในสมยัโชซอนนั Rนชาวเกาหลยีา้ยถิ5นฐานเขา้สูจ่นีมากขึRน โดยเฉพาะในช่วงแรกระหว่างปี ค.ศ

1860~1870 ชาวโชซอนไดป้ระสบภยัแลง้จากการเกษตรซึ5งเป็นระยะยาวนาน ชาวโชซอนจํานวนมาก

ได้ยา้ยถิ5นฐานไปยงัพืRนที5เมอืงคนัโด (간도) ซึ5งปจัจุบนัคอืเมอืงหนึ5งในจนีมพีรมแดนตดิกบัเกาหลี

3 http://terms.naver.com/entry.nhn?docId=538760&cid=46634&categoryId=46634

4

เหนือ ในปี ค.ศ 1860 พืRนที5เมอืงคนัโด (간도) มจีํานวนชาวเกาหลยีา้ยถิ5นฐานมากถงึ 77,000 คน

หลงัจากนั Rนชุมชนชาวเกาหลไีด้ขยายพืRนที5ไปยงับรเิวณต่างๆ เช่น ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือของจนี

เมอืง 연변 (Yanbian) ซึ5งมพีืRนที5ตดิกบัเกาหลเีหนือและพืRนที5อื5นๆ ในจนี

หลังสมัยโชซอน ในสมัยพระเจ้าเซจงมหาราช พืRนที5เมอืง (간도) มกีารพฒันามาก ก่อใหเ้กดิการยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหล ี

เมือง 연변 (Yanbian) ในปจัจุบนัตั Rงอยู่ภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือของจีนมีพรมแดนติดกับ

เกาหลีเหนือ เขตปกครองตนเองเกาหลีใน

มณฑลจีRหลินของจีน ในปจัจุบันมีคนจีนเชืRอ

สายเกาหลรีาว 2 ลา้นคน ภาษาเกาหลนีับเป็น

ภาษาทอ้งถิ5นหนึ5งของพืRนที5นีR

การยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลใีนชว่งศตวรรษที5 20 สามารถแบ่งไดเ้ป็น 4 ระยะ

ระยะแรก ตั Rงแต่ปี ค.ศ. 1860 จนถงึ ตน้ศตวรรษที5 20 ปี ค.ศ. 1910 จนถงึการล่าอาณานิคม

ของญี5ปุ่น ในช่วงตอนปลายของครสิต์ศตวรรษที519 ในสมยันั Rนชาวเกาหลแีละเกษตรกรจํานวนมาก

ประสบปญัหาความแหง้แลง้และความอดอยากภายในประเทศ ทาํใหช้าวเกาหลไีด้ยา้ยถิ5นฐานไปยงั

ประเทศต่างๆ เช่น จนี รสัเซยี ฮาวาย เมก็ซโิก ควิบา(ล ีควงัคย,ู 1994) เช่น การยา้ยถิ5นฐานของคน

เกาหลเีกดิขึRนอกีเมื5อกลุ่มชาวนาจากจงัหวดัฮมัเกยีง (บรเิวณดนิแดนเกาหลเีหนือในปจัจุบนั) ชาว

เกาหลยีา้ยถิ5นฐานดว้ยความสมคัรใจเดนิทางขึRนไปทางเหนือเพื5อแสวงหาที5ดนิทาํกนิที5อุดมสมบูรณ์ใน

แถบแมนจเูรยี (Jiandao area) ของจนีและในจงัหวดัทางภาคตะวนัออกตดิทะเลของรสัเซยี (Maritime

province) ทั RงนีRเพราะพวกเขาต่างหลบหนีความยากจนที5ผนืแผ่นดนิในจงัหวดัฮมัเกยีงยุคนั Rนประสบ

กบัความแหง้แลง้ รวมทั Rงหนีการขดูรดีจากเจ้าของที5ดนิ (ดํารง, 2549) นอกจากการยา้ยถิ5นฐานใน

พืRนที5ต่างๆแลว้นั Rน ในช่วงต้นศตวรรษที5 20 ปี ค.ศ. 1902~1903 ชาวเกาหลไีด้ยา้ยถิ5นฐานไปยงัรฐั

ฮาวาย สหรฐัอเมรกิา ซึ5งส่วนใหญ่เป็นประกอบอาชพีแรงงานการเกษตรไร่ออ้ย โดยเฉพาะในช่วงปี

ค.ศ. 1905 การยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลเีขา้สู่รฐัฮาวายเป็นจํานวนมาก ทาํใหร้ฐับาลญี5ปุ่นพยายาม

จาํกดัจาํนวนของชาวเกาหลทีี5ยา้ยถิ5นฐานมายงัรฐัฮาวาย เพื5อป้องกนัผูย้า้ยถิ5นฐานชาวเกาหลทีี5เขา้ไป

5

ทํางานแย่งพืRนที5ทํามาหากนิของพลเมอืงญี5ปุ่น ในปี ค.ศ. 1905 จํานวนผู้ยา้ยถิ5นฐานชาวเกาหลีมี

จํานวนมากถงึ 7,226 คน ซึ5งประกอบดว้ย 1. ผูย้า้ยถิ5นฐานเพศชาย อายุระหว่าง 20~29 ปี 2. หญงิ

สาวเกาหลทีี5แต่งงานกบัชาวต่างชาต ิเรยีกว่า“เจ้าสาวผ่านรูปถ่าย (사진신부) ซึ5งอยู่ในระหว่างปี

ค.ศ.1910 ถงึ ปี ค.ศ.1924 นอกจากการยา้ยถิ5นฐานของเพศชายเกาหล ีอย่างที5กล่าวมาแลว้นั Rนการ

แต่งงานระหว่างหญงิสาวชาวเกาหลแีละชาวต่างชาต ิ(ส่วนใหญ่ประกอบอาชพีเกษตรกรไร่ออ้ยในรฐั

ฮาวาย ประเทศสหรฐัอเมรกิา) กเ็พิ5มจาํนวนสงูขึRนอยา่งมาก หญงิสาวชาวเกาหลทีี5ตอ้งการยา้ยถิ5นฐาน

ไปอเมรกิา กจ็ะส่งรปูถ่ายและจดหมายของตวัเองไปยงัคู่ดูตวัที5ประสงค์จะแต่งงาน ว่ากนัว่ามจีํานวน

หญงิสาวเกาหลทีี5แต่งงานมปีระมาณ 1,100 คน

“เจา้สาวผ่านรปูถ่าย (사진신부)”

ระยะที5สอง ตั Rงแต่ปี ค.ศ. 1910 จนถงึ ค.ศ. 1945 จนถงึสมยัที5เกาหลเีป็นอสิระจากการเป็น

อาณานิคมของญี5ปุน่ ในสมยัของจกัรวรรดนิิยมญี5ปุน่เองคนเกาหลแีละเกษตรกรประสบปญัหาการขาด

แคลนพืRนที5ทํากนิและผลผลิตทางการเกษตรได้ย้ายถิ5นฐานไปยงัประเทศญี5ปุ่นและแมนจูเรียเป็น

จํานวนมาก รวมถงึปญัหาภายในประเทศในเกาหล ีผูล้ ีRภยัทางการเมอืงได้อพยพยา้ยไปประเทศจนี

รสัเซยีและสหรฐัอเมรกิา เพื5อเรยีกรอ้งและเคลื5อนไหวนอกประเทศ ในปี ค.ศ 1931 จกัรวรรดญิี5ปุ่นซึ5ง

ในขณะนั Rนมอีทิธพิลเหนือคาบสมุทรเกาหลไีดเ้ลง็เหน็ผลประโยชน์ในดนิแดนแมนจูเรยีหลายประการ

เช่น ดนิแดนแมนจูเรยีมทีรพัยากรทางธรรมชาตแิละวตัถุดบิทางอุตสาหกรรมมหาศาล สามารถเป็น

แหล่งกระจายสนิคา้ของญี5ปุน่และยงัเป็นรฐักนัชนระหว่างญี5ปุน่กบัดนิแดนไซบเีรยีของสหภาพโซเวยีต

ดงันั Rนญี5ปุน่จงึเริ5มรุกรานดนิแดนแมนจูเรยีอย่างเปิดเผย สิRนปี ค.ศ 1931 จกัรวรรดนิิยมญี5ปุ่นสามารถ

ครอบครองในแมนจูเรยี ในปี ค.ศ 1932 จกัรวรรดญิี5ปุ่นได้ดําเนินการใหก้ลุ่มชาวเกาหลยีา้ยไปยงั

แมนจเูรยีเพื5อพฒันาดนิแดนแมนจูเรยี ซึ5งหลงัจากปี ค.ศ 1930 ชาวเกาหลใีนแมนจูเรยีไดเ้พิ5มมากถงึ

500,000 คน ในช่วงสงครามโลกครั Rงที5 1 เศรษฐกจิของจกัรวรรดญิี5ปุ่นมแีนวโน้มที5ดขี ึRนมาก ชาว

เกาหลจีาํนวนมากยา้ยไปประเทศญี5ปุน่ ซึ5งสว่นใหญ่เป็นหญงิสาวชาวเกาหลทีี5ยา้ยไปเพื5อวตัถุประสงค์

6

เพื5อแต่งงานกบัเกษตรกรชาวญี5ปุ่น ในช่วงปี ค.ศ. 1937 สงครามจีนและญี5ปุ่นและในปี ค.ศ. 1941

สงครามแปซฟิิก (สงครามมหาเอเชยีบูรพา) (ลมีุนอุง, 1997) ชาวเกาหลจีํานวนมากถูกนําไปเป็น

แรงงานเหมืองแร่และถูกบังคับเกณฑ์ ไปเป็นทหารในการรบ ในขณะที5ผู้หญิงถูกบังคับให้เป็น

นางบําเรอ (comfort women) ใหแ้ก่ทหารญี5ปุ่นในสนามรบ เมื5อญี5ปุ่นประกาศยอมแพส้งคราม ในปี

ค.ศ. 1945 ชาวเกาหลจีํานวนมากยา้ยถิ5นฐานกลบัมายงัเกาหล ี มจีํานวนคนเกาหลทีี5อาศยัอยู่นอก

ประเทศถงึ 5 ลา้นคน หรอืเพิ5มขึRนกว่า 4.7 ลา้นคนในชว่ง 35 ปีที5ถกูญี5ปุน่ยดึครอง

ระยะที5สาม ตั Rงแต่ปี ค.ศ. 1945 จนถงึ ค.ศ. 1962 สมยัรฐับาลจดันโยบายการยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหล ีหลงัจากสงครามเกาหลเีสรจ็สิRน เกาหลปีระสบปญัหาภายในประเทศ ทั Rงทางดา้นเศรษฐกจิ สงัคม และการเมอืง ในช่วงระยะเวลานีRกลุ่มผูย้า้ยถิ5นฐานฐาน ประกอบไปดว้ย เด็กกาํพรา้ หญงิสาวเกาหลทีี5แต่งงานกบัทหารชาวอเมรกินั เด็กลูกครึ5ง นักศกึษา บุตรธรรมชาวเกาหลขีองคนต่างชาต ิกลุ่มคนเหล่านีRได้ย้ายถิ5นฐานไปยงัประเทศตะวนัตก เช่น แคนาดา สหรฐัอเมรกิาเป็นจํานวนมาก ในชว่งปี ค.ศ. 1950 จนถงึ ค.ศ. 1964 มจีาํนวนหญงิสาวชาวเกาหลทีี5แต่งงานกบัทหารอเมรกินัมากถงึ 6,000 คนและมเีดก็กาํพรา้ เดก็ลกูครึ5ง เดก็บุตรธรรมจาํนวนมากถงึ 5,000 คน เดนิทางยา้ยถิ5นฐานไปยงัสหรฐัอเมรกิา ซึ5งนบัไดว้่ามจีาํนวนสดัสว่นในกลุ่มนีRมากถงึ 2 ใน 3 ของผูย้า้ยถิ5นฐานทั Rงหมด จนถงึ ค.ศ. 1965 มจีํานวนชาวเกาหลเีดนิทางไปศกึษาต่อต่างประเทศมากถงึ 6,000 คน หลงัจากสําเรจ็การศกึษาในต่างประเทศแลว้ มจีาํนวนชาวเกาหลไีมน้่อยที5ตั Rงรกรากในต่างประเทศ (Yu, 1983)

หญงิสาวเกาหลทีี5แต่งงานกบัทหารอเมรกินั

ระยะที5สี5 ตั Rงแต่ปี ค.ศ. 1962 จนถงึสมยัปจัจุบนั ตั Rงแต่อดตีบรรพบุรุษของชาวเกาหลยีา้ยถิ5นฐานตั Rงเป็นชมุชนในต่างประเทศทั Rง ญี5ปุน่ จนี รวมไปถงึประเทศต่างๆ ทั 5วโลก ในปี ค.ศ. 1962 รฐับาลเกาหลีใต้ได้มขีอ้ตกลงความร่วมมอืในการตรวจคนเขา้เมอืงกบัประเทศ อเมรกิาใต้ ยุโรปตะวนัตก ตะวันออกกลาง และอเมรกิาเหนือ โดยวัตถุประสงค์ของนโยบายในช่วงเวลานั Rน ต้องการที5จะส่งประชาชนของตนเองไปทํางานยงัต่างประเทศ เพื5อลดจํานวนความแออดัของประชากร ทั Rงทาง

7

โครงสรา้งและการกระจายตวัภายในประเทศเกาหล ีโดยในปี ค.ศ. 1963 มชีาวเกาหลกีลุ่มแรกจํานวน 103 คน เดนิทางไปทาํงานทางดา้นการเกษตรในประเทศ อารเ์จนตนิา ปารากวยั โบลเิวยีและประเทศอื5นๆ ในทวปีอเมรกิาใต ้แต่ผูย้า้ยถิ5นฐานชาวเกาหลสี่วนใหญ่ไม่มปีระสบการณ์ทางดา้นการเกษตรในพืRนที5ที5รกรา้ง ว่างเปล่า จงึไดย้า้ยถิ5นฐานจากชนบทและทาํการคา้ขายในเมอืงใหญ่ ในยุโรปช่วงปี ค.ศ. 1960 ได้ก่อเกิดชุมชนผู้ย้ายถิ5นฐานชาวเกาหลี ซึ5งประกอบด้วย นักศึกษาแลกเปลี5ยนชาวเกาหลีจาํนวนมาก สว่นใหญ่จะประกอบอาชพีเหมอืนแร ่นางพยาบาล และลกูจา้งทั 5วไปที5อาศยัอยู่ในเยอรมนั ในปี ค.ศ. 1960 กฎหมายการยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลไีปยงัประเทศในยุโรปตะวนัตกเฉียงเหนือ เชน่ แคนาดาและสหรฐัอเมรกิานั Rนเริ5มมกีารแกไ้ขอย่างจรงิจงั ตั Rงแต่กลางทศวรรษที5 ค.ศ. 1960 ชาวเกาหลทีี5อยู่ในระดบัชนชั Rนกลางที5ไดร้บัการศกึษามคีวามประสงคย์า้ยถิ5นฐานไปยงัประเทศ แคนาดา และสหรฐัอเมรกิาเป็นจาํนวนมากขึRน (Yoon, 1997) ตั Rงแต่ปี ค.ศ. 1963 เป็นตน้ไปมกีารยา้ยถิ5นฐานในรปูแบบการทาํสญัญาการจา้งงานในอาชพีนางพยาบาลและอาชพีทาํเหมอืงแร่ในเขตเยอรมนีตะวนัตกเพิ5มขึRนอย่างมาก ใน ปี ค.ศ. 1963 มจีํานวน 247 คน ปี ค.ศ. 1977 มจีํานวน 5,323 คนของจํานวนผูใ้ชแ้รงงานทาํเหมอืงแร่ ปี ค.ศ. 1966 จํานวนชาวเกาหลทีี5ประกอบอาชพีนางพยาบาล 128 คน และในปี ค.ศ. 1976 มจีาํนวนชาวเกาหลทีี5ประกอบอาชพีนางพยาบาลมากถงึ 10,032 ในประเทศเยอรมนี ( 한·유럽 연구회, 2003)

ในช่วงปี ค.ศ. 1988 เกาหลเีป็นเจ้าภาพในการจดังานกฬีาโอลิมปิกที5เมอืงหลวงกรุงโซล จํานวนผู้ย้ายถิ5นฐานชาวเกาหลีไปยงัสหรฐัอเมรกิาลดลงอย่างมาก แต่ในขณะเดียวกนันั Rนกลับมีจํานวนผูเ้ดนิทางเขา้มาในเกาหลเีพิ5มขึRน ในปี ค.ศ. 1997 ประเทศในเอเชยีประสบวกิฤตการณ์ทางเศรษฐกจิ ซึ5งได้กระจายไปที5แรก คอื ไทย แล้วลุกลามไปอนิโดนีเซยี มาเลเซยีและเกาหลตีามลําดบั ในชว่งเกดิวกิฤตการณ์ทางเศรษฐกจิส่งผลใหเ้กาหลปีระสบปญัหาทางเศรษฐกจิภายในประเทศ ทาํให้การยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลไีปยงัต่างประเทศกลบัมามจีํานวนเพิ5มขึRนอกีครั Rง แต่ในขณะเดยีวกนัการยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลไีปยงัสหรฐัอเมรกิามจีํานวนลดลง เกดิการเปลี5ยนแปลงเป้าหมายของการยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลไีปยงัพืRนที5ต่างๆ เช่น แคนาดา ออสเตรเลยี นิวซแีลนด์ รวมถงึมกีารลดลงของรปูแบบการยา้ยถิ5นฐานที5ไดร้บัการเชญิจากครอบครวัแต่กลบัมกีารเพิ5มของการยา้ยถิ5นฐานในรปูแบบการจา้งงานของบรษิทัและหน่วยงานในต่างประเทศเพิ5มมากขึRน ในปี ค.ศ. 1999 มกีารก่อตั Rงหน่วยงาน สมาคมผูย้า้ยถิ5นฐานในต่างประเทศ (재외동포재단) มกีารออกพระราชบญัญตัเิกี5ยวกบัการตรวจคนเขา้เมอืงและการเขา้ออกของผูย้า้ยถิ5นฐานชาวเกาหล ีและการเลอืกตั Rงประธานาธบิดคีรั Rงที5 19 เดอืน เมษายน ปี ค.ศ. 2012 ที5ผา่นมานั Rน ชาวเกาหลสีญัชาตเิกาหลทีี5ยา้ยถิ5นฐานในต่างประเทศสามารถมสีทิธใินการเลอืกตั Rงที5รฐับาลไดม้อบใหก้บัผูอ้พยพยา้ยถิ5นฐานในต่างประเทศเชน่กนั

8

ตารางที5 1 แสดงการยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลใีตไ้ปยงัสหรฐัอเมรกิา

ในระหว่างปี ค.ศ. 1980~ค.ศ. 2013

Source :Data from U.S. Census Bureau 2006, 2010, and 2013 American Community Surveys (ACS), and

Campbell J. Gibson and Kay Jung “Historical Census Statistics on the Foreign-born Population of the United States:

1850-2000” (Working Paper no.81, U.S. Census Bureau, Washington, DC, February 2006)

www.census.gov/population/www/documentation/twps0029/teps0029.html.

จากตารางที5 1 แสดงจํานวนผูย้า้ยถิ5นฐานชาวเกาหลใีตไ้ปยงัสหรฐัอเมรกิาในระหว่างปี ค.ศ.

1980~ค.ศ. 2013 ในปี ค.ศ. 1980 มจีาํนวนผูย้า้ยถิ5นฐานชาวเกาหล ี289,900 คน ในปี ค.ศ. 1990 มี

จํานวน 568,400 คน ในปี ค.ศ. 2000 มจีํานวน 864,100 คน ในปี ค.ศ. 2006 มจีํานวน 1,066,200

คน ในปี ค.ศ. 2010 มจีํานวน 1,100,400 คน และในปี ค.ศ. 2013 มจีํานวนผูย้า้ยถิ5นฐานชาวเกาหล ี

1,070,300 คน ตามลาํดบั

9

ตารางที5 2 แสดงอตัราการจา้งงานของชาวเกาหลใีนสหรฐัอเมรกิา (ตั Rงแต่อาย ุ16 ปีขึRนไป)

จาํแนกตามอาชพีและถิ5นที5มา ในปี ค.ศ. 2013

Source: MPI tabulation of data from U.S. Census Bureau 2013 ACS.

จากตารางที5 2 แสดงใหเ้หน็อตัราการจา้งงานของประชากรทั Rงหมดที5อาศยัอยูใ่นสหรฐัอเมรกิา

โดยแบ่งออกเป็น 1. ผูย้า้ยถิ5นฐานชาวต่างชาตทิั Rงหมด 2. ผูย้า้ยถิ5นฐานชาวเกาหล ี3. พลเมอืงโดย

กาํเนิด โดยแบ่งอาชพีเป็น 4 แขนง ไดแ้ก่ 1. การจดัการธุรกจิ วทิยาศาสตรแ์ละศลิปะ 2. อาชพีการ

ใหบ้รกิาร 3. พนกังานขายและพนกังานออฟฟิศ 4. องคก์รทรพัยากรและอาชพีซ่อมบํารุง 5. การผลติ

และการขนส่ง จากตารางแสดงให้เห็นว่า ผู้ย้ายถิ5นฐานชาวเกาหลี ในภาคการจัดการธุรกิจ

วทิยาศาสตร ์และศลิปะ ม ี47% ถอืว่ามอีตัราเปอรเ์ซน็ต์มากที5สุด เมื5อเทยีบกบัอาชพีแขนงอื5นๆ เช่น

อาชพีการใหบ้รกิาร 16% พนักงานขายและพนักงานออฟฟิศ 26% องคก์รทรพัยากรและอาชพีซ่อม

บํารุง 3% และการอาชพีในส่วนการผลติและการขนส่ง 9% ผูย้า้ยถิ5นฐานชาวเกาหลใีนสหรฐัอเมรกิา

นิยมงานในสว่นการจดัการธุรกจิ วทิยาศาสตรแ์ละศลิปะมากที5สดุ

ไม่เพยีงแต่การยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลไีปยงัประเทศต่างๆที5ไดก้ล่าวมานั Rนยงัปรากฏการ

ย้ายถิ5นฐานของชาวเกาหลีไปยงัพืRนที5เอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ในช่วงสมยัการยึดครองของญี5ปุ่น

เช่นเดยีวกนั โดยเฉพาะอย่างยิ5งช่วงปี ค.ศ. 1960 รปูแบบการยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลไีด้ขยายตวั

เพิ5มขึRนอย่างมาก เนื5องจากเกาหลเีป็นประเทศที5ขาดแคลนทรพัยากรทางธรรมชาต ิเช่น นํRามนั ไม ้

และทรพัยากรธรรมชาตอิื5นๆ ก่อใหเ้กดิการยา้ยถิ5นฐานไปยงัพืRนที5เอเชยีตะวนัออกเฉียงใต้ที5อุดมไป

ดว้ยความอดุมสมบรูณ์ อกีทั Rงหลงัเสรจ็สิRนสงครามเวยีดนามในช่วง ปี ค.ศ. 1970 ชาวเกาหลผีูม้คีวาม

เชี5ยวชาญทางด้านอุตสาหกรรมจํานวนมากได้เดินทางไปยงัพืRนที5ต่างๆ เช่น ออสเตรเลีย เอเชีย

ตะวนัออกเฉียงใต้และตะวนัออกกลาง โดยเฉพาะในพืRนที5เอเชยีตะวนัออกเฉียงใต้เนื5องจากค่าจ้าง

แรงงานในพืRนที5มรีาคาถูก ทาํใหช้าวเกาหลขียายการลงทุนเพื5อจดัตั Rงโรงงาน บรษิทั หา้งรา้นมากขึRน

10

ในปจัจุบนันีRนอกจากการเขา้มาลงทนุดงักล่าวแลว้ ชาวเกาหลยีงันิยมเดนิทางไปอบรมภาษาองักฤษใน

ฟิลปิปินส ์ในปี ค.ศ. 2011 ขอ้มลูจากกระทรวงต่างประเทศไดร้ายงานว่า มจีาํนวนชาวเกาหลทีี5ยา้ยถิ5น

ฐานไปยงัประเทศในเอเชยีตะวนัออกเฉียงใต ้ดงัต่อไปนีR ฟิลปิปินส ์(96,632 คน), เวยีดนาม(83,640

คน), อนิโดนีเซยี (36,295คน), ไทย(17,500คน), สงิคโปร์ (16,650คน) และคาดการณ์ว่าในแต่ละปี

จาํนวนผูย้า้ยถิ5นฐานชาวเกาหลจีะมจีาํนวนเพิ5มขึRนอยา่งต่อเนื5อง

การยา้ยถิ5นฐานและการตั Rงถิ5นฐานนั Rนเป็นสิ5งที5เกดิควบคู่กนัตั Rงแต่อดตี พรอ้มทั RงมกีารเกดิขึRน

ทั 5วโลก เกาหลกีเ็กดิปรากฏการณ์นีRข ึRนดว้ย การยา้ยถิ5นฐานของชาวเกาหลสีามารถแบ่งเป็น 4 ระยะ

ไดแ้ก ่ระยะแรก ตั Rงแต่ปี ค.ศ. 1860 จนถงึ ตน้ศตวรรษที5 20 ปี ค.ศ. 1910 จนถงึการล่าอาณานิคมของ

ญี5ปุ่น ระยะที5สอง ได้แก่ ตั Rงแต่ปี ค.ศ. 1910 จนถงึ ค.ศ. 1945 จนถงึสมยัที5เกาหลเีป็นอสิระจากการ

เป็นอาณานิคมของญี5ปุน่ ระยะที5สาม ในชว่งของรฐับาลในการจดันโยบายการอพยพยา้ยถิ5นฐาน ระยะ

ที5สี5 ตั Rงแต่ปี ค.ศ. 1962 จนถงึสมยัปจัจุบนั จากการศกึษาทราบว่าการยา้ยถิ5นฐานมปีจัจยัเนื5องจาก

ปญัหาต่างๆ เช่น การล่มสลายของระบบการเกษตรและประสบกบัความแหง้แลง้ภายในประเทศ การ

บบีบงัคบัจากการเป็นอาณานิคมของญี5ปุ่น การแสวงหาดนิแดนเพื5อดํารงชพี ในปจัจุบนัจํานวนผูย้า้ย

ถิ5นฐานไปยงัประเทศต่างๆเพิ5มมากขึRนอยา่งรวดเรว็ ก่อใหเ้กดิชุมชนชาวเกาหล ีที5ดํารงวถิชีวีติและคง

ความเป็นเอกลกัษณ์ไวใ้หล้กูหลานไดส้านต่อความเป็นชนชาตเิกาหลไีวท้ั 5วโลก

เอกสารอ้างอิง

ดร. ดํารงค ์ฐานด,ี “คนเกาหลพีลดัถิ5น : มรดกแห่งความขดัแยง้,” วารสารรามคาํแหง. ปีที5 23 ฉบบัที5 3 กรกฎาคม-กนัยายน พ.ศ. 2549. หน้า 241-253

สกักรนิทร์ นิยมศลิป์, “จุดเปลี5ยนกระแสการยา้ยถิ5นในเอเชยี : สู่ยุคการรวมตวัทางเศรษฐกจิของภูมภิาค, วารสาร ประชากรและสงัคม 2554, สถาบนัวจิยัประชากรและสงัคม มหาวทิยาลยัมหดิล, 2554

공미혜 (1994). 여성문제의 역사적 배경 . 지역사회 . 한국지역사회연구회.

김원홍 외 (1999). 오늘의 여성학. 건국대출판부

권태환. 1996. 《세계의 한민족: 중국》. 통일원

이광규. 1994 《재중한인-인류학적 접근》. 일조각.

이문웅. 1996. 《세계의 한민족-일본》. 통일부

젊은 가족하지 11 인(2005). 여자가 다시 쓰는 결혼이야기. 고즈원.

11

한·유럽 연구회 편. 2003. 《유럽한인사: 프랑스와 독일을 중심으로》. 재외동포재단 연

구보고서. 도서출판 다해.

Patterson, Wayne. 1988. The Korean Frontier in America: Immigration to Hawaii, 1896-1910.

Honolulu: University of Hawaii Press.

Yoon, In-Jin. 1997. On My Own: Korean Businesses and Race Relations in America. Chicago: University of Chicago Press.

Yu, Eui Young. 1983. “Korean Communities in America: Past, Present, and Future.” Amerasia Journal 10: 23-51.

แหล่งข้อมลูเพิ'มเติม

-MPI (Migration Policy Institute). [Homepage of the Migration Policy Institute]. [Online]. Available: http://www.migrationpolicy.org/article/korean-immigrants-united-states [Accessed ��

มีนาคม 558].

-Ministry of Culture, Sports and Tourism. [Homepage of the Ministry of Culture, Sports and Tourism [Online]. http://www.mcst.go.kr/web/s_notice/noticeMain.jsp [Accessed �� มีนาคม 558].

-The Educational Foundation for Koreans Abroad). [Homepage of the The Educational Foundation for Koreans Abroad]. [Online]. http://www.efka.or.kr/ [Accessed 23 เมษายน 558].

-재외 한인의 역사. [Homepage of History of Overseas Koreans].[Online]. http://theme.archives.go.kr/next/immigration/viewMain.do [Accessed 16 พฤษภาคม 558].