Buddhism and Techno-physicalism

19
. ฐานคติของผูเขียนบทความ ผูเขียนไมไดตองการพิสูจนวาแนวคิดแบบ physicalism จริง เพียงสนใจวา พุทธศาสนา สามารถเติบโตในวัฒนธรรมที่มีสามัญสํานึกแบบ physicalism ไดหรือไม คําตอบที่เสนอคือ ได ยกเวนเพียงสํานัก Yogācāra เทานั้น . บทนํา ศาสนาพุทธดูภายนอกเหมือนชัดเจนวา เปน anti-physicalism แตพระพุทธเจามิได กําหนดวาธรรมชาติของความสัมพันธระหวาง กาย (รูปขันธ -rūpa skandhas) และจิต (mental-นามขันธ -nāma skandhas) มี ลักษณะอยางไร ทําใหสํานัก Abhidharma อธิบายวาความสัมพันธระหวาง mental- physical มีลักษณะแบบ dualism อยาง ชัดเจน ในขณะที่สํานักจิตนิยมแบบ Yogācāra D ปฏิเสธวามีเพียง mental event เทานั้น แตกระแสวัฒนธรรมแบบวัตถุนิยม เชน neuroscience หรือตัวแบบของการรับรูทีหลากหลายของคอมพิวเตอร คุกคามทัศนะทียืนยันการมีอยูของ mentality (แตสนับสนุน ทัศนะแบบ physicalism) เชน ทัศนะที่เสนอวา จิตเปนโปรแกรมที่ซับซอนที่ทํางานอยูบน wetware ของสมอง and Techno-physicalism มีภาพยนตรหลายเรื่อง แสดงใหเราเห็นวา สิ่งที่เราเชื่อวาจริง อาจเปนเพียงความจริงเสมือน (virtual reality) โดยผูทําหนาที่หลอกใหเราเชื่อ อยูในบางรูปแบบของ artificial inteligence (คือคอมพิวเตอรกระตุการทํางานของเซลประสาทของเรา) ซึ่งอาจเทียบกับ ปศาจของเดสคารทสก็ได แตแนวคิดเบื้องหลังความเชื่อ เหลานี้กลับมิไดสรางแรงตอตาน anti-physicalism เพราะถาความเปนจริงที่อยูเบื้องหลังสภาพปรากฏมิใช ความฝนหรือภาพมายา แตทวาเปนการกระตุนเซลประสาทของเราดวยคอมพิวเตอรแลว การที่เราไมสามารถแยก D Dharmachari Advayacitta อธิบายวา สํานักโยคาจาร (จิตตอมตวาท) มีแนวคิดทางปรัชญาแบบจิตนิยม มีแนวโนมในการเขาใจ โลกในรูปของจิตและ สสารและเอกภพทางกายภาพเปนการสําแดงตนออกมาของจิต จาก ‘Minding Pinocchio.’ http:// www.westernbuddhistreview.com /vol3/pinocchio.html ในพระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ธรรมบทวา ธรรมทั้งหลายมีใจ เปนหัวหนา มีใจเปนใหญ สําเร็จดวยใจ คําวา ธรรมในที่นี้หมายถึง นิสสัตตธรรม คือ อรูปขันธ ไดแก เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ สวนคํา วา ใจในที่นี้หมายถึง จิตที่มีโทมนัส ประกอบดวย ปฏิฆะ ซึ่งเดิมทีเดียวเปน ภวังคจิต ผองใส (ปภัสสรจิต) (พระมหาสมจินต สมมาปญโญ, ๒๐๕) - วิเคราะหเรื่องความทุกขและการดับทุกข ~ ‘I’ = psychophysical elements - สํานัก Madhyamaka ในสาย Mahāyāna techno- physicalism - สํานัก Yogācāra ในสาย Mahāyāna subjective idealism ~ techno-physicalism - กฎแหงกรรมและการเกิดใหม - physicalism Madhyamaka - physicalism Yogācāra การประเมินของผูอาน กายกับจิต: Buddhist non-reductive mentalism การตายและการเกิดใหม การใสจิตใหกับพิน็อคชิโอ (Minding Pinocchio) การตรวจสอบจากภายนอกไมไดของคําอธิบายในพทธศาสนา (ปรัช) - พุทธศาสนาเปน ~ essentialism Qความไรตัวตน (อนัตตาdoctrine of anātman) - dualism/essentialism ขัดแยงกับคําสอนเรื่องนิพพาน (Nivāna) . ความไมลงรอยกันระหวางพุทธศาสนาและ physicalism . บทนํา (สถานการณของพุทธศาสนาในกระแสเทคโนโลยี ) - neuroscience - virtual reality . ความไมลงรอยกันระหวางกระแสเจตนิยม (spiritual tradition) และ physicalism ไมมีจิต) / dualism (มีจิตและกาย) - techno-physicalism ( ครงสรางของบทความ . (ฐานคติของผูเขียน) Mark Siderits. “Buddhism and Techno-physicalism: Is the Eightfold a Program?” Philosophy East & West. Vol.51 No.3 July 2001, pp 307-314. Chatchai Khumtaveeporn Page 1 10/10/57 Buddhism

Transcript of Buddhism and Techno-physicalism

๑. ฐานคติของผูเขียนบทความ

ผูเขียนไมไดตองการพิสูจนวาแนวคิดแบบ

physicalism จริง เพียงสนใจวา พุทธศาสนา

สามารถเติบโตในวัฒนธรรมที่มีสามัญสํานึกแบบ

physicalism ไดหรือไม คําตอบที่เสนอคือ ได

ยกเวนเพียงสํานัก Yogācāra เทาน้ัน

๒. บทนํา

ศาสนาพุทธดูภายนอกเหมือนชัดเจนวา

เปน anti-physicalism แตพระพุทธเจามิได

กําหนดวาธรรมชาติของความสัมพันธระหวาง

กาย (รูปขันธ-rūpa skandhas) และจิต

(mental-นามขันธ-nāma skandhas) มี

ลักษณะอยางไร ทําใหสํานัก Abhidharma อธิบายว าความสัม พันธ ร ะหว า ง mental-physical มีลักษณะแบบ dualism อยาง

ชัดเจน ในขณะท่ีสํานักจิตนิยมแบบ

Yogācāra ปฏิเสธวามีเพียง mental event เทานั้น

แตกระแสวัฒนธรรมแบบวัตถุนิยม เชน

neuroscience หรือตัวแบบของการรับรูท่ี

หลากหลายของคอมพิวเตอร คุกคามทัศนะท่ี

ยืนยันการมีอยูของ mentality (แตสนับสนุน

ทัศนะแบบ physicalism) เชน ทัศนะท่ีเสนอวา จิตเปนโปรแกรมท่ีซับซอนท่ีทํางานอยูบน wetware ของสมอง

and Techno-physicalism

มีภาพยนตรหลายเร่ือง แสดงใหเราเห็นวา ส่ิงท่ีเราเช่ือวาจริง อาจเปนเพียงความจริงเสมือน (virtual reality) โดยผูทําหนาท่ีหลอกใหเราเช่ือ อยูในบางรูปแบบของ artificial inteligence (คือคอมพิวเตอรกระตุนการทํางานของเซลประสาทของเรา) ซึ่งอาจเทียบกับ “ปศาจ” ของเดสคารทสก็ได แตแนวคิดเบื้องหลังความเช่ือ

เหลานี้กลับมิไดสรางแรงตอตาน anti-physicalism เพราะถาความเปนจริงท่ีอยูเบื้องหลังสภาพปรากฏมิใช

ความฝนหรือภาพมายา แตทวาเปนการกระตุนเซลประสาทของเราดวยคอมพิวเตอรแลว การที่เราไมสามารถแยก

Dharmachari Advayacitta อธิบายวา สํานักโยคาจาร (จิตตอมตวาท) มีแนวคิดทางปรัชญาแบบจิตนิยม มีแนวโนมในการเขาใจ

โลกในรูปของจิตและ “สสาร” และเอกภพทางกายภาพเปนการสําแดงตนออกมาของจิต จาก ‘Minding Pinocchio.’ http:// www.westernbuddhistreview.com /vol3/pinocchio.html ในพระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ธรรมบทวา ธรรมทั้งหลายมีใจ

เปนหัวหนา มีใจเปนใหญ สําเร็จดวยใจ คําวา ‘ธรรม’ ในที่น้ีหมายถึง นิสสัตตธรรม คือ อรูปขันธ ๓ ไดแก เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ สวนคํา

วา ‘ใจ’ ในที่น้ีหมายถึง จิตที่มีโทมนัส ประกอบดวย ปฏิฆะ ซึ่งเดิมทเีดียวเปน ภวังคจิต ผองใส (ปภัสสรจิต) (พระมหาสมจินต สมมาปญโญ, ๒๐๕)

- วิเคราะหเรื่องความทุกขและการดบัทุกข → ~ ‘I’ → =

psychophysical elements - สํานัก Madhyamaka ในสาย Mahāyāna ≈ techno-

physicalism - สํานัก Yogācāra ในสาย Mahāyāna → subjective

idealism → ~ techno-physicalism - กฎแหงกรรมและการเกิดใหม - physicalism ↔ Madhyamaka

- physicalism ↔ Yogācāra การประเมินของผูอาน

กายกับจิต: Buddhist non-reductive mentalism การตายและการเกิดใหม

การใสจิตใหกับพิน็อคชิโอ (Minding Pinocchio)

การตรวจสอบจากภายนอกไมไดของคําอธิบายในพุทธศาสนา (ปรัชญา)

- พุทธศาสนาเปน ~ essentialism Qความไรตวัตน (อนัตตา–

doctrine of anātman)

- dualism/essentialism ขัดแยงกับคําสอนเร่ืองนิพพาน

(Nivāna)

๔. ความไมลงรอยกันระหวางพุทธศาสนาและ physicalism

๒. บทนํา (สถานการณของพุทธศาสนาในกระแสเทคโนโลยี)

- neuroscience - virtual reality

๓. ความไมลงรอยกันระหวางกระแสเจตนิยม (spiritual tradition)

และ physicalism ไมมีจิต) / dualism (มีจิตและกาย) - techno-physicalism (

โครงสรางของบทความ

๑. (ฐานคติของผูเขียน)

Mark Siderits. “Buddhism and Techno-physicalism: Is the Eightfold a Program?” Philosophy East & West. Vol.51 No.3 July 2001, pp 307-314.

Chatchai Khumtaveeporn Page 1 10/10/57

Buddhism

ขอสังเกต ๑. ในเชิงอรรถท่ี ๑ ผูเขียนกลาววา ทวินิยมในสํานักอภิธรรมแตกตางจากทวินิยมของเดสคารทส ซึ่งจะมี sub-stance อยู ๒ แบบคือ สิ่งท่ีเปนสสาร (material) คือกาย และส่ิงท่ีเปนจิต (mind) แตทวินิยมของสํานักอภิธรรม

แบงเปน ๒ ลักษณะท่ีเรียกวา conceptual fiction ท่ีสามารถแยกเปนองคประกอบยอย (atomic entities)

กายท่ีเกิดจากสสารของเดสคารทสก็มีองคประกอบตางๆ แตตองมีกายจริงๆ ดวย สําหรับ conceptual fiction หมายถึง การเรียกการจัดเรียงของบางอยาง เชน A ไมมีความเปน A แตเปนแคการจัดเรียง ‘ของ’ ในลักษณะหนึ่ง

เทานั้น ในความหมายนี้ทําใหคิดไดวา ความเปน “ตัวตน” (self) ไมมีจริง เปนแตเพียงองคประกอบตางๆ ท่ีมาประชุม

กัน พอแยกออก ทุกอยางก็หายไปดวย (มีองคประกอบท่ีทําใหเกิดกาย แตไมมีกาย)

๒. physicalism เปนการพยายามเขาใจปญหาของความสัมพันธระหวางจิต/กาย โดยเชื่อวา ปรากฏการณตางๆ

มีสภาวะทางกายภาพ (physical) รองรับ แตจิตไมมีอะไรรองรับ ทําใหอธิบายวา จิตมา supervenience กับกาย แต

คําถามท่ีนาสนใจคือ ภายในกรอบของพุทธศาสนา เราสามารถอธิบายไดไหมวา physicalism คืออะไร?

๓. ปรัชญาตะวันตก มีการแยกระหวางการมีความหมาย/ความถูก-ผิดของขอความท่ีมีความหมาย เชน

physicalism มีความหมาย แตแนวคิดแบบจิตนิยมบอกวา ความเชื่อแบบนั้นผิด ศาสนาพุทธแยก ๒ เร่ืองนี้ออกจากกัน

ไดหรือไม? เชน ถามีคนพูดวา สําหรับมนุษย ทุกอยางเปนรูป หรือมีแตรูป (กาย) การคิดแบบนี้ผิด (หมายความวามี

ความหมาย แตเขาใจผิด) หรือ ไรความหมาย (คือ เขาใจไมได) ถาคําพูดแบบนี้ไรความหมาย ก็หมายความวา คําอธิบาย

ท้ังหมดในพุทธศาสนาตรวจสอบไมได ๑

๔. ผูเขียนบทความนี้คิดวา กระแสความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้น ทําใหคนในโลกมีทัศนะแบบ physicalism (ซึ่งก็

นาจะรวมท้ังตัวผูเขียนดวย) เชน เทียบสมองกับโปรแกรมในคอมพิวเตอร เลยสงสัยวา สิ่งนี้คุกคามวัฒนธรรมแบบพุทธ

ศาสนาหรือไม (โดยมีความเช่ือในใจวา เม่ือกอนคนจะเชื่ออะไรก็ได แตเดี๋ยวนี้ ตองเชื่อแบบ techno-physicalism

ดังนั้นพุทธศาสนาจึงมีปญหา) แสดงวา ผูเขียนนาจะเปนชาวพุทธ หรืออยางนอยก็คิดวา ตัวเองเปนชาวพุทธ

๕. ปญหาความสัมพันธระหวางจิต-กายในปรัชญาตะวันตก คําถามท่ีตั้งในการศึกษาเปนแบบ explicit defini-tion (ดูเพ่ิมเติมจากเชิงอรรถทายบท

๑) ซึ่งทําใหสามารถวิวาทะกันขามยุคตางๆ ได แตดูเหมือนวา คําอธิบายในศาสนา

พุทธเปนแบบ implicit definition กลาวคือ ความหมายของคําตางๆ มาจากขอความตางๆ ในตัวพระไตรปฎก ซึ่งก็จะ

มีการตีความหมายของคํา (เหมือนการตึความนิยามในเรขาคณิตวา เสนตรงคือทางเดินของแสง) ถามีปญหาเกิดขึ้น ก็จะ

สรุปวาการตีความผิด ไมใชตัวกรอบ (คัมภีร) ผิด

๖. ปญหาสืบเนื่องจากขอท่ี ๕ การตีความอาจมีไดมากกวา ๑ แบบ ท่ีทําให axioms ตางๆ จริง แตพอมีการ

ตีความท่ีตางออกไป จะบอกวา ผิด

๗. ความเขาใจความหมาย ๒ แบบ (explicit definition และ implicit definition) จะวิวาทะกันไมได

และเร่ืองนี้ไมใชปญหาของการเปน dogmatic แตเม่ือพระพุทธเจาเสนอคําสอนชุดใหมใหคนในครั้งพุทธกาลเลือก

ในขณะนั้น ไมใชวาความเชื่อท่ีอยูชุดเกา (ศาสนาฮินดู?) ผิด แตมีบางคนไมชอบของเกา เพราะตัวเองเสียเปรียบ เชน

วรรณะแพศย หรือวรรณะศูทร เลยเลือกเชื่อของใหม แตไมใชเพราะความเชื่อชุดเกาผิด (ผิดไมได เพราะความเชื่อ ๒

ระบบจะนํามาเทียบกันไมได ไมมีกรอบใหญใหเทียบ) ท้ังสองกรอบพูดกันคนละเร่ือง แตมีคําคลายๆ กันปรากฏอยู

เหมือนการถามวา ระหวางจุด ๒ จุด มีเสนตรงไดมากกวา ๑ เสนไหม? คนท่ีรับเรขาคณิตแบบยูคลิดจะงง สงสัยวา

คําถามหมายความวาอะไร และโดยมากจะคิดวา คนท่ีถามยังไมคอยเขาใจมโนทัศนบางอยางเลยถามแปลกๆ๒

ในทํานองเดียวกัน ถาถามวา ‘สงสัยวาอริยสัจนาจะมีเพียง ๓ ขอ’ ความทุกขรูสึกวาไมเปนปญหา อาจไมจริงก็

ได การตอบปญหาแบบนี้จะบอกวา คนถามไมเขาใจคําวา “ทุกข” ของชาวพุทธ และเม่ือจะใหเขาใจแบบพุทธ ก็ตองเขาใจ

ความหมายตามพระไตรปฎก สิ่งท่ีนาศึกษาคือ คําเหลานี้ (ชุดนี้) ท่ีแฝงอยูในพระไตรปฎกมีอะไรบาง นอกจากทุกข รูป

นาม กรรม ภพ ชาติ …

๘. ตอเนื่องจากขอ ๗ ถาศาสนาพุทธมีคําอธิบายตางๆ เปนแบบ analytic แลว ศาสนาพุทธจะใกลเคียงกับ

คณิตศาสตร มากกวาวิทยาศาสตร ๓

Chatchai Khumtaveeporn Page 2 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

๙. บางครั้งคนมักตอบปญหาโดยบอกวา ตอง ‘ปฏิบัติ’ จึงจะรูวา คําอธิบายในพระไตรปฎกถูกตอง คําถามคือ มี

อะไรท่ีจะบอกวา เม่ือพบวา A แลว คําอธิบายท่ีพูดไวผิด (แสดงวา ตรวจสอบได) แตถาบอกวา ถาไมพบแบบท่ีบอกไว

แสดงวายังปฏิบัติไมถูก ถาปฏิบัติถูก ก็ตองพบ (แสดงวา ‘ถูก’ แฝงอยูในคําอธิบายท้ังชุด เทากับตรวจสอบไมได)

๓. ความไมลงรอยกันระหวางวัฒนธรรมเจตนิยม (spiritual tradition) และ physicalism

ในอดีตแนวคิดพุทธศาสนาซ่ึงอยูในวัฒนธรรมเจตนิยม (spiritual tradition) เผชิญหนากับปศาจ

แหง physicalism แตดวยพัฒนาการใหมๆ ของเทคโนโลยีทําใหแนวคิดแบบ physicalism มีความเปนไปได

มากกวา และบทความน้ีเช่ือวา รูปแบบของ techno-physicalism ปจจุบัน จะย่ิงสรางปญหาใหกับคําอธิบาย

ของศาสนาพุทธมากข้ึนดวย เหมือนคร้ังศตวรรษที่ ๑๗ ท่ีคนมักเปรียบเทียบจิตของมนุษย

กับกลไกการทํางานของนาฬิกาซ่ึงถือวาคอนขางซับซอนในยุคนั้น แตการเปรียบเทียบกับ

คอมพิวเตอรย่ิงมีน้ําหนักมากข้ึน จนทําใหเช่ือวา มนุษยประกอบดวยรางกายและสมอง

เทานั้น แนวคิดอ่ืนนอกเหนือจากแนวคิดนี้กลายเปนส่ิงท่ีคนท่ัวไปเห็นวา เปนไปไมได

สถานการณนี้ทําลายวัฒนธรรมพุทธศาสนาแบบอินเดียนี้หรือไม?

and Techno-physicalism

กอนอ่ืนควรมีการแยกความหมายของ physicalism ซึ่งหมายถึงทัศนะทางอภิปรัชญาท่ีมองวา ทุกส่ิงท่ี

ดํารงอยูเปนสภาวะทางกายภาพ (physical) ในขณะท่ี materialism หมายถึงทัศนะท่ีวา ส่ิงท่ีดี (the good)

สําหรับมนุษยคือ การไดครอบครองหรือมีความม่ังคั่งทางวัตถุ แต physicalism มิใชทฤษฎีวาดวยส่ิงท่ีดีสําหรับ

มนุษย ทวาเราอาจคิดไดวา ถา physicalism เปนจริงแลว ส่ิงท่ีดีทางวัตถุจึงเปนของอยางเดียวท่ีมีได

แตพุทธศาสนารวมถึงวัฒนธรรมแนวเจตนิยม (spiritual tradition) ท้ังหมดกลับโจมตีอยางแข็งขัน

ในจุดนี้ ท้ังๆ ท่ี ‘ส่ิงท่ีดี’ นี้มิใชผลเพียงอยางเดียว ท่ีติดตามมาจากการยอมรับ physicalism เชน เราอาจ

ยอมรับวา การชวยคนท่ีตองการความชวยเหลือมีคุณคามากกวาการแสวงหาความม่ังคั่งทางวัตถุ ดังนั้น การโยง

physicalism เขากับจริยศาสตรแนวสสารนิยมนี้จึงยังตองการหลักฐานมาสนับสนุนอีก

คําถามท่ีเราควรถามก็คือ เหตุใดจึงคิดกันวา ทัศนะท่ีมองมนุษยแบบทวินิยมสามารถปกปองจริยศาสตร

แนวอสสารนิยมไดดีกวาทัศนะแบบ physicalism? ซิเดอริตสสรุปวา มีแนวคิดสนับสนุนความเช่ือดังกลาว คือ

๑. ทัศนะแบบทวินิยมท่ีแยกระหวางจิตกับกายในวัฒนธรรมแนวเจตนิยมสนับสนุนความเช่ือดังกลาว

ทัศนะนี้มองวา มนุษยสามารถแยกไดเปน ๒ สวนท่ีแตกตางกันอยางส้ินเชิง คือ รางกาย และจิต (หรือวิญญาณ)

ท่ีท้ังคูตางมีเปาหมายเฉพาะของตนเอง แนวคิดนี้อางวา จิตเปนแกนแทของมนุษย ดังนั้นการติดตามเปาหมาย

ของจิตจึงเปนส่ิงท่ีเหมาะสมและทําใหบรรลุความเปนมนุษยอยางแทจริง และมักเสริมวา การ

“ตาบอด” ตอความเหนือกวาท่ีแทจริงของเปาหมายนี้เกิดจากความผิดพลาดท่ีเช่ือวา มนุษย

ไมมีส่ิงอ่ืนนอกเหนือจากรางกาย เชน คําอธิบายในแนวคิดของสํานัก Sānkhya และใน

ภควัตคีตา (Bhagavad Gītā) รวมถึงคําอธิบายดานเทววิทยาของนักบุญออกุสตินดวย

แตจุดนี้มีปญหาอยู ๒ ประการคือ

มีความเช่ือวา physicalism ไมสามารถอธิบายการสนับสนุนส่ิงท่ีดีสําหรับมนุษยได เพราะเห็นวา

ถา physicalism เปนจริงแลว ส่ิงท่ีนับวาดีอยางแทจริงก็คือ ภาวะของความสุขทางกายสัมผัส

(sensual pleasure) ความเช่ือนี้ผิดอยางชัดเจน เพราะการทึกทักวา physicalism พิจารณา

เพียงความสุขเทานั้น เหตุใดจึงไมนับรวม ความสันโดษ (contentment) หรือความเบงบาน

(flourishing) เหตุใดจึงพิจารณาเพียงวา การบรรลุความปรารถนาทางกายสัมผัส (sensual desire) มีเพียงความสุขเทานั้น

ก)

Chatchai Khumtaveeporn Page 3 10/10/57

Buddhism

ข) ชาวพุทธไมสามารถใชคําอธิบายแบบทวินิยมในการอางถึงคุณคาของจิตตามท่ีไดอธิบายขางตน

เพราะทัศนะดังกลาววางอยูบนแนวคิดเร่ือง “แกนแทของมนุษย” (human essence) หรือทัศนะ

แบบสารัตถนิยม (essentialism) แตหลักการของพุทธศาสนาเร่ืองความไรตัวตน (อนัตตา–

doctrine of anātman) ปฏิเสธเร่ืองแกนแทในลักษณะนี้อยางส้ินเชิง ดังนั้น สําหรับขาวพุทธจึง

เปนไปไมไดท่ีการบรรลุบางเปาหมายจะมีคุณคามากกวาการบรรลุเปาหมายอื่นๆ

๒. ความพยายามโยงทัศนะแบบทวินิยมเขากับทัศนะท่ีเช่ือในเปาหมายทางจิตวิญญาณบางอยาง ทําให

มีการอางวา จิตหรือวิญญาณดํารงอยูแมวารางกายไดสูญสลายไปแลว เปาหมายของจิตจึงยังคงดํารงอยู ดังนั้น

เปาหมายนี้จึงมีคุณคามากกวาเปาหมายที่ขาดความคงทนถาวรของรางกาย

แตเหตุผลนี้ก็ไมเปนประโยชนตอชาวพุทธ ท้ังนี้เพราะพุทธศาสนาเห็นวา องคประกอบท้ังหมดของ

รางกายมนุษยมีความไมถาวรเทาๆ กัน กลาวคือ เปาหมายสูงสุดของพุทธศาสนาคือ นิพพาน (Nirvān a) เปน

ส่ิงท่ีกลาวกันวาไมมีจุดจบ (to be unending) แตนิพพานก็มิใชสภาวะที่ผูกติดไวกับส่ิงใด (หรือมีส่ิงใดท่ีจะ

แสดงออกถึงภาวะนิพพาน) ดังนั้นจึงกลาวไมไดวา นิพพานเปนส่ิงท่ีมีคุณคาสูงกวาบนพื้นฐานท่ีวา นิพพานจะไม

มีทางสูญหายไปจากผูท่ีไดครอบครอง (ในวิสุทธิมรรคกลาววา “นิพพานมีอยูแตมิใชสําหรับผูท่ีแสวงหานิพพาน”

๔. ความไมลงรอยกันระหวางพุทธศาสนาและ physicalism

๔.๑ ความทุกข การดับทุกข และการมีอยูของ “ตัวตน”

พุทธศาสนาวิเคราะหวา ความทุกข (suffering) เปนส่ิงเล่ียงไมพนสําหรับผูใช

ปญญาไตรตรอง ท้ังนี้เพราะการแสวงหาความหมายและความสําคัญของชีวิตกลายเปนสิ่ง

ท่ีหาความเปนจริงไมไดเนื่องจากภาวะไมเท่ียงแทของเรา เราสามารถเอาชนะความทุกข

ไดโดยการละฐานคติท่ีผิดพลาดท่ีเปนพ้ืนฐานของการแสวงหา นั่นก็คือ ฐานคติท่ีเช่ือวา มี

“ตัวเรา” (‘I’) ท่ีทําใหชีวิตนี้มีความหมาย แตจากการไตรตรองอยางเปนระบบเราจะ

เห็นวา ไมมีตัวตนหรือสารัตถะท่ีเก่ียวพันกับปจจัยทาง psychophysical elements (ขันธ-skandhas) ท่ี

กอใหเกิดชีวิต ท้ังหมดเปนเพียงชุดขององคประกอบทาง psychophysical elements ท่ีสัมพันธกันอยาง

ซับซอน กลาวคือ แตละองคประกอบจะดํารงอยูเพียงช่ัวขณะและมีส่ิงอื่นเกิดข้ึนทดแทนการสูญหายไปของมัน

การกลาวถึง “ตัวฉัน” เปนเพียงความสะดวกในการกลาวถึงตัว “บุคคล” เพ่ืออางอิงถึงชุดของ

องคประกอบอันซับซอนดังท่ีไดกลาวมาเทานั้น แตตอมาความสะดวกทําใหเราลืมส่ิงแทจริงท่ี “ตัวฉัน” บงถึง

และคิดวามีบางสิ่งดํารงอยูนอกเหนือและเหนือองคประกอบเหลานี้ บางส่ิงท่ีเรากลาววา เปนองคประกอบ เปน

สภาวะ มีความเปนเจาของ แตเม่ือเราตระหนักถึงการเปนเจาของไมไดของ psychophysical elements เหลานี้แลว เราจะเห็นวา “ตัวฉัน” เปนเพียงเคร่ืองมือท่ีใชเพ่ือความสะดวกในการบงถึงชุดขององคประกอบอันสัมพันธ

กันเชิงสาเหตุอยางซับซอนเทานั้น กลาวกันวา การหย่ังรูนี้มิไดนํามาเพียงการปลดปลอยมนุษยจากภาวะทุกขที่

ดํารงอยูเทานั้น ทวายังเปนความหมายของเสรีภาพและอิสรภาพ และยังตระหนักรูถึงคุณคาท่ีเทาเทียมกันของการ

เยียวยาความทุกขของผูอ่ืนอีกดวย

พระพุทธเจาไดเสนอแนะแนวทางที่ไดเสนอมาคราวๆ นี้ และมีการอธิบายขยายความในรายละเอียด

โดยสํานัก Abhidharma แตมีการตีความท่ีแตกตางกันในจุดนี้คือ

and Techno-physicalism

ในสาย Mahāyāna เสนอวา ไมเพียงแต “บุคคล” เทานั้นท่ีปราศจากแกนแท

ทวารวมความถึงองคประกอบดาน psychophysical elements ดวย แตสํานัก

Madhyamaka ในสาย Mahāyāna นี้เองเสนอวา ความหมายของคําอธิบายนี้คือ

Chatchai Khumtaveeporn Page 4 10/10/57

Buddhism

จากท่ีกลาวมาท้ังหมด ซิเดอริตส เห็นวา ขอวิเคราะหเก่ียวกับทุกขและการดับทุกขท่ีกลาวมา มิได

ขัดแยงกับแนวคิดแบบ physicalism และความจริงของ physicalism มิไดบั่นทอนจากคํากลาวท่ีวาสรรพส่ิง

ลวนไมเท่ียง แตกลับทําใหเห็นความไมเท่ียงไดงายข้ึนอีกดวย

มักมีการใชปรากฏการณทางจิต เชน ความจํา เปนหลักฐานยืนยันวา มีตัวตนท่ีดํารงอยูจริง แนวคิดนี้

ทึกทักวา ภาพในความทรงจําท่ีคิดถึงบางส่ิงในปจจุบันเปนส่ิงเดียวกับภาพของสิ่งนั้นท่ีเรามีในประสบการณ เชน

การคิดถึงภาพของนายแดง = ภาพนายแดงที่เราพบเม่ืออาทิตยกอน

แตถาเราเช่ือวา บุคคลประกอบดวยรางกายและสมอง และเช่ือวา ตลอดชวงชีวิตของเรามีการแทนท่ีองคประกอบ

ท้ังรางกายและสมองหลายคร้ัง เราจึงไมเห็นวา ภาพนายแดงในความจําทําใหตองมีส่ิงเท่ียงแท (“ตัวตน”) ท่ีอยู

เบื้องหลังปรากฏการณนี้

เราเทียบเร่ืองนี้ไดกับการท่ีเราสามารถรักษาขอมูลไวในคอมพิวเตอรเคร่ืองเกา แมจะมีการเปล่ียน

ช้ินสวนท่ีสําคัญของเคร่ืองคอมพิวเตอรนั้นก็ตาม หลักการสําคัญในกรณีนี้คือ an information-preserving causal process กลาวคือสภาวะของระบบหนึ่งทําใหเกิดสภาวะใหมในอีกระบบหนึ่งท่ีแยกจากกัน และมีแบบ

แผนบางอยางท่ีสําคัญตรงกัน ในลักษณาการเดียวกัน แมเซลสมองจะถูกเปล่ียนเปนระยะๆ และเรายังคงจําภาพ

ในอดีตได ก็ไมจําเปนตองอางถึง “ตัวตน” ท่ีเท่ียงแท (permanent substance) มาทําหนาท่ีนี้

นอกจากนี้ techno-physicalism ยังชวยใหคําอธิบายเร่ืองความไรตัวตน (nonself) ของศาสนาพุทธเขาใจไดงายข้ึน โดยเปรียบเทียบกับการทํางานของคอมพิวเตอร ซึ่งก็เหมือนกับเคร่ืองจักรกลท่ัวไปคือ ไรจิตใจ

ดังนั้น ในทํานองเดียวกัน มนุษยก็อาจพิจารณาไดวา ไรจิตวิญญาณ แตการเปรียบเทียบนี้อาจดวนสรุปเกินไป

เพราะคํากลาวท่ีวา ไรตัวตน มิไดหมายความวา ไรความรูสึก ขาดความเขาใจแบบมนุษย หรือขาดความคิด

สรางสรรค (ซึ่งทําใหมนุษยยังคงตางจากคอมพิวเตอร) แตเราก็สามารถจินตนาการไดวา ในอนาคตคอมพิวเตอร

อาจสามารถทําทุกอยางท่ีกลาวมาได

ขอโตแยงในเร่ืองนี้คือ แมคอมพิวเตอรในอนาคตสามารถทําพฤติกรรมเหลานี้ได แตก็ยังขาด genui-nely autonomous subjectivities กลาวคือ คอมพิวเตอรไมสามารถมีความรูสึกรวมกันกับคอมพิวเตอรอ่ืนท่ี

อยูในสถานการณเดียวกันได หรือกลาววา คอมพิวเตอรยังขาดความสํานึกท่ีแทจริง (truly conscious) แนวคิดดานจิตวิทยาในสํานัก Abhidharma วิเคราะหจิตสํานึกในลักษณะของการทําหนาท่ี (func-tionalist analysis) กลาวคือเปนการกระตุนการรับรูภายใตเง่ือนไขท่ีเหมาะสมบางอยาง และการวิเคราะหในลักษณะนี้จะเปนกลางสําหรับชนิดของส่ิงท่ีวิเคราะห (กลาวคือเปนไดท้ังกายหรือจิต) ท่ีทําหนาท่ีไดในสภาวการณ

ท่ีกําหนด แต (ชาว?) Ābhidharmikas มีความฝงใจเก่ียวกับส่ิงท่ีเปน อสภาวะกาย (nonphysical entities) แตท่ีจริงแลวการวิเคราะหนี้ มิไดปฏิเสธการทําหนาท่ีของส่ิงท่ีมีลักษณะทางกายภาพ และจุดนี้เองท่ีการ

เปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร ทําใหเราเห็นส่ิงท่ีมีลักษณะกายภาพสามารถทําหนาท่ีของกระบวนการทางสมองได

๔.๒ กฎแหงกรรมและการเกิดใหม

ความแตกตางระหวางศาสนาพุทธกับคริสตและยูดาหคือ การอางถึงหลักการเร่ืองกฎแหงกรรม

(karma) และการเกิดใหม (rebirth) และถือวา หลักการนี้เปนหัวใจสําคัญของพุทธศาสนา หลักการของการเกิด

Chatchai Khumtaveeporn Page 5 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

คําอธิบายของศาสนาพุทธในเร่ืองนี้อธิบายใหเขาใจไดดวยคอมพิวเตอร กลาวคือ การเกิดใหมเปนไปได

โดยปราศจากตัวตน (วิญญาณ?) ท่ียายสถานท่ี ดังจะเห็นไดจากการที่คอมพิวเตอรเคร่ืองหนี่งอยูในกระบวนการ

ท่ีทําใหเคร่ืองคอมพิวเตอรอีกเคร่ืองหนึ่งมีสภาวะบางอยางท่ีสัมพันธกันอยางสําคัญกับเคร่ืองคอมพิวเตอรตัวแรก

ท่ีมิไดดํารงอยูแลว เราอาจเทียบการเกิดใหมไดกับการเก็บขอมูลอัดแนน (Zip drive) กอนท่ีคอมพิวเตอรเคร่ือง

เกาจะเสีย และเราติดตั้งขอมูลท้ังหมดในคอมพิวเตอรเคร่ืองใหม

หากเรามองวา กฎแหงกรรมเปนกระบวนสาเหตุท่ีเช่ือมโยงระหวางคุณสมบัติทางจริยธรรมของการ

กระทําในชวงชีวิตหนึ่ง (สาเหตุ) และความเปนไปของชีวิตท่ีเกิดใหม (ผลลัพธ) วิทยาศาสตรธรรมชาติไมสามารถ

พบหรืออธิบายกระบวนสาเหตุในลักษณะนี้ได แตเราอาจพิจารณาประเด็นนี้ได ๒ อยาง คือ

๑. เปนไปไดวา ในอนาคต วิทยาศาสตรธรรมชาติอาจคนพบกระบวนสาเหตุในลักษณะนี้ได แตเหตุผล

นี้ก็อาจถูกหักลางไดวา เปนไปไดเชนกันวา วิทยาศาสตรท่ีสมบูรณแลวในอนาคตก็ไมอาจหาสาเหตุแบบนี้พบ

๒. หากยึดหลักการของพุทธศาสนาท่ีกลาววา การยึดติดกับความเช่ือ (หรือความรู) โดยขาด

ประสบการณ (a priori) จะนําไปสูความทุกข เราจึงควรรอผลการศึกษาหลักการเร่ืองกฎแหงกรรมและการเกิดใหมอยางเชิงประจักษกอน แลวจึงคอยพิจารณาบนพ้ืนฐานของหลักฐานเชิงประจักษวา เราจะยอมรับหลักการนี้

หรือไม เพราะจากการอางประสบการณเฉพาะของบางบุคคล (รวมถึงพระพุทธเจาดวย) วา พบหลักฐานเร่ืองนี้

ระหวางการทําสมาธินั้น ยังคลุมเครือกวาท่ีจะตัดสินได

ถาประเด็นนี้ตองเปดไวกอน คําถามก็คือ เร่ืองกฎแหงกรรมและการเกิดใหมมีความสําคัญเพียงใดตอ

ศาสนาพุทธ แมวาเร่ืองนี้จะมีความสําคัญอยางสูงในวัฒนธรรมตางๆ ของชาวพุทธ แตกลับไมสําคัญตอหลักการ

ปฏิบัติของพุทธศาสนา (Buddhist central project) เพราะการเกิดเพียงคร้ังเดียว (ถายังไมเช่ือเร่ืองการเกิดใหม) ก็มิไดทําใหเราตองชะลอการหาทางดับทุกขสําหรับชีวิตในอนาคต แตปญหากลับอยูท่ีวา ในวัฒนธรรมพุทธ

มีการคิดกันวา มนุษยบางคนไมสามารถแสวงหาและบรรลุการนิพพานไดในชีวิตนี้ ดังนั้นกฎแหงกรรมและการ

เกิดใหมจึงใหสัญญากับคนเหลานี้วา ถาพวกเขาทํากรรมดีในชีวิตนี้ พวกเขาจะไดเกิดใหมในสภาพแวดลอมท่ีดีข้ึน

ซึ่งจะทําใหบรรลุการนิพพานไดงายข้ึน เม่ือการนิพพานมิไดเปนส่ิงท่ีบรรลุไดสําหรับทุกคน และมีการปฏิเสธกฎ

แหงกรรมและการเกิดใหม แนวทางของศาสนาพุทธก็ดูมีเสนหนอยลง (แตมิไดหมายความวาการวิเคราะหแนว

พุทธเปนส่ิงท่ีผิด)

คําถามท่ีควรถามในเร่ืองนี้ก็คือวา

๑. ทําไมมนุษยบางคนจึงไมสามารถบรรลุนิพพานไดในชีวิตนี้?

๒. ถาปญหาขอแรกอยูท่ีสาเหตุวา การปฏิบัติไปสูนิพพานเปนส่ิงท่ียากมากเม่ือเทียบกับความย่ัวยวน

ของชีวิตทางโลกแลว ชาวพุทธควรเพิ่มความพยายามขึ้นอีกหลายเทาเพ่ือชักชวนชาวโลกใหเห็น

สัจจะของความทุกข

๓. ถาปญหาขอแรกเปนเพราะวา เง่ือนไขของการดําเนินชีวิต เชน ความยากจนขนแคน และความตกต่ํา

ของชีวิต หนาท่ีของชาวพุทธก็คือการขจัดความช่ัวรายทางสังคมใหหมดไป เพ่ือใหทุกคนสามารถ

บรรลุการนิพพานได

Chatchai Khumtaveeporn Page 6 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

บางคนกลาววา ถาไมมีหลักการเร่ืองกฎแหงกรรมและการเกิดใหมแลว ก็ไมมีเหตุผลท่ีคนจะปฏิบัติตาม

คําสอนของศาสนาตามที่เคยเปนมา แตนี่ (แมจะจริง) ก็มิใชเหตุผลท่ีชาวพุทธจะใชเพ่ือยอมรับหลักการเร่ืองกฎ

แหงกรรมและการเกิดใหม เพราะบนพ้ืนฐานของหลักการเร่ืองความไรตัวตน (doctrine of nonself) ชาวพุทธสามารถสราง “พันธะทั่วไป” ท่ีจะเพียรปองกันความทุกขไมวาจะเกิดข้ึนท่ีใดก็ตาม หลักการท่ีเปนแกนของการ

ปฏิบัติของชาวพุทธจึงสนับสนุนหนาท่ีพ้ืนฐานของการสรางกุศลกรรม (beneficence) ซึ่งท่ีจริงก็คือแกนของทุก

ศาสนานั่นเอง จึงเห็นไดวา หากแนวปฏิบัติแบบเจตนิยม (spiritual path) จําเปนตองสนับสนุนศาสนาตาม

จารีตประเพณีแลว ศาสนาพุทธก็สามารถกระทําไดโดยไมตองอาศัยหลักการเร่ืองกฎแหงกรรมและการเกิดใหม

ในสาย Mahāyāna คําสอนเร่ืองความไรแกนแทขององคประกอบตางๆ (the essencelessness of the elements) ทําใหเร่ืองซับซอนมากข้ึน สํานัก Madhyamaka ตีความหลักการนี้วา ท่ีสุดแลวความคิด

เก่ียวกับสิ่งตางๆ ก็คือความวางเปลา ไมมีความจริงสูงสุดของส่ิงท่ีเปนกายภาพ (physicalism) หรือท้ังกายและ

จิต (nāma-rūpa dualism) หรือเปนจิต (subjective idealism) การปฏิบัติของสํานักนี้ใหยึดตามธรรม

เนียมการปฏิบัติ คือยอมรับทัศนะเก่ียวกับโลกท่ีทําใหการปฏิบัติประสบผลสําเร็จ ดังนั้นถา physicalism

สอดคลองกับหลักคําสอนท่ีกลาวมาขางตนมากกวาแลว สํานัก Madhyamaka จะยอมรับ physicalism ใน

ฐานะท่ีเปนจริงตามธรรมเนียมปฏิบัติ (conventional truth) [ผูเขียนเช่ือวา ความเปล่ียนแปลงดานวัฒนธรรม

ทางวัตถุจะทําให physicalism กลายเปนคูแขงท่ีมีภาษีกวาอีก ๒ ทัศนะ]

ปญหาจริงอยูท่ี สํานัก Yogācāra เพราะสํานักนี้ตีความคําสอนเร่ืองความไรแกนแทขององคประกอบ

ตางๆ (the essencelessness of the elements) วา ความจริงสูงสุดของธรรมชาติเปน “ส่ิงท่ีกลาวถึงไมได”

(ineffability) และสํานักนี้เสนอวา การพิจารณาวาส่ิงท่ีกลาวถึงไมไดนี้มีธรรมชาติเปนจิต จะใกลเคียงความเปน

จริงมากกวาการพิจารณาวามีธรรมชาติเปนภาวะกายภาพ (ชาว?) Yogācārins อางวา คําสอนในแนวจิตนิยมเก่ียวกับการรับรูวาเปนเพียงภาพประทับภายใน (inner impression-only) เปนแนวทางที่ดีท่ีสุดในการสอน

เร่ืองความไรตัวตน ซึ่งหากเปนเชนนี้จริงแลว ทัศนะของสํานักนี้ก็ไปดวยกันไมไดกับแนวคิดแบบ physicalism

แต (ชาว?) Ābhidharmikas และ Mādhyamikas ปฏิเสธการยอมรับอภิปรัชญาแบบจิตนิยมวาเปนส่ิงจําเปนเพ่ือเขาถึงผลแหงคําสอนของพระพุทธเจา และกอใหเกิดการวิวาทะอยางลึกซึ้งและซับซอนใน ๒

กระแสความคิดนี้ ซึ่งไมใชประเด็นสําคัญท่ีตองการกลาวถึง จึงสรุปไดวา พุทธศาสนาสามารถเติบโต (หรือไป

ดวยกัน) ไดในวัฒนธรรมท่ีมีสามัญสํานึกแบบ physicalism มีเพียงสํานัก Yogācāra เทานั้นท่ีไปดวยกันไมได

๕. การประเมินของผูอาน

กอนอ่ืน คงตองพยายามทําความเขาใจกับภาพรวมของจักรวาลของ

สรรพชีวิตในพุทธศาสนากอน ท้ังนี้เพราะหากไมพิจารณาประเด็นนี้ เม่ือ

พิจารณาแนวคิดเร่ืองความสัมพันธระหวางสภาวะจิตและสภาวะกาย

รวมถึงการเกิดใหมแลว จะทําใหเกิดความสับสน (ดังเชนท่ีพบไดในงาน

เขียนของซิเดอริตส)

ดร.สุนทร ณ รังษี ไดอธิบายวา ในพุทธปรัชญาคําวา “สัตว” ใช

หมายถึงส่ิงมีชีวิตทุกประเภท (ยกเวนพืช) ไมวาจะเปนเทวดา มนุษย

สัตวเดียรัจฉาน เปรต อสูรกาย หรือสัตวนรก ก็รวมเรียกวาสัตวท้ังส้ิน (น.

๒๔๗) ซึ่งทานอธิบายวา เรารับรูการมีอยูของสัตวอีก ๔ ประเภท

นอกเหนือจากมนุษยดวย “ทิพยจักษุ”

นิพพาน

เทวดา (ทุกขนอยที่สุด)

มนุษย

เปรตวิสัย

กําเนิดเดียรัจฉาน

← สุคติ

ทุคติ

นรก (ทุกขมากที่สุด)

Chatchai Khumtaveeporn Page 7 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

การเกิดเปนสัตวท้ัง ๕ ประเภทนี้เรียกวา “คติ ๕” ซึ่งจะเปนท่ีไปเกิดของสัตวผูยังติดของอยูในสังสารวัฏ

คือผูท่ียังมีกิเลส ตราบใดท่ียังมีกิเลสอยู ยังทําลายกิเลสใหหมดไปไมได บุคคลก็ยังตองเวียนตายเวียนเกิด

ทองเท่ียวไปๆ มาๆ อยูในคติท้ัง ๕ ตราบนั้น [ประเด็นน้ีสําคัญมาก เพราะการเกิดใหมแบบขาม ‘คติ’ เปนสิ่ง

ที่นาจะอยูนอกกรอบการคิดของแนว physicalism] สวนลักษณะสุดทายคือ การเขาถึงความหลุดพนหรือการ

เขาถึงนิพพานของผูกระทําใหแจงซึ่งเจโตวิมุติ และปญญาวิมุติ เพราะอาสวะทั้งหลายหมดสิ้นไป ไมรวมอยูในคติ

๕ แตเปนลักษณะของผูท่ีหลุดพนจากคติ ๕ ทําลายกระแสแหงวัฏฏะใหขาดลงไดอยางเด็ดขาด เม่ือตายลงก็

เรียกวาเขาสูปรินิพพาน พนจากการเวียนตายเวียนเกิด ไมตองไปสูคติใดๆ อีกตอไป (น. ๓๐๘)

ความเขาใจเบื้องตนของพุทธศาสนา (เถรวาท) คือ พระพุทธเจาทรงเปนมนุษยท่ีมีอัจฉริยภาพเหนือ

มนุษยท้ังปวง โดยเหตุท่ีมีกุศลกรรมท่ีเรียกวา “บารมี” ซึ่งพระองคทรงกระทําหรือบําเพ็ญอยางตอเนื่องมาชาติ

แลวชาติเลาจนมีชาตินับไมถวน (น. ๒๒๕) หลักฐานของเร่ืองนี้คือชาดกตางๆ (พระไตรปฎก เลม ๒๗, ๒๘) ซึ่ง

เปนประมวลเร่ืองราวเก่ียวกับอดีตชาติของพระองคสมัยยังเปนพระโพธิสัตว นอกจากน้ียังปรากฏกระจัดกระจาย

อยูในพระสูตรอ่ืนๆ อีก หลักฐานท่ีกลาวมานี้เปนการยืนยันเก่ียวกับความคิดและความเชื่อเร่ืองสังสารวัฏ หรือการ

เวียนเกิดเวียนตายแบบขามภพขามชาติไดอยางแนนอนสวนหนึ่ง (น. ๒๒๖)

ดร.สุนทรเห็นวา การปฏิเสธความเช่ือเร่ืองการเวียนเกิดเวียนตายแบบขามภพขามชาติ (สังสารวัฏ)

เทากับการปฏิเสธพระพุทธพจน (น. ๒๒๘-๙, ๒๓๖) และทานไดวิจารณการตีความออกในแนวการตายและเกิด

ใหมแบบช่ัวขณะจิตวา เปนมิจฉาทิฏฐิ เปนแนวปรัชญาแบบวัตถุนิยม และเทากับเปนการกลาววา พระพุทธเจา

ทรงสอนส่ิงท่ีเท็จ (น. ๒๔๐) และทานไดสรุป (น. ๒๕๕) วา

“จะเห็นไดวา คําสอนเร่ืองการเวียนตายเวียนเกิดท่ีเรียกวาสังสารวัฏของพระพุทธศาสนา มี

ความสัมพันธกับคําสอนท่ีเปนแกนของศาสนาคือ คําสอนเร่ืองมรรคผลนิพพาน ถามนุษยเกิดหน

เดียวตายหนเดียว หรือมีชีวิตอยูจริงเพียงในชาตินี้ชาติเดียวเทานั้น หลักคําสอนเร่ืองมรรคผล

นิพพานก็จะเปนคําสอนท่ีไรสาระ เพราะจะตอบคําถามบางอยางไมได เชนวา พระอริยบุคคลท่ีบรรลุ

มรรคผลเปนเพียงพระโสดาบันα

หรือพระสกทาคามีβ หรือพระอนาคามี

χ ตายแลวไปไหน จะให

ทานเขาสูปรินิพพาน ทานก็ยังเขาไมได เพราะยังไมบรรลุธรรมเปนพระอรหันต ถาตายแลวขาดสูญ

ไมมีการเกิดอีก การบรรลุมรรคผลนิพพานก็เปนส่ิงไรความหมาย เพราะคนธรรมดากับพระ

α ไดแกผูบรรลุโสดาปตติมรรค-โสดาปตติผล แบงเปน ๓ ประเภท [เนื่องจากทั้ง ๓ ประเภทนี้มีจํานวนชาติท่ีตองเกิดอีกตางกัน

เม่ือศีลไมแตกตางกัน สิ่งท่ีแตกตางกันก็จะตองเปนสมาธิและปญญา จึงทําใหผล คือจํานวนชาติท่ีจะตองเกิดอีกแตกตางกัน - น.

๒๔๘] คือ

๑.เอกพีชี ตายแลวเกิดอีกครั้งเดียวก็สามารถบรรลุมรรคผลท่ีสูงข้ึนไปจนถึงอรหัตตมรรค-อรหัตตผล แลวเขาสู

ปรินิพพานในชาติท่ีเกิดใหมนั้น

๒. โกลังโกละ ตายแลวเกิดอีก ๒ หรือ ๓ ชาติ จึงสามารถเขาสูปรินิพพานไดในชาติท่ี ๒ หรือท่ี ๓ นั้น

๓. สัตตักขัตตุปรมะ ตายแลวจะเกิดอีกอยางมากไมเกิน ๗ ชาติ จึงสามารถเขาสูปรินิพพานได กลาวใหชัดขึ้น พระ

โสดาบันประเภทนี้นาจะเกิดอีกไมนอยกวา ๔ ชาติ

β ผูไดบรรลุสกทาคามิมรรค-สกทาคามิผล ตายแลวจะเกิดอีกครั้งเดียว แลวบรรลุมรรคผลสูงข้ึนไปจนถึงข้ันพระอรหันต แลวเขา

สูปรินิพพานในชาติท่ีเกิดใหมนั้น (น. ๒๔๘)

χ ผูบรรลุอนาคามิมรรค-อนาคามิผล ตายแลวจะไมเกิดเปนมนุษยหรือเทวดาในกามาวจรสวรรคหรือรูปาวจรสวรรคชั้นอ่ืนๆ

ท้ังหมด แตจะเกิดในสวรรคชั้นสุทธาวาสเพียงแหงเดียว แลวปฏิบัติธรรมจนบรรลุเปนพระอรหันต และเขาสูปรินิพพานในสวรรค

ชั้นสุทธาวาสนั้น (น. ๒๔๙)

Chatchai Khumtaveeporn Page 8 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

๕.๑ กายกับจิต: Buddhist non-reductive mentalism

ดร.สุนทร ณ รังษี อธิบายธรรมชาติของมนุษยตามพุทธปรัชญากลาววา มนุษยประกอบข้ึนจากสวน

สําคัญ ๒ สวน คือ รางกายและจิต หรือรูปกับนาม (บาลีเรียกรวมกันวา นามรูป) รางกายเปนสวนวัตถุท่ีมีท้ัง

คุณสมบัติและคุณลักษณะจัดอยูในประเภทรูป จิตและเจตสิกอันเปนสภาวธรรมท่ีประกอบจิตจัดเปนนาม พุทธ

ปรัชญาถือวาท้ังรางกายและจิตหรือรูปกับนามนี้เปนสภาวธรรม คือ เปนส่ิงท่ีเกิดข้ึนเปนไปตามอํานาจการปรุง

แตงของเหตุปจจัย เม่ือเกิดข้ึนก็มีเหตุปจจัยทําใหเกิดข้ึน เม่ือตั้งอยูก็มีเหตุปจจัยทําใหตั้งอยู เม่ือเส่ือมสลาย

แตกดับก็มีเหตุปจจัยทําใหเส่ือมสลายแตกดับ ไมวาจะเปนรูปหรือนามลวนแตไมคงท่ี มีการเปล่ียนแปรอยู

ตลอดเวลา จึงกลาวไดวา ธรรมชาติชีวิตของมนุษยประกอบดวย ๒ กระแส คือ กระแสแหงรูปธรรมและกระแส

แหงนามธรรม ซึ่งอาจเทียบไดกับกระแสน้ําในแมน้ําหรือลําธารท่ีไมหยุดนิ่งอยูกับท่ี แตมีการไหลอยูตลอดเวลา

ธรรมชาติชีวิตของมนุษยมีลักษณะเปนกระแสก็เพราะมีการเปล่ียนแปรอยูตลอดเวลาเหมือนกระแสน้ํา

ท้ังรูปธรรมและนามธรรมไมเคยหยุดนิ่งอยูกับท่ีแมเพียงช่ัววินาทีเดียว ไมมีสวนไหนในตัวเราท่ีไมเคล่ือนไหว

เปล่ียนแปร เชน ตั้งแตปฏิสนธิข้ึนในครรภมารดาจนกระท่ังตาย โลหิตในตัวเราไมเคยหยุดไหลวนเวียน เซล

ท้ังหลายท่ีเปนพ้ืนฐานของรูปธรรมของเราก็ไมเคยหยุดเปล่ียนแปรเชนกัน แตส่ิงท่ีเปล่ียนแปรรวดเร็วท่ีสุดในตัว

มนุษยก็คือ กระแสแหงนามธรรมท่ีเราเรียกวา จิต ซึ่งรวดเร็วมากจนยากท่ีจะกําหนดได พุทธปรัชญากลาววา

ในขณะสวนท่ีเปนวัตถุของรางกายเกิดดับเพียงคร้ังเดียวนั้น จิตไดเกิดดับแลวถึง ๑๗ คร้ัง แตท้ังกระแสแหง

รูปธรรมและนามธรรม เม่ือของเกาดับไปแลว ของใหมก็เกิดข้ึนมาแทนท่ี กระแสรูปธรรมหรือสวนท่ีเปนรางกาย

ของมนุษยจะสะดุดหยุดลงอยางส้ินเชิงก็ตอเม่ือคนตาย (น. ๒๕๘-๙)

พุทธปรัชญาถือวา ท้ังรางกายและจิตตางก็มีความสําคัญดวยกัน ตองอิงอาศัยซ่ึงกันและกันในการปรากฏ

เปนส่ิงมีชีวิต มีแตรางกายอยางเดียวก็เปนมนุษยท่ีสมบูรณไมได มีแตจิตอยางเดียวก็ปรากฏใหรับรูอะไรไมได เม่ือ

รางกายกับจิตปรากฏอยูรวมกัน สภาวธรรมสมมติท่ีเรียกวามนุษยก็ปรากฏเปนไปอยางท่ีเรารูจัก พุทธปรัชญาถือ

วา รางกายกับจิตเปนสภาวธรรมคนละอยาง จะทอนรางกายลงเปนจิตก็ไมได และจะทอนจิตลงเปนรางกายก็ไมได

(น. ๒๕๘) แตก็ใหความสําคัญกับจิตมากกวารางกาย ดังเห็นไดจากพระพุทธภาษิตในขุททกนิกาย ธรรมบทวา

ธรรมท้ังหลายมีใจเปนหัวหนา มีใจประเสริฐท่ีสุด สําเร็จแลวแตใจ ถาบุคคลมีใจเศราหมอง พูด

อยูก็ตาม ทําอยูก็ตาม ทุกขยอมติดตามเขาไป เพราะทุจริต ๓ อยางนั้น เหมือนลอเกวียนหมุนไป

ตามรอยเทาโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น

ธรรมท้ังหลายมีใจเปนหัวหนา มีใจประเสริฐท่ีสุด สําเร็จแลวแตใจ ถาบุคคลมีใจผองแผวแลว

พูดอยูก็ตาม ทําอยูก็ตาม สุขยอมติดตามเขาไป เพราะสุจริต ๓ อยางนั้น เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป

ฉะนั้น (ขุ. ธ. ๒๕/๑๑ อางใน สุนทร ณ รังษี น. ๒๕๙–๖๐)

ดร.สุนทร ไดนิยาม “จิต” (น. ๒๖๑) ตามคัมภีรอรรถกถาอัฏฐสาลิณี ซึ่งเปนคําอธิบายธัมมสังคณีแหง

พระอภิธรรมปฎก ไดใหคํานิยามไววา “ธรรมชาติท่ีช่ือวาจิต เพราะอรรถวาคิดหรือรูแจงอารมณ เพราะส่ังสม

Chatchai Khumtaveeporn Page 9 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

แผนภูมิแสดงพฤติภาพของจิต

* ปรับปรุงจากแผนภาพในงานของ ดร.สุนทร ณ รังษี น. ๒๖๓, ๒๖๖

๑ ๓ ๒

๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗

๑ ๒ ๓

ภวังคจิต วิถีจิต

ชวนะ

ภวังคจิต

ภวังคจิตในชวงมรณาสันนวิถี จุติจิต

ปฏิสนธิจิต จิตขณะรับรูอารมณ

จิตในชวงมรณาสันนวิถี

พุทธปรัชญากลาววา จิตของเราเกิดๆ ดับๆ เปนสันตติสืบตอกันไปตลอดเวลา เม่ือจิตดวงเกาดับไปจิต

ดวงใหมก็เกิดข้ึน จิตดวงเกาเปนสาเหตุใหเกิดจิตดวงใหม และจิตดวงใหมก็เปนสาเหตุใหจิตดวงตอๆ ไป และ

ตอๆ ไป เกิดทยอยกันไมมีท่ีส้ินสุด โดยธรรมชาติจิตเกิดดับเปนไปใน ๒ ลักษณะ [เหตุท่ีตองกลาวถึงประเด็นนี้

คอนขางละเอียด เพราะคําอธิบายตรงนี้จะนําไปสูความเขาใจเร่ืองการตายและการเกิดใหม] คือ

๑. ภวังคจิต คือ จิตท่ีไมมีการรับรูโลกภายนอก ทางตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ เชน เวลาเรานอนหลับ

เรียกวา จิตของเราอยูในภวังค แตก็เกิดดับอยูตลอดเวลา

๒. วิถีจิต คือ จิตเกิดดับอยูในวิถีแหงการรับรูโลกภายนอก ทางอยาตนะ ๖ แตในวิถีจิตนี้ จิตก็จะตกอยู

ในภวังคเปนชวงๆ สลับกันไปตลอดเวลา เพียงแตวาไมนานเทาเวลาท่ีเรานอนหลับเทานั้น

จากแผนภาพ รูปคร่ึงวงกลมแตละรูปจะแทน ๑ ขณะจิต การรับรูชวงหนึ่งมี ๑๗ ขณะจิต (รายละเอียด ดู

ไดจาก น. ๒๖๓-๔) กระบวนการเกิดดับรับรูอารมณของจิตท่ีใสใจอยางเต็มท่ีจะมี ๑๗ ขณะ (แตถาใสใจนอย จิต

จะเกิดดับ ๑ ชวงเพียง ๑๕ ขณะจิต หรือนอยกวา) เม่ือเกิดดับสืบตอไปจนถึงขณะท่ี ๑๕ การพินิจอารมณท่ี

เรียกวา ชวนะ ก็ส้ินสุดลง ตอจากนั้น ๒ ขณะจิตจะยึดหนวงเอาอารมณท่ีไดพินิจไว และตกลงสูภวังค ภวังคจิต

ดวงท่ี ๑ เรียกวา อตีตภวังค เพราะยังตกอยูในอารมณของภวังคเกาท่ีเพ่ิงรับรูมา พอถึงภวังคจิตดวงท่ี ๒ อารมณ

ใหมเร่ิมเขามามีอิทธิพล ทําใหภวังคจิตกระเทือนเพราะแรงกระทบของอารมณใหม เรียกวา ภวังคไหว ถึง

ภวังคจิตดวงท่ี ๓ จิตไดรับอิทธิพลของอารมณใหมเต็มท่ี ภาวะภวังคจึงส้ินสุดลง ตอจากนั้นจิตก็ข้ึนสูวิถีจิตรับ

อารมณใหม

การรับรูชวงหนึ่ง จิตจะมีอายุการรับรูอยูไดอยางมากเพียง ๑๗ ขณะจิตเทานั้น เม่ือถึงขณะจิตท่ี ๑๗ แลว

จิตก็ดํารงอยูในวิถีตอไปไมได ตองตกลงสูภวังคเสียคร้ังหนึ่ง แลวจึงจะเกิดข้ึนสูวิถีรับอารมณตอไป ความจริงจิตท่ี

อยูในวิถีรับรูอารมณจริงๆ มีเพียง ๑๔ ขณะจิตเทานั้น แตท่ีนับเปน ๑๗ ขณะจิต เพราะนับภวังคจิต ๓ ขณะ กอน

ข้ึนสูวิถีจิตรวมไวดวย เพราะพฤติภาพในการรับรูอารมณเร่ิมมีข้ึนตั้งแตจิตอยูในภาวะของภวังคจิต การรับรูโลก

ภายนอกของจิตจะหมุนเวียนอยูอยางนี้เร่ือยไปตลอดเวลาท่ีเรายังตื่นอยู (น. ๒๖๔)

Chatchai Khumtaveeporn Page 10 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

๕.๒ การตายและการเกิดใหม

เม่ือบุคคลกําลังจะตาย หรือกําลังจะดับจิตนั้น พฤติภาพของจิตแบงเปน ๒ ชวง คือ

๑. มรณาสันนกาล คือ กาลหรือเวลาใกลดับจิต พฤติภาพของจิตในชวงมรณาสันนกาลมี ๑๗ ขณะเชน

ปกติ แตมีการนับตางกัน คือ พฤติภาพของจิตในชวงนี้เปนไปในขณะท่ีความตายกําลังจะเกิดข้ึน และท่ีสําคัญคือ

จะปรากฏ ‘นิมิต’ อยางใดอยางหนึ่งใน ๓ อยางข้ึนเปนอารมณของจิตของคนท่ีกําลังจะตาย นิมิต ๓ อยางนั้น (น.

๒๖๖-๙) ไดแก

๑.๑ กรรม คือ การกระทําท่ีผูกําลังจะตายไดกระทําไวในชีวิตท่ีผานมา (ท้ังกรรมดีและกรรมช่ัว) กรรม

ท่ีมีกําลังมากกวาจะเปน ชนกกรรม คือ กรรมนําไปเกิดใหมแกผูกําลังจะตาย

กรรมท่ีบุคคลนึกถึงกอนท่ีจะดับจิต บางคร้ังเรียกวา อาสันนกรรม (แปลวา กรรมใกลดับจิต) ซึ่งกรรมนี้

จะใหผลแกผูกําลังจะตายกอนกรรมอ่ืนๆ เชน หากอาสันนกรรมเปนกรรมช่ัว บุคคลผูดับจิตหรือตายแลวก็ไปเกิด

ในทุคติ ไมมีทางเลือกเปนอยางอ่ืน เปนไปตามพุทธภาษิตท่ีตรัสไววา “เม่ือจิตเศราหมองแลว ทุคติก็เปนอันหวัง

ได” (วต ถูปมสุต ต˚ ม. มูล. ๑๒/๙๒) และตามปกติการใหผลของกรรมจะเปนไปตามลําดับความหนักเบาของ

กรรม กลาวคือกรรมหนักหรือครุกรรมไมวาจะเปนฝายกุศลหรืออกุศลจะใหผลกอนกรรมอ่ืนๆ ท้ังหมด แตหากไม

เคยทําครุกรรมไว กรรมท่ีทําไวมากหรือพหุลกรรมหรืออาจิณณกรรมจะใหผลกอนกรรมอ่ืนๆ (น. ๒๖๖-๗) และ

ไดขยายความตอวา โอกาสที่กรรมซึ่งเขาทําใหมตอนใกลดับจิตจะใหผล นําเขาไปเกิดหลังจากตายแลวมีไมมากนัก

๒.๒ กรรมนิมิต หมายถึงอุปกรณท่ีใชในการทํากรรม เชน มีด ปน ไม แห ฯลฯ

๓.๓ คตินิมิต คือสัญลักษณของภพหนาท่ีเขาจะไปเกิด ปรากฏใหเห็นในขณะกําลังจะดับจิต ถาตอนกําลัง

จะตายนึกถึงกรรมช่ัว ก็ตองไปเกิดในทุคติ เชน ถาจะตองไปเกิดในนรก ภาพอันเปนสัญลักษณของนรก เชน ภาพ

เปลวเพลิงท่ีกําลังเผาไหมสัตวอยูในนรก ภาพสัตวนรกกําลังทนทุกขทรมาน จะปรากฏใหเห็น ถาจะตองไปเกิดเปน

สัตวเดียรัจฉาน เชน วัว ควาย ภาพแมวัวท่ีเขากําลังจะไปเกิดเปนลูก หรือภาพทุงหญา หรือทองทุงท่ีฝูงวัวควาย

กําลังหากินอยู จะปรากฏใหเห็น แตถาตอนกําลังจะตายนึกถึงกุศลกรรมท่ีทําไว และกรรมนั้นจะสงผลใหเขาไป

เกิดเปนมนุษย ภาพหญิงผูจะเปนมารดาหรือครรภมารดาท่ีเขาจะไปเกิด จะปรากฏใหเห็น ถาจะไปเกิดเปนเทวดา

ในสวรรค ภาพของวิมานหรืออุทยานอันร่ืนรมย ก็จะปรากฏใหเห็น

การปรากฏใหเห็นของคตินิมิตนี้ สวนมากการเห็นจะเปนทางมโนทวารหรือทางใจ ทํานองเดียวกับท่ีเรา

เห็นภาพตางๆ ในความฝน แตก็อาจจะปรากฏใหเห็นทางจักขุทวารหรือทางตาอยางท่ีเรามองเห็นส่ิงตางๆ ได

เหมือนกัน (น. ๒๖๘)

ดร.สุนทร ณ รังษี ยืนยันวา พฤติภาพของจิตในชวงมรณาสันนกาลน้ีจะตองมีนิมิตอยางใดอยางหน่ึง

ใน ๓ อยางดังกลาวมาน้ีเปนอารมณเสมอและทุกคนไป

๒. มรณาสันนวิถี คือ วิถีใกลดับจิตหรือใกลตาย เปนชวงการทํางานคร้ังสุดทายของจิตในชีวิตนี้ เม่ือชวง

มรณาสันนกาลส้ินสุดลง จิตของบุคคลท่ีกําลังจะตายก็ผานเขามรณาสันนวิถี พอส้ินสุดมรณาสันนวิถี จุติจิตซึ่งเปน

จิตดวงสุดทายของชีวิตนี้ก็จะเกิดข้ึน จุติจิตตั้งอยูเพียงช่ัวขณะเดียวก็ดับ พอจุติจิตดับ ชีวิตในปจจุบันของบุคคลก็

ส้ินสุดลงทันที จากขณะนั้นเปนตนไป บุคคลนั้นก็ไดช่ือวา ตายแลว (น. ๒๖๘-๙)

ทันทีท่ีจุติจิตดับลง ปฏิสนธิจิตซึ่งเปนจิตดวงแรกของชีวิตใหมในภพใหมก็เกิดข้ึนในทันที กลาวไดวา

การตายก็คือการเกิดใหม และไมมีวิญญาณออกจากรางเกาไปเกิดใหม เพราะวิญญาณเชนนั้นพุทธปรัชญาถือวาไม

มีอยูจริง ทุกส่ิงท้ังกระแสรูปธรรมและกระแสนามธรรมท่ีรวมกันเปนตัวเราในปจจุบันลวนแตส้ินสุดลงเม่ือตาย แต

กระแสนามธรรมคือจิตนั้น เม่ือส้ินสุดหรือดับลงแลว จิตก็เกิดมีข้ึนในภพใหมดวยอํานาจของกิเลส กรรม และวิบาก

Chatchai Khumtaveeporn Page 11 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

ตัวเราในชาตินี้กับตัวเราในชาติหนา จะวาเปนคนเดียวกันก็ไมใช เพราะรางกายของเราในชาตินี้กับ

รางกายของเราในชาติหนาไมใชรางเดียวกัน จะวาเปนคนละคนก็ไมใช เพราะกระแสนามธรรมหรือกระแสแหงจิต

คงเปนกระแสเดียวตอเนื่องกันไปโดยตลอด ส่ิงท่ีเปนบุคลิกของเราในชาตินี้ก็จะถูกนําสืบทอดตอเนื่องไปสูชาติ

หนา คุณสมบัติและคุณลักษณะท่ีไมดีซึ่งปรากฏอยูในสภาพของอาสวะก็ดี คุณสมบัติและคุณลักษณะท่ีดีซึ่งปรากฏ

อยูในสภาพของบารมีก็ดี ท้ังสองสวนนี้ก็จะถูกนําตอเนื่องไปสูชาติหนาเชนกัน ท้ังอาสวะและบารมีในชาติตอไป

ของเราจะเพิ่มข้ึนหรือลดลง ข้ึนอยูกับกรรมหรือการกระทําของเราในชาติหนาและชาติตอๆ ไปนั่นเอง (น. ๒๗๐)

นอกจากนี้ ในพุทธปรัชญายังมีสัตวหรือส่ิงมีชีวิตในภพอื่นท่ีเรามองดวยตาเนื้อไมเห็นอยูจํานวนมาก

ไดแก สัตวนรก เปรต อสุรกาย เทวดา เปนตน ส่ิงมีชีวิตดังกลาวนี้เม่ือถึงอายุขัยเพราะส้ินบาป ส้ินบุญ หรือส้ิน

อายุ ก็จะผานชวงมรณาสันนกาลและมรณาสันนวิถีกอนการจุติท้ังส้ิน (น. ๒๗๑)

ขอสังเกต

ความเชื่อในเรื่องการตายและเกิดใหมในสังสารวัฏแบบขามภพขามชาติ (โดยเฉพาะขาม ‘คติ’) ตามผลกรรม กิเลส

และวิบาก [เทวดา √ มนุษย √ เปรต √ สัตวเดียรัจฉาน √ นรก] โดยยืนยันวา กระแสนามธรรมคือจิต จะเกิดดับอยางตอเนื่อง

จากจุติจิตดวงสุดทายของชีวิตเกา ไปเปนปฏิสนธิจิตดวงแรกของชีวิตใหม ซึ่งอาจจะอยูคนละภพ และท้ังจิตและกายไมสามารถ

ลดทอนใหเหลือเพียงอยางใดอยางหนึ่งได ทวากระแสนามธรรมคือจิตสําคัญกวา เพราะเปนตัวนําอาสวะหรือบารมีไปสูชีวิตใหม

แตกระแสรูปธรรมคือกายจะเปลี่ยนไปโดยปจจัยแหงกรรม กิเลส และวิบาก ทําใหเห็นวา มิเพียงความสัมพันธระหวางจิตกับ

กายในพุทธปรัชญามิใชแบบ physicalism แตเปนแบบ mentalism ที่มีลักษณะ non-reductive กลาวคือ กระแส

รูปธรรมคือกายจะ supervenience อยูกับกระแสนามธรรมคือจิต

ดังนั้นการท่ีซิเดอริตส ยกตัวอยางเร่ือง Zip drive มาอธิบายการเกิดใหมวา

“การเกิดใหมเปนไปไดโดยปราศจากตัวตน (วิญญาณ?) ท่ียายสถานท่ี ดังจะเห็นไดจากการท่ีคอมพิวเตอร

เคร่ืองหนี่งอยูในกระบวนการท่ีทําใหเคร่ืองคอมพิวเตอรอีกเครื่องหนึ่งมีสภาวะบางอยางท่ีสัมพันธกันอยางสําคัญ

กับเครื่องคอมพิวเตอรตัวแรกท่ีมิไดดํารงอยูแลว เราอาจเทียบการเกิดใหมไดกับการเก็บขอมูลอัดแนน (Zip drive) กอนท่ีคอมพิวเตอรเคร่ืองเกาจะเสีย และเราติดตั้งขอมูลท้ังหมดในคอมพิวเตอรเคร่ืองใหม”

การเปรียบเทียบนี้อาจชวยใหเขาใจไดบาง แตก็อาจทําใหเขาใจผิดไดมากกวา กลาวคือ เม่ือเคร่ืองคอมพิวเตอรเกาเสีย

ขอมูลอัดแนนท่ีจะไปติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอรใหม จะไปอยางไร (“เราติดตั้ง” คืออะไรในกระบวนการเกิดดับของจิต) การ

เกิดขามภพขามชาติแบบขาม ‘คติ’ อาจหมายถึงการไมใชเคร่ืองคอมพิวเตอรใหมเลยก็ได (ซึ่งปญหานี้จะพูดถึงในหัวขอตอไป)

๕.๓ การใสจิตใหกับพิน็อคซิโอ (Minding Pinocchio)

Dharmachari Advayacitta ไดวิพากษแนวคิดแบบ physicalism วาเปนอุปสรรคใหญของชาว

พุทธ ท้ังนี้เพราะการกําหนดใหจิตคือสมอง ซึ่งเปนสวนหนึ่งของรางกาย ดังนั้นเม่ือเสียชีวิต รางกายสูญสลาย จิตก็

ยอมสูญสลายไปดวย ทําใหตองตัดเร่ืองการเกิดใหมท้ิงไป (สามารถดูเพ่ิมเติมการวิจารณเร่ืองนี้ไดจาก บทท่ี ๕

ใน รศ.ดร.สุนทร ณ รังษี โดยเฉพาะหนา ๒๒๕–๒๕๗) และช้ีวา การกําหนดใหจิตเปนสวนหนึ่งของกายนี้เปน

ความผิดพลาดข้ันพ้ืนฐาน ท้ังนี้เพราะโดยหลักการแลว แนวคิดนี้ทําใหไมสามารถอธิบายปรากฏการณของการ

รับรูสัมผัส (sense experience) ได เขาจึงสรุปวา โดยหลักการแลวแนวคิดนี้ไมสามารถอธิบายกระท่ังการดํารง

Chatchai Khumtaveeporn Page 12 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

ประเด็นนี้นาสนใจและนักปรัชญาจํานวนมากเห็นวา ไมสามารถกําหนดใหจิตเทากับคุณสมบัติของระบบ

ประสาทในสมอง (neural properties) ได กระทั่ง คริพเค (Kripke) ยังกลาววา หลังจากท่ีพระเจาสราง

พ้ืนฐานทางกายภาพของความเจ็บปวดแลว พระองคยังคงตองทํางานเพิ่มอีกนิดหนอย เพ่ือใหเกิดประสบการณ

ของปรากฏการณความเจ็บปวด (อางจาก Pauen, 51 บทความนี้นาสนใจมากสําหรับผูตองการหักลางสมการ จิต=สมอง)

ปญหานี้ใกลเคียงกับปญหา ‘การใสจิตใหกับพิน็อคซิโอ’ ทานท่ีเคยทราบเร่ืองราวของตุกตาไมท่ีมีชีวิตช่ือ

พิน็อคชิโอ การมีชีวิตของตุกตาไมตัวนี้ตองผานฉากของการใชมนตรวิเศษ และก็ไมมีคําอธิบายใดๆ ท่ีจะทําให

เขาใจไดวา วัสถุเชนไม จูๆ ก็สามารถเคล่ือนไหว เดิน พูด คิด รับรูโลก มีชีวิตดานอารมณ และสามารถรูสึกถึง

ความสุขและความเจ็บปวดได

แนวคิดแบบ physicalism ตองอธิบายวา สสารสามารถมีจิต (หรือจิตสํานึก) เกิดข้ึนไดอยางไร? และ

หากกลาวขยายความก็คือ สสารในรางกายของเราหรือระบบประสาทมีความสามารถในการรับรูไดอยางไร?

Advayacitta เรียกปญหานี้วา ‘ปญหาพิน็อคชิโอ’ (Pinocchio Problem)

นอกจากไมสามารถแกปญหานี้แลว physicalism ยังมีความสับสนในการใชคําพวกหนึ่ง เชน จิตสํานึก

จิต ตัวแบบ (model) การเปนตัวแทน การคิด ความตั้งใจ ฯลฯ คําเหลานี้เม่ือใชกับจิตของมนุษยจะมี

ความหมายในลักษณะหนึ่ง แตเม่ือใชกับสสารหรือเคร่ืองจักรจะมีความหมายในอีกลักษณะหนึ่ง แตเม่ือนํามาใช

อยางสับสนปนเปก็ทําใหสรุปไดวา จิตของมนุษยก็เหมือนกับพฤติกรรมของสสารหรือเคร่ืองจักร เชนการเทียบ

ความสามารถบางดานของเคร่ืองคอมพิวเตอร แลวสรุปวา จิตมนุษยมิไดเปนอะไรมากไปกวาเคร่ืองชีว

คอมพิวเตอรเทานั้น หรือการใชคําวา ‘การคิด’ ของคอมพิวเตอรกับการคิดของมนุษย เปนตน

ในทํานองเดียวกัน การเปรียบเทียบ รางกายกับเคร่ืองคอมพิวเตอร (hardware) และจิตกับโปรแกรม

ใชงาน (software-ละมุนภัณฑ?) ก็มีปญหาในลักษณะเดียวกันคือ ไมสามารถตอบปญหาวา โปรแกรมใชงาน

สามารถรับรูไดจริงหรือ? หากเราสามารถเขียนโปรแกรมใหเคร่ืองคอมพิวเตอรแสดงออกถึงอารมณความรูสึกได

เชน แสดงความยินดี เม่ือกดแปนพิมพ Ctrl+A แสดงวา เคร่ืองยินดีกับเราเมื่อเรากดแปนพิมพนั้นหรือ? การ

ตอบวาใชดูเปนเร่ืองไรสาระ ดังนั้นปญหาพ้ืนฐานท่ีสุดท่ี physicalism ตองตอบก็คือ ‘ปญหาพิน็อคชิโอ’ (สนใจ

ดูเพ่ิมเติมไดจาก http://www.westernbuddhistreview.com/vol3/pinocchio.html)

ใน http://home.btclick.com/scimah/ ไดอธิบายเร่ืองนี้วา แนวคิดท่ีเรียกวา computationalism หรือ strong AI มองวา กิจกรรมทางจิตของมนุษยท้ังหมดสามารถลดทอนไปสูระบบกฎเกณฑ (algorithms) บางอยางได แนวคิดนี้เปนหลักการของ physicalism ท่ีตองการตัดมิติดานจิตวิญญาณหรือลักษณะท่ีไรระบบ

กฎเกณฑของมนุษยท้ิงไป หรือยอมรับใหเปน epiphenomenon ของสสาร แตถาวิเคราะหดูจะเห็นวา ภายในตัวระบบกฎเกณฑเองมิไดมีความหมายอะไรเลย เชน ประโยค ๒ ประโยค ตอไปนี้

ประโยคท้ังสองนี้สามารถลดทอนไปสูกฏเกณฑแบบเดียวกันภายในหนวยความจําของเคร่ือง

คอมพิวเตอร ทําใหเราเห็นไดอยางชัดเจนวา algorithms มีแตเพียง syntax (โครงสรางไวยากรณ) แตมิใช

semantics (การมีความหมาย) [Searle, 1997] ดังนั้น เราจึงสรุปไดวา คอมพิวเตอรไมสามารถเขาใจเนื้อหา

(i) IF RoomLength * RoomWidth > CarpetArea THEN NeedMoreCarpet = TRUE

(ii) IF Audience * TicketPrice > HireOfVenue THEN AvoidedBankruptcy = TRUE

Chatchai Khumtaveeporn Page 13 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

๕.๔ การตรวจสอบไมไดจากภายนอกของคําอธิบายในพุทธปรัชญา

จากขอสังเกต (ในหนาท่ี ๒-๓) จากขอท่ี ๕-๙ และเชิงอรรถทายบทความท่ี ๑ และ ๓ ทําใหสงสัยวา

คําอธิบายในพุทธปรัชญามีลักษณะแบบ implicit definition คือ การที่มีคําเขามาแบบเปนประโยค รวมเขามา

ในชุดของประโยคท่ีเรายอมรับ ความหมายของคําอยูในประโยคเหลานั้น (ซึ่งก็คือพระไตรปฎกท้ังหมด) หรือใช

สมมติฐานเชิงวิเคราะห (analytical hypothesis) คือ ความหมายของคําในพุทธปรัชญา มาจากบางสวนของ

ชุดขอความในพระไตรปฎก

คําถามก็คือ เราจะประเมินสมมติฐานแบบนี้ไดอยางไรวานายอมรับหรือไม? ถาขอความในคําอธิบาย

ของพุทธปรัชญา (หรือศาสนา) เปนแบบสมมติฐานเชิงประจักษ (empirical hypothesis) เชน มักพูดวา

ธรรมสามารถทดสอบได แตคําวา ‘ทดสอบได’ ในท่ีนี้จริงๆ หมายถึงอะไร?

ในเร่ืองของการปฏิบัตินั้น ดร.สุนทร ไดกลาวไววา ในสวนของการลงมือปฏิบัติท่ีจัดวาเปนการลัดตัด

ตรงเขาสูนิพพาน การปฏิบัติตามหลักสติปฏฐาน ๔ เปนการดําเนินตามหลักมัชฌิมาปฏิปทาอยางแทจริง เปนวิธี

ปฏิบัติท่ีพระพุทธเจาทรงเรียกวา เอกายนมรรค คือทางสายเอกท่ีนําไปสูนิพพาน และเปนวิธีท่ีทรงรับประกัน

ผลสําเร็จวา หากไดปฏิบัติครบถวนตามเง่ือนไขแลว ผูปฏิบัติจะไดรับผลสําเร็จภายในเวลาปจจุบันทันตาเห็น

แนนอน (น. ๕๐๘-๙ อาง สติปฏ ฐานสุต ต ْ ม. มูล. ๑๒/๑๕๑, ๑๕๒) และไดกลาวสรุปไววา ผูใดก็ตามที่ได

ปฏิบัติตามหลักสติปฏฐาน ๔ อยางเขมงวดจริงจังตามเง่ือนไข จะประสบความสําเร็จท่ีเกิดจากการปฏิบัติอยางใด

อยางหนึ่งแนนอน คือ ไดบรรลุธรรมเปนพระอรหันต เขาถึงความหลุดพนจากทุกข หรือเขาถึงนิพพาน หรือยังไม

บรรลุธรรมเปนพระอรหันตเพราะกิเลสท่ีจะตองละยังมีเหลืออยู ก็บรรลุธรรมเปนพระอนาคามี ผูปฏิบัติจะไดรับ

ผลอยางใดอยางหนึ่งใน ๒ อยางนี้ จะไดรับในชีวิตปจจุบันจากการปฏิบัติสติปฏฐาน ๔ ภายในเวลาอยางนอย ๗

วัน และอยางมากสุดไมเกิน ๗ ป (น. ๕๐๙)

หากเทียบขอความนี้กับทฤษฎีในวิทยาศาสตร ก็เหมือนกับการยืนยันวา ทฤษฎีนี้ไดผลแนนอน ไมมีทาง

เท็จได การทดสอบเปนเพียงการยืนยันความถูกตองของทฤษฎีเทานั้น หากพิจารณาในอีกแงมุมหนึ่ง ก็กลาวไดวา

ทฤษฎีนี้ทดสอบไมไดนั่นเอง และยังมีตัวอยางในลักษณะของการอธิบายแกเพ่ือใหทฤษฎียังคงความถูกตองท่ีพบ

ไดในงานของ ดร.สุนทร ณ รังษี เชน ในการอธิบายโดยการยกตัวอยางประกอบเร่ืองการตายและการเกิดใหม

ตัวอยางท่ี ๓ (น. ๒๗๕-๘) ทานอธิบายไว ดังนี้

ในตัวอยางแมจะไมไดกลาวถึงกรรม กรรมนิมิต หรือคตินิมิต อยางใดอยางหนึ่งท่ีจะเขามามี

บทบาทตอจิตของนายขาวในชวงมรณาสันนกาลและมรณาสันนวิถีก็ตาม แตพึงทราบวา นิมิตอยางใด

อยางหน่ึงใน ๓ อยางจะตองมาปรากฏกอนดับจิตเสมอไป การบันดาลโทสะท่ีทําใหจิตของนายขาว

เศราหมองในชวงกําลังจะดับจิต จัดเปนอาสันนกรรมประเภทมโนกรรมฝายอกุศล เกิดมีข้ึนในขณะใกล

จะดับจิตนั้น เม่ือดับจิตหรือตายลงในขณะที่จิตมีสภาพเปนอยางนั้น เขาจึงตองไปเกิดในทุคติ นิมิต

อยางใดอยางหนึ่งใน ๓ อยางที่จะปรากฏแกจิตของนายขาวกอนตายน้ัน คงจะเปนคตินิมิต

มากกวาอยางอื่น … (เนนโดยผูอาง)

จากการอาน การคาดคะเนของ ดร.สุนทร วาเปน คตินิมิต ท่ีมาปรากฏแกนายขาวกอนดับจิต

เพราะขอความท่ีเนนตอนแรกวา “นิมิตอยางใดอยางหนึ่งใน ๓ อยางตองมาปรากฏ” ตรงนี้เกือบมีลักษณะ

แบบ analytical มากกวาแบบ empirical

Chatchai Khumtaveeporn Page 14 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

อีกตัวอยางหนึ่ง เชน

… (เร่ืองนายขําไปเสวยวิบากกรรมอยูในนรก) … ตราบใดท่ีวิบากหรือผลแหงอกุศลกรรม

ยังคงมีกําลังมาก เขาก็คงยังไมอาจหลุดพนไปจากชีวิตอันทุกขทรมานหมกไหมแหงนรกได แตกฎ

แหงกรรมเปนกฎธรรมชาติ การใหผลของกรรมยอมดําเนินไปตามกฎเกณฑอันเท่ียงตรง กรรมเม่ือ

ใหผลไปเปนเวลานาน กําลังของมันก็ยอมออนลง วิบากของมันก็พลอยนอยลงดวย เหมือนการหมุน

แปนของชางปนหมอ เม่ือออกแรงผลักใหมันหมุนในระยะแรกๆ ก็หมุนเร็ว คร้ันหมุนไปๆ แรงท่ีทํา

ใหมันหมุนก็ออนลง การหมุนของมันก็ชาลง คร้ันหมดแรงสงแปนก็หยุดหมุน บาปกรรมของนายขํา

ก็เปนไปในทํานองเดียวกัน เม่ือใหผลไปเปนเวลานาน พลังของกรรมก็คอยๆ ออนลง แตความทุกข

ทรมานในนรกที่นายขําไปตกอยูนั้นยอมเปนไปคงที่ ไมไดออนตามลงไปดวย เพราะฉะนั้นเม่ือ

เหตุการณดําเนินไปถึงจุดหนึ่ง ถาไมมีอะไรเกิดข้ึน ความสัมพันธระหวางกรรมกับวิบากของกรรมก็

จะเสียความสมดุล คือผลจะมีมากเกินกวาเหตุ แตกฎแหงกรรมยอมรักษาความสมดุลของมัน

อยางเท่ียงตรงเสมอไป เม่ือพลังของบาปกรรมลดนอยลงแลว นายขําจะยังคงมีชิวิตอยูในนรกตอไป

อันจะทําใหตองไดรับผลมากกวาเหตุไมได เม่ือถึงจุดนี้ พลังของบาปกรรมท่ียังเหลืออยู จะทําใหนาย

ขําตองจุติยายจากนรกนั้นไปเกิดอยูในท่ีอื่น ซึ่งมีสภาพแวดลอมเหมาะสมกับบาปกรรมท่ียังเหลืออยู

ตอไป … (น. ๒๘๗-๘ เนนโดยผูอาง)

สังเกตวา ความเที่ยงตรงของกฎแหงกรรม หรือความเปนธรรมชาติของกฏแหงกรรม มิไดมาจาก

ลักษณะเชิงประจักษ เพ่ือสรุปภาวะสมดุลของความเท่ียงธรรมหรือความเปนธรรมชาติ แตกลับใชอธิบายให

ลักษณะเชิงประจักษ (ตามตัวอยาง) มีความหมายตามกรอบทฤษฎี ซึ่งมีลักษณะสอดคลองกับการนิยามแบบ

implicit definition มากกวาแบบ explicit definition

ในทํานองเดียวกัน งานเขียนของทานพระธรรมปฏก (ป. อ. ปยุต โต ๒๕๔๓) ก็มีความไปในทํานอง

เดียวกัน คือ

… เปนอันวา พระไตรปฎกนั้นทานเอามาโยงกับขอปฏิบัติท่ีเรียกวา ศีล สมาธิ ปญญา ซึ่งเปน

ขอปฏิบัติที่เกิดผลเปนจริงในชีวิตจิตใจของคน อันจะทําใหพุทธศาสนาถูกยอยเขาไปเปนชีวิตจิตใจ

ของเขา

ถาใครปฏิบัติตามหลักศีล สมาธิ ปญญา ท่ีแสดงไวในพระไตรปฎก ชีวิตของผูนั้นก็จะ

กลายเปนเหมือนตัวพุทธศาสนาเอง เหมือนดังวา เรารักษาพุทธศาสนาไวดวยชีวิตของเรา เพราะ

พุทธศาสนาเจริญข้ึนมาเปนเนื้อตัว เปนชีวิตของเราแลว ตราบใดชีวิตเรายังอยู พุทธศาสนาก็ยังคง

อยู เราอยูไหน เราเดินไปไหน พุทธศาสนาก็อยูท่ีนั่นและกาวไปถึงท่ีนั่น

ขอนี้เปนข้ันท่ีสําคัญมาก คือ ชาวพุทธจะรักษาพุทธศาสนาไวไดดีท่ีสุดดวยชีวิตของแตละคน

เม่ือแตละคนนั้นมีท้ังความรู มีท้ังการปฏิบัติ และไดประจักษแจงผลของพุทธศาสนาแลว

พุทธศาสนาก็เปนเนื้อเปนตัวของเขา เปนชีวิตของเขา ตราบใดท่ีเขายังมีชีวิตอยู พุทธศาสนาก็ยัง

ดํารงอยู เพราะอยูในตัวของแตละคน แลวคนอ่ืนลูกหลานก็มาสืบตอกันไป

อยางนี้เรียกวา พุทธศาสนาอยูดวยวิธีการรักษาอยางสูงสุด พูดไดวา พระไตรปฎกเขามาอยูใน

เนื้อตัวของคนแลว ไมใชอยูแคเปนตัวหนังสือ

แตกอนจะมาอยูในตัวคนได ก็ตองมีคัมภีรพระไตรปฎก (น. ๑๕) นี้แหละเปนแหลงบรรจุ

รักษาไว แมแตเราจะปฏิบัติใหสูงข้ึนไป เราก็ตองไปปรึกษาพระอาจารยท่ีเรียนมาจากพระไตรปฎก

Chatchai Khumtaveeporn Page 15 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

Chatchai Khumtaveeporn Page 16 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

มีขอสังเกต ๒ ประการในเร่ืองนี้คือ ถาความรูเร่ืองหนึ่งกลายเปนวิถีชีวิต การตรวจสอบจะกระทํา

ไดหรือไม? และเม่ือมีความสงสัย ผูตอบขอสงสัยไดอยางถูกตองก็คือผูเช่ียวชาญท่ีเคยศึกษาพระไตรปฎก

ตอเนื่องกันมาหลายสิบทอด ท้ังสองประการนี้อาจยืนยันวา การทดสอบดวยการปฏิบัติ (แบบอิสระ) อาจ

กระทําไมได อาจพบตัวอยางในลักษณะนี้อีกในเร่ืองการตรวจสอบนิมิต เนื่องจากผูฝกกรรมฐานถึงจุดหนึ่ง

จะมีนิมิตมาปรากฏ แตนิมิตนั้นปรากฏแกผูปฏิบัติไมเหมือนกัน ดังนั้น “เม่ือไดนิมิตแลว ก็ไปบอกอาจารย

ใหทราบ (เปนการตรวจสอบไปในตัว กันเขาใจผิด)” … (พุทธธรรม. น. ๘๖๖-๗) ทําใหเห็นวา การ

ปฏิบัติท่ีถูกตอง ความเขาใจท่ีถูกตอง และความหมายที่ถูกตอง ลวนถูกกําหนดไวภายในกรอบท่ีตายตัว

แลวท้ังส้ิน

เชิงอรรถทายบท

๑ เรื่องนี้เก่ียวของกับคํานิยาม ๒ แบบ คือ explicit definition และ implicit definition

explicit definition คือการใหความหมายแกคําท่ีตองการอธิบายในความหมายของคําอ่ืนท่ีเราเขาใจแลว (ใชคําคูกับคํา)

implicit definition คือการท่ีมีคําเขามาแบบเปนประโยค รวมเขามาในชุดของประโยคที่เรายอมรับ ความหมายของคําอยู

ในประโยคเหลานั้น เชน เรขาคณิตของยูคลิด (Euclidian geometry) มีการนิยามคําวา จุด เสน

explicit definition implicit definition

จุด ≅ df สิ่งท่ีไมมีความกวาง ความยาว ตําแหนงท่ีไมมีขนาด

เสน ≅ df สิ่งท่ีมีความยาว ไมมีความกวาง ทางเดินของจุด

เกิดในคณิตศาสตรนามธรรม เริ่มจากการกําหนด axioms

ขึ้นมา ไมตองสนใจวา จุดและเสนจริงหรือไม เปน variable (x)

จากนิยามเหลานี้ เราสราง axioms ขึ้นมา เชน

๑. ……จุด ……..

๒. ……… เสน ………..

๓. …..จุด …. เสน ….

๔. …..เสน ….จุด……

๕. ………………..

ขอความเหลานี้จริงแบบไหน? ถาตองการทําใหเปนแบบ em-piricist ก็ตองหา จุด เสนในประสบการณมาทดสอบ บางคน

แยงวา เราไมสามารถเขาถึงจุดและเสนจริงๆ แตเขาใกลสิ่งท่ี

เปนจุดและเสนได สอดคลองกับ intuition ของเรา บางคน

อางวาเคยอยูในโลกของแบบ สามารถฟนความจําได (เชนเรื่อง

Meno) ∴ จุดและเสนมีความหมายใชประเมินขอความแบบใดแบบหนึ่งได

เรานิยาม axioms ขึ้นมา เชน

๑. ……จุด ……..

๒. ……… เสน ………..

๓. …..จุด …. เสน ….

๔. …..เสน ….จุด……

๕. ………………….

ถายอมรับ axioms แลว จุดและเสนคือ อะไรก็ไดที่ทําให

axioms จริง ความสัมพันธท้ังหมดเปนแบบตรรกวิทยา (ระหวาง axioms

ตางๆ) รูปเปนเพียงตัวชวยใหมนุษยเขาใจงายขึ้นเทานั้น

ความหมายแฝงอยูในสิ่งท่ีเรายอมรับวาจริง

ความหมายพ้ืนฐานกวา

เริ่มจากความหมาย → ความจริง (truth)

ยอมรับวาจริงกอน ความจริงพื้นฐานกวา

เริ่มจาก ความจริง → ความหมาย

Chatchai Khumtaveeporn Page 17 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

ความตางนี้มีผลตอการประเมินขอเสนอตางๆ แต เม่ือพิจารณาดีๆ จะเห็นวา implicit definition ไมแปลกเทาท่ี

เราคิด เชน การพิจารณาคาจริง-เท็จของตัวเชื่อมตอตางๆ ในตรรกวิทยา เชน คาของ และ (.) หรือ (v) ความหมาย (คา)

เหลานี้จะ implicit อยูใน truth table ท่ีทําใหความหมายออกมาจริง (ความหมายของคาของตัวเชื่อมตอตางๆ ใน

ตรรกวิทยาจึงเปนแบบ implicit definition)

เรื่องนี้ทําใหบางคนท่ียอมรับความหมายแบบอ่ืนต้ังแตแรก เม่ือมาเรียนตรรกวิทยาจะรูสึกอึดอัด เพราะไมสามารถ

นํามาตรวจสอบแบบ explicit ได ไมมีวิธีท่ีจะใชเลือกชุดเพ่ือหาความหมายพื้นฐาน แตเม่ือยอมรับแบบ implicit defini-tion แลว สามารถนําไปพิสูจนตอในแบบ explicit ได

ตัวอยางเชน Quine อยูในกลุมนี้ ทําใหเขาไมคอยสนใจหรือไมคอยใหความสําคัญกับความหมาย (meaning) หรือ

การเรียนภาษาแม การสอนมักอาศัยการชี้ เชน ชี้ “ถวย” จริงๆ คือการสอน “นี่คือถวย” ปญหาคือคําวา “นี่” ไมรูวาอยู

ตรงไหน บางทีเด็กท่ีเรียนคิดวา สีขาว หรือลวดลายบนถวย ทําใหตองมีการชี้หลายๆ คร้ัง จึงสามารถเรียนรูความหมายท่ี

ถูกตองของคําได (ปญหาเหมือน rational translation ของ Quine ซึ่งจะเลือกระหวางชุด วาอันไหนถูกตองกวาไมได

และมีถึง infinite ชุด)

๒ ปรีชา คุณาวุฒิ อธิบายเรื่องเทคนิคการสอนของพระพุทธเจาไวอยางนาสนใจวา “พุทธศาสนาเกิดขึ้นในประวัติความคิดของ

อินเดียในฐานท่ีเปนลัทธิใหมหรือเปนศาสนาใหม และเปนการตีความหมายความเชื่อกับการปฏิบัติของคนตามแนวใหม ใน

หนังสือชื่อ คุณลักษณะพิเศษของพุทธศาสนา ศาสตราจารยสุชีพ ปุญญานุภาพ ไดแบงหลักคําสอน (นาจะหมายถึงเทคนิค

การสอนมากกวา-ผูอาง) ของพุทธศาสนาออกเปน ๓ ลักษณะ (น. ๒๔–๒๙) คือ

๑. ทรงสอนโดยการปฏิวัติ ซึ่งเปนการ “เปลี่ยน” หลักคําสอนดั้งเดิมของศาสนาพ้ืนเมืองอยางกลับหนามือเปนหลังมือ

และขยายความตอมาวา พระพุทธเจาทรงเปลี่ยนแปลงคําสอนท้ังหมดหรือเปล่ียนแปลงโดยสิ้นเชิงเก่ียวกับความเชื่อและการ

ปฏิบัติตามจารีตท่ีถือตามๆ กันมา คําสอนแบบนี้พระพุทธเจาทรงนํามาใชเม่ือไมมีทางเลือกอ่ืนๆ เชน ทรงแทนท่ีคําสอนเรื่อง

อาตมันดวยอนาตมัน หรืออัตตกิลมถานุโยค (การทรมานตนเองเพ่ือความหลุดพน) ดวยมัชฌิมาปฏิปทา เปนตน

๒. ทรงสั่งสอนโดยการปฏิรูป ซึ่งเปนการสอนโดยวิธี “ดัดแปลง” ของเกาท่ียังไมดีใหดีขึ้น หรือของเกามีความหมาย

อยางหนึ่ง แตนํามาแปลความหมายเสียใหม เพ่ือใหตรงกับหลักเหตุผลย่ิงข้ึน พระพุทธเจาทรงเปลี่ยนแปลงความเชื่อท่ียอมรับ

กันท่ัวไปบางสวน โดยการประยุกตวิธีคิดหาเหตุผลหรือโดยการตีความหมายใหม ในคัมภีรบาลีพระไตรปฎก เราจะพบคําที่

ทรงนํามาใชบอยๆ วา เปนคําที่ใชกันมาแตดั้งเดิม แลวพระพุทธเจาทรงตีความหมายเสียใหม เชน พระพุทธเจาไมทรง

ปฏิเสธวามีพราหมณอยูในโลก แตทรงชี้วาตามทัศนะของพระพุทธองคแลว บุคคลจะเรียกวาพราหมณไดนั้นเปนเพราะกรรม

ของเขา หาใชชาติกําเนิดแตอยางใดไม (วาเสฏฐสูตร, ม. ม., ๑๓/๗๐๔/๕๒๓ ดูเพ่ิมเติมใน อง .สต ตก. ๒๓/๘๓/๑๒๙ อาง

ใน ปรีชา น. ๑๙–๒๐ - ขอความท่ีเนนเปนของผูอาง)

๓. ทรงสั่งสอนโดยการตั้งหลักข้ึนใหมตามหลักสัจธรรมท่ีทรงคนพบ ซึ่งเปนหลักท่ียังไมมีสอนในท่ีอ่ืน เชน อริยสัจ ๔

หรือ มัชฌิมปฏิปทา เปนตน

ปรีชา สรุปวา (น. ๒๓) พุทธศาสนาเปนศาสนาแหงเหตุผล และเปนศาสนาแหงการพนทุกข หลักคําสอนใดๆ ท่ีมี

เหตุผลเปนพ้ืนฐานและเปนหลักคําสอนท่ีถูกตองตรงตามความเปนจริง อันไมวาผูใดจะกลาวไว พระพุทธเจาจะไมทรงปฏิเสธ

หลักคําสอนนั้นๆ เลย ในการสั่งสอนพระองคจะทรงใชวิธีการท่ีเรียกวา รับเอามาใช ปรับปรุง และปฏิวัติ ตามความจําเปนของ

แตละเหตุการณ บางครั้งพระองคจะยอมรับเอาคําสอนเกาจากจารีตโดยไมเปลี่ยนแปลงใดๆ ถาเปนคําสอนท่ีสมบูรณดี

บางครั้งพระองคก็จะปรับปรุงคําสอนของพระองคเองใหเหมาะสมกับความเช่ือและการปฏิบัติดั้งเดิม และบางคร้ัง

พระองคก็จะทรงปฏิเสธความคิดและความเชื่อเกาๆ โดยสิ้นเชิง และจะทรงประทานหลักการใหมๆ แทน … (เนนโดยผูอาง

เชนกัน)

๓ ความแตกตางของการมีขอความเปนสมมติฐานเชิงวิเคราะห (analytical hypothesis) หรือสมมติฐานเชิงประจักษ

(empirical hypothesis) ตัวอยางเชน การพิจารณาทฤษฎีวิทยาศาสตร มีขอสงสัยวา คําตางๆ เขามาในทฤษฎี

วิทยาศาสตรไดอยางไร? (หรือถามวา คําเหลานี้ไดความหมายมาอยางไร?) จะเห็นวา คําบางคําไดความหมายมาจากสิ่งท่ีมี

ประสบการณได เชน การชี้ (ostensive definition) ซึ่งรวมความถึงสิ่งท่ีผานประสาทรับสัมผัสท้ัง ๕ ของมนุษย ทําให

Chatchai Khumtaveeporn Page 18 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

การมีความหมายของคําในลักษณะนี้เรียกวา meaning postulate คือ การโยงความหมายของคําจากสิ่งท่ีสามารถ

สังเกตได เพราะถาไมโยง คําพวกนี้จะไมมีความหมาย ตัวอยางของ meaning postulate เชน คํานิยามเชิงปฏิบัติการ

(operational definition) ซึ่งเปนรูปแบบหนึ่งท่ีชัดเจนของการนําคําเขามาในภาษาที่ใชในการสนทนา แตก็ยังมีปญหาคือ

คําบางคําหานิยามเชิงปฏิบัติการไมได เชน มวล (mass)

ตัวอยางของศัพทเชิงทฤษฎี เชน เปราะ (เทียบกับมวล) เรานิยามวา เปราะ = ถาทุบของบางอยางแลว ของนั้นแตก

แตเกิดปญหาไดวา ถาไมทุบของนั้น โดยความหมายของเครื่องหมาย “ถา…ก็…” (material implication) จะทําให

ขอความท้ังหมดจริงทันที คือสรุปไดวา เปราะ ดังนั้น การนิยามเชิงปฏิบัติการจึงกําหนดให ตองทุบกอนเสมอ เพ่ือกันปญหานี้

และถาไมทําการทุบกอน ก็ตองตัดคําๆ นี้ออกไปจากภาษาท่ีใช

ตอมาการใหความหมายในลักษณะนี้เรียกวา สมมติฐานเชิงวิเคราะห (analytical hypothesis) คือ ความหมาย

ของคําในทฤษฎีมาจากบางสวนของชุดขอความในทฤษฎี คําถามก็คือ เราจะประเมินสมมติฐานแบบนี้ไดอยางไรวา นายอมรับ

หรือไม? [ในกรณีของการนิยามแบบนี้ เรียกวา (analytical definition) เปนการตกลงรวมกันท่ีจะยอมรับวาสิ่งหนึ่งจริง

(conventinal truth) เชน การใชคําแทนพุทธศักราชวา พ.ศ. ซึ่งในอนาคตเราอาจตกลงกันใหมวา จะใช พศ. ได ไมมีอะไร

เก่ียวกับโลก เปนการตกลงรวมกัน] แตในกรณีของสมมติฐานเชิงวิเคราะห เม่ือเรานําไปรวมกับขอความชุดอ่ืนๆ ทําให

สามารถนําไปทดสอบได เชน เจ็บ

คําวา “เจ็บ” ตางจาก วิ่ง เดิน รองไห ซึ่งเราสามารถมองเห็นได ความหมายของคําวา “เจ็บ” มาจากการตั้งสมมติฐาน

วา ถาตีแลวเจ็บ ถาเจ็บแลวรอง ดังนั้น ถาตีแลวรอง = เจ็บ สังเกตวา

ตีแลวเจ็บ / เจ็บแลวรอง ท้ัง ๒ ขอความนี้ประเมินไมได (เพราะคําวาเจ็บ เปน theoretical terms สังเกตไมได) แตพอใชประกอบกัน เราสังเกตไดท้ัง ตี และรอง ทําใหเราสามารถประเมินขอความท้ังหมดของทฤษฎีได [สังเกตวา ตางจาก

กรณีของ conventinal truth] แตการประเมินตองประเมินท้ังชุด

สมมติวา มีสมมติฐานอีก ๑ ชุด บอกวา ตีแลวไมรอง เชน อาจจะตีไมเจ็บ หรือบางคนเจ็บ แตอาจไมรองทุกครั้ง ใน

กรณีนี้เอง ตัวทฤษฎีมิไดบอกวา ใหเลือกรับสมมติฐานชุดไหน เพียงแตบอกวา จะรับสมมติฐานท้ัง ๒ ท่ีขัดกันพรอมกันไมได

ดังนั้น ในบทความนี้ คงพูดไมไดวา ขอความในพระไตรปฏกท้ังหมดเปนแบบ analytic เพราะมีขอความแยกไดเปนหลาย

หมวด เชน หมวดพระวินัย ซึ่งนาจะเปนพวกคําสั่ง ท่ีไมตองการหาวา จริง-เท็จ (เหมือนสั่งวา อยาเปดประตูท้ิงไว) เวลาถาม

วา เรื่องนี้เปนพระวินัยจริงไหม? เปนการถามวา พระพุทธเจาพูดไวแบบนั้นจริงไหม? ซึ่งตรงนี้แยกจากเหตุผลท่ีอยูเบ้ืองหลัง

การบัญญัติพระวินัย เชน ถาทําแบบนั้นแลวคนจะไมเคารพ ซึ่งพวกนี้จะเปน สมมติฐานเชิงประจักษ (empirical hypothe-sis) รวมถึงขอความเชิงบรรทัดฐานก็มิไดมีลักษณะเปนสมมติฐานเชิงวิเคราะห

แตขอความในหมวด เชน พระอภิธรรม อยางนอย เรื่อง นาม-รูป ขันธ มีลักษณะเปนแบบสมมติฐานเชิงวิเคราะห

(analytical hypothesis) แตคนท่ัวไปมักคิดวาเปน สมมติฐานเชิงประจักษ (empirical hypothe-sis) เชน มักพูดวา

ธรรมสามารถทดสอบได แตคําวา ทดสอบไดในท่ีนี้จริงๆ หมายถึง “ทดสอบได” เม่ือเทียบกับศรัทธา (คือการอธิบายท่ีมา

ของความเชื่อนั้นจากแหลงอ่ืน เชน จากพระเจา ดวยการวิวรณ) คําพูดแบบนี้ทําใหคิดไดวา คําอธิบายในศาสนามี ๒ แบบ

(categories) ใหเลือก แตจริงๆ อาจเปนแบบท่ี ๓ ท่ีกลาวมา คือเปนแบบสมมติฐานเชิงวิเคราะห แตการเปนแบบนี้จะทํา

ใหเนื้อหาของคําอธิบายในลักษณะท่ีเชื่อวาเปนแบบเชิงประจักษหายไปมาก (บางคนบอกวาหายไปหมดเลย)

เวลามีคนกลาววา ลอง “ปฏิบัติดู” มิไดหมายความวา นําสวนใดสวนหนึ่งของทฤษฎีหรือนําสมมติฐานเชิงวิเคราะหไป

ทดสอบ แตเปนการรับทฤษฎีท้ังหมด คือ ถาตีแลวเจ็บ ถาเจ็บแลวรอง หรือพูดวา ความหมายของคําหรือขอความมาจาก

ขอความท้ังชุด ซึ่งท้ังหมดนี้ทําใหจริง-เท็จไมมีความหมายภายนอกกรอบอันนี้

Chatchai Khumtaveeporn Page 19 10/10/57

Buddhism and Techno-physicalism

ศาสนาคริสตซึ่งอธิบายวา ความจริงของขอความมาจากศรัทธา กลับไมมีปญหาในลักษณะนี้ คือ ไมมีปญหาเร่ือง

ความหมาย และการทดสอบ บางคนบอกวา การอาศัยความศรัทธาเปนจุดออน แตกลับหลบปญหานี้ได

ในวิชาชีววิทยาก็แกปญหาโดยการใชสมมติฐานเชิงวิเคราะหเหมือนกัน เชน การอธิบาย survival และ the fittest ในทฤษฎีวิวัฒนาการ แตตอมาเห็นวาการอธิบายความสอดคลองดวยสิ่งท่ีมีชีวิตอยู (ไมสูญพันธุ) กลายเปน tautology จึงพยายามอธิบายความสอดคลองดวยโครงสรางทางพันธุกรรม

ดังนั้น เวลามีคนบอกวา พุทธศาสนาเหมือนวิทยาศาสตร จริงๆ แลวมีหลายแบบ คือ

๑. แบบตื้น (ผิวเผิน) ท่ีสุด คือ การเทียบกันตรงๆ แสดงวา ไมรูจักวิทยาศาสตร เพราะวิทยาศาสตรเปลี่ยนแปลงอยู

ตลอดเวลา อาจจะจริงวา ตอนนี้เหมือน แตเปนไปไดวา ในอดีต หรือในอนาคตไมเหมือนหรือกระท่ังอาจขัดแยงกันได

๒. เทียบในทาง methodology แบบนี้ลึกหนอย แตเนื้อหาของศาสนาพุทธหายไปหมด เพราะใชสมมติฐานเชิง

วิเคราะห ทําใหกลายเปนขอจํากัดเก่ียวกับการใชภาษา ซึ่งเขาไปอยูในศาสนาพุทธดวย สิ่งนี้เปนปญหาของพุทธศาสนิก แตไม

เปนปญหาของพระพุทธเจา เพราะพระองคพยายามใชคําเพ่ือใหเขาใจวาจะทําอะไรบางอยาง แตตอนหลัง ชาวพุทธบอกวา

ทุกประโยคจริงหมด

ถาศาสนาพุทธเปนแบบสมมติฐานเชิงวิเคราะห คําถามคือ ถาตีแลวไมรอง จะปรับอะไร บางคนอาจบอกวา ตีไมชัด

เชน ยังไมไดตีจริง (เพราะถาตีจริง ตองรอง) บางคนบอกวา อาจมีวิธีการหลายๆ อยาง เชน ตี หยิก เตะ ทุบ โยน แลวเจ็บ

เจ็บแลวถึงรอง (เชน การกลาววา การทําสมาธิมีมากกวา ๔๐ วิธี สอดคลองกับธรรมชาติของแตละคนท่ีแตกตางกัน) สิ่งท่ีนา

สงสัยคือ ท้ังหมดมี ๔๐ กวาแบบ ซึ่งก็ไมนามีปญหา คงทดลองไดหมดวาจะ “รอง” ไหม แตถาพระพุทธเจาแคยกมา ๔๐ กวา

แบบ คราวนี้ทดสอบไมได

คําถาม จะทําอยางไรใหคนศาสนาอื่น เขาใจ และเชื่อในคําสอนของศาสนาพุทธ?

บรรณานุกรม

ปรีชา คุณาวุฒิ. พุทธปรัชญาเรื่องกรรมและการใหผลของกรรม. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา บัณฑิต

วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ๒๕๒๑.

พระธรรมปฏก (ป. อ. ปยุตโต) รูจักพระไตรปฎกเพ่ือเปนชาวพุทธที่แท. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม, พิมพคร้ังท่ี ๒, ๒๕๔๓

พระราชวรมุนี (ป. อ. ปยุตโต) พุทธธรรม. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๒๙.

สุชีพ ปุญญานุภาพ, ศ. คุณลักษณะพิเศษของพุทธศาสนา. พระนคร: คุรุสภา, ๒๕๐๖

สุนทร ณ รังษี. พุทธปรัชญาจากพระไตรปฎก. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, พิมพคร้ังท่ี ๒, ๒๕๔๓.

พระมหาสมจินต สม มาปญ โญ. พุทธปรัชญา: สาระและพัฒนาการ. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราช

วิทยาลัย, ๒๕๔๔.

เสถียร นุตยางกูร. พระยานิลินท. พระนคร: โรงพิมพเลี่ยงเชียง, ๒๔๗๙.

Advayacitta, Dharmachari. ‘Minding Pinocchio.’ http://www.westernbuddhistreview.com/vol3 /pinocchio.html

Na-Rangsi, Suthorn. The Buddhist Concepts of Karma and Rebirth. Bangkok: Mahāmakut Rājavidyalaya Press, 1967.

Pauen, Michael. "Painless Pain: Property Dualism and the Causal Role of Phenomenal consciousness." American Philosophical Quarterly. Vol.37, No.1 (January 2000), pp.51-63.

http://home.btclick.com/scimah/ “Objections to Computationalismใ”